The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by saanrayut, 2022-05-31 04:44:56

แผนการจัดการเรียนรู้ เทอม1/65

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1

คำอธบิ ำยรำยวิชำ

ท32101 ภำษำไทย3 ภำคเรียนที่ 1 กล่มุ สำระกำรเรยี นรู้ภำษำไทย
ช้ันมัธยมศึกษำปีท่ี 5 เวลำ 40 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

วิเคราะหท์ าความเขา้ ใจวรรณคดวี รรณกรรม กวนี ิพนธแ์ ละอิทธพิ ลภาษาตา่ งประเทศ ภาษาถน่ิ
ระดบั ภาษา การใช้คาสานวน ฉันทลกั ษณข์ องบทร้อยกรองประเภทร่าย ฉันท์ โดยเลือกใช้คาที่ไพเราะ
มีความหมายแสดงออกทางอารมณ์ และวิเคราะห์องค์ประกอบ ประเมินค่าด้านวรรณศิลป์ ด้านสังคม
วฒั นธรรม โดยใช้ทกั ษะการเรียนรู้

กระบวนการอา่ นจับใจความ แปลความ ตคี วาม ขยายความ วิเคราะห์ และประเมนิ คา่ การอา่ น
ใช้กระบวนการเขียน เขียนพรรณนา เขียนเชิงธุระ เขียนเชิงวิชาการ บันเทิงคดี สารคดี และเขียนร่าย โดย
เลือกใช้คาศัพท์ไพเราะ มีความหมายแสดงออกทางอารมณ์ในรูปแบบต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและใช้
กระบวนการฟงั การพดู แสดงความคดิ โดยเนน้ การพดู ตอ่ ทีป่ ระชุมชนในโอกาสตา่ ง ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม

เพ่ือสร้างความตระหนัก รักและหวงแหนวรรณคดี วรรณกรรม กวีนิพนธ์ ทักษะการใช้ภาษาอย่างมี
มารยาท สามารถเป็นแนวทางในการทางาน การดารงชีวิต ในฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติและ
ถ่ายทอดด้วยความภาคภูมิใจได้อย่างพอเพียงตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นพลเมืองดีของ
ประเทศชาติ

บรรลุตามพระบรมราโชบายในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 ข้อ 1. มีทัศนคติท่ีดีและถูกต้อง
ขอ้ 2. มพี ื้นฐานชีวติ ทีม่ น่ั คงเขม้ แข็ง ขอ้ 3. มงี านทา – มอี าชีพ และขอ้ 4. เปน็ พลเมอื งดี มีระเบยี บวนิ ัย

รหัสตัวช้ีวดั
ท1.1 ม.5/1 ม.5/2 ม.5/3 ม.5/4 ม5/6 ม5/7 ม.5/8 ม.5/9
ท2.1 ม.5/1 ม.5/2 ม.5/4 ม.5/6 ม5/6 ม5/7 ม.5/9
ท3.1 ม.5/1 ม.5/5 ม5/6
ท4.1 ม.5/3 ม.5/4 ม.5/5
ท5.1 ม.5/1 ม.5/2 ม.5/3 ม.5/5

รวมท้ังหมด 22 ตัวช้ีวัด

โครงสร้ำงรำยวิชำ

ท32101 ภำษำไทย3 ภำคเรยี นที่ 1 กลมุ่ สำระกำรเรียนรูภ้ ำษำไทย
ชน้ั มธั ยมศึกษำปีท่ี 5 เวลำ 40 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

หน่วย ชอ่ื หน่วย มำตรฐำน ตัวชี้วัด สำระกำรเรยี นรู้ เวลำ น้ำหนกั

ท่ี กำรเรียนรู้ (ชว่ั โมง) คะแนน

1 ท่องโลก ท1.1 6,7 - แนวทางการพิจารณา วิเคราะห์ 12 10

วรรณคดี วิ จ า ร ณ์ ว ร ร ณ ค ดี แ ล ะ

วรรณกรรมตามที่นักเรียนสนใจ

เช่น รามเกียรติ์ เสือโคคาฉันท์

จินดามณี ขุนช้างขุนแผน และ

อ่นื ๆ

ท2.1 6 - การเขยี นเชงิ วิชาการ

ท5.1 1,2 - การตีความ แปลความ ขยาย

ค ว า ม วิ เ ค ร า ะ ห์ วิ จ า ร ณ์

วรรณคดี วรรณกรรม

2 พจนาพาที ท1.1 1,3,7,9 - อ่านออกเสียงร้อยแก้ว ร้อย 10 15

กรอง และอ่านจับใจความ

สาคญั

ท2.1 1 - วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี การ

พรรณนาจากเร่ืองมัทนะพาธา

ท4.1 3 - ระดบั ภาษา

ท5.1 3 - วิเคราะห์ประเมินค่าวรรณคดี

วรรณกรรมด้านวรรณศิลป์และ

สงั คมวฒั นธรรม

3 ชีวีท่มี ี ท1.1 1,5 - การอ่านจับใจความ การตีความ 8 15

คุณธรรม แ ป ล ค ว า ม ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์

ประเมนิ ค่าวรรณคดีวรรณกรรม

จากเรื่องมหาเวสสันดรชาดก

ตอน กณั ฑ์มัทรี

ท2.1 1,8 - หลักการเขียนพรรณนา

ท3.1 5,6 - การพดู อภปิ รายเรอื่ งตา่ ง ๆ

ท4.1 2 - ความหมายของคาและสานวน

ท5.1 3,4 - แต่งคาประพันธ์ประเภทร่าย/

ทอ่ งจาบทอาขยาน

หน่วย ชือ่ หน่วย มำตรฐำน ตวั ช้ีวัด สำระกำรเรียนรู้ เวลำ นำ้ หนัก
ท่ี กำรเรยี นรู้ คะแนน
4 ล้าคา่ ภาษา (ชัว่ โมง)
กบั 10
วฒั นธรรม ท2.1 1,8 - การเขียนประกาศ การเขียน 8
เชญิ ชวน 10
5 นอ้ มนา
ส่กู ารพัฒนา ท3.1 5 - การพูดต่อประชมุ ชน 60
20
ระหวา่ งภาค ท4.1 5 - อิทธิพลของภาษาต่างประเทศ 20
กลางภาค และภาษาถิน่ 100
ปลายภาค
รวม ท5.1 5 - ภาษากบั วฒั นธรรม

ท2.1 6 - เขียนรายงานศึกษาค้นคว้าตาม 2

หลักเชงิ วชิ าการ
ท3.1 1 - พูดแสดงความรู้ ความคิด อย่าง

มวี ิจารณญาณและสรา้ งสรรค์

ท4.1 3 - เข้าใจภาษาและหลักภาษาไทย
รกั ษาไว้เป็นสมบตั ขิ องชาติ

40

วธิ กี ำรประเมิน เวลำ คะแนน
สอบกลางภาค 1 ช่ัวโมง 20
ช้ินงาน/ภาระงาน 60
สอบปลายภาค 1 ชัว่ โมง 20

แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้

หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี 1 ทอ่ งโลกวรรณคดี

รำยวชิ ำ ท32101 ชื่อวิชำ ภำษำไทย 3 กลมุ่ สำระกำรเรียนร้ภู ำษำไทย

ชัน้ มธั ยมศึกษำปที ่ี 5 ภำคเรียนท่ี 1/2565 คำบที่ 1

เรอื่ ง กำรปฐมนิเทศและกำรประเมนิ ผลกอ่ นกำรเรยี น เวลำ 1 ชัว่ โมง

มำตรฐำนกำรเรียนรู้
-

ตวั ชีว้ ัด

-
สำระสำคญั

การปฐมนิเทศเป็นการช้ีแจงรายละเอียดรายวิชา โครงสร้างรายวิชา การวัดและประเมินผล ขอบเขต

การศกึ ษาของรายวิชาที่นักเรียนต้องเรียนรู้ตลอดภาคเรียนที่ 1 และเป็นการสร้างข้อปฏิบัติร่วมกันระหว่างครู
และนักเรยี น เพื่อความเขา้ ใจตรงกันเก่ียวกับการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนรายวชิ า ท32101 ภาษาไทย ชั้น

มัธยมศึกษาปีท่ี 5 รวมถึงการสร้างสัมพันธภาพท่ีดีต่อกันระหว่างนักเรียนและครู อันจะช่วยส่งผลให้การเรียน

การสอนเป็นไปด้วยความราบรนื่ และเกิดประสทิ ธภิ าพสูงสุด บรรลตุ ามวัตถุประสงค์ทวี่ างไว้
จดุ ประสงคก์ ำรเรยี นรู้

1. นักเรียนสามารถบอกถึงคาอธิบายรายวิชา สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์

กิจกรรมการเรียนรู้ กฎเกณฑ์ในช้ันเรียน และการวัดผลประเมินผล ตลอดจนความสาคัญของการ
เรียนวชิ าภาษาไทยไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง (K)

2. นกั เรยี นสามารถเขียนประวัติส่วนตวั เพื่อเปน็ การแนะนาตนเองไดอ้ ย่างถูกต้อง (P)

3. นักเรยี นสามารถปฏบิ ตั ิตามกฎเกณฑ์ของการอยู่รว่ มกนั ในหอ้ งเรียนได้อยา่ งมรี ะเบียบ (P)
4. นักเรยี นเหน็ คณุ คา่ ของการเรยี นวชิ าภาษาไทย เพ่ือนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ได้ (A)

สำระกำรเรียนรู้

1. มาตรฐานการเรยี นรใู้ นรายวิชาภาษาไทย
2. ตัวช้วี ัดในรายวิชาภาษาไทย

3. ความสาคญั ของการเรยี นวิชาภาษาไทย

4. สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น
5. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

6. การวัดผลการประเมินผล

7. กฎเกณฑ์การอยู่รว่ มกนั ในห้องเรยี น
คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

 รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
 ซื่อสตั ย์สุจรติ
 มีวนิ ยั
 ใฝเ่ รยี นรู้

 อยอู่ ย่างพอเพียง
 มุง่ ม่นั ในการทางาน
 รักความเป็นไทย

 มจี ติ สาธารณะ

สมรรถนะสำคญั
 ความสามารถในการส่อื สาร

 ความสามารถในการคดิ
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

ทักษะในศตวรรษที่ 21

 Reading (อา่ นออก)
3R  Writing (เขยี นได)้

 Arithmetic (มีทักษะในการคานวณ)

 Critical Thinking and Problem Solving: มที ักษะในการคดิ วิเคราะห์ การคดิ อย่างมี
วจิ ารณญาณ และแก้ไขปญั หาได้

 Creativity and Innovation: คิดอย่างสร้างสรรค์ คิดเชิงนวตั กรรม

 Collaboration Teamwork and Leadership: ความรว่ มมือ การทางานเป็นทีม และ
ภาวะผู้นา

 Communication Information and Media Literacy: ทักษะในการส่ือสาร และการ
ร้เู ทา่ ทนั ส่อื

8C  Cross-cultural Understanding: ความเข้าใจความแตกตา่ งทางวัฒนธรรม
กระบวนการคิดข้ามวฒั นธรรม

 Computing and ICT Literacy: ทกั ษะการใช้คอมพวิ เตอร์ และการรูเ้ ท่าทนั เทคโนโลยี
ซง่ึ เยาวชนในยุคปัจจบุ นั มีความสามารถด้านคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีอย่างมากหรือเป็น
Native Digital ส่วนคนร่นุ เกา่ หรือผู้สงู อายุเปรียบเสมือนเป็น Immigrant Digital แตเ่ รา
ตอ้ งไม่อายท่จี ะเรยี นรู้แมว้ ่าจะสงู อายุแล้วกต็ าม

 Career and Learning Skills: ทกั ษะทางอาชีพ และการเรยี นรู้

 Compassion: มคี ณุ ธรรม มีเมตตา กรณุ า มีระเบียบวินัย ซง่ึ เป็นคุณลกั ษณะพ้ืนฐาน
สาคญั ของทักษะขั้นต้นท้ังหมด และเป็นคุณลักษณะทีเ่ ด็กไทยจาเปน็ ต้องมี

หลักปรชั ญำเศรษฐกจิ พอเพียง

3 หว่ ง  พอประมาณ  มีเหตผุ ล  มีภูมิคุ้มกนั ตัวเอง
 มีภูมคิ มุ้ กันตวั เอง
2 เง่อื นไข  คุณธรรม  สังคม
 ความรู้  วฒั นธรรม

4 มิติ

 เศรษฐกิจ
 ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม

กิจกรรมกำรเรียนรู้
ข้ันท่ี 1 ขน้ั สร้ำงควำมสนใจ (Engagement : E1)
1. ครูกล่าวทกั ทายนกั เรียนและแนะนาตัวเองให้นกั เรยี นรู้จัก
2. ครูทาความรู้จักกับนักเรียนโดยให้นักเรียนเล่นกิจกรรมท่ีมีชื่อว่า “แรกพบ สบตา” โดยให้นักเรียน
แนะนาชือ่ เล่น ชอ่ื เลน่ ตามดว้ ย 3 คาที่อธิบายความเป็นตนเอง เช่น “สวัสดีค่ะ ชื่อ ซาน สรายุทธ์
แสงบวั หมดั ครบั น่ารกั ขเี้ ล่น นิสยั ดี”
3. ครูให้นกั เรยี นเลน่ เกมทายคา เพื่อทดสอบความรู้เบื้องต้นภาษาไทยของนักเรียน และสร้างเจตคติที่
ดีในการเรยี นภาษาไทย
ขน้ั ท่ี 2 ขนั้ สำรวจและคน้ หำ (Exploration : E2)
1. ครูอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับโครงสร้างรายวิชา ท32101 ภาษาไทยพื้นฐาน ภาคเรียนท่ี 1 ปี
การศึกษา 2565 จากสื่อ power point และครูแนะนาหนังสือท่ีจะใช้ในการเรียน ได้แก่ หนังสือ
เรียนรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย หลักภาษาและการใช้ภาษา และหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม
ขนั้ ท่ี 3 ข้นั อธิบำยควำมรู้ (Elaboration : E3)
1. ครูช้ีแจงรายละเอียดเก่ียวกับวิธีการวัดและประเมินผลในการเรียนของนักเรียนตลอดระยะเวลา
เรียน 1 ภาคเรยี น ซ่งึ มีคะแนนรวมทง้ั หมด 100 คะแนน ดังนี้
50 คะแนน คือ คะแนนประเมินกิจกรรมการเรยี นการสอน
20 คะแนน คอื คะแนนสอบกลางภาค
30 คะแนน คอื คะแนนสอบปลายภาค
2. ครูช้ีแจงรายละเอียดเก่ียวกับระเบียบปฏิบัติในการเรียน และให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
เกีย่ วกับระเบียบปฏบิ ัตใิ นการเรยี นทคี่ รูไดต้ ้ังไว้ โดยมรี ายละเอียดดังน้ี
2.1. นักเรียนจะต้องมีความรับผิดชอบและตรงต่อเวลา หากนักเรียนเข้าห้องเรียน
สาย 3 ครั้ง หมายถึง นักเรียนขาดเรียน 1 คร้ัง และหากขาดเรียนเกิน 10 ครั้ง
จะไม่มีสิทธส์ิ อบ
2.2. หากนักเรียนมีความจาเป็นท่ีจะต้องขาดเรียน นักเรียนต้องแจ้งครูและส่ง
เอกสารใบลาทุกคร้ัง หากไม่สามารถฝากส่งได้จะต้องส่งใบลาย้อนหลังในคาบ
ถัดไป
2.3. การสง่ งานต้องสง่ ภายในระยะเวลาทีก่ าหนด หากลา่ ช้าจะถกู ตดั คะแนน

2.4. ไม่อนุญาตให้นักเรียนใช้โทรศัพท์หรือเคร่ืองมือเทคโนโลยีอื่น ๆ ในห้องเรียน
ยกเว้นกรณที ีค่ รูอนุญาตให้ใช้ค้นหาข้อมูลประกอบการเรยี น

2.5. ไมอ่ นุญาตใหน้ าอาหารทกุ ชนดิ มารบั ประทานในหอ้ งเรียน
2.6. หลังเรียนเสร็จนักเรียนจะต้องดูแลรักษาความสะอาดของห้องเรียนก่อนออก

จากหอ้ งทกุ ครง้ั
ขน้ั ที่ 4 ขน้ั ขยำยควำมรู้ (Elaboration : E4)
1. ครเู ปดิ โอกาสให้นักเรียนถามถึงขอ้ สงสัยในการอธิบายในคาบเรียนนี้
2. ครแู จกใบงาน เรอื่ ง รู้จกั ฉัน...รู้จกั เธอ เพ่อื ใหน้ ักเรียนเขียนประวัตสิ ว่ นตัว และช้แี จงประเด็นในการ

เขียนให้กับนักเรียนอย่างชัดเจน โดยนักเรียนสามารถตกแต่งใบงานให้สวยงามและจัดทาเป็น
รูปเล่มของห้อง จากนน้ั เก็บรวบรวมสง่ ครใู นชวั่ โมงถดั ไป
ขน้ั ท่ี 5 ข้นั ประเมิน (Evaluation : E5)
1. ประเมินช้นิ งานนักเรียนท่มี อบหมายในชัน้ เรียน
2. ประเมนิ จากการสังเกตพฤติกรรมระหวา่ งเรยี น

ช้นิ งำนภำระงำนรวบยอด
1. ใบงาน เร่ือง รูจ้ ักฉัน...รู้จักเธอ
2. บนั ทึกสาระสาคัญลงในสมดุ

กำรวัดและประเมนิ ผล

เปำ้ หมำย วิธีกำรวัด เคร่อื งมือวัด เกณฑ์กำรวัดและ
ประเมนิ ผล

ด้ำนควำมรู้ (K)

1. นกั เรียนสามารถบอกถึงคาอธิบาย - สังเกตการพูดเพื่อ - แบบสังเกตการพูด - สังเกตความเข้าใจ

รายวิชา สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน แสดงความรู้ และ เ พ่ื อ แ ส ด ง ค ว า ม รู้ จากการตอบคาถาม

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กิจกรรม ความคดิ เห็น และความคดิ เห็น

การเรยี นรู้ กฎเกณฑ์ในช้ันเรยี น และ

การวัดผลประเมินผล ตลอดจน

คว ามสาคัญของการเรียนวิช า

ภาษาไทยไดอ้ ย่างถกู ต้อง

ดำ้ นทกั ษะกระบวนกำร (P)

2. นักเรียนสามารถเขียนประวัติ - ตรวจผลงานการทา - แบบประเมินผล - ผ่านเกณฑ์คุณภาพ

ส่วนตัวเพ่ือเป็นการแนะนาตนเองได้ ประวตั สิ ่วนตัว งานการทาประวัติ ระดบั ดี ขน้ึ ไป

อยา่ งถูกตอ้ ง ส่วนตวั

3. นักเรียนสามารถปฏิบัติตาม - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกต - ผ่านเกณฑ์คุณภาพ

กฎเกณฑ์ของการอยู่ร่วมกันใน การมีส่วนร่วมในชั้น พ ฤ ติ ก ร ร ม ระดับดี ขนึ้ ไป

ห้องเรยี นไดอ้ ย่างมรี ะเบยี บ เรยี นรายบคุ คล การมีส่วนร่วมในชั้น

เรยี นรายบคุ คล

เปำ้ หมำย วิธกี ำรวัด เครื่องมอื วัด เกณฑ์กำรวัดและ
ประเมนิ ผล

ด้ำนเจตคติ (A)

4. นักเรียนเห็นคุณค่าของการเรียน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกต - ผ่านเกณฑ์คุณภาพ

วิชาภาษาไทย เพื่อนาไปใช้ใ น การมีส่วนร่วมในช้ัน พฤติกรรมการมีส่วน ระดับดี ขนึ้ ไป

ชีวติ ประจาวนั ได้ เรยี นรายบคุ คล ร่ ว ม ใ น ชั้ น เ รี ย น

รายบคุ คล

ดำ้ นสมรรถนะสำคญั

- ความสามารถในการคดิ สังเกตความสามารถ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ผ่านเกณฑ์คุณภาพ

- ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ในการคิด และการใช้ สมรรถนะสาคัญของ ระดับดี ข้นึ ไป

ทั ก ษ ะ ชี วิ ต ข อ ง ผเู้ รยี น

นักเรยี น

ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21

- ทั ก ษ ะ ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ สงั เกตทักษะความคิด แบบประเมินทักษะ ผ่านเกณฑ์คุณภาพ

(creative Thinking) สร้างสรรค์ แห่งศตวรรษท่ี 21 ระดับดขี นึ้ ไป

ด้ำนคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

- ใฝ่เรยี นรู้ สังเกตคุณลักษณะ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ผ่านเกณฑ์คุณภาพ

- มงุ่ มน่ั ในการทางาน ด้านการใฝ่เรียนรู้ คณุ ลักษณะ ระดับดขี ้ึนไป

และด้านการมุ่งม่ันใน อนั พึงประสงค์

การทางาน

ส่อื / แหลง่ เรียนรู้ รำยกำรส่ือ / แหล่งเรยี นรู้
ประเภท ครูและนักเรียน
หอ้ งเรยี น
1. บคุ คล ข้อปฏิบตั ใิ นการเรยี นการสอน
2. สถานท่ี PowerPoint เรอ่ื ง การปฐมนิเทศ
3. เอกสาร
4. IT

ข้อปฏิบัติในกำรเรยี นกำรสอน

1. นักเรียนต้องให้ความร่วมมือในการเรียน ไม่แสดงพฤติกรรมอันเป็นการทาลายสมาธิของเพื่อนร่วม
ช้ันเรยี นคนอืน่ ไม่กอ่ ความเดอื นร้อน ราคาญ แก่ครูผู้สอนและเพ่ือนร่วมช้ันเรียน เช่น คุยกันเสียงดังจนเกินไป
ไม่สนใจเรียน (กรณีท่ีนักเรียนสร้างความเดือดร้อนราคาญแก่ผู้อื่นจะถูกตักเตือนไม่เกิน 2 ครั้ง หากเกินจะถูก
ตดั คะแนนทนั ท)ี

2. นักเรียนต้องส่งงานตรงเวลา เกินระยะเวลาท่ีกาหนดคะแนนเต็มของชิ้นงาน จะถูกลดลงตาม
จานวนวนั เชน่ ส่งชา้ 1 วัน หกั 1 คะแนน สมมติช้ินงานมีคะแนนเต็ม 10 คะแนน นักเรียนส่งงานเกินกาหนด
2 วนั คะแนนเต็มของงานชิ้นนนั้ จะลดลงเหลือเพยี ง 8 คะแนน (ถึงแมว้ ่าผลงานของนกั เรยี นจะมีความโดดเด่น
มากกว่าหรือเท่ากบั ช้ินงานทีส่ ่งทันตามระยะเวลาที่กาหนด)

3. เข้าเรียนตรงต่อเวลา เข้าสาย 3 คร้ังเท่ากับขาดเรียน 1 คร้ัง นักเรียนที่ไม่สามารถเข้าเรียน
ตามปกติได้จะต้องแจ้งให้ครูประจารายวิชาทราบ โดยการส่งจดหมายลากิจหรือลาป่วย กรณีไม่มีจดหมายลา
ถอื ว่าเป็นการขาดเรียน

4. ช่วยกันรักษาความเป็นระเบียนเรียบร้อยของห้องเรียน เช่น เก็บขยะใต้โต๊ะ , จัดโต๊ะเก้าอี้ให้
เรียบรอ้ ยก่อนเร่ิมการเรยี นทุกครง้ั ไม่ปลอ่ ยใหห้ ลังห้องเตม็ ไปดว้ ยเศษขยะ

5. กรณที น่ี ักเรยี นไม่ปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ตกลงทกี่ าหนดจะต้องถูกตดั คะแนน ครัง้ ละ 2 คะแนน
***กฎระเบียบอาจมีการเพม่ิ เติมได้ข้ึนอยู่กบั การให้ความรว่ มมือของผ้เู รยี น***

มนั มักจะดเู หมือนวำ่ “เป็นไปไม่ได้”
จนกวำ่ จะเหน็ “ผลสำเรจ็ ”
–เนลสนั แมนเดลำ–

ร้จู กั ฉัน...รจู้ กั เธอ

ชื่อ ................................................ นามสกุล ...................................

ช่อื เลน่ .............................ช้ัน ................................. เลขที่ ............

เก่ียวกับตัวฉนั
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................ ..............................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ส่งิ ทฉ่ี ันอยำกจะเปน็
............................................................................................................................. ...................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ควำมคำดหวังจำกกำรเรียน
............................................................................................................................. ...................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

สง่ิ ท่ฉี นั สนใจ, ชอบ, ถนัด (เกยี่ วกับกำรเรยี นวชิ ำภำษำไทย)
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. .................................................
........................................................................................................................................................................... ..

ข้อบกพรอ่ งท่ฉี นั มแี ละอยำกทจ่ี ะแก้ไข (เก่ียวกับกำรเรียนวิชำภำษำไทย)
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ควำมคดิ เหน็ ของหัวหน้ำกลุ่มสำระกำรเรียนรู้
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชื่อ..............................................................
(.....................................................................)
............./...................................../...............

ควำมคิดเหน็ ของรองวชิ ำกำร/ หัวหน้ำงำนวิชำกำร
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................... ...............................

ลงชื่อ..............................................................
(.....................................................................)
............./...................................../...............

ควำมคดิ เหน็ ของผบู้ ริหำร
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................. ...............................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่อื ..............................................................
(.....................................................................)
............./...................................../...............

บันทกึ ผลหลงั กำรสอน

ดำ้ นควำมรู้
ด้ำนสมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น
ดำ้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
ด้ำนอนื่ ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤตกิ รรมท่ีมีปญั หำของนักเรยี นเป็นรำยบคุ คล (ถ้ำมี)
ปัญหำ/อุปสรรค
แนวทำงกำรแกไ้ ข

รำยวิชำ ท32101 ชอ่ื วชิ ำ ภำษำไทย 3 กล่มุ สำระกำรเรยี นรูภ้ ำษำไทย
ชั้นมัธยมศกึ ษำปที ่ี 5 ภำคเรยี นที่ 1/2565 คำบที่ 2 - 5
เรอื่ ง กำรพจิ ำรณำ วิเครำะห์ วิจำรณ์ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
เวลำ 3 ชว่ั โมง

มำตรฐำนกำรเรียนรู้
มำตรฐำน ท1.1 ใช้กระบวนการการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาใน
การดาเนินชีวติ และนสิ ัยรกั การอา่ น
ตวั ชีว้ ดั
ม.5/6 ตอบคาถามจากการอา่ นงานประเภทต่าง ๆ ภายในเวลาท่ีกาหนด
ม.5/7 อา่ นเรอื่ งตา่ ง ๆ แลว้ เขยี นกรอบแนวคดิ ผังความคดิ บันทึก ยอ่ ความ และรายงาน

สำระสำคัญ
การพิจารณา วิเคราะห์ วิจารณ์ วรรณคดีและวรรณกรรม คือ การพิจารณาถึงความประณีตงดงาม

ของวรรณคดีและวรรณกรรม ซึ่งจะทาให้ผู้อ่านวรรณคดีและวรรณกรรมสามารถเข้าใจเรื่องราว ได้แง่คิด
คติธรรม เกิดความเพลิดเพลิน และความตระหนัก นาไปสู่ความซาบซ้ึงในคุณค่าทาให้เกิดความหวงแหน
อยากจะรักษาไว้ให้ดารงเป็นสมบัติของชาติต่อไป ตลอดจนเห็นคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมอย่าง
แท้จรงิ
จดุ ประสงค์กำรเรยี นรู้

1. นกั เรียนสามารถอธิบายหลกั การวิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมได้อยา่ งถูกต้อง (K)
2. นกั เรียนสามารถเขียนวิจารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมได้อยา่ งเปน็ ขั้นตอนและถูกตอ้ ง (P)
3. นักเรียนเห็นความสาคัญของการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม และสามารถสังเคราะห์ข้อคิด

เพอ่ื การนาไปใช้จรงิ ในชีวิตประจาวันได้ (A)

สำระกำรเรียนรู้
1. ความหมายของวรรณคดีและวรรณกรรม
2. การวิจักษ์วรรณคดแี ละวรรณกรรม
3. การวจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม
4. การพจิ ารณาเน้ือหาและกลวธิ ีในวรรณคดแี ละวรรณกรรม
5. การวิเคราะหล์ ักษณะเดน่ ของวรรณคดีและวรรณกรรม
6. การสังเคราะห์ขอ้ คิดจากจากวรรณคดแี ละวรรณกรรม

คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
 รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
 ซ่ือสัตยส์ ุจริต
 มวี ินยั
 ใฝเ่ รียนรู้
 อยูอ่ ย่างพอเพียง
 มุ่งม่ันในการทางาน
 รักความเป็นไทย
 มีจติ สาธารณะ

สมรรถนะสำคัญ

 ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคดิ
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต
 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

ทักษะในศตวรรษที่ 21

 Reading (อา่ นออก)
3R  Writing (เขียนได)้

 Arithmetic (มีทกั ษะในการคานวณ)

 Critical Thinking and Problem Solving: มีทักษะในการคดิ วเิ คราะห์ การคดิ อย่างมี
วจิ ารณญาณ และแก้ไขปญั หาได้

 Creativity and Innovation: คดิ อย่างสรา้ งสรรค์ คิดเชิงนวตั กรรม

 Collaboration Teamwork and Leadership: ความรว่ มมอื การทางานเปน็ ทมี และ
ภาวะผนู้ า

 Communication Information and Media Literacy: ทักษะในการส่ือสาร และการ
รูเ้ ท่าทนั ส่อื

8C  Cross-cultural Understanding: ความเข้าใจความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม
กระบวนการคิดขา้ มวฒั นธรรม

 Computing and ICT Literacy: ทักษะการใช้คอมพวิ เตอร์ และการรู้เทา่ ทันเทคโนโลยี
ซ่ึงเยาวชนในยุคปจั จบุ นั มีความสามารถดา้ นคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยอี ยา่ งมากหรือเป็น
Native Digital ส่วนคนรนุ่ เก่าหรอื ผู้สูงอายเุ ปรยี บเสมอื นเป็น Immigrant Digital แตเ่ รา
ต้องไม่อายทจี่ ะเรยี นรู้แม้วา่ จะสงู อายุแล้วก็ตาม

 Career and Learning Skills: ทักษะทางอาชีพ และการเรียนรู้

 Compassion: มีคุณธรรม มเี มตตา กรุณา มรี ะเบยี บวินยั ซ่ึงเป็นคุณลักษณะพื้นฐาน
สาคัญของทักษะข้ันต้นทั้งหมด และเป็นคุณลักษณะท่ีเดก็ ไทยจาเป็นต้องมี

หลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง  มีเหตผุ ล  มภี มู คิ ุ้มกันตวั เอง
 คณุ ธรรม  มีภูมคิ ุ้มกันตัวเอง
3 หว่ ง

 พอประมาณ

2 เงื่อนไข

 ความรู้

4 มิติ  สงั คม
 วัฒนธรรม
 เศรษฐกิจ
 ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม

กำรจดั กระบวนกำรเรยี นรู้
กำรเตรียมควำมพร้อม
1. นักเรยี นทาความสะอาดหอ้ งเรยี น เกบ็ ขยะใต้โต๊ะ พ้ืนท่หี ้องเรียน เป็นการเน้นให้นักเรียนมี
คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ มนี สิ ัยรักความสะอาด
2. น่ังสมาธิ ทาจิตใจใหส้ งบ ต้ังใจศึกษาเลา่ เรียน
3. สารวจรายชื่อนักเรยี นที่เข้าห้อง
คำบที่ 1 วธิ กี ำรสอนโดยใชก้ ำรเรียนรู้แบบบรรยำย
ขนั้ นำเขำ้ สบู่ ทเรียน
1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน จากนั้นครูใช้คาถามกระตุ้นความคิดว่า “นักเรียนชอบอ่าน
วรรณคดีหรือวรรณกรรมเร่ืองอะไรบ้าง เพราะอะไร” โดยสุ่มถามนักเรียน 4-5 คน เพ่ือ
สรา้ งบรรยากาศในการเรยี นรู้
2. ครูอธบิ ายให้นกั เรยี นรวู้ า่ ในคาบเรยี นน้ี นักเรียนจะเรียนเกี่ยวกับ “การพิจารณา วิเคราะห์
วิจารณ์ วรรณคดแี ละวรรณกรรม”
ขั้นกิจกรรมกำรเรยี นรู้
3. ครูซักถามความรู้ของนักเรียนเกี่ยวกับการพิจารณา วิเคราะห์ วิจารณ์ วรรณคดีและ
วรรณกรรม โดยวิธกี ารสุ่ม จากน้นั ครใู หน้ ักเรียนดสู ื่อ Power point ในประเด็น ดังนี้
3.1 ความหมายของวรรณคดีและวรรณกรรม
3.2 การวจิ กั ษว์ รรณคดีและวรรณกรรม
3.3 การวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม
ขน้ั สรปุ
4. ครูใช้วธิ ีการสุ่มนักเรยี นเพอ่ื สรปุ ความรู้ มีประเด็นดังต่อไปนี้ ความหมายของวรรณคดีและ
วรรณกรรม การวจิ ักษว์ รรณคดีและวรรณกรรม และการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม
เพ่อื ความเข้าใจที่คงทนมากยงิ่ ขึน้
5. ให้นักเรียนบันทึกความรู้ลงสมุด และให้นักเรียนไปศึกษาในประเด็นเรื่อง การพิจารณา
เน้ือหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีและ
วรรณกรรม และการสงั เคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดแี ละวรรณกรรมมาลว่ งหน้า
คำบที่ 2 วิธสี อนโดยกำรจดั กำรเรียนร้แู บบรว่ มมือ (เทคนคิ Think pair share)

ขั้นนำเขำ้ ส่บู ทเรียน
1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนความรู้เดิมในคาบที่แล้ว
โดยใช้วิธีการสุ่มถามนักเรียนเพื่อทบทวนความรู้ ความเข้าใจ และครูเน้นย้าให้นักเรียน
จดจาหลกั การวเิ คราะห์วจิ ารณ์ เพือ่ ให้นกั เรยี นสามารถนาความร้ไู ปปรับใช้ได้

ข้ันกจิ กรรมกำรเรยี นรู้
2. ครูให้นกั เรยี นดูสื่อ Power point ในประเด็น ดังนี้
2.4 การพจิ ารณาเนอื้ หาและกลวธิ ใี นวรรณคดีและวรรณกรรม
2.5 การวิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดแี ละวรรณกรรม
2.6 การสงั เคราะหข์ อ้ คดิ จากวรรณคดีและวรรณกรรม
3. ครูให้นักเรียนจับกลุ่ม 3-4 คน ตามเทคนิค Think pair share เพื่อมอบหมายงานให้
นักเรียนช่วยกันทาใบงานที่ 1 เรื่อง การพิจารณาวิเคราะห์ วิจารณ์ วรรณคดีและ
วรรณกรรม โดยให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์ วิจารณ์ วรรณคดีและวรรณกรรมตามท่ี
นักเรียนสนใจ (การทางานกลุ่ม) และนาเสนอในคาบถัดไป โดยนาเสนอกลุ่มละไม่เกิน 6
นาที

ขั้นสรุป
4. นกั เรียนและครูรว่ มกันสรปุ ความรู้ โดยการสมุ่ ถามนักเรยี น ในแต่ละประเด็น ดังนี้
4.1 ความหมายของวรรณคดีและวรรณกรรม
4.2 การวิจักษ์วรรณคดีและวรรณกรรม
4.3 การวจิ ารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรม
4.4 การพจิ ารณาเนื้อหาและกลวิธใี นวรรณคดแี ละวรรณกรรม
4.5 การวิเคราะหล์ ักษณะเดน่ ของวรรณคดีและวรรณกรรม
4.6 การสงั เคราะห์ข้อคดิ จากวรรณคดแี ละวรรณกรรม
เพื่อความเข้าใจ ความซาบซึ้ง ตระหนักในคุณค่าและความงามของวรรณคดีและ
วรรณกรรม ทาให้เกดิ ความหวงแหน ตอ้ งการรกั ษาไว้เปน็ สมบัติของชาติ

คำบท่ี 3 วธิ กี ำรสอนโดยใช้กำรเรียนรู้แบบบรรยำย

ข้ันนำเข้ำสู่บทเรียน
1. ครกู ล่าวทกั ทายนักเรยี น และได้ใหน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มหยิบฉลากลาดับการนาเสนอช้ินงาน
และได้เน้นย้าเร่ืองกติกาในการนาเสนอ คือ กาหนดเวลาในการนาเสนอกลุ่มละไม่เกิน 6
นาที

ข้นั กจิ กรรมกำรเรยี นรู้
2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุม่ นาเสนอผลงานไปตามลาดบั
3. ครูและนกั เรียนรว่ มกันตรวจสอบความถกู ต้อง และแสดงความคดิ เหน็ เพิม่ เติม

ขน้ั สรปุ
4. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ เร่ือง การพิจารณา วิเคราะห์ วิจารณ์ วรรณคดีและ
วรรณกรรม โดยการสุม่ ถามนกั เรียน

ชิน้ งำน/ภำระงำน
1. สมดุ จดบันทึกความรู้
2. ใบงานท่ี 1 เรอ่ื ง การพิจารณา วิเคราะห์ วจิ ารณ์ วรรณคดีและวรรณกรรม โดยครูให้นักเรียนเลือก
วรรณคดีและวรรณกรรมตามท่ีนักเรียนสนใจมา 1 เรอื่ ง

กำรวัดผลและประเมนิ ผล

เปำ้ หมำย วธิ ีกำรวัด เคร่ืองมือวดั เกณฑก์ ำรวัดและ
ประเมนิ ผล

ด้ำนควำมรู้ (K)

1. นกั เรียนสามารถอธบิ ายหลักการ - การตอบคาถามและ - คาถามเพื่อให้นักเรียน - สังเกตความเข้าใจจาก

วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมได้ การแสดงความคิดเหน็ ได้แสดงความเข้าใจใน การตอบคาถาม

อยา่ งถูกต้อง เ รื่ อ ง ก า ร พิ จ า ร ณ า

วิ เ ค ร า ะ ห์ วิ จ า ร ณ์

วรรณคดีและวรรณกรรม

ดำ้ นทกั ษะกระบวนกำร (P)

2. นักเรียนสามารถปฏิบัติตาม - ตรวจสอบความถูก - แบบประเมินใบงาน - ผ่านเกณฑ์คุณภาพ

กระบวนการวิจารณ์วรรณคดีและ ต้องจากใบงาน เร่ือง เ ร่ื อ ง ก า ร พิ จ า ร ณ า ระดบั ท่ี 2 ขึ้นไป

วรรณกรรมได้อย่างเป็นข้ันตอน การพิจารณา วิเคราะห์ วิ เ ค ร า ะ ห์ วิ จ า ร ณ์

และถูกตอ้ ง วิจารณ์ วรรณคดีและ วรรณคดแี ละวรรณกรรม

วรรณกรรม

ดำ้ นเจตคติ (A)

3. นักเรียนเห็นความสาคัญของการ - การตอบคาถามและ - คาถามเพื่อให้นักเรียน - สังเกตความเข้าใจจาก

วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม การแสดงความคดิ เหน็ ได้แสดงความเข้าใจใน การตอบคาถาม

และสามารถสังเคราะห์ข้อคิดเพ่ือ เร่ือง ความสาคัญของ

การนาไปใชจ้ รงิ ในชวี ติ ประจาวนั ได้ การวจิ ารณ์วรรณคดีและ

วรรณกรรม

ด้ำนสมรรถนะสำคัญ

- ความสามารถในการคดิ สงั เกตความสามารถใน แบบประเมินสมรรถนะ ผ่านเกณฑ์คุณภาพระดับ

- ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต การคิด และการใช้ สาคญั ของผู้เรยี น ดีขึน้ ไป

ทกั ษะชวี ิตของนกั เรียน

ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21

- ทั ก ษ ะ ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ สังเกตทักษะความคิด แบบประเมินทักษะแห่ง ผ่านเกณฑ์คุณภาพระดับ

(creative Thinking) สรา้ งสรรค์ ศตวรรษที่ 21 ดขี ึ้นไป

ด้ำนคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

- ใฝ่เรยี นรู้ สังเกตคุณลักษณะด้าน แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ผ่านเกณฑ์คุณภาพระดับ

- มุ่งมน่ั ในการทางาน การใฝ่เรียนรู้และด้าน คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึ ง ดีขึ้นไป

ก า ร มุ่ ง มั่ น ใ น ก า ร ประสงค์

ทางาน

ส่อื / แหลง่ เรียนรู้ รำยกำรสื่อ / แหล่งเรียนรู้
ครแู ละนักเรียน
ประเภท หอ้ งเรยี น
1. บคุ คล หนงั สือเรยี น รายวิชาพนื้ ฐานภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ม.5
2. สถานที่ PowerPoint เรอื่ ง การพจิ ารณา วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ วรรณคดีและวรรณกรรม
3. เอกสาร
4. IT

วิชำภำษำไทย ใบงำนท่ี 1 ช้ันมธั ยมศกึ ษำปีที่ 5
ท32101 เร่ือง กำรอำ่ นพิจำรณำวรรณคดีและวรรณกรรม หน่วยกำรเรยี นรูท้ ่ี 1

ชื่อ-สกลุ .........................................................................................ชั้น........................... เลขท.่ี ..........................

ตอนที่ 1 ให้นักเรยี นตอบคาถามตอ่ ไปน้ใี หถ้ ูกต้อง
1.วรรณคดแี ละวรรณกรรมสาคัญอยา่ งไร
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
2. นกั เรยี นมหี ลักการในการอ่านและพิจารณาวรรณคดี วรรณกรรมอย่างไร เพ่ือใหส้ ามารถเข้าใจคณุ ค่า
ทางดา้ นตา่ ง ๆ ของวรรณคดีและวรรณกรรม
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................... ..........................
........................................................................................................ ......................................................................
............................................................................................................................. .................................................
....................................................................................................................................... .......................................
........................................................................................... ...................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
3. นักเรียนคิดว่าการพจิ ารณาคณุ ค่าบทประพนั ธ์ตอ้ งพจิ ารณาคณุ ค่าดา้ นใดบ้าง และส่งผลตอ่ การประเมนิ ค่า
บทประพนั ธ์อย่างไร
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
........................................................................................................................................................................ ......
............................................................................................................................ ..................................................
............................................................................................................................. .................................................
........................................................................................................................................................... ...................
4. “วรรณคดเี ป็นกระจกสะท้อนสงั คมและวัฒนธรรม” นกั เรยี นมีความคิดเห็นกับคาดงั กล่าวอยา่ งไร
..................................................................................................................................................... .........................
......................................................................................................... .....................................................................
............................................................................................................................. .................................................
........................................................................................................................................ ......................................
............................................................................................ ..................................................................................

ควำมคดิ เห็นของหัวหนำ้ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชอ่ื ..............................................................
(.....................................................................)
............./...................................../...............

ควำมคดิ เห็นของรองวิชำกำร/ หวั หนำ้ งำนวิชำกำร
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชื่อ..............................................................
(.....................................................................)
............./...................................../...............

ควำมคิดเห็นของผู้บรหิ ำร
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ..............................................................
(.....................................................................)
............./...................................../...............

บันทกึ ผลหลงั กำรสอน

ดำ้ นควำมรู้
ด้ำนสมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน
ดำ้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
ด้ำนอนื่ ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤตกิ รรมท่ีมีปญั หำของนักเรยี นเป็นรำยบคุ คล (ถ้ำมี)
ปัญหำ/อุปสรรค
แนวทำงกำรแกไ้ ข

รำยวิชำ ท32101 ชอื่ วชิ ำ ภำษำไทย 3 กลมุ่ สำระกำรเรยี นรูภ้ ำษำไทย
ช้ันมัธยมศกึ ษำปีท่ี 5 ภำคเรยี นท่ี 1/2565 คำบที่ 6 - 9
เรือ่ ง กำรเขียนรำยงำนเชงิ วิชำกำร
เวลำ 3 ชว่ั โมง

มำตรฐำนกำรเรยี นรู้
มำตรฐำน ท2.1 ใช้กระบวนการเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาต้นคว้า
อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวช้วี ดั
ม.5/6 เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ และใช้
ข้อมลู สารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง

สำระสำคญั
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ เป็นการนาเสนอผลท่ีได้จากการศึกษาค้นคว้าอย่างละเอียดและ

มีแบบแผน แล้วนามาเรียบเรียงตามข้นั ตอนที่ถูกตอ้ งตามรูปแบบการเขยี นรายงานเชงิ วชิ าการ

จดุ ประสงค์กำรเรียนรู้
1. นกั เรียนสามารถอธบิ ายวิธีการจดบันทึกข้อมลู จากการศึกษาค้นคว้าได้ (K)
2. นกั เรยี นสามารถอธบิ ายขน้ั ตอนการเขียนรายงานเชิงวิชาการได้ (K)
3. นักเรียนสามารถเขยี นรายงานเชิงวชิ าการตามหลกั การเขียนเชงิ วชิ าการตามความสนใจได้ (P)
4. นกั เรยี นสามารถเขียนอา้ งองิ ข้อมลู สารสนเทศได้อยา่ งถูกต้อง (P)

สำระกำรเรียนรู้
1. ความหมายของการเขียนรายงานเชิงวชิ าการ
2. วธิ กี ารจดบนั ทึกข้อมูล
3. ขนั้ ตอนการเขยี นรายงานเชิงวชิ าการ
4. ส่วนประกอบของรายงานเชิงวชิ าการ

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
 รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
 ซื่อสัตย์สุจริต
 มวี ินยั
 ใฝเ่ รียนรู้
 อยู่อย่างพอเพยี ง
 มงุ่ มน่ั ในการทางาน
 รกั ความเปน็ ไทย
 มจี ติ สาธารณะ

สมรรถนะสำคัญ
 ความสามารถในการส่อื สาร
 ความสามารถในการคิด

 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ทกั ษะในศตวรรษที่ 21

 Reading (อ่านออก)
3R  Writing (เขยี นได้)

 Arithmetic (มที ักษะในการคานวณ)

 Critical Thinking and Problem Solving: มีทักษะในการคดิ วเิ คราะห์ การคดิ อย่างมี
วิจารณญาณ และแก้ไขปัญหาได้

 Creativity and Innovation: คิดอย่างสร้างสรรค์ คิดเชงิ นวัตกรรม

 Collaboration Teamwork and Leadership: ความรว่ มมอื การทางานเป็นทีม และ
ภาวะผูน้ า

 Communication Information and Media Literacy: ทักษะในการส่ือสาร และการ
ร้เู ทา่ ทนั ส่ือ

8C  Cross-cultural Understanding: ความเข้าใจความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม
กระบวนการคดิ ขา้ มวัฒนธรรม

 Computing and ICT Literacy: ทักษะการใชค้ อมพวิ เตอร์ และการรู้เทา่ ทนั เทคโนโลยี
ซึง่ เยาวชนในยุคปัจจบุ ันมีความสามารถด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยอี ย่างมากหรือเป็น
Native Digital สว่ นคนร่นุ เกา่ หรือผสู้ ูงอายุเปรยี บเสมอื นเป็น Immigrant Digital แต่เรา
ตอ้ งไมอ่ ายท่ีจะเรยี นรู้แม้วา่ จะสงู อายุแลว้ กต็ าม

 Career and Learning Skills: ทกั ษะทางอาชีพ และการเรียนรู้

 Compassion: มคี ณุ ธรรม มเี มตตา กรุณา มีระเบยี บวินัย ซึ่งเป็นคุณลกั ษณะพื้นฐาน
สาคัญของทักษะขั้นต้นท้ังหมด และเป็นคุณลักษณะทเ่ี ด็กไทยจาเปน็ ตอ้ งมี

หลกั ปรชั ญำเศรษฐกิจพอเพียง

3 หว่ ง

 พอประมาณ  มเี หตผุ ล  มภี มู คิ ุ้มกันตัวเอง
 มีภูมิคมุ้ กนั ตวั เอง
2 เงอ่ื นไข  สังคม
 วัฒนธรรม
 ความรู้  คณุ ธรรม

4 มิติ

 เศรษฐกิจ
 ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม

กำรจดั กระบวนกำรเรยี นรู้

กำรเตรียมควำมพร้อม

1. นักเรียนทาความสะอาดห้องเรียน เก็บขยะใต้โต๊ะ พ้ืนท่ีห้องเรียน เป็นการเน้นนักเรียนมี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีนิสัยรกั ความสะอาด

2. น่งั สมาธิ ทาจิตใจใหส้ งบ ตั้งใจศกึ ษาเล่าเรยี น

3. สารวจรายชื่อนกั เรียนทเี่ ข้าห้อง

4. อบรมคุณธรรมจรยิ ธรรม น้อมนาคาสอนของในหลวง รัชกาลท่ี 9 เรื่อง รจู้ ักอดออม

คำบที่ 1 วธิ ีกำรสอนโดยใชก้ ำรเรยี นร้แู บบบรรยำย ขั้ น

นำเขำ้ สู่บทเรียน

1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน และคาถามเพ่ือกระตุ้นความคิดของนักเรียนว่า “นักเรียนทราบ

ความหมายของรายงานเชิงวิชาการหรือไม่” โดยครูให้นักเรียนในห้องเรียนร่วมกันตอบ

คาถาม

ขนั้ กจิ กรรมกำรเรยี นรู้

2. ครูให้นักเรียนดูสื่อ Power point ในประเด็น ดังนี้ ความหมายของการเขียนรายงานเชิง

วชิ าการ และวธิ ีการจดบันทึกข้อมูล พร้อมทั้งให้นักเรียนจดบันทึกสาระความรู้ลงใน

สมดุ ของตนเองตามความเข้าใจ

ขนั้ สรปุ

3. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั สรปุ ความรู้ เรอ่ื ง การเขยี นรายงานเชิงวิชาการ โดยการสุ่มนักเรียน

เพื่อตอบคาถามเก่ียวกับความหมายของการเขียนรายงานเชิงวิชาการ และวิธีการจด

บันทึกข้อมูล จากนั้นมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาและทาความเข้าใจในประเด็นเร่ือง

ขัน้ ตอนการเขยี นรายงานเชิงวชิ าการไวล้ ่วงหนา้ เพ่อื เปน็ การเตรียมความพร้อมสาหรับการ

เรียนในคาบถัดไป

คำบที่ 2 วธิ ีกำรสอนโดยใชก้ ำรเรียนรู้แบบบรรยำย

ขน้ั นำเขำ้ สู่บทเรียน

1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนวิธีการจดบันทึก

เพ่อื ทดสอบความรู้และความเขา้ ใจของนกั เรยี น

ขน้ั กิจกรรมกำรเรยี นรู้

2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายความรู้โดยการซักถามความรู้พื้นฐาน เรื่อง การเขียน

รายงานเชงิ วิชาการ โดยใชส้ ่อื PowerPoint ทจ่ี ัดทาข้นึ อธบิ ายขั้นตอนการเขยี นรายงาน

เชิงวชิ าการพรอ้ มทงั้ ยกตัวอย่างในแต่ละขน้ั ตอนอยา่ ละเอยี ด

ขน้ั สรุป

3. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับข้ันตอนการเขียนรายงานเชิงวิชาการ โดย

การสุ่มถามนักเรียน จากนั้นครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาและทาความเข้าใจใน

ประเด็นเรื่องส่วนประกอบของรายงานเชิงวิชาการไว้ล่วงหน้าเพ่ือเป็นการเตรียมความ

พร้อมสาหรบั การเรียนในคาบถัดไป

คำบท่ี 3 วิธีกำรสอนโดยใชก้ ำรเรียนรแู้ บบบรรยำย
ขัน้ นำเขำ้ สูบ่ ทเรยี น

1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน จากน้ันครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนข้ันตอนการเขียนรายงาน
เชิงวิชาการ เพ่ือทดสอบความรู้และความเข้าใจของนักเรียน และครูเน้นย้าให้นักเรียน
จดจาข้ันตอนการเขียนรายงานเชิงวิชาการ เพื่อให้นักเรียนสามารถนาความรู้ไปใช้ในการ
เขียนรายงานเชิงวชิ าการได้

ขัน้ กจิ กรรมกำรเรยี นรู้
2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายความรู้โดยการซักถามความรู้พื้นฐาน เรื่อง การเขียน
รายงานเชงิ วิชาการ โดยใช้ส่อื PowerPoint ที่จัดทาขึ้น อธบิ ายส่วนประกอบของรายงาน
เชิงวิชาการพร้อมทั้งยกตัวอย่างในแต่ละขั้นตอนอย่าละเอียด และให้นักเรียนจดบันทึก
สาระความรู้ลงในสมุดของตนเองตามความเข้าใจ จากนั้นจะนารูปแบบรายงานเชิง
วชิ าการมาให้ดเู ป็นตวั อย่าง
3. ครูมอบหมายงานเป็นรายกลุ่ม กลุ่มละ 4-6 คน เมื่อจับกลุ่มเสร็จแล้วให้นักเรียนคิดหัวข้อ
ท่ีสนใจเพื่อใช้เป็นหัวข้อให้การเขียนรายงานเชิงวิชาการ เพ่ือเป็นการวางแนวทางในการ
ดาเนนิ งานจัดทาเป็นรปู เลม่

ขั้นสรุป
4. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ เรื่อง การเขียนรายงานเชิงวิชาการ โดย
การสุ่มถามนักเรียน จากน้ันครูกาหนดเวลาในการทารายงานเชิงวิชาการ โดยให้เวลา
นกั เรียน 2 สัปดาห์ ในการเขียนรายงานเชงิ วชิ าการ

ช้นิ งำน/ภำระงำน
1. สมดุ จดบนั ทึกความรู้
2. รายงานเชงิ วิชาการตามประเด็นทนี่ ักเรียนสนใจ

กำรวัดผลและประเมินผล

เป้ำหมำย วธิ กี ำรวดั เครอ่ื งมือ เกณฑ์กำรวัดและ
ประเมนิ ผล

ดำ้ นควำมรู้ (K)

1. นักเรียนสามารถอธิบาย - การตอบคาถาม - คาถามเพ่ือให้นักเรียน - สังเกตความเข้าใจจาก

วิธีการจดบันทึกข้อมูลจาก แ ล ะ แ ส ด ง ค ว า ม ได้แสดงความเข้าใจใน การตอบคาถาม

การศกึ ษาคน้ คว้าได้ คิดเหน็ เรื่อง วิธีการจดบันทึก

2. นักเรียนสามารถอธิบาย ขอ้ มูล

ขั้นตอนการเขียนรายงานเชิง - คาถามเพ่ือให้นักเรียน - สังเกตความเข้าใจจาก

วชิ าการได้ - การตอบคาถาม ได้แสดงความเข้าใจใน การตอบคาถาม

แ ล ะ แ ส ด ง ค ว า ม เรื่อง ขั้นตอนการเขียน

คดิ เห็น รายงานเชงิ วชิ าการ

เป้ำหมำย วธิ กี ำรวดั เคร่อื งมอื เกณฑก์ ำรวดั และ
ประเมินผล

ด้ำนทกั ษะกระบวนกำร (P)

3. นักเรียนสามารถเขียน - ตรวจสอบความถูก - แบบประเมินใบงาน - ผ่านเกณฑ์คุณภาพ

รายงานเชิงวิชาการตาม ต้องจากใบงาน เร่ือง เร่ือง การเขียนรายงาน ระดับท่ี 2 ข้นั ไป

หลกั การเขียนเชงิ วิชาการตาม การเขียนรายงานเชิง เชงิ วชิ าการ

ความสนใจได้ วิชาการ

4. นักเรียนสามารถเขียน - ตรวจสอบความถูก - แบบประเมินใบงาน - ผ่านเกณฑ์คุณภาพ

อ้างอิงข้อมูลสารสนเทศได้ ต้องจากใบงาน เร่ือง เรื่อง การเขียนรายงาน ระดับท่ี 2 ขน้ั ไป

อย่างถูกต้อง การเขียนรายงานเชิง เชงิ วชิ าการ

วชิ าการ

ด้ำนสมรรถนะสำคัญ

- ความสามารถในการคดิ สังเกตความสามารถ แบบประเมินสมรรถนะ ผ่านเกณฑ์คุณภาพระดับ

- ความสามารถในการใช้ ในการคิดและการใช้ สาคัญของผ้เู รียน ดขี ึ้นไป

ทกั ษะชวี ิต ทั ก ษ ะ ชี วิ ต ข อ ง

นักเรยี น

ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21

- ทักษะความคิดสร้างสรรค์ สังเกตทกั ษะความคิด แบบประเมินทักษะแห่ง ผ่านเกณฑ์คุณภาพระดับ

(creative Thinking สรา้ งสรรค์ ศตวรรษที่ 21 ดขี ้ึนไป

ด้ำนคุณลกั ษณะพึงประสงค์

- ใฝ่เรยี นรู้ สังเกตคุณลักษณะใฝ่ แบบประเมินคุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์คุณภาพระดับ

- ม่งุ มั่นในการทางาน เรียนรู้ และมุ่งมั่นใน อนั พงึ ประสงค์ ดีขึ้นไป

การทางาน

สอ่ื / แหลง่ เรียนรู้ รำยกำรส่อื /แหลง่ เรยี นรู้
ครแู ละนักเรยี น
ประเภท ห้องเรยี น
1. บคุ คล - หนงั สือเรียน รายวิชาพ้นื ฐานภาษาไทย หลกั ภาษาและการใชภ้ าษาไทย ม.5
2. สถานท่ี - ตวั อยา่ งรปู เล่มรายงานเชงิ วิชาการ
3. เอกสาร PowerPoint เรอ่ื ง การเขียนรายงานเชิงวชิ าการ

4. IT

ควำมคดิ เห็นของหัวหนำ้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชอ่ื ..............................................................
(.....................................................................)
............./...................................../...............

ควำมคดิ เห็นของรองวิชำกำร/ หัวหนำ้ งำนวิชำกำร
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชอ่ื ..............................................................
(.....................................................................)
............./...................................../...............

ควำมคิดเห็นของผู้บรหิ ำร
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................. ...............................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชื่อ..............................................................
(.....................................................................)
............./...................................../...............

บันทกึ ผลหลงั กำรสอน

ดำ้ นควำมรู้
ด้ำนสมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น
ดำ้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
ด้ำนอนื่ ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤตกิ รรมท่ีมีปญั หำของนักเรยี นเป็นรำยบคุ คล (ถ้ำมี)
ปัญหำ/อุปสรรค
แนวทำงกำรแกไ้ ข

รำยวิชำ ท32101 ชอื่ วิชำ ภำษำไทย 3 กลมุ่ สำระกำรเรียนร้ภู ำษำไทย

ชนั้ มธั ยมศกึ ษำปีที่ 5 ภำคเรยี นท่ี 1/2565 คำบที่ 10 - 12

เรอ่ื ง กำรตีควำม แปลควำม ขยำยควำม วิเครำะห์ วจิ ำรณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรม เวลำ 3 ชวั่ โมง

มำตรฐำนกำรเรียนรู้
มำตรฐำน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า
และนามาประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตจรงิ
ตัวช้ีวดั
ม.5/2 วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์และวิถี
ชวี ติ ของสงั คมในอดตี

สำระสำคญั
การอ่านแปลความ ตีความ ขยายความ วิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม เป็นการอ่านท่ีมี

ความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกัน โดยการอ่านแปลความเป็นทักษะพ้ืนฐานของการอ่านตีความ ขยายความ และ
วิเคราะห์ วิจารณ์ ซ่ึงหากนักเรียนสามารถแปลความจากเร่ืองที่อ่านได้แล้วก็ย่อมที่จะช่วยส่งเสริมให้สามารถ
ตีความ ขยายความ และวิเคราะห์ วิจารณ์ได้อย่างถูกต้อง การอ่านแปลความ ตีความ และขยายความจึงต้อง
อาศัยกระบวนการคิด เพื่อนามาวิเคราะห์ คิดไตร่ตรองหาเหตุผล ซ่ึงจะช่วยให้ผู้อ่านสามารถอ่านสารต่าง ๆ
ไดเ้ ขา้ ใจอยา่ งลกึ ซึ้ง เหน็ คณุ ค่า และมีประสทิ ธภิ าพ

จุดประสงคก์ ำรเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของการอ่านตีความ แปลความ ขยายความ และวิเคราะห์
วจิ ารณว์ รรณคดีได้ (K)
2. นกั เรียนสามารถอา่ นตคี วาม แปลความ ขยายความ และวเิ คราะหว์ จิ ารณ์วรรณคดไี ด้ (P)
3. นักเรียนสามารถวิเคราะห์ลักษณะเด่นและเชื่อมโยงวรรณคดีกับการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์และ
วิถชี วี ิตของสังคมในอดีตได้ (P)

สำระกำรเรยี นรู้
4.1 ความหมายของการอา่ นตคี วาม แปลความ ขยายความ และการวิเคราะหว์ จิ ารณ์
4.2 หลักการอา่ นตีความ แปลความ ขยายความ และวิเคราะห์วจิ ารณ์

คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
 ซ่ือสัตย์สจุ ริต
 มีวินยั
 ใฝ่เรยี นรู้
 อยู่อย่างพอเพียง
 มงุ่ มนั่ ในการทางาน
 รกั ความเปน็ ไทย
 มีจติ สาธารณะ

สมรรถนะสำคัญ

 ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคดิ
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต
 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

ทักษะในศตวรรษที่ 21

 Reading (อา่ นออก)
3R  Writing (เขียนได)้

 Arithmetic (มีทกั ษะในการคานวณ)

 Critical Thinking and Problem Solving: มีทักษะในการคดิ วเิ คราะห์ การคดิ อย่างมี
วจิ ารณญาณ และแก้ไขปญั หาได้

 Creativity and Innovation: คดิ อย่างสรา้ งสรรค์ คิดเชิงนวตั กรรม

 Collaboration Teamwork and Leadership: ความรว่ มมอื การทางานเปน็ ทมี และ
ภาวะผนู้ า

 Communication Information and Media Literacy: ทักษะในการส่ือสาร และการ
รูเ้ ท่าทนั ส่อื

8C  Cross-cultural Understanding: ความเข้าใจความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม
กระบวนการคิดขา้ มวฒั นธรรม

 Computing and ICT Literacy: ทักษะการใช้คอมพวิ เตอร์ และการรู้เทา่ ทันเทคโนโลยี
ซ่ึงเยาวชนในยุคปจั จบุ นั มีความสามารถดา้ นคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยอี ยา่ งมากหรือเป็น
Native Digital ส่วนคนรนุ่ เก่าหรอื ผู้สูงอายเุ ปรยี บเสมอื นเปน็ Immigrant Digital แตเ่ รา
ต้องไม่อายทจี่ ะเรยี นรู้แม้วา่ จะสงู อายุแล้วก็ตาม

 Career and Learning Skills: ทักษะทางอาชีพ และการเรียนรู้

 Compassion: มีคุณธรรม มเี มตตา กรุณา มรี ะเบยี บวินยั ซ่ึงเป็นคุณลักษณะพื้นฐาน
สาคัญของทักษะข้ันต้นทั้งหมด และเป็นคุณลักษณะท่ีเดก็ ไทยจาเป็นต้องมี

หลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง  มีเหตผุ ล  มภี มู คิ ุ้มกันตวั เอง
 คณุ ธรรม  มีภูมคิ ุ้มกันตัวเอง
3 หว่ ง

 พอประมาณ

2 เงื่อนไข

 ความรู้

4 มิติ  สังคม
 วัฒนธรรม
 เศรษฐกจิ
 ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม

กำรจดั กระบวนกำรเรียนรู้
กำรเตรียมควำมพร้อม
1. นักเรียนทาความสะอาดห้องเรียน เก็บขยะใต้โต๊ะ พื้นที่ห้องเรียน เป็นการเน้นนักเรียนมี
คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ มีนิสยั รักความสะอาด
2. น่ังสมาธิ ทาจิตใจใหส้ งบ ตั้งใจศกึ ษาเล่าเรียน
3. สารวจรายชอ่ื นักเรยี นท่ีเข้าห้อง
4. อบรมคุณธรรมจรยิ ธรรม น้อมนาคาสอนของในหลวง รชั กาลที่ 9 เร่อื ง การทาความดี
คำบที่ 1 วธิ กี ำรสอนโดยใช้กำรเรียนรู้แบบบรรยำย
ขั้นนำเขำ้ ส่บู ทเรยี น
1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน และนาภาพสัญลักษณ์มาแสดงให้นักเรียนดูที่หน้าชั้นเรียน
แล้วให้นักเรียนรว่ มกันทายความหมายของสญั ลักษณ์ตา่ ง ๆ ท่ีครนู ามา
2. ครูถามนักเรียนว่า “นักเรียนทราบได้อย่างไรว่าสัญลักษณ์ท่ีเห็นในภาพหมายถึงอะไร
และส่ือความหมายว่าอย่างไร” นักเรียนสามารถตอบได้อย่างหลากหลาย และบอกกับ
นักเรียนว่าการทนี่ กั เรียนบอกความหมายของสัญลักษณ์ได้ แสดงว่านักเรียนสามารถแปล
ความได้ และจากน้นั ครกู เ็ ชอ่ื มโยงเข้าสู่บทเรียน เร่ือง การตีความ แปลความ ขยายความ
วิเคราะห์ วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม
ขนั้ กิจกรรมกำรเรียนรู้
3. ครูให้นักเรียนดูสื่อ Power point ในประเด็น ดังน้ี ความหมายของการอ่านตีความ แปล
ความ ขยายความ และการวิเคราะหว์ ิจารณ์ และหลักการอ่านตีความ แปลความ
ขยายความ และวิเคราะห์วิจารณ์ พรอ้ มทัง้ ให้นกั เรียนจดบันทึกสาระความรลู้ งในสมุดของ
ตนเองตามความเขา้ ใจ
4. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนทาใบงานที่ 1 เร่ือง การตีความ แปลความ ขยายความ
วิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม และครูจะสุ่มนักเรียนออกมานาเสนอในคาบ
ถดั ไป
ขน้ั สรปุ
5. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปความรู้ เรื่อง การตีความ แปลความ ขยายความ วิเคราะห์
วิจารณ์ วรรณคดีและวรรณกรรม
คำบที่ 2 วธิ ีกำรสอนโดยใชก้ ำรเรยี นรู้แบบบรรยำย
ขั้นนำเข้ำสู่บทเรียน
1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน จากน้ันครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับใบงานเร่ือง เร่ือง การอ่าน
ตีความ แปลความ ขยายความ วิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม ที่ครู
มอบหมายให้นักเรยี นทาเป็นการบา้ น

กิจกรรมกำรเรียนรู้
2. ครูสุ่มนักเรียนออกมานาเสนอใบงาน เรื่อง การอ่านตีความ แปลความ ขยายความ
วิเคราะห์ วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม และรว่ มกนั สรปุ ความรูท้ ่ีได้

ขน้ั สรปุ
3. ครูให้นักเรียนทุกคนทาแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อวัดความรู้และความเข้าใจของนักเรียน
ตลอดการเรยี นการสอนในหนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 1 ทอ่ งโลกวรรณคดี

ช้ินงำน/ภำระงำน
1. ใบงาน เร่อื ง การตคี วาม แปลความ ขยายความ วิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรม
2. จดบนั ทกึ ลงสมุด

กำรวัดผลและประเมินผล

เปำ้ หมำย วิธกี ำรวัด เครื่องมือ เกณฑก์ ำรวดั และ
ประเมนิ ผล

ดำ้ นควำมรู้ (K)

1. นักเรียนสามารถอธิบาย - การตอบคาถาม - คาถามเพ่ือให้ - สังเกตความเข้าใจ

ความหมายของการอ่านตีความ แ ล ะ แ ส ด ง ค ว า ม นักเรียนได้แสดงความ จากการตอบคาถาม

แปลความ ขยายความ และ คิดเหน็ เข้าใจในเร่ือง การ

วเิ คราะหว์ จิ ารณว์ รรณคดไี ด้ ตีความ แปลความ

ขยายความวิเคราะห์

วิจารณ์วรรณคดีและ

วรรณกรรม

ดำ้ นทกั ษะกระบวนกำร (P)

2. นักเรียนสามารถอ่านตีความ - ตรวจสอบความถูก - แบบประเมินใบงาน - ผ่านเกณฑ์คุณภาพ

แปลความ ขยายความ และ ต้องจากใบงาน เร่ือง เร่ือง การพิจารณา ระดับท่ี 2 ขน้ึ ไป

วิเคราะหว์ ิจารณว์ รรณคดีได้ ก า ร พิ จ า ร ณ า วิ เ ค ร า ะ ห์ วิ จ า ร ณ์

3. นักเรียนสามารถวิเคราะห์ วิ เ ค ร า ะ ห์ วิ จ า ร ณ์ ว ร ร ณ ค ดี แ ล ะ

ลักษ ณะเ ด่นแ ละเ ชื่อม โ ย ง ว ร ร ณ ค ดี แ ล ะ วรรณกรรม

วรรณคดีกับการเรียนรู้ทาง วรรณกรรม

ประวัติศาสตร์และวิถีชีวิตของ

สังคมในอดีตได้

ดำ้ นสมรรถนะสำคญั

- ความสามารถในการคิด สังเกตความสามารถ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ผ่านเกณฑ์คุณภาพ

- ความสามารถในการใช้ทักษะ ในการคดิ และการใช้ สมรรถนะสาคัญของ ระดบั ดีขน้ึ ไป

ชวี ิต ทั ก ษ ะ ชี วิ ต ข อ ง ผเู้ รียน

นักเรียน

ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21

- ทักษะความคิดสร้างสรรค์ สังเกตทักษะความคิด แบบประเมินทักษะ ผ่านเกณฑ์คุณภาพ

(creative Thinking สร้างสรรค์ แห่งศตวรรษที่ 21 ระดบั ดีข้นึ ไป

เป้ำหมำย วิธีกำรวดั เครอ่ื งมือ เกณฑก์ ำรวัดและ
ประเมนิ ผล

ดำ้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

- ใฝ่เรียนรู้ สังเกตคุณลักษณะ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ผ่านเกณฑ์คุณภาพ

ดา้ นการใฝ่เรียนรู้ คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึ ง ระดับดขี ้นึ ไป

ประสงค์

ส่อื / แหล่งเรยี นรู้

ประเภท รำยกำรสื่อ/แหลง่ เรยี นรู้

1. บคุ คล ครูและนักเรียน

2. สถานท่ี ห้องเรยี น

3. เอกสาร 1. ใบงาน เรือ่ ง การอ่านตีความ แปลความ ขยายความ วิเคราะห์ วจิ ารณ์วรรณคดี

และวรรณกรรม

2. แบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยท่ี 1 ทอ่ งโลกวรรณคดี

4. IT PowerPoint เรื่อง การการตีความ แปลความ ขยายความ วิเคราะห์ วิจารณ์

วรรณคดีและวรรณกรรม

วิชำภำษำไทย ใบงำน ชนั้ มธั ยมศกึ ษำปที ่ี 5
ท32101 เรื่อง กำรแปลควำม ตีควำม หนว่ ยกำรเรยี นรทู้ ี่ 1
ขยำยควำม และกำรวิเครำะห์ วิจำรณ์วรรณคดี

ตอนที่ 1 ใหน้ กั เรยี นแปลควำมหมำยจำกบทประพันธ์ต่อไปนใ้ี ห้ถูกต้อง

...จึ่งตรัสว่าโอ้โอ๋เวลาปานฉะนี้เอ่ยจะมิดึกด่ืน จวนจะส้ินคืนค่อนรุ่งไปเสียแล้วหรือกระไรไม่รู้เลย
พระพายราเพยพัดมาร่ีเร่ือยอยู่เฉื่อยฉิว อกแม่น้ีให้อ่อนหิวสุดละห้อย ทั้งดาวเดือนก็เคล่ือนคล้อยลงลับไม้
สุดทแ่ี ม่จะตดิ ตามเจ้าไปในยามนี้ ฝูงลงิ คา่ งบ่างชะนที นี่ อนหลบั กก็ ลงิ้ กลับเกลอื กตวั อยยู่ ้ัวเย้ีย ทั้งนกหกก็งัวเงีย
เหงาเงียบทุกรวงรัง แต่แม่เที่ยวเซซังเสาะแสวงทุกแห่งห้องหิมเวศทั่วประเทศทุกราวป่า สุดสายนัยนาที่แม่
จะตามไปเล็งแล สุดโสตแล้วที่แม่จะซับทราบฟังสาเนียง สุดสุรเสียงที่แม่จะร่าเรียกพิไรร้อง สุดฝีเท้าที่แม่
จะเยื้องย่องยกย่างลงเหยียบดิน ก็สุดส้ินสุดปัญญาสุดหาสุดค้นเห็นสุดคิด จะได้พานพบประสบรอยพระลูก
น้อยแตส่ ักนิดไมม่ เี ลย จ่ึงตรสั ว่าเจา้ ดวงมณฑาทองทั้งคู่ของแม่เอ๋ย หรือว่าเจ้าท้ิงขว้างวางจิตไปเกิดอื่น เหมือน
แมฝ่ ันเม่ือคนื น้แี ล้วแล...

(รา่ ยยาวมหาเวสสันดรชาดก ตอน กัณฑม์ ัทรี)

............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................................... ...........
........................................................................................................................ ......................................................
............................................................................................................................. .................................................
......................................................................................................................................................... .....................
.............................................................................................................. ................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................... ...............................
.................................................................................................... ..........................................................................
............................................................................................................................. .................................................
..................................................................................................................................... .........................................
.......................................................................................... ....................................................................................

ชื่อ................................................................สกุล.................................................ชั้น..................เลขท่.ี ................

ตอนท่ี 2 ให้นกั เรียนตคี วำมคำศัพท์ทขี่ ีดเส้นใตใ้ นบทประพนั ธต์ อ่ ไปน้ี

อุรำรำนรำ้ วแยก ยลสยบ
เอนพระองคล์ งทบ ทำ่ วดน้ิ
เหนอื คอคชซอนซบ สงั เวช
วำยชิวำตม์สุดสิน้
สฟู่ ้ำเสวยสวรรค์

(โคลงสีส่ ุภำพลิลติ ตะเลงพ่ำย)

1. อรุ าราน
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

2. ยลสยบ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

3. สังเวช
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

4. วายชิวาตม์
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ตอนที่ 3ใหน้ ักเรียนขยำยควำมคำศพั ท์ท่ีขีดเส้นใตใ้ นบทประพันธ์ต่อไปน้ี

ควำมรกั เหมือนโรคำ บนั ดำลตำให้มดื มน
ไม่ยินและไม่ยล อปุ สรรคะใดใด
ควำมรกั เหมือนโคถึก กำลังคกึ ผขิ งั ไว้
ก็โลดจำกคอกไป บ่ ยอมอยู่ ณ ท่ีขงั
ถึงหำกจะผูกไว้
ย่ิงห้ำมก็ย่ิงคลัง่ ก็ดงึ ไปด้วยกำลงั
บ่ หวนคดิ ถึงเจ็บกำย

(มัทนะพำธำ)

1. ความรกั เหมือนโรคา
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

2. ความรกั เหมือนโคถึก
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................................. ............
....................................................................................................................... .......................................................

3. ย่ิงห้ามก็ยงิ่ คลง่ั
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

4. หวนคดิ ถงึ เจบ็ กาย
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ควำมคดิ เหน็ ของหัวหน้ำกลุ่มสำระกำรเรียนรู้
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชอ่ื ..............................................................
(.....................................................................)
............./...................................../...............

ควำมคิดเห็นของรองวชิ ำกำร/ หัวหนำ้ งำนวิชำกำร
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................... ...............................
................................................................................................................... ...........................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่ือ..............................................................
(.....................................................................)
............./...................................../...............

ควำมคิดเห็นของผบู้ รหิ ำร
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................. ...............................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชอ่ื ..............................................................
(.....................................................................)
............./...................................../...............

บันทกึ ผลหลงั กำรสอน

ดำ้ นควำมรู้
ด้ำนสมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น
ดำ้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
ด้ำนอนื่ ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤตกิ รรมท่ีมีปญั หำของนักเรยี นเป็นรำยบคุ คล (ถ้ำมี)
ปัญหำ/อุปสรรค
แนวทำงกำรแกไ้ ข


Click to View FlipBook Version