The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือ-สลากภัตวัดเจดีย์หลวง92_2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tdesigncm, 2020-09-30 21:25:07

หนังสือ-สลากภัตวัดเจดีย์หลวง92_2563

หนังสือ-สลากภัตวัดเจดีย์หลวง92_2563

สลากภัต ปีที่ ๙๒
ประจ�ำปีพุทธศักราช ๒๕๖๓ วัดเจดีย์หลวง

เจ้าของ

วัดเจดีย์หลวง ๑๐๓ ถนนพระปกเกล้า ต�ำบลพระสิงห์
อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ๕๐๒๐๐
โทร. ๐๖-๔๔๘๓-๓๙๖๓
จ�ำนวนพิมพ์ ๑,๐๐๐ เล่ม

ประธาน

พระกิตติวิมล
ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดเจดีย์หลวง

ท่ีปรึกษา พระครูวินิตคณาทร
พระครูมหาเจติยานุรักษ์
พระครูโสภณกวีวัฒน์ พระครูสิริมหาเจติยานุกูล
พระครูวินัยสารโกศล พระครูไพบูลย์พัฒนาทร
พระครูมหาเจติยาภิบาล
พระครูสุนทรมหาเจติยานุรักษ์
พระมหาอุดร ทีปวํโส

บรรณาธิการ

พระครูปลัดสุวัฒนเมตตาคุณ (วิเชียร สมตฺถิโก)



ทร่ี ะลึกงานท�ำบญุ ประจำ� ปี ๒๕๖๓ สลากภตั ปที ี่ ๙๒

วัดเจดยี ์หลวง

สารบัญ

หน้า
 ความเป็นมา ๔
 ก�ำหนดการจัดงาน ๕
 อนุโมทนากถา พระกิตติวิมล (อัมพร กตปุญฺโญ) ๗
 การบริหาร ภายในวัดเจดีย์หลวง ๙
 การศึกษาภายในวัดเจดีย์หลวง ๑๗
 สาระธรรม ๒๕
 สรุปรายรับ - รายจ่าย ๕๙
 ก�ำหนดการจัดงานวันสมเด็จพระญาณสังวร ๖๒
สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
 ก�ำหนดการถวายผ้าพระกฐินพระราชทาน ๖๓
 ก�ำหนดการพระราชทานเพลิงศพ ๖๔
พระเทพวุฒาจารย์ (ชูเกียรติ อภโย)
 หมายเลขโทรศัพท์ท่ีติดต่อประจ�ำ ๖๙

3

ท่ีระลกึ งานทำ� บุญประจ�ำปี ๒๕๖๓ สลากภตั ปที ่ี ๙๒

วดั เจดีย์หลวง

ความเป็นมางานประจ�ำปี

ถวายสลากภัต

วัดเจดีย์หลวง

งานทำ� บญุ ถวายสลากภตั เปน็ ประเพณที ศี่ รทั ธาสาธชุ นในทอ้ งถน่ิ ภาคเหนอื

ได้ถือปฏิบัติสืบต่อกันมาแต่โบราณสมัย มีวัตถุประสงค์เพ่ืออุทิศส่วนกุศลให้แก่
ปิยชนผู้ล่วงลับไปแล้ว ส�ำหรับวัดเจดีย์หลวง ได้เร่ิมจัดงานนี้มาแต่คร้ังพระเดชพระคุณ
พระอุบาลีคณุ ูปมาจารย์ (จันทร์ สิรจิ นฺโท) วัดบรมนวิ าส กรงุ เทพฯ ขน้ึ มาบรู ณปฏิสงั ขรณ์
วัดเจดีย์หลวง เมื่อปี พ.ศ.๒๔๗๑ โดยท่านได้ก�ำหนดเอาวันข้ึน ๕ ค่�ำ เดือน ๑๑
(เดือนเก๋ียงเหนือ) เป็นวันถวายสลากภัตและท�ำบุญประจ�ำปี เมื่อท่านได้ล่วงลับไปแล้ว
คณะศษิ ยานุศิษย์กไ็ ดป้ ฏบิ ตั สิ ืบมา
จนกระทง่ั พ.ศ.๒๕๓๗ คณะกรรมการสงฆ์เห็นว่าปจั จุบนั สมัยเปลีย่ นไป ศรทั ธา
ญาติโยมไม่มีเวลา หากจะจัดตามก�ำหนดการเดิมอาจจะไม่สะดวกแก่ศรัทธาสาธุชน
ในการมาร่วมงานบำ� เพญ็ บญุ ดังกล่าว
ดังนั้นจึงมีมติให้ก�ำหนดเอาวันหยุดราชการท่ีใกล้กับวันข้ึน ๕ ค่�ำ เดือน ๑๑
(เดือนเก๋ียงเหนือ) เป็นวันท�ำบุญประจ�ำปีเพื่อท�ำบุญอุทิศแด่บูรพาจารย์และปิยชน สืบมา
ซ่ึงปีนเ้ี ปน็ ปีที่ ๙๒

วดั เจดยี ์หลวง
๒๕๖๓

4

ท่รี ะลกึ งานท�ำบญุ ประจ�ำปี ๒๕๖๓ สลากภัต ปีท่ี ๙๒

วัดเจดยี ์หลวง

ก�ำหนดการ

ท�ำบุญประจ�ำปี ๒๕๖๓ ถวายทานสลากภัต ปีที่ ๙๒

ณ วัดเจดีย์หลวง ต�ำบลพระสิงห์ อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่

วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ เดือน กันยายน พุทธศักราช ๒๕๖๓

วัดเจดีย์หลวง จัดให้มีงานท�ำบุญประจ�ำปีหรืองานสลากภัตเป็น

ประจ�ำทุกปี เพื่ออุทิศส่วนบุญกุศลแด่ผู้มีพระคุณ มีบิดา มารดา เป็นต้นและผู้มี
อุปการคุณต่อวัด ที่ล่วงลับไปแล้ว โดยถือเอาวันหยุดราชการท่ีใกล้กับวันข้ึน ๕ ค�่ำ
เดือน ๑๑ (เดือนเก๋ียงเหนือ) เป็นวันงานท�ำบุญประจ�ำปี ซึ่งในปีพุทธศักราช ๒๕๖๓
เปน็ ปที ่ี ๙๒ มีก�ำหนดการดงั ตอ่ ไปนี้
วนั อาทติ ย์ ท่ี ๒๐ เดอื น กนั ยายน พ.ศ.๒๕๖๓ ตรงกับวันขน้ึ ๓ ค�ำ่ เดอื น ๑๑
(เดือนเกี๋ยงเหนือ)
เวลา ๑๐.๐๐ น.  เริม่ พธิ ที างศาสนา ทำ� บุญทกั ษิณานุประทาน
 อุทศิ ถวายแด่ผูม้ ีอุปการคณุ ท่ลี ่วงลับ
 พระสงฆ์ สวดพระพทุ ธมนต์/รบั ทักษิณานปุ ระทาน
เวลา ๑๑.๐๐ น.  ถวายภัตตาหารเพลพระสงฆ์สามเณร ๓๐๐ รปู
เวลา ๑๒.๓๐ น.  ถวายทานสลากภตั แด่พระสงฆส์ ามเณรจำ� นวน ๓๐๐ รูป
วัดเจดีย์หลวง ขอแจ้งข่าวการบ�ำเพ็ญกุศลงานท�ำบุญประจ�ำปีถวายทานสลาก
ภัตมายังบรรดาศรัทธาสาธุชนผู้ใจบุญท้ังหลาย เพ่ือร่วมกันจัด วัตถุไทยทานสลากภัต
เพอื่ อทุ ศิ สว่ นบญุ กศุ ลแกผ่ ทู้ ลี่ ว่ งลบั ไปแลว้ และขอเชญิ ชวนเปน็ เจา้ ภาพจดั ตงั้ โรงทานอาหาร
นำ�้ ดืม่ ในวันและเวลาดังกล่าว

แสดงความจำ� นงเป็นเจ้าภาพและสอบถามรายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ ไดท้ ี่
สำ� นักงานวดั เจดยี ์หลวง

โทร. ๐๖-๔๔๘๓-๓๙๖๓,๐๙-๗๑๙๕-๔๖๙๕, ๐๘-๙๙๙๙-๙๓๘๐, ๐๘-๗๑๘๒-๔๗๑๐
หรือทำ� บญุ ผ่านธนาคารกรุงไทย เลขทบ่ี ญั ชี ๕๓๓-๐-๒๖๘๖๔-๘ วัดเจดยี ์หลวง วรวหิ าร

5



ที่ระลึกงานท�ำบญุ ประจำ� ปี ๒๕๖๓ สลากภัต ปีที่ ๙๒

วัดเจดีย์หลวง

อนุโมทนากถา

พระกิตติวิมล (อัมพร กตปุญฺโญ)

ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดเจดีย์หลวง

“นิมิตตัง สาธุรูปานัง กตัญญูกตเวทิตา”
ความกตัญญูเป็นเคร่ืองหมายของคนดี

การท�ำบุญถวายสลากภัตในปี๒๕๖๓น้ี เป็นปีที่๙๒ เพ่ือให้สาธุชนท่ีมาท�ำบุญได้
มีส่ิงท่ีเป็นประโยชน์เป็นที่ระลึกทางวัดได้พิมพ์หนังสือแจกเป็นธรรมบรรณาการ การตา
นก๋วยสลากหรือสลากภัตเป็นประเพณี เพ่ืออุทิศส่วนบุญส่วนกุศลไปหาญาติผู้ล่วงลับไป
แลว้ เพราะเชอื่ กนั วา่ ในโลกของนรกภมู ิ จะได้มีการปลดปลอ่ ยดวงวญิ ญาณท้งั หลาย เพ่ือ
ให้มีโอกาสกลับมา ขอส่วนบุญจากญาติพ่ีน้อง ก่อนจะกลับไปยังภพภูมิของตนหรือสูง
ทสี่ ดุ คอื การไดพ้ น้ จากนรกภมู ิ ซงึ่ เปน็ ประเพณที ป่ี ฏบิ ตั สิ บื ตอ่ กนั มาหลายชว่ั อายคุ น ดงั นน้ั
จงึ เปน็ การปฏบิ ตั ปิ ระเพณที มี่ งุ่ เนน้ ความกตญั ญกู ตเวที เพอื่ ตอ้ งการใหบ้ คุ คลผเู้ ปน็ ทรี่ กั ได้
พบกบั ความสุขจึงได้ท�ำสืบๆกันมา

แม้ในสมัยพุทธกาล คอื เมือ่ ครัง้ สมเดจ็ พระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ ยังทรงพระชนม์
อยนู่ ั้น กม็ ีปรากฏเหตุการณ์การทำ� บญุ อุทิศสว่ นกศุ ลถงึ ญาตพิ น่ี อ้ งโดยพระเจา้ พมิ พิสาร
พระองค์ได้ยกสวนเวฬวุ ัน (สวนไผ)่ เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ทป่ี ระทับของสมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้
และหม่ภู ิกษุ และในยามค่�ำคนื น้นั นนั่ เอง ไดเ้ กิดมีเสียงรอ้ งครวญโหยหวนใหพ้ ระเจ้าพมิ พิ
สารได้ยินโดยเหล่าเปรตทั้งหลายท่ีเคยเป็นญาติของพระองค์ ด้วยหวังใจว่าเมื่อพระองค์
ไดย้ นิ แลว้ จะระลกึ ถงึ พวกตนบา้ ง พระเจา้ พมิ พสิ ารเกดิ ความสะดงุ้ พระทยั ในเสยี งเหลา่ นน้ั
รงุ่ เชา้ จงึ เขา้ ไปกราบทลู ถามพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ในเหตแุ หง่ เสยี งอนั เปน็ ทตี่ งั้ แหง่ ความกลวั
เหลา่ นนั้ พระพทุ ธเจา้ ตรสั ตอบ วา่ เปน็ เสียงของเปรตซ่งึ เป็นญาตขิ องพระองค์ในกาลกอ่ น

7

ท่ีระลึกงานทำ� บุญประจ�ำปี ๒๕๖๓ สลากภตั ปีที่ ๙๒

วดั เจดยี ์หลวง
จงึ ตรสั เลา่ ถงึ วบิ ากกรรมทบี่ รรดาพระญาตเิ กดิ เปน็ เปรตซง่ึ จะพน้ จากการเปน็ เปรตไดก้ ด็ ว้ ย
ญาติของเปรตเหล่าน้ันจะต้องท�ำบุญอุทิศส่วนกุศลไปให้ ฉะน้ัน เมื่อพระเจ้าพิมพิสารตั้ง
พระทยั จะถวายสวนไผใ่ หเ้ ปน็ อารามไวใ้ นพระพทุ ธศาสนาแดพ่ ระพทุ ธองคแ์ ละพระสาวกนนั้
ด้วยอานิสงส์แห่งการถวายวัตถุทานเป็นอันมากนั้น ก่อให้เกิดอานิสงส์ต่างๆมากมาย เช่น
อานิสงส์แห่งการถวายจีวรได้ส่งผลให้เปรตพระญาติมีเส้ือผ้าอาภรณ์สวมใส่ อานิสงส์
แห่งการถวายน�้ำช่วยให้ดับความกระหายที่ทุกข์ทรมานมายาวนาน อานิสงส์แห่งการถวาย
ภัตตาหาร ได้ก�ำจัดความหิวโหยโดยส้ินภาวะจากเปรตกลายเป็นเทวดาพากันไปเสวยผล
บญุ กศุ ลบนสรวงสวรรคด์ ้วยอ�ำนาจบญุ กุศลท่ีพระเจ้าพิมพิสารอุทศิ ใหน้ นั้ เอง
ท้ายน้ี ขออนุโมทนาบุญกับศรัทธาสาธุชนทุกท่านท่ีมาร่วมงานบุญสลากภัตน้ี
ขออานุภาพสิ่งศักด์ิสิทธ์ิทั้งหลาย จงมาปกห่มรักษาอภิบาลประทานพรให้ทุกท่านพร้อม
ครอบครัวประสบความสุขความเจรญิ ในหน้าท่กี ารงาน การเงิน คิดหวงั สิง่ หนึง่ ประการใด
ในทางทีช่ อบประกอบด้วยธรรม ขอส่ิงนน้ั จงพลันส�ำเร็จ จงพลันส�ำเรจ็ ทุกประการเทอญ.

พระกติ ตวิ มิ ล (อมั พร กตปุญฺโญ)
ผรู้ ักษาการแทนเจา้ อาวาสวดั เจดยี ห์ ลวง

8

การบริหาร

ภายในวดั เจดียห์ ลวง



ท่ีระลกึ งานทำ� บญุ ประจ�ำปี ๒๕๖๓ สลากภัต ปีท่ี ๙๒

วัดเจดียห์ ลวง

การบริหาร/การปกครอง
ภายในวัดเจดีย์หลวง

เจา้ อาวาส

พระกติ ตวิ มิ ล (อัมพร กตปุญโฺ ญ)
ผ้รู กั ษาการแทนเจ้าอาวาสวดั เจดยี ์หลวง

ผู้ช่วยเจ้าอาวาส

พระครูโสภณกววี ฒั น์ (ธนจรรย์ คตุ ตฺ ธมโฺ ม)
พระครวู นิ ติ คณาทร (เกษมสขุ ปญุ ญฺ สโุ ข)
พระครูวนิ ยั สารโกศล (ยอด สุธมโฺ ม)
พระครมู หาเจติยานุรกั ษ์ (พนม ฐติ วีโร)
พระครูมหาเจติยาภบิ าล (หาญวิชยั ญาณวโร)
พระครสู ริ ิมหาเจตยิ านุกูล (บรรเจิด ฐติ มโน)
พระครสู นุ ทรมหาเจตยิ านรุ ักษ์ (จติ ตชิ ัย จติ ตชิ โย)
พระครไู พบลู ย์พัฒนากร (สมพร ปณุ ณฺ ฉนโฺ ท)
พระครปู ลัดสวุ ฒั นเมตตาคณุ (วิเชียร สมตถฺ ิโก)
พระมหาอุดร ทีปวโํ ส

เจ้าคณะเจดยี ์หลวง

พระครูวินัยสารโกศล (ยอด สุธมฺโม)

11

ท่ีระลึกงานทำ� บุญประจ�ำปี ๒๕๖๓ สลากภตั ปที ่ี ๙๒

วัดเจดยี ห์ ลวง

รองเจา้ คณะเจดีย์หลวง

พระครสู ริ ิมหาเจติยานุกูล
พระมหาอุดร ทีปวํโส

เจ้าคณะหอธรรม

พระครมู หาเจตยิ าภิบาล

รองเจา้ คณะหอธรรม

พระครสู นุ ทรมหาเจติยานุรักษ์

คณะกรรมการสงฆ์ ที่ปรึกษากรรมการสงฆ์
ที่ปรึกษากรรมการสงฆ์
พระครโู สภณกวีวฒั น์ ประธานกรรมการสงฆ์
พระครูวนิ ิตคณาทร กรรมการสงฆ์
พระกติ ตวิ ิมล กรรมการสงฆ์
พระครูวินัยสารโกศล กรรมการสงฆ์
พระครมู หาเจตยิ านุรกั ษ์ กรรมการสงฆ์
พระครมู หาเจตยิ าภิบาล กรรมการสงฆ์
พระครูสุนทรมหาเจตยิ านรุ กั ษ์ กรรมการสงฆ์
พระครสู ริ มิ หาเจตยิ านุกลู กรรมการสงฆ์
พระครูไพบูลย์พัฒนากร กรรมการสงฆ์
พระมหาอุดร ทีปวํโส กรรมการสงฆ์
พระมหาเจรญิ กตปญฺโญ กรรมการสงฆ์
พระครสู มุห์ทศพล ญาณสาโร
พระครสู งั ฆรกั ษ์กนั ตพงษ์ กนฺตวโํ ส

12

ทรี่ ะลึกงานทำ� บุญประจำ� ปี ๒๕๖๓ สลากภัต ปที ี่ ๙๒

วดั เจดีย์หลวง

พระมหาอดิสร อนิ ฺทปญฺโญ กรรมการสงฆ์

พระครูปลัดสุวฒั นเมตตาคณุ กรรมการสงฆ์/เลขานุการ

เลขานุการวัด

พระครปู ลดั สวุ ฒั นเมตตาคุณ (วิเชยี ร สมตฺถิโก)

ผูช้ ว่ ยเลขานุการวัด

พระมหาอดุ ร ทีปวโํ ส
พระมหาเจริญ กตปญฺโญ
พระมหาอดสิ ร อินทปญฺโญ
พระณฐั พงศ์ คุณวโร

อาจารยป์ กครองประจ�ำกฏุ ิ
กุฏิพระอมราภริ กั ขิต พระครูสมุห์ทศพล ญาณสาโร เปน็ ผปู้ กครอง
เป็นผปู้ กครอง
กุฏชิ สู ุวรรณ พระมหาปณุ ณส์ มบัติ ปภากโร เป็นผปู้ กครอง
เป็นผปู้ กครอง
กฏุ ิจนั ทร์ กสุ โล พระกติ ตวิ ิมล เป็นผปู้ กครอง
เปน็ ผู้ปกครอง
กฏุ ิจันทกุสลานสุ รณ์ พระมหาอดุ ร ทีปวโํ ส เปน็ ผู้ปกครอง
เปน็ ผปู้ กครอง
กฏุ มิ หาเจตยิ าสามัคคี พระครวู ินยั สารโกศล เป็นผ้ปู กครอง
เปน็ ผู้ปกครอง
อาคารอนสุ รณ์ฯ พระครูสิริมหาเจติยานุกูล เปน็ ผู้ปกครอง

กฏุ เิ คยู ๓๖ พระครวู ินิตคณาทร

กฏุ อิ าคารธรรมดลิ ก พระครูวนิ ิตคณาทร

กุฏสิ ุจิณโณ พระครูโสภณกวีวฒั น์

กฏุ พิ ระเทพวุฒาจารย์ พระครสู นุ ทรมหาเจติยานุรกั ษ์

กฏุ ิสมเดจ็ พระครมู หาเจตยิ าภบิ าล

13

ที่ระลกึ งานทำ� บุญประจ�ำปี ๒๕๖๓ สลากภตั ปที ่ี ๙๒

วัดเจดยี ห์ ลวง

กุฏสิ ารบรรณ พระครูมหาเจตยิ าภบิ าล เปน็ ผ้ปู กครอง

กุฏิ ๕๐ ปี วิถีพรตฯ พระครมู หาเจติยานุรักษ์ เป็นผู้ปกครอง

กฏุ สิ ุขมุ -ปราณี อศั เวศ พระครูไพบูลยพ์ ัฒนาทร เปน็ ผู้ปกครอง

กุฏจิ รญั กิติบุตร พระมหาเจริญ กตปญฺโญ เป็นผ้ปู กครอง

กฏุ พิ ิเชฏฐ ์ พระครสู ังฆรกั ษ์วรี วัฒน์ วรี วฑฒฺ โณ เปน็ ผู้ปกครอง

กุฏิคองประเสริฐ พระครปู ลัดสวุ ฒั นเมตตาคณุ เปน็ ผู้ปกครอง

ไวยาวจั กรวัด

นายจีระพนั ธ์ กติ ิบตุ ร
นายสมมิทธ์ิ ทิพยมณฑล
นายพงศักด์ิ เจรญิ กุศล

14

ทีร่ ะลกึ งานทำ� บุญประจำ� ปี ๒๕๖๓ สลากภตั ปีที่ ๙๒

วดั เจดยี ห์ ลวง

สมณศักดิ์และพระภิกษุสามเณรจ�ำพรรษา
ปี พ.ศ. ๒๕๖๓

พระราชาคณะชนั้ สามญั ๑ รปู
พระครสู ญั ญาบตั ร ๘ รูป
พระครฐู านานุกรม ๙ รูป
พระภิกษุสามเณรเปรียญธรรม ๑๘ รูป
พระภกิ ษุสามเณรนกั ธรรม ๕๘ รปู
พระอนั ดบั เรยี นธรรมวินัย ๔ รปู
สามเณรเรียนธรรมวนิ ยั ๑๖๗ รปู
พระภิกษุปาฏิโมกข ์ ๗ รูป
รวมพระภิกษ ุ ๔๒ รปู
รวมสามเณร ๑๖๖ รปู
รวมพระภิกษสุ ามเณร ๒๐๘ รปู
ศษิ ย์วดั ๓ คน

(ปธ.๗- ๒ รูป, ปธ.๖-๑ รูป, ปธ.๕- ๒ รูป, ปธ.๔– ๑ รปู ,
ปธ.๓– ๕ รูป, ประโยค ๑-๒ ๗ รูป)

15



การศกึ ษา

ภายในวดั เจดียห์ ลวง



ท่รี ะลกึ งานทำ� บุญประจำ� ปี ๒๕๖๓ สลากภัต ปที ่ี ๙๒

วัดเจดียห์ ลวง

๑. โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกนกั ธรรม-บาลี

โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกนักธรรม-บาลี ก�ำเนิดขึ้นมาตั้งแต่คร้ังที่พระเดช
พระคุณท่านเจ้าคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) วัดบรมนิวาส กรุงเทพฯ
ได้ขน้ึ มาฟ้ืนฟูวดั เจดียห์ ลวง โดยการอาราธนาของพลตรีเจา้ แกว้ นวรฐั เมือ่ ปี พ.ศ.๒๔๗๑
ซง่ึ การจัดการศกึ ษามี ๒ แผนก คอื
๑. แผนกธรรม
 มกี ารเรียนการสอนนกั ธรรม ช้ันตรี - โท -เอก (พระภิกษุสามเณร)
 มีการเรยี นการสอนธรรมศกึ ษา ช้นั ตรี - โท - เอก (ประชาชนท่วั ไป)
๒. แผนกบาลี
 มกี ารเรยี นการสอนบาลปี ระโยคชั้น บาลีไวยากรณ์ ประโยค ๑ - ๒
จนถงึ เปรยี ญธรรมสงู สดุ ตามแตจ่ ะมีนกั เรียน

การศึกษาปัจจบุ ันมี
 พระกิตติวิมล เป็นเจา้ สำ� นักศาสนศึกษา

 พระครวู นิ ยั สารโกศล เปน็ ครูใหญส่ ำ� นกั ศาสนศึกษา

 พระมหาอุดร ทีปวํโส เปน็ เลขานกุ ารส�ำนักศาสนศกึ ษา

แผนกนักธรรม-บาลี

 พระครสู ังฆรกั ษ์กันตพงศ์ กนฺตวโํ ส เป็นเลขานุการส�ำนกั ศาสนศกึ ษา
แผนกธรรมศกึ ษา
ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓
 มีบคุ ลากร จำ� นวน ๑๙ รปู /คน

 มนี ักเรียนนักธรรมทงั้ หมด จำ� นวน ๑๒๑ รูป

 มนี ักเรยี นบาล ี จำ� นวน ๑๖๒ รูป

 มีนักเรียนธรรมศกึ ษาท้งั หมด จ�ำนวน ๒,๐๒๙ คน

19

ตารางสรปุ ผลสัมฤทธ์ิทางการศกึ ษา แผนกนักธรรม-บาลี-ธรรมศึกษา
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ - ๒๕๖๓

สำ� นกั ศาสนศกึ ษาวัดเจดยี ์หลวง ต.พระสงิ ห์ อ.เมอื งเชียงใหม่ จ.เชยี งใหม่

พระมหาอดุ ร ทีปวํโส
เลขานกุ ารฝ่ายนักธรรมบาลี
ท่รี ะลกึ งานทำ� บญุ ประจำ� ปี ๒๕๖๓ สลากภตั ปที ี่ ๙๒

วัดเจดยี ์หลวง
20

ทีร่ ะลึกงานทำ� บญุ ประจำ� ปี ๒๕๖๓ สลากภตั ปีที่ ๙๒

วัดเจดีย์หลวง

๒. โรงเรียนสามคั ควี ทิ ยาทาน (พระปริยัติธรรม แผนกสามัญ)

ก่อต้ังขึ้นเม่ือวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๑๕ โดยพระเดชพระคุณพระเทพ
สารเวที (ขันติ์ ขนฺติโก) เป็นผู้จัดการ และได้ปิดการเรียนการสอนไปเม่ือปี พ.ศ.๒๕๒๗
จนกระท่ังปี พ.ศ.๒๕๓๔ ได้ท�ำการเปิดการเรียนการสอนอีกคร้ังโดยพระเดชพระคุณ
พระพทุ ธพจนวราภรณ์ (จนั ทร์ กสุ โล) เปิดการเรยี นการสอนตั้งแต่มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ ถึง
มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖
ปัจจบุ ันมี
 พระกิตติวิมล (อัมพร กตปญุ โฺ ญ) เปน็ ผูร้ ับใบอนุญาต
และเป็นผจู้ ัดการ
 พระครูวนิ ยั สารโกศล (ยอด สุธมฺโม) เปน็ ผู้อำ� นวยการ

ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ มบี คุ ลากร ๒๔ รปู /คน
มีนักเรียนท้ังหมด ๒๕๑ รปู

๓. โรงเรยี นเมตตาศกึ ษา (ในพระราชูปถมั ภ์)

ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๐๒ โดยพระเดชพระคุณพระพุทธพจน
วราภรณ์ (จันทร์ กุสโล) เปิดท�ำการคร้ังแรก ณ พุทธสถานเชียงใหม่ ในความอุปถัมภ์
ของยุวพุทธิกสมาคมจังหวัดเชียงใหม่ในสมัยน้ัน และในปีเดียวกันน้ันก็ได้ย้ายมา
ท�ำการเรียนการสอนท่ีวัดเจดีย์หลวง สืบมา เปิดการเรียนการสอนในระดับมัธยมศึกษา
ชน้ั ตน้ ม.๑ - ม.๓ สง่ เสริมเดก็ นกั เรียนท่ีเรียนดีมคี วามประพฤตดิ ี แตย่ ากจนโดยไม่เก็บ
คา่ เล่าเรียนใดๆ
ปีพทุ ธศักราช ๒๕๕๒
สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า สยามบรมราชกมุ ารี ทรงรับไว้ในพระอปุ ถมั ภ์

21

ทร่ี ะลกึ งานทำ� บุญประจ�ำปี ๒๕๖๓ สลากภัต ปีท่ี ๙๒

วดั เจดยี ์หลวง

ปจั จุบนั มี เป็นผรู้ ับใบอนญุ าต
 พระกติ ติวิมล
 พระครูปลัดสุวัฒนเมตตาคณุ เป็นผู้จดั การ
 นายจ�ำรัส มณวี รรณ เป็นผอู้ �ำนวยการ
ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ มีบุคลากร ๒๗ คน
มนี ักเรียนท้งั หมด ๔๐๗ คน

๔. มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตลา้ นนา

ขอจัดตั้งเป็นวิทยาเขตล้านนา เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๓๔ โดยพระเดชพระคุณ
พระพุทธพจนวราภรณ์ (จันทร์ กุสโล) โดยให้การศึกษาทั้งพระภิกษุสามเณรและฆราวาส
ทวั่ ไปเปิดท�ำการเรียนการสอน ๒ ระดบั คือ

๑. ระดับปรญิ ญาโท ๒ สาขา
 สาขาวิชาศาสนาและปรชั ญา
 สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา
๒. ระดับปริญญาตร ี ๖ สาขา
 สาขาวชิ าพุทธศาสตร์เพ่อื การพัฒนา
 สาขาวชิ าการสอนภาษาไทย
 สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ
 สาขาวิชาการปกครอง
 สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ
 สาขาวชิ าการสอนสงั คมศกึ ษา

22

ท่ีระลึกงานทำ� บุญประจำ� ปี ๒๕๖๓ สลากภตั ปที ี่ ๙๒

วดั เจดยี ์หลวง
ปจั จบุ นั มี
 พระครูสุนทรมหาเจติยานรุ ักษ์ เป็นรองอธกิ ารบดี
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ มบี ุคคลกร ๗๔ รปู /คน
มีนักศกึ ษาจ�ำนวน ๑,๓๐๐ รูป/คน

23



สาระธรรม



ทรี่ ะลึกงานท�ำบญุ ประจำ� ปี ๒๕๖๓ สลากภัต ปีท่ี ๙๒

วดั เจดยี ์หลวง

ต้นยางนาไม้หมายเมืองที่พระเจ้ากาวิละปลูกไว้คู่กับเสาอินทขีล

สหายธรรม ๓ พระฤๅษี
ส.กวีวัฒน์

ในหนงั สอื พระธรรมบท ทน่ี ำ� มาจากพระสตุ ตนั ตปฎิ ก มเี รอ่ื งทเ่ี กย่ี วกบั พระฤๅษ,ี
พระดาบส, ชฎลิ , สมณะ,และบรรพชติ อยจู่ ำ� นวนมาก ซง่ึ กห็ มายถงึ ผสู้ ละเหยา้ เรอื นออกบวช
ถอื ศลี กนิ เจดำ� รงชพี อยดู่ ว้ ยผลหมากรากไมเ้ ผอื กมนั บำ� เพญ็ ตบะเผากเิ ลส ทำ� สมาธภิ าวนา
ปฏบิ ัตธิ รรมอยูต่ ามปา่ เขาท่ีสงบวเิ วก ห่างไกลจากสังคม เพ่อื หาทางบรรลุธรรม อนั เป็นปจั
ยาการพาผ่านพน้ ภพชาติ คือการเวียนว่ายตายเกิดน่ันเอง

27

ท่ีระลึกงานท�ำบญุ ประจำ� ปี ๒๕๖๓ สลากภตั ปที ี่ ๙๒

วดั เจดยี ์หลวง
แม้จะมีชื่อเรียกแตกต่างกัน และมีวัตรปฏิบัติแตกต่างกันไปบ้าง แท้จริงก็คือ
กลุ่มชนผู้เกิดความเบ่ือหน่ายในฆราวาสวิสัย จึงปลีกตัวออกจากสังคมเพ่ือบ�ำเพ็ญความ
ดีและคุณธรรมชั้นสูง เพ่ือแสวงหาโมกขธรรมอันก่อเกิดสันติสุขเท่ียงแท้ ตามความเช่ือ
และอุดมการณแ์ ห่งลทั ธิของตน หรอื เพอ่ื ความสุขสมหวงั อันไพศาลในโลกหนา้ กลุ่มชน
ทอ่ี อกบวชเหล่านี้ ส่วนมากจะเปน็ ผู้ทม่ี ีฐานะดใี นสงั คม มีการศกึ ษาดี มบี ญุ บารมสี งู บาง
ท่านมีพรรคพวกบริวารตดิ ตามออกบวชด้วยจ�ำนวนมากอีกด้วย ด้วยเหตนุ ้ี ไม่วา่ จะเรียก
ฤๅษี ดาบส ชฎิล บรรพชติ สมณะ กไ็ ดใ้ นความหมายเดยี วกัน คอื ผ้เู ปน็ นกั บวช เพราะ
ฤๅษบี างรูปกบ็ ูชาไฟเหมอื นชฎลิ ชฎลิ บางสำ� นกั ปฏบิ ตั ติ นเครง่ ครดั ดจุ ดังพระฤๅษีกม็ ี
อนั ที่จริงค�ำว่า ฤๅษี ทเี่ ราเรยี กกนั มาจากค�ำวา่ อิสิ (บาล)ี ซ่งึ เปน็ ค�ำเก่าอนั หมาย
ถึงนักบวชนักพรตดังกล่าวแล้ว ดังจะเห็นได้จากชื่อภูเขาลูกหนึ่งอยู่ในเขตต�ำบลกาฬสิลา
(หินด�ำ) รัฐมคธชอื่ อสิ คิ ลิ ิบรรพต ซง่ึ แปลว่า ภเู ขากลืนกินพระฤๅษี คำ� ว่าฤๅษี ณ ท่ีนหี้ มาย
ถงึ พระปัจเจกพุทธเจ้า เพราะเมอื่ กอ่ นพระปจั เจกพทุ ธเจา้ บางองค์ เวลาทา่ นจะปรนิ พิ พาน
(มรณภาพ) ท่านจะเขา้ ไปในหุบเขาอิสิคลิ บิ รรพตแลว้ หายสาบสูญไป ผู้คนจงึ เรียกชอ่ื ภูเขา
กลืนกินพระฤๅษี เพราะฉะนั้น ค�ำว่าฤๅษกี ็ตาม ดาบสก็ตาม พราหมณก์ ต็ าม สมณะกต็ าม
และบรรพชติ กต็ าม เป็นค�ำไวพจนข์ องกนั และกนั ได้ในทางภาษาศาสตร ์
บางคำ� เช่น สมณะ บรรพชิต ดูเหมือนจะเป็นค�ำเรียกพระภกิ ษสุ งฆใ์ นพระพุทธ
ศาสนาโดยเฉพาะในเวลาตอ่ มา ดว้ ยขอ้ วตั รปฏบิ ตั ภิ ายใตก้ รอบแหง่ สกิ ขาบทวนิ ยั ทเ่ี ขม้ งวด
และมหี ลกั วนิ ยั บญั ญตั อิ นั เปน็ พทุ ธอาณาเปน็ จำ� นวนมาก ยากจะปฏบิ ตั ไิ ดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ ถา้
หากจำ� แนกโดยคณุ สมบตั ดิ งั กลา่ ว สมณะพระสงฆใ์ นพระพทุ ธศาสนายอ่ มแตกตา่ งจากพวก
ฤๅษดี าบส พราหมณ์ ชฎลิ โดยสน้ิ เชงิ ในความรสู้ กึ ของชาวเรา แมค้ ำ� ศพั ทช์ อ่ื เรยี กเหลา่ นนั้
จะเป็นของเก่า เปน็ สาธารณะอันใครๆก็มสี ิทธิใ์ ช้เรียกกลุ่มนกั บวชต่างๆได้
กระน้ันก็ตาม ความแตกต่างตามนัยสมาทานสิกขาบทวินัย และข้อวัตรปฏิบัติ
ยอ่ มปรากฏใหเ้ หน็ แมจ้ ะเรยี กชอ่ื อยา่ งเดยี วกนั พระฤๅษชี ไี พรผนู้ งุ่ หม่ หนงั เสอื หรอื อาภรณ์
ปอนๆ อาศยั อยใู่ นอาศรมตามเขาลำ� เนาไพรทห่ี า่ งไกลสงั คม บรโิ ภคผลหมากรากไมธ้ ญั พชื

28

ท่ีระลึกงานทำ� บุญประจ�ำปี ๒๕๖๓ สลากภัต ปีท่ี ๙๒

วดั เจดยี ห์ ลวง
ตามปา่ เขา ด�ำรงชีพอยูอ่ ยา่ งสมถะสนั โดษถืออโุ บสถศลี หรือถือเพยี งศลี ๕ ขอ้ แมจ้ ะครำ�่
เครง่ จรงิ จงั กบั ศลี พรตภาวนาเพอ่ื บรรลฌุ านสมาบตั ิ กย็ งั คงมสี ถานะความเปน็ อบุ าสกหรอื
อนปุ สมั บนั อยดู่ ี สว่ นพระภกิ ษสุ งฆส์ มณะในพระพทุ ธศาสนา จะตอ้ งสมาทานสกิ ขาบทวนิ ยั
พุทธบัญญัติ ๒๒๗ ข้อ ท่ีมาในพระปาติโมกข์ พร้อมทั้งส�ำเหนียกส�ำรวมในอภิสมาจาร
อันเป็นธรรมเนียมปฏิบัติอีกมาก ซ่ึงเป็นข้อวัตรปฏิบัติยกระดับสู่ความเป็นอารยชน
ความประณตี แหง่ จรยิ วตั ร เหมาะสมกบั ความเปน็ สมณสารปู ไดร้ บั การอปุ สมบทตามหลกั
พระวนิ ยั บญั ญตั อิ ยา่ งถกู ตอ้ ง ละจากสภาวะความเปน็ อนปุ สมั บนั เขา้ สสู่ ถานะความเปน็ อปุ
สัมบนั คือนักบวชนกั พรตถอื อุดมเพศโดยแท้
เร่ืองพระดาบสฤๅษีน้ีมีมายาวนานคู่กับสังคมชาวชมพูทวีปหรืออินเดีย ไม่ว่าจะ
มีศาสนาบังเกิดขึ้นแล้วในสังคมหรือยังไม่มีศาสนา และเม่ือมีศาสนาต่างๆบังเกิดขึ้นใน
ชมพูทวีป ไม่วา่ จะเปน็ ศาสนาพราหมณ์ ศาสนาพุทธ กลุ่มนักบวชฤๅษีชีไพรดงั กล่าว ก็ได้
มีบทบาทในการประสานเช่ือมโยง ส่งเสรมิ หรอื ขดั แย้งทางความคดิ ทิฏฐิ กบั หลักศาสนา
ต่างๆ แต่ส�ำหรับพระพุทธศาสนาแล้ว กลุ่มนักบวชฤๅษีชีไพรท่ีมีวัตรปฏิบัติสืบทอดมา
ยาวนานแล้วน้ัน ถือได้ว่าเป็นกลุ่มชนที่เป็นก�ำลังส�ำคัญของพระพุทธศาสนาในกาลาต่อ
มา เม่ือท่านเหล่าน้ันได้หันมายอมรับนับถือบวชใหม่ในพระพุทธศาสนา ทีละมากๆ เช่น
กลมุ่ ชฎิลสามพ่นี ้องและบรวิ ารรวม ๑,๐๐๓ คน ปัญจวัคคที ั้ง ๕ กลมุ่ ของพราหมณพ์ าวรี
(ทบี่ วชเปน็ ฤๅษ)ี พรอ้ มดว้ ยศษิ ยร์ วม ๑๖,๐๐๐ คน เปน็ ตน้ ทา่ นเหลา่ นเ้ี มอื่ บวชในพระพทุ ธ
ศาสนาแลว้ สว่ นมากสามารถบำ� เพญ็ เพยี รจนบรรลธุ รรมเปน็ พระอรยิ บคุ คลระดบั ใดระดบั
หนงึ่ ได้ สมประสงค์ เพราะในพระธรรมวนิ ยั ของพระบรมศาสดาสมั มาสมั พทุ ธเจา้ นน้ั อดุ ม
ดว้ ยเสน้ ทางสู่มรรคคผลนพิ พาน มากกว่าในหลกั การของดาบสฤๅษปี ฏบิ ัตมิ า
เรื่องนกั พรตฤๅษชี ไี พรมคี วามผกู พนั กบั พระพุทธเจา้ ผู้เป็นพระบรมศาสดาแห่ง
พระพทุ ธศาสนามาตงั้ แตค่ รงั้ พระองคบ์ ำ� เพญ็ บารมใี นฐานะพระโพธสิ ตั วแ์ ลว้ หลายภพชาติ
ทพี่ ระองคอ์ อกบวชเปน็ พระฤๅษี เชน่ เมอื่ ครงั้ เปน็ พระเวสสนั ดรชาดก กไ็ ดบ้ วชเปน็ พระฤๅษี
พรอ้ มทง้ั พระชายาและพระโอรสธดิ าทง้ั สอง ในครงั้ นน้ั คนทใี่ หท้ พี่ กั พงิ ใหอ้ าหารและชท้ี าง

29

ท่รี ะลกึ งานทำ� บญุ ประจ�ำปี ๒๕๖๓ สลากภตั ปีที่ ๙๒

วัดเจดียห์ ลวง
ใหพ้ ราหมณช์ ชู กไปขอชาล-ี กณั หาจากพระเวสสนั ดรทอี่ าศรมเขาวงกตในปา่ หมิ พานตก์ ค็ อื
อจั จุตฤๅษี ผู้บำ� เพ็ญตบะดว้ ยการบชู าไฟนั่นเอง
เมื่อคร้ังเจ้าชายสิทธัทถะประสูติกาลได้สามวัน ก่อนจะได้รับการขนานพระนาม
สองวัน มีดาบสหรือฤๅษีท่านหน่ึงได้ขอเข้าเฝ้าเพื่อถวายพระพร ณ พระราชวังกรุงกบิล
พสั ด์ุ ฤๅษที ่านนเ้ี ปน็ พระราชครหู รอื ปุโรหิตของพระเจ้าสทุ โธทนะพระราชบดิ าของเจา้ ชาย
สิทธัทถะมาก่อน พออายุมากข้ึนได้ทูลลาขออนุญาตออกบวชเป็นพระฤๅษีบ�ำเพ็ญพรต
อยู่ในป่าเขาจนได้บรรลุสมาบัติ ๘ อภิญญา ๕ (อภิญญามี ๖ แต่ข้อ ๖ คืออาสวักขย
ญาณ ญาณทำ� ให้สิน้ อาสวะกิเลสนน้ั ฤๅษยี งั ท�ำไมไ่ ด)้ ฤๅษที า่ นนีค้ อื กาฬเทวลิ ดาบส หรอื
อสติ ฤๅษ ี เมือ่ ไดเ้ หน็ พระราชกมุ ารมีมหาปรุ สิ ลกั ษณะอนั ประเสรฐิ เกินกวา่ ใครๆในโลกนี้
อสติ ฤๅษกี ร็ ดู้ ว้ ยอนาคตงั สญาณของตนวา่ “พระกมุ ารเปน็ อภบิ คุ คลสมบรู ณด์ ว้ ยบญุ บารมี
จะไดต้ รสั รู้เปน็ พระสมั มาสมั พุทธเจา้ ” ในชาตินเี้ ป็นแน่แท้ อสติ ฤๅษกี ลา่ วช่นื ชมยนิ ดแี ละ
ทำ� การอภวิ าทพระราชกมุ ารเสรจ็ แลว้ กลบั แสดงอาการเศรา้ โศกรอ้ งไหเ้ สยี ใจ ดว้ ยคดิ วา่ ตน
ชราภาพมากแลว้ ไมน่ านกจ็ ะตาย คงไมม่ โี อกาสไดท้ นั เหน็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ผทู้ รงเปน็
พระสพั พญั ญตู รสั รดู้ ว้ ยพระองค์ จนไดโ้ อกาสฟงั ธรรมของพระองค์ ตอ่ มาเมอื่ เจา้ ชายสทิ ธั
ตถะเสดจ็ ออกทรงผนวชแลว้ สำ� นกั และพระอาจารยท์ พี่ ระองคเ์ ขา้ รบั การศกึ ษาในเบอ้ื งตน้
จนได้ฌานสมาบัติ กเ็ ปน็ ส�ำนักพระดาบส คือ อุทกดาบสและอาฬารดาบส
ชมพูทวีปหรือประเทศอินเดียโบราณน้ัน เป็นแหล่งหรือถิ่นก�ำเนิดลัทธิศาสนา
ถ่ินก�ำเนิดเจ้าลัทธิศาสดาถึง ๖ ท่านด้วยกัน เป็นแดนเกิดแห่งอารยธรรม วัฒนธรรม
ประเพณีหลากหลาย และไดเ้ ผยแพรว่ ฒั นธรรมประเพณเี หล่าน้ัน ไปยงั ภมู ภิ าคตา่ งๆของ
โลก แตท่ ย่ี งั ยนื หยดั ยดึ มนั่ ในวฒั นธรรมประเพณที ไี่ ดร้ บั การถา่ ยทอดจากอนิ เดยี ไวไ้ ดอ้ ยา่ ง
เหนย่ี วแนน่ กค็ อื ชนชาตชิ นเผา่ ผตู้ งั้ หลกั ปกั ฐานเปน็ ประเทศชาตมิ น่ั คงอยใู่ นดนิ แดนเอเซยี
ตะวันออกเฉียงใต้ (อินโดจีน) ท่ีสมัยโบราณเรียกสุวรรณภูมิหรือแหลมทองของเรานี้เอง
ซึ่งประเทศไทยก็ตั้งอยู่ในดินแดนสุวรรณภูมินี้ด้วย ทั้งได้ยอมรับเอาวัฒนธรรมประเพณี
และศาสนาจากอนิ เดยี ดว้ ย โดยเฉพาะวฒั นธรรมทางดา้ นความเชอ่ื ความศรทั ธาในศาสนา

30

ที่ระลึกงานทำ� บญุ ประจำ� ปี ๒๕๖๓ สลากภตั ปที ี่ ๙๒

วัดเจดยี ห์ ลวง
ทง้ั ศาสนาพราหมณแ์ ละพระพุทธศาสนา รวมทงั้ ลัทธิฤๅษีชีไพรกไ็ ดเ้ ข้ามาเผยแพรค่ กู่ ันมา
กบั ศาสนาทั้งสอง ดงั จะเหน็ ไดว้ า่ ในเร่อื งเล่านทิ าน ต�ำนาน วรรณคดี วรรณกรรมต่างๆ
แมแ้ ตใ่ นหนังสือคัมภรี ์ใบลานเกา่ แก่ทางศาสนา ก็มักจะมเี รอ่ื งพระฤๅษสี อดแทรกอยูด่ ้วย
เสมอ ในฐานะผทู้ รงศลี ผปู้ กปอ้ งพระศาสนา ผสู้ รา้ งสรรคส์ งั คม ผเู้ ปน็ ครอู าจารยถ์ า่ ยทอด
วชิ าความร้ใู หก้ บั ผู้คน และราชวงศ์
ส�ำหรับในอาณาจักรล้านนาอันกว้างใหญ่ไพศาล ดินแดนแห่งดอยสูง ป่าใหญ่
ล�ำธารใส บ้านเมืองสวย รุ่มรวยด้วยทรัพยากร แห่งนี้ ก็มีเร่ืองผูกพันและวรรณกรรม
ต�ำนานกล่าวถึงบทบาทพระฤๅษีไว้มาก แม้กระทั่งชื่อเมือง พระนามเจ้านายราชวงศ์บาง
องค์ ชื่อสมณศักดิข์ องพระสงฆ์เถระผมู้ ที รงคณุ ธรรม กม็ คี �ำวา่ ฤๅษีเป็นมงคลนามอยดู่ ว้ ย
อาทิ ช่ือหน่ึงของเชียงใหม่ในคร้ังโบราณ คือ นัพพิสินคร = เมืองแห่งพระฤๅษี ๙ ตน
นว = ใหม/่ เก้า อิสิ = พระฤๅษี พระราชธิดาในพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หัว
รัชกาลที่ ๕ ที่ประสูติจากพระราชชายาเจ้าดารารัศมี มพี ระนามวา่ พระเจา้ ลกู เธอพระองค์
เจา้ หญิงวมิ ลนาคนพีสี
สมณศกั ดพิ์ ระเถระผทู้ รงคณุ ธรรมที่ พระนพสี พี ศิ าลคณุ หมายถงึ “พระผมู้ คี ณุ
อนั ไพศาลของชาวเชยี งใหม”่ เทา่ ทที่ ราบราชทนิ นามหรอื สมณศกั ดพ์ิ ระราชาคณะชน้ั สามญั
ท่ี “พระนพีสีพิศาลคุณ” น้ี มีพระเถระเพยี ง ๒ รปู เท่านัน้ ทไี่ ด้รบั พระราชทานสมณศกั ด์ิ
น ้ี (ไมน่ ับเป็นพระครู) สมยั รัชกาลท่ี ๖ คือ พระมหาค�ำปิง แหง่ วดั หอธรรม (ปัจจุบันเป็น
คณะหอธรรม วดั เจดีย์หลวง) และในรชั กาลท่ี ๙ คือ พระครูสนั ตยาธิคณุ (ทองอนิ ทร์
กสุ ลจิตโต ป.ธ.๔) แหง่ วดั สนั ตธิ รรม ได้รับสมณศกั ดิท์ ี่ พระนพีสีพศิ าลคุณ เม่อื วนั ที่ ๕
ธนั วาคม ๒๕๔๖ ปจั จุบันแมจ้ ะอยู่ในยุคนาโนเทคโนโลยี ดิจิทอล ไฮเทคลำ้� ..ในลา้ นนาก็
ยังมีพระฤๅษใี ห้เหน็ อยู่ คือ พระดาบสสง่า สุมโน แหง่ เมอื งพร้าว ท่ถี งึ แกก่ รรม ณ อาศรม
ไร่บุญรอด เมืองเชยี งราย เมอื่ วนั ท่ี ๖ ตลุ าคม ๒๕๔๓ ส่วนพระดาบสทีย่ งั มีชีวติ อยู่ ใคร
อยากทราบใหไ้ ปถามชาวอำ� เภอแมร่ มิ เอาเอง

31

ที่ระลกึ งานทำ� บญุ ประจ�ำปี ๒๕๖๓ สลากภัต ปีที่ ๙๒

วัดเจดีย์หลวง
พระฤาษีตามนัยแห่งหนังสือน้ี มิได้หมายเอาฤาษีชีไพรตามรูปแบบท่ีเรารู้และ
เขา้ ใจกนั เทา่ นนั้ แตห่ มายเอาพระสงฆ์มหาเถระผใู้ หญใ่ นพระพทุ ธศาสนาดว้ ย ทปี่ ระพฤติ
พรหมจรรย์ดำ� รงสมณเพศมาตลอดชนม์ชพี ของพระมหาเถระทง้ั ๓ รูป ผดู้ �ำรงตนมน่ั คง
หนกั แนน่ ในพระธรรมวนิ ยั ตลอดกาลอนั ยาวนานในสมณเพศทง้ั ๓ รปู ไมเ่ คยตอ้ งอธกิ รณ์
ถกู กลา่ วหาใหเ้ สอื่ มเสยี อปั ยศ ไมว่ า่ จะเปน็ เรอื่ ง เหลา้ ยา เงนิ ตรา นารี และยศศกั ดอ์ิ คั รฐาน
พระพระมหาเถระท้ังสามทา่ น จงึ เสมอื นเสาหลักค้ำ� ยนั สงั คมลา้ นนาให้มน่ั คงด�ำรงอย่ดู ้วย
ศีลธรรมและประเพณีอนั ดงี ามของชาวล้านนา น�ำพาให้จรรโลงพระศาสนาให้มน่ั คงพฒั นา
ทัง้ ทางศาสนศึกษา ศาสนปฏิบตั ิ ศาสนวัตถุ ศาสนวิทยาและศาสนสงเคราะห์
ตลอดกาลเวลายาวนานแหง่ ชนมายุของพระเดชพระคุณพระมหาเถระทั้ง ๓ รปู
คือพระอุบาลคี ุณูปมาจารย์ (ปวง ธมฺมปญฺโญ ป.ธ.๕) วดั พระเจา้ ตนหลวง เมอื งพะเยา
พระมหาโพธิวงศาจารย์ (สุจี กตสาโร ป.ธ.๓) วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร แห่งเมือง
แพร่ และพระพุทธพจนวราภรณ์ (จนั ทร กสุ โล ป.ธ.๕) แหง่ วัดเจดยี ห์ ลวงวรวิหาร เมอื ง
เชยี งใหม ่ เปน็ ชวี ติ ทสี่ มบรู ณแ์ บบในการบำ� เพญ็ ประโยชนต์ น ประโยชนส์ งั คม ประโยชน์
พระศาสนา พระมหาเถระทั้ง ๓ รปู เกดิ ปีเดียวกัน แต่ตา่ งเดอื นต่างเวลากำ� เนดิ เขา้ มา
บรรพชาเปน็ สามเณรและอปุ สมบทเปน็ พระภกิ ษใุ นเวลาไลเ่ ลย่ี กนั การศกึ ษาพระธรรมวนิ ยั
ในพระศาสนากา้ วหน้ามาใกลเ้ คยี งกัน ท้งั นักธรรมและเปรยี ญธรรม แลว้ เข้ารับภาระธรุ ะ
พระศาสนาเปน็ ประโยชนเ์ กอ้ื กลู พระศาสนาและสงั คมอยา่ งเอนกอนนั ต์ จนไดร้ บั สมณศกั ด์ิ
เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองชัน้ หริ ณั ยบฏั เสมอเหมือนเท่าเทยี มกนั ถือไดว้ ่าเปน็ สหาย
ธรรมกนั มาโดยแท้ โดยเฉพาะพระเดชพระคณุ พระมหาโพธวิ งศาจารย์ แหง่ วดั พระบาทมง่ิ
เมือง เมืองแพร่ กบั พระเดชพระคณุ พระพทุ ธพจนวราภรณ์ นอกจากจะเป็นสหายธรรรม
สนทิ คนุ้ เคยกนั เปน็ พเิ ศษแลว้ ยงั เปน็ เครอื ญาตสิ นทิ กนั อกี ดว้ ย เมอ่ื หลานชายเจา้ คณุ เมอื ง
แพร่ มาเป็นหลานเขยเจา้ คณุ เมอื งเชยี งใหม่
เหตุผลประการสำ� คัญ ทีผ่ เู้ ขียนเกิดความดลใจให้พยายามรวบรวมเร่ืองราวของ
พระมหาเถระท้งั ๓ รูปนี้ ขึน้ มาเผยแพร่ เมอ่ื คร้ังเขยี นเร่ืองรปู ป้นั สญั ลกั ษณร์ อบวิหารอิ

32

ทีร่ ะลึกงานท�ำบญุ ประจำ� ปี ๒๕๖๓ สลากภตั ปีท่ี ๙๒

วดั เจดยี ห์ ลวง
นทขีล ลงในหนังสอื พมิ พไ์ ทยนสิ วฉ์ บบั วนั ที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๔๒ และได้รวบรวมให้
สถาบันราชภฏั ไปพิมพร์ วมเล่มเปน็ ผลงานอันดบั ท่ี ๒๘ ในปเี ดียวกนั ในตอนท่กี ล่าวถงึ
เร่ืองพระฤๅษี ๕ สหาย คอื
๑ วาสเุ ทวฤๅษี (สเุ ทพฤๅษี) นามของทา่ นเป็นทมี่ าของชอ่ื ดอยสเุ ทพ เดิมชือ่
อุจฉุบรรพต เพราะมีป่าอ้อยมาก สุเทพฤๅษี เป็นผู้สร้างเมืองหริภุญไชย แล้วขอร้อง
สกุ กทนั ตฤๅษผี สู้ หาย ใหเ้ ปน็ ผจู้ ดั ทตู ไปอญั เชญิ พระนางจามเทวแี หง่ เมอื งละโวข้ นึ้ มาครอง
สเุ ทพฤๅษีบำ� เพญ็ พรตอยู่ดอยอุฉจุ บรรพต ริมแมน่ ำ�้ แมข่ าน (ขาง) นำ้� แมข่ านนี้ ในหนงั สอื
ชนิ กาลมาลปี กรณท์ ร่ี จนาโดยทา่ นพระรตั นปญั ญาเถระและตำ� นานอกี หลายเลม่ เรยี กแมน่ ำ้�
“โรหิณี” อันหมายถึง “แมน่ ้�ำปลาตะเพยี นทอง” หรือเพราะ “สายน้�ำมีสีแดงเหมือนสนิม
เหลก็ เมือ่ หนา้ ฝนน้ำ� หลาก” ตรงจุดก�ำเนิดเรียก “น้ำ� ออกร”ู อยู่ระหว่างบา้ นดงสามหม่ืน
(มง้ ) กับบา้ นขนุ ขานนอ้ ย (กะเหรีย่ ง) ตำ� บลยง้ั เมิน อำ� เภอสะเมิง จงั หวัดเชยี งใหม่ เปน็ ทวิ
เขาถนนธงชยั ตะวนั ออกแบง่ เขต ๓ อำ� เภอคอื อำ� เภอปาย อำ� เภอแมแ่ จม่ และอำ� เภอสะเมงิ
ไหลผา่ นทอ้ งที่ ๓ อำ� เภอคือ สะเมิง แม่วาง สันปา่ ตอง มาบรรจบกบั แมน่ ำ�้ ปงิ ทีบ่ ้านท่าตุ้ม
ต�ำบลทา่ วงั พร้าว อำ� เภอสันปา่ ตอง จงั หวัดเชยี งใหม ่
๒ พุทธชฎิล บ�ำเพญ็ พรตอยูด่ อยบาไห้ ใกลห้ ว้ ยแม่สาร ตะวนั ออกเฉียงใตเ้ มอื ง
ล�ำพนู
๓ อนุสษิ ฏฤๅษี บำ� เพ็ญพรตอยู่หฬิทธวลั ลนิ คร เปน็ ผสู้ ร้างเมอื งศรสี ัชนาลยั หรอื
สวรรคโลก เมอื งลกู หลวงของกรงุ สโุ ขทยั ธานี
๔ สุพรหมฤๅษี บำ� เพญ็ พรตอยศู่ ุภบรรพต ริมแมน่ ้ำ� วังหรอื วังกนที แมน่ ำ้� สาย
ส�ำคญั ของนครลำ� ปาง กำ� เนิดจากทิวเขาผปี นั นำ้� เป็นแมน่ ำ้� สาขาของแม่น�ำ้ ปงิ ไหลบรรจบ
แมน่ ำ�้ ปงิ ทบ่ี า้ นปากวงั อำ� เภอบา้ นตาก จงั หวดั ตาก สพุ รหมฤๅษตี นนี้ เปน็ ผสู้ รา้ งเมอื งเขลาง
คน์ คร เพอื่ ใหอ้ นนั ตยศพระโอรสองคเ์ ลก็ ของพระนางจามเทวขี น้ึ ครอง ตอ่ มา “มหาพรหม
ฤๅษ”ี ไดส้ รา้ ง “เมอื งอาลมั พางค”์ ทภ่ี ายหลงั เรยี กเพย้ี นเปน็ ลำ� ปาง สรา้ งขนึ้ เปน็ เมอื งคแู่ ฝด
กบั เมืองเขลางคน์ คร และไดก้ ลายเปน็ เมืองๆ เดยี วกนั เรยี ก “เขลางค์ลำ� ปาง”

33

ที่ระลึกงานทำ� บุญประจำ� ปี ๒๕๖๓ สลากภตั ปีที่ ๙๒

วดั เจดียห์ ลวง
๕ สกุ กทนั ตฤๅษี บางแหง่ ว่าบำ� เพ็ญพรตโดยไม่ไดบ้ วชเปน็ พระฤๅษี ท่านพ�ำนัก
อยู่เขาสมอคอนเมืองลพบุรีหรือเมืองละโว้ เคยข้ึนมาช่วยสุเทพฤๅษีสร้างเมืองหริภุญไชย
และเปน็ ผูแ้ ต่งทตู ไปอัญเชญิ พระนางจามเทวมี าครองเมอื งหริภุญไชย
ซงึ่ หากกลา่ วโดยสรปุ ตามเนอ้ื หาในหนงั สือคัมภีรใ์ บลาน ต�ำนาน นิทานเร่อื งเลา่
ต่างๆแล้ว พระฤๅษเี ป็นสัญลักษณ์ของผ้ทู รงศีลทรงธรรม มีเมตตากรณุ า พระฤๅษีเป็น
ผนู้ ำ� ทางจติ วญิ ญาณของมนษุ ยส์ มัยโบราณ ปฏิปทาของท่านน่าศกึ ษาน่าสนใจมาก เพราะ
ในหนังสือต�ำนานคัมภีร์ใบลานเก่าๆ ได้ก�ำหนดบทบาทให้พระฤๅษี เป็นผู้น�ำทางศีลธรรม
เปน็ ผใู้ ห้ เปน็ ผสู้ รา้ งสรรค์ เปน็ ผคู้ อยพทิ กั ษค์ วามชอบธรรมและคนด ี รวมทง้ั เปน็ ผมู้ ฤี ทธิ์
อ�ำนาจด้วยองคค์ ุณแหง่ ฌานสมาบตั ิ

ต้นยางใหญไ่ มห้ มายมอื ง

...ตน้ งาม นามลือเล่ือง “ไม้หมายเมือง” เชียงใหม่มนั่
ยางใหญ ่ ไดค้ กู่ นั อินทขีล ป่นิ ปกเมอื ง
๔ ส่ิง องิ อาศยั ยึดโยงไว ้ ไดต้ อ่ เนอ่ื ง
๑.ฤๅษ ี มฤี ทธิ์เรอื ง สอนชาวเมือง เรื่องศลี ทาน
๒.หลักเมือง อนิ ทขลี คู่ธานินทร์ ชัยสถาน
๓.กุมภัณฑ์ ตามตำ� นาน เฝา้ อนิ ทขลี ถิน่ ครอบครอง
๔.ยางไพร ใหญส่ ูงเดน่ รม่ เงาเปน็ เชน่ ฉตั รป้อง
บา้ นเมือง รุ่งเรอื งรอง แผ่นดนิ ทอง คนครองธรรม
หมายเมอื ง เร่ืองยางไซร้ หมายมชี ัย ไมเ่ พลย่ี งพล�ำ้
ยดึ หลกั สามัคคนี �ำ เสียสละ กตญั ญู

34

ทรี่ ะลึกงานทำ� บญุ ประจำ� ปี ๒๕๖๓ สลากภัต ปีท่ี ๙๒

วดั เจดยี ์หลวง

คลังปริยัติ

ลักษณะวีรบุรุษ (คนกลา้ )
๑. อนาคตํ ภยํ ทิสวฺ า เห็นภยั ยังไมม่ าถึง
ทูรโต ปริวชชฺ เย ก็หลีกเสียแต่ไกล
๒. อาคตญฺจ ภยํ ทสิ วฺ า ครน้ั เห็นภยั มาถึงแล้ว
อภีโต โหติ ปณฑฺ โิ ต กไ็ มห่ วาดเสยี วเลย.
เทียบโคลง : เหน็ ภัยใหญ่แต่ช้า จักถึง ตนแล
ปราชญย์ ่อมผ่อนผันพงึ หลบล้ี
ภัยใดดว่ นโดนตรึง ตราตดิ ตวั นา
ใจปราชญป์ ราศแสยงช้ ี เชน่ เหลา้ และไศลฯ
(โลกนิติ, ปกิณณกกณั ฑ์)

กริ ยิ าของเสอื เหลือง
๑. ซอ่ นเร้นอยใู่ นท่ลี บั คอยตะครบุ หมู่เน้อื กนิ เป็นอาหาร
๒. เน้อื ชนดิ ใดชนดิ หน่งึ ท่ีมนั ตะครุบได้แลว้ ถ้าล้มลงข้างซ้ายกไ็ ม่กนิ
เปรียบด้วยผูป้ ระกอบด้วยองค์สมบตั ิ ๒ ประการ คือ
๑. อยู่เสนาสนะป่าอันสงัด เจริญภาวนาไปจนมีความช�ำนาญในอภิญญา ๖
ดงั คาถาว่า
“ยถาบี ทบี โี ก นาม นิลึยติ ฺวา คณหฺ ติ มเิ ค
ตเถวายํ พุทธปุตโฺ ต ยุตฺตโยโค วปิ สสฺ โก
อรญฺญํ ปวิสิตฺวาน คณฺหาติ ผลมตุ ฺตม”ํ

35

ทร่ี ะลึกงานทำ� บญุ ประจำ� ปี ๒๕๖๓ สลากภตั ปที ่ี ๙๒

วดั เจดยี ห์ ลวง

“ธรรมดาเสอื เหลอื งซอ่ นเรน้ คอยตะครบุ หมเู่ นอื้ กนิ ฉนั ใด, บตุ รของพระพทุ ธเจา้ นี้
กฉ็ นั นนั้ เหมอื นกนั , เขา้ ไปสปู่ า่ ประกอบความเพยี ร เจรญิ วปิ สั สนา ยอ่ มถอื เอาผลอนั สงู สดุ
ได้ฉันน้นั ”
๒. ไม่บริโภคโภชนะอันส�ำเร็จด้วยมิจฉาชีพ และอเนสนาดังเถรภาสิตของ
พระสารีบตุ รเถระวา่
“วจวี ญิ ญฺ ตตฺ วิ ิปฺผารา อุปปฺ นนฺ ํ มธุปายสํ
สเจ ภตุ โฺ ต ภเวยยฺ าห ํ สาชีโว ครหิโต มม
ยทิบี เม อนฺตคณุ ํ นิกฺขมิตฺวา พหึ จเร
เนว ภนิ ฺเทยฺยมาชวี ํ จชมาโนบี ชีวิต”ํ
“ถ้าข้าพเจ้าพึ่งฉันมธุปายาส อันเกิดขึ้นเพราะเปล่งวจีวิญญัติแล้วไซร์ อาชีพ
ของข้าพเจ้าก็ต้องถูกนักปราชญ์ติเตียน ถึงหากว่าไส้ของข้าพเจ้าจะละลักออกมาภายนอก
ถึงขา้ พเจา้ จะเสียชีวติ กไ็ ม่ย่อมท�ำลายอาชีวะเปน็ อันขาด”
แม้พระอปุ เสนวังคันตปุตตเถระก็ได้กล่าวไวว้ า่
“ยทีบี เม อนฺตคุณํ นกิ ฺชมติ วฺ า พหี จเร
เนว ภินเฺ ทยยฺ อาชวี ํ จเรยฺยาหํ อเนสน”ํ
“ถึงไส้ของข้าพเจ้าจะทะลักออกมาภายนอก, ข้าพเจ้าก็ไม่ประพฤติอเนสนกรรม
ไม่ยอมท�ำลายอาชวี ะอยา่ งเดด็ ขาด”

การหาของกนิ ของกา

๑. มคี วามรงั เกยี จ กนิ แหนงรอบตวั คอยระมัดระวังตวั เทยี วหากิน
๒. พบของกนิ อย่างใดอย่างหนง่ึ เข้า ก็ร้องเรยี กพวกพ้องมาเฉลยี่ กนั กนิ
เปรยี บด้วยผปู้ ระกอบด้วยองค์สมบัติ ๒ ประการ
๑. รบั เกยี จสะอดิ สะเอยี นตอ่ ทจุ จรติ ส�ำรวมอนิ ทรีย์ดว้ ยสติ ตัง้ ใจปัองกนั ทวาร
๖ ไว้ทกุ อริ ิยาบถ

36

ท่ีระลกึ งานทำ� บญุ ประจำ� ปี ๒๕๖๓ สลากภัต ปีที่ ๙๒

วัดเจดียห์ ลวง

๒. ไดล้ าภสกั การะเชน่ ใด แมเ้ พยี งกอ้ นขา้ วในบาตรกพ็ อใจแบง่ ปนั ลาภ ดงั สาวก
ภาสิตของพระธรรมเสนาบดีสารีบตุ รเถระวา่
“สเจ เม อุปนาเมนฺติ ยถาลทฺขํ ตปสสฺ โิ น
สพฺเพสํ วภิ ขิตฺวาน ตโต ภญุ ฺชามิ โภชน”ํ
“ถ้าท่านผู้มีศรัทธาน้อมน�ำโภชนะ ตามแต่จะหาได้มาถวายแก่ข้าพเจ้าผู้บ�ำเพ็ญ
ตบะ ข้าพเจ้ากแ็ จกจ่ายแกผ่ ้มู ีศีลท่วั กนั ก่อน จงึ ฉันโภชนะต่อภายหลงั ”

เคร่ืองผกู ๓ อย่าง
๑. ปุตฺโต คีเว มบี ุตรบว่ งหนงึ่ เกย้ี ว พันคอ
๒. ธนํ ปาเท ทรพั ย์ผกู บาทาคลอ หน่วงไว้
๓. ภรยิ า หตเฺ ถ ภรรยาเย่ียงบ่วงปอ รงึ รัด มีอนา
สามบ่วงใครพน้ ได ้ จึงพน้ สงสาร
(โลกนิตติ บที่ ๑๔๑)

มิตตหายนะ (เรือ่ ทจี่ ะแตกมิตร)
๑. อภิกขณสสํ คฺคา เพราะจจู้ ้ีกนั เสมอ
๒. อสโมสรเณน เพราะห่างเหินกนั เน่นิ นาน
๓. อกาเล ยาจเนน เพราะขอกันไม่เปน็ เวลา
นิกเขป : “สจฺจาภกิ ฺขณสํสคคฺ า อสโมสรเณน จ
เอเตน มิตฺตา ชีรนตฺ ิ อกาเล ยาจเนน จ”
“เป็นความจริง เพราะจู้จ้ีกันเกินไป, เพราะไม่ร่วมสมาคม, เพราะขอกัน
พร�ำ่ เพร่ือ ด้วยเหตุ ๓ ประการน้ี มติ รท้ังหลายยอ่ มจดื จางกนั ไป”
(ธมฺมนีติ มติ ตกถา ขอ้ ๑๐๑)

37

ทร่ี ะลกึ งานท�ำบุญประจ�ำปี ๒๕๖๓ สลากภตั ปที ่ี ๙๒

วัดเจดยี ห์ ลวง

มติ ตสมั พันธ์ (วิธีเชือ่ มไมตรี) ๓ ประการ
๑. ตสฺมา นาภกิ ฺขณํ คจเฺ ฉ (ฉะนั้น) ไม่ควรไปหากนั บ่อยนัก
๒. น จ คจฺเฉ จริ าจริ ํ ไม่ควรห่างเหนิ กันเนิ่นนาน
๓. กาเลน ยายํ ยาเจยยฺ ควรขอส่ิงท่ีควรขอตามกาล
เอวํ มติ ฺตา น ชิยฺยเร อยา่ งนมี้ ติ รจงึ จะไมจ่ ืดจาง
(ธมฺมนีติ มิตตฺ ถา ข้อ ๑๐๒)

กริ ยิ าของคนเลว
๑. อนาหุเต ปฺรเวศศจฺ ไมม่ ีใครเชิญก็เข้าไปเอง
๒. น ปฤษฺเฐ พหุภาษณมฺ ไม่มีคาถามกพ็ ูดพล่าม
๓. สฺตุตศิ ฺจาปฺยาตมฺ วรฺณสยฺ ท้งั นเี้ ป็นท่วงทีของคนเลว
อเิ ตยวํ มรู ขลกฺษณมฺ
(วฺยาการศถกะ ขอ้ ๔๑)
เทียบโลกนติ ไิ ทย :
เขาบ่เรยี กสกั หน่อยขนึ้ เคหา
เขาบ่ถามเจรจา อวดรู้
ยกตนอหังการ ์ เกนิ เพ่ือน
สามลักษณะนี้ผู้ เผ่ารา้ ยฤาด?ี
โลกนิติพะม่า :
อนวหฺ ายํ คมยนโฺ ต ไม่เรยี กไปหา
อปจุ ฉฺ า พหภุ าสโิ ต ไมถ่ ามพูดมาก
อตฺตคุณํ ปกาเสนฺโต ยกยอ่ งคณุ ของตนเอง
ติวธิ ํ หีนลกฺขณ ํ รวมเปน็ ลักษณะของคนเลว ๓ อยา่ ง

38

ท่รี ะลึกงานทำ� บุญประจ�ำปี ๒๕๖๓ สลากภัต ปีที่ ๙๒

วัดเจดยี ์หลวง

๑. อลคทั ทปรยิ ัตติ ปริยัติ เรียนดุจงูพิษ

๒. นิตถรณปรยิ ตั ิ เรียนเพือ่ ถอนตน (ให้พน้ ทุกข)์
๓. ภณั ฑาคารกิ ปรยิ ตั ติ เรียนเพอื่ เปน็ คลังนวงั คสตั ถุศาสนา
อธิบาย :
สหธรรมิกรูปใด เรียนพระพุทธวนจะเพราะต้องการลาภสักการะว่า “เราจักได้
จตุปัจจัย มจี ีวรเป็นตน้ ดว้ ยอาการอยา่ งนี้ หรอื คนจกั รู้จกั เราในท่ามกลางบริษทั ๔ ดังน”้ี
การเรียนของผู้น้ันเรียก “อลคัททปริยัตติ” ท่านว่าถ้าเรียนเพ่ือเหตุนี้ ไม่เล่าไม่เรียนแล้ว
นอนหลับเสียยงั ดกี วา่ ส่วนทา่ นผเุ้ รยี นดว้ ยด�ำริว่า “จกั รกั ษาศลี , ตงั้ สมาธ,ิ เจรญิ วปิ สั สนา,
ให้อริยมรรคเกิดจากเห็นผล” เรียกนิตถกรณปริยัตติ การเรียนของพระขีณา สพเรียก
ภัณฑาคาริกปรยิ ตั ติ เพราะทุกข์ท่ที า่ นไม่ก�ำหนดร้,ู กิเลสทย่ี งั ไม่ได้ละ, อรยิ มรรคท่ียังไม่
ได้บ�ำเพ็ญ หรืออริยผลที่ยังไม่ไดบรรลุไม่มี ด้วยเหตุท่ีท่านก�ำหนดรู้ขันธ์ และกิเลสได้,
ทำ� มรรคใหเ้ กดิ จนบรรลอุ รยิ ผลแลว้ เมอ่ื เรยี นพระพทุ ธวจนะจงึ ชอื่ วา่ เปน็ ผทู้ รงจำ� แบบแผน
รักาษประเพณี ผดงุ วงศ์ศึกษาไป การศกึ ษาของทา่ นชือ่ “ภณั ฑารกิ ปรยิ ัตต”ิ
(ปปญจฺ สทู นีภาค ๒ น.๑๕๒-๑๕๓)

รสหวาน
ปฐพฺยา มธรุ า ติณิ ในแผ่นปฐพมี สี ง่ิ หวานเย็นอยู่ ๓ คือ :
๑. อุจฉฺ ุ รสน�ำ้ ออ้ ย
๒. นารี สาวนอ้ ย
๓. สภาสิตํ ค�ำสภุ าษิต
อจุ ฺฉุ นารีสุ ตปปฺ นฺติ แตส่ ำ� หรบั ออ้ ยและสาวนอ้ ยยงั ท�ำให้เดอื ดรอ้ นได้
น ตปฺปติ สภุ าสติ ํ สว่ นค�ำสุภาษิตไมท่ �ำใหเ้ ดอื ดรอ้ นเลย
(ทุกาทิมสิ สฺ กถา ธมฺมนตี ิ ขอ้ ๑๒๕)

39

ท่ีระลึกงานทำ� บญุ ประจำ� ปี ๒๕๖๓ สลากภัต ปที ่ี ๙๒

วดั เจดยี ์หลวง

ลกั ษณะคนตกต่ำ�
๑. อธนสฺส รสํ ขาทา ไร้ทรพั ย์ กลบั กินของดี
๒. อพลสฺส หตา นรา ออ่ นแอแต่ชอบผจญเขา
๓. อปญญฺ สฺส กถาวากยฺ า อบั ปญั ญา เจรจาอวดฉลาด
ติวิธํ หีนลกขฺ ณํ ๓ ประการนีค้ อื ลกั ษณะคนตกต่�ำ
(ทุกาทมิ สิ สฺ กถา, ธมมนิติ ข้อ ๑๒๕)

ลักษณะคนมศี รทั ธา
๑. ทสฺสนกาโม สลี วต ํ อยากพบท่านผ้มู ศี ลี
๒. สทธฺ มมฺ ํ โสตุมิจฺฉติ ชอบ ฟงั ธรรม ของสัตบุรุษ
๓. วเิ นยฺย มจเฺ ฉรมลํ ก�ำจดั ความตระหน่ี อนั เปน็ มลทินได้
สเว สทฺโธ ติ วจุ ฺจต ิ ทา่ นผู้นน้ั แลเรา
(ตถาคต เรยี กวา่ “ผมู้ ีศรทั ธา”)
(ติ. องฺ น. ๑๙๑)

ขอ้ สังเกตเพือ่ น ๓ ข้อ
๑. อหเิ ต ปฏเิ สโธ จ หา้ มกนั ในการทไี่ รป้ ระโยชน์
๒. หเิ ตสุ จ นิโยช โก ชักจงู ในการที่เป็นประโยชน์
๓. พยฺ สเน จาปริจฺจาโค ไม่ละทิ้งยามวิบัติ
สงเฺ ขปํ มิตฺตลกขฺ ณ ํ นเ้ี ปน็ ลกั ษณะของมติ รโดยย่อ
(มิตตฺกถา ธมมฺ นีติ ขอ้ ๙๖)

40

ท่ีระลกึ งานทำ� บุญประจำ� ปี ๒๕๖๓ สลากภตั ปีท่ี ๙๒

วดั เจดยี ์หลวง

บุคคลทไี่ มค่ วรไวว้ างใจ

๑. โจรท่เี ปน็ เพื่อนรกั หรือเพื่อนรักที่เป็นโจร
๒. มิตรสหายทรี่ กั ชอบกันมานาน
๓. พระเจ้าแผ่นดนิ ท่ที รงโปรดปรานมาก
๔. หญงิ ท่อี ยู่ในเงือ้ มมือของเรา

(ปปญจฺ สทู นี ภาค ๓ น. ๑๐๗)

วธิ ชี ะนะ
๑. อุตฺตมํ ปาณปิ าเตน ชะนะคนสงู โดยยกมือไหว้
๒. สูรํ เภเทน วชิ เย ชะนะคนกลา้ โดยใหแ้ ตกสามัคคี
๓. หีนมปปฺ ทาเนน ชะนะคนขั้นต่ำ� โดยให้ของเล็กน้อย
๔. วกิ ฺกเมน สมํ ชเย ชะนะคนเสมอกนั ดว้ ยความขันสู้
(ธมฺมนติ ิ ข้อ ๒๒๕)
เทียบหิโตปเทศ:
ลพุ ธฺ มฺ อรฺเถน คฤหฺณยี าตุ สตฺ พฺธมฺ อญชฺ ลิกรมฺ ณา
มรู ขํ ฉนโฺ ท นวฺ ฤตเฺ ตน ยาถาตถเฺ ยน ปณฑฺ ติ มฺ
ผู้โลภโลมจติ ต์ได้ โดยทรพั ย์
ผูห้ ยาบยง่ิ ค�ำนับ ชอบหนา้
ผูห้ ลงสงั่ เรง่ รับ ฤา ขัดใจแฮ
ผูป้ ราชญ์เปรมใจอา้ เพราะอา้ งสัตย์สนอง

41

ที่ระลึกงานทำ� บุญประจำ� ปี ๒๕๖๓ สลากภัต ปที ่ี ๙๒

วดั เจดยี ห์ ลวง

เทียบโลกนิติ ฉะบับพะม่า: พงึ ผูกคนโลภดว้ ยทรพั ย์
๑. ลทุ ธฺ ํ อตเฺ ถน คณเหยฺย
๒. ถทฺธํ อญชฺ ลิกมฺมนุ า คนกระด้างด้วยค�ำนับ
๓. ฉนฺทานุวตตฺ ยิ า มฬิ หํ คนโง่ดว้ ยตามใจ
๔. ยถาภูเตน ปณฺฑิตํ ปราชญด์ ้วยความสตั ย์

วิธผี จญ
๑. อกฺโกเธน ชเิ น โกธ ํ ผจญคนมักโกรธด้วย ไมตรี
๒. อสาธุ สาธุนา ชเิ น ผจญหมู่ทรชนดี ต่อตัง้
๓. ชิเน กทรียํ ทาเนน ผจญคนจติ ต์โลภมี ทรพั ย์แผ่ เผอ่ื นา
๔. สจเฺ จนาลิกวาทนิ ํ ผจญอสัตยใ์ ห้ยงั้ หยดุ ดว้ ย สัตยา
(อุตตฺ ราวตฺถุ ธ. ข.ุ ภาค ๖)

ส่งิ ที่ควรถอื เอา
๑. วิษาทปฺยมฤตํ ครฺ าหยฺ น�ำ้ อมฤตถึงอยู่ในยาพิษก็ควรถือเอา
๒. มเมธยฺ าทบี กาญฺจน ํทองคำ� ถงึ อย่ใู นสิ่งโสโครกก็ควรถอื เอา
๓. นีจาทปยฺ ตุ ตฺ มํ วทิ ยฺ า วิชาทสี่ ูง ถงึ อยใู่ นคนต่ำ� กค็ วรเรยี น
๔. สตรฺ ีรตนฺ ํ ทุษกฺ ุลาทปิ นางแกวอยู่ในสกลุ เลวทราบกค็ วรเล้ยี ง
(จาณกั ยศตกะ ข้อ ๑๖)

42

ทรี่ ะลกึ งานท�ำบุญประจ�ำปี ๒๕๖๓ สลากภัต ปีท่ี ๙๒

วัดเจดยี ห์ ลวง

มีเหมือนไม่มี
๑. ทุกฺขเมว น โกจิ ทุกขิโต ทุกขม์ จี ริง แตค่ นเป็นทุกข์ไม่มี
๒. การโก น กิรยิ า ว วิชฺชติ ผู้ทำ� ไมม่ ี แตก่ ารกระท�ำมีอยู่แท้
๓. อตถฺ ิ นิพฺพุติ น นพิ พฺ โุ ต ปมุ า ความดบั มีอยู่ แตผ่ ู้ดบั ไม่มี
๔. มคฺโค อตถฺ ิ คมโก นวิชฺชติ ทางมีอยู่ แตผ่ ้เู ดินไมม่ ี
อธิบาย :
ไดแ้ ก่นัยแหง่ อรยิ สัจจ์ ๔ คือ ๑. ทุกข์มี ไมม่ ีผูก้ �ำหนดรทู้ ุกข์ด้วยปริญญากิจ ๒.
ผ้ลู ะตณั หาไม่มี แตป่ หานกิจมีอยู่ (คอื อาจละได)้ ๓. นพิ พานมี แต่ผู้บรรลุ (ทำ� ให้แจ้งดว้ ย
สัจฉกิ รณกิจ) ไมม่ ี ๔. มรรคมผี องค์ ๘ มอี ยู่ แตผ่ ปู้ ฏิบตั ิภาวนากิจ (คืออบรม) ไม่มี
(สทฺธมมฺ ปปฺ กาสินี น. ๓๖๓)

ส่สี ง่ิ ทไ่ี ร้ส่ีส่ิงกว็ ่างเปลา่
๑. อปตุ ฺตกํ ฆรํ สญุ ฺญํ บา้ นไรบ้ ุตร เปน็ บา้ นว่างเปล่า
๒. เทสํ สญุ ฺญํ อราชิกํ ประเทศไรเ้ จ้า เป็นเมอื งร้าง
๓. อปญญฺ สฺส มขุ ํ สุญญฺ ํ ปากของคนไรป้ ัญญา เป็นปากเปล่า
๔. สพฺพสุญฺญํ ทลทิ ทฺ กํ ความไรส้ มบัติ (ความจน)
ศนู ยห์ มดทกุ อย่าง
(ธมฺมนตี ิ ขอ้ ๒๖๓)
บทประพนั ธ์ :
“บา้ นไมม่ บี ตุ รดเู หงา, เมอื งไมม่ เี จา้ ดเู ปลา่ เปลยี่ ว, ปากคนโงท่ งั้ หลายเลยใบเ้ ทยี ว,
ยง่ิ กว่าเหงาเปลา่ เปลยี่ วคอื ความจน”
(จากเสนาศกึ ษา ฯ เล่ม ๑๖ ตอนที่ ๘)

43

ท่ีระลึกงานท�ำบญุ ประจำ� ปี ๒๕๖๓ สลากภตั ปีท่ี ๙๒

วดั เจดยี ์หลวง

อีกนัยหน่งึ :
“นคคฺ า นที อโนทกา นคฺคํ รฏฐํ อราชกิ ํ
อติ ฺถบี ี วธิ วา นคฺคา ยสฺสาบี ทส ภาตโร”
“แม่นำ้� ไร้นำ�้ เป็นแมน่ ำ้� ตน้ื , แควน้ ใดไรเ้ จ้าเท่ากบั เมืองร้าง,
สตรจี ึงจะมีพนี่ อ้ งต้งั สิบคนลงไรส้ ามีกเ็ ท่ากับตัวเปล่า”
(นยั – อจุ ฉํงคชาดก)

๑. สาตถฺ กสมฺปชญฺญ สมั ปชญั ญะ
รอบรใู้ นส่งิ ที่มีประโยชน์
๒. สปฺปายสมฺปชญญฺ รอบรใู้ นทเ่ี ปน็ ที่สบาย
๓. โคจรสมปฺ ชญฺญ รอบรู้ในที่เปน็ โคจร
๔. อสมฺโมหสมฺปชญฺญ รอบรใู้ นส่ิงท่ีไมห่ ลง
(สมฺโมหวโิ นทน,ี วิภงฺควณณนา น. ๔๕๓)

อปุ มาอริยสัจจ์

ก. ทุกขสัจจ์ ดุจภาระหนัก ข. สมทุ ยั สัจจ์ ดจุ เหตุแห่งภาระหนัก ค. นโิ รธ
สจั จ์ ดจุ ปลงลงซึ่งภาระหนกั ง. มรรคสัจจ์ ดจุ อุบายเครื่องปลงลงซง่ึ ภาระหนกั
ก. ทุกขสัจจ์ ดุจโรค ข. สมุทยั สจั จ์ ดุจสมุฏฐานเปน็ เหตุใหเ้ กิดโรค ค. นโิ รธ
สจั จ์ ดุจความหมายโรค ง.มรรคสัจจ์ ดจุ ยาแก้โรค
ก. ทุกข์ ดุจผูผ้ ูกเวร ข. สมทุ ัย ดจุ เหตเุ ดมิ ท่ีเกดิ ผูกเวร ค. นโิ รธ ดจุ การถอน
เวร ง. มรรค ดจุ อบุ ายเครื่องถอนเวร
ก. ทกุ ข์ ดุจตน้ ไมม้ พี ิษ ข. สมทุ ัย ดุจรากตน้ ไม้ ค. นโิ รธ ดุจตดั รากต้นไม ้
ง. มรรค ดุจอบุ ายเครอ่ื งตดั รากตน้ ไมน้ ัน้ .

(สมฺโมหวิโนทนี อฎั ฐกถาวิภังคปกรณ)์

44

ทรี่ ะลึกงานทำ� บุญประจำ� ปี ๒๕๖๓ สลากภตั ปีที่ ๙๒

วัดเจดียห์ ลวง

๑. นภญจฺ ปฐวี จ ส่งิ ที่ไกลกัน
ฟา้ กับแผ่นดิน
๒. โอริมญจฺ ตีรํ ปาริมญจฺ ดรี ํ ฟากน้ีกับฟากโน้นแหง่ ทะเล
๓. ยโด จ เวโรจโ อพฺภุเทต,ิ ทิศตะวันข้นึ กบั ทิศตะวนั ตก
ยตถฺ จ อตฺถงคฺ เมติ
๔. สตญฺจ ธมโฺ ม อสตญจฺ ธมฺโม ธรรมของสตั บรุ ุษกับของอสัตบรุ ษุ
“อมิ านิ โข ภิกฺขเว จตฺตาริ สุวิทรู วทิ ธรานี ส่ีประการเหลา่ น้แี ลภกิ ษุท้งั หลาย
ไกลกันแสนไกล”
(จตุ, องฺ. น.๖๔)

เหตทุ ี่ให้ยากจน
๑. โกสชฺชํ เกียจคร้าน
๒. อนารกขฺ า – ปมตตฺ ตา ไมร่ กั ษาทรัพย์ – เลนิ เล่อ
๓. ปาปมิตตฺ ตา คบคนชัว่ เปน็ มติ ร
๔. อสมชีวิตา – อมตฺตญญฺ ุตา เล้ยี งชีพไมช่ อบธรรม ไม่รจู้ ักประมาณ
หมายเหตุ :
ข้อ ๑. ดูลักษณะคนเกียจคร้าน ๓ และข้อแก้ตัวของคนเกียจคร้าน ๘ ข้อ
ข้อ ๒. ดู ตระกูลอันมั่งค่ังจะต้ังอยู่นานไม่ไดด้วยเหตุ ๔ ในธรรมวิภาค น.ธ.ตรี
ขอ้ ๓. ดู “คนเทยี มมติ ร ๔” ในคหิ ปิ ฏบิ ตั ิ ขอ้ ๔. ดู “ความไมร่ จู้ กั ประมาณ ๓” ในหมวด ๓.
(ดบั ปฏปิ กั ขนยั แห่งพยัคฆปชั ชสตู ร)

45

ทร่ี ะลึกงานท�ำบุญประจ�ำปี ๒๕๖๓ สลากภัต ปีท่ี ๙๒

วดั เจดยี ห์ ลวง

วิธใี ชท้ รพั ย์ ๔ อีกนัยหน่งึ :
“เอเกน ภาคํ ภญุ ฺเชยย ทฺวีหิ กมมฺ ํ ปโยชเย
จตตุ ฺถํ จ นิธาเปยฺย อาปทาสุ ภวิสฺสต”ิ
“บุคคลควรจ่ายทรัพย์บริโภคเสียส่วนหนึ่ง, ประกอบการงาน ๒ ส่วน,
พง่ึ เก็บสว่ นท่ี ๔ ไวเ้ ผื่ออนั ตรายจกั มี”
(ปปญฺจสูทนี ภาค ๑ น. ๑๘๔)

เหตุที่ใหม้ งั่ มี
(ดทู ฏิ ฐธัมกิ ตั ถประโยชน์ ๔ ในคหิ ิปฏิบตั ิ น.ธ.ตร)ี
คนทเี่ หมอื นนก ๔ เหลา่
๑. ปาเส ภตุ ฺตา ปาเส มตา กินในบว่ งตายในบ่วง
๒. ปาเส ภุตตฺ า พหิ มตา กนิ ในบว่ งตายนอกบว่ ง
๓. พหิ ภุตฺตา ปาเส มตา กนิ นอกบว่ งตายในบว่ ง
๔. พหิ ภุตฺตา พหิ มตา กินนอกบ่วง ตายนอกบว่ ง
อธิบาย :
๑. ไดแ้ ก่ชาวบา้ นทก่ี นิ ,นอน, อยใู่ นบ่วงมาร (คอื วตั ถุกาม = รปู , เสยี ง, กล่นิ , รส,
โผฏฐพั พะ) และยอมตายในบ่วงมารน้อี ีก ๒. ได้แก่ชาวบ้าน ซ่ึงเดิมก็ติดบว่ งมารเหมือน
กนั , แตภ่ ายหลงั หนไี ด้ คอื หนอี อกจากกามไปบวชถวายชวี ติ แดพ่ ระศาสนา ไมย่ อมตายใน
บว่ ง ๓. ไดแ้ ก่นักบวชบางรูป ซง่ึ กิน, นอนอย่นู อกบว่ ง, แต่กลับสกึ มาเสพกามยอมตายใน
บว่ งอกี ๔. ได้แก่นกั บวชชนดิ ถวายชวี ติ แด่พระศาสนา กิน, นอน, นอกบว่ ง และไมย่ อม
กลบั มาตายในบ่วงมารอกี ต่อไป.
(มติ – เกจิอาจารย์ และนยั แหง่ ราชปัญหาของพระเจ้ากรุงหงสาวดี)

46

ท่รี ะลกึ งานทำ� บุญประจำ� ปี ๒๕๖๓ สลากภตั ปที ่ี ๙๒

วัดเจดยี ห์ ลวง

อาวุธ ๔ ของคน ๔ เหลา่
๑. วาจาวุธา จ ราชาโน ท้าวพญา มีวาจาเป็นอาวธุ
๒. สจจฺ าวุธา จ สมณา สมณะ มีความสัตยเ์ ปน็ อาวธุ
๓. ธนาวธุ า จ เสฏฐฺ ิโ เศรษฐีมมี ทรพั ยเ์ ปน็ อาวธุ
๔. โคณาวุธา ทลทิ ฺทกา คนจนมโี คเป็นอาวธุ (เฉพาะอินเดีย?)
(ธมฺมนีติ ขอ้ ๓๖๓)
หมายเหตุ : ควรเปล่ยี นข้อ ๔ เป็นพลาวุธา ทลิททฺ กา คนจนมเี รี่ยวแรงเปน็ อาวุธ

ทรัพย์ของคน ๔ จ�ำพวก
๑. อติ ถฺ ีนญจฺ ธนํ รปู ํ รปู เปน็ ทรพั ย์ของหญงิ
๒. ปรุ ิสานฺ วชิ ชฺ า ธนํ วิทยาเป็นทรพั ยข์ องชาย
๓. ภิกขนู ญฺจ ธนํ สีล ํ ศีลเปน็ ทรพั ยข์ องพระสงฆ์
๔. ราชนู ญจ ธนํ ลพํ พลทวยหาญเปน็ ทรัพย์ของพระราชา
(โลกนติ ิ อติ ถกี ัณฑ)์

เหตุแห่งมรณะ
๑. อายุกขฺ ยมรณ ตายด้วยส้นิ อายุ
๒. กมมฺ กฺขยมรณ ตายดว้ ยสน้ิ บญุ สิน้ กรรม
๓. อุภยมรณ ตายดว้ ยสนิ้ บญุ ส้ินอายุพร้อมกัน
๔. อปุ จเฺ ฉทกกมมฺ ุนา ตายด้วยอุปัจเฉทกรรมตัดรอน
อธิบาย :
ตายด้วยเหตุ ๑ – ๒ - ๓ ช่ือว่ากาลมรณะ, ตายเด้วยเหตุข้อท่ี ๔ ชื่ออว่า
อกาลมรณะ, ตายในกาลไม่สมควร เชน่ ท่ีเรยี กวา่ ตายโหง
(อภิธมมฺ ตฺถสงคฺ ห ปญจฺ มปริเฉท น.๓๑)

47

ท่ีระลกึ งานท�ำบญุ ประจำ� ปี ๒๕๖๓ สลากภัต ปที ี่ ๙๒

วดั เจดียห์ ลวง

ดใู จคนได้ ๔ คราว
๑. ชาเนยยฺ เปเสน กิจฺจ ํ อาจรู้กบั บา่ วทวา่ ดเี มือ่ มกี ิจ
๒. พนฺขวาบี ภยาคเต ญาตสิ นิทเม่ือสมัยภัยใหผ้ ล
๓. อปปฺ กาสุ ตถา มตฺต ํ มิตรกฉ็ นั เดียวกนั ในวนั จน
๔. ทารญจฺ วภิ วกฺขเย ภรยิ าตน เม่ือทรัพยล์ บั ศนู ยไ์ ป
(โลกนติ ิ มติ รกัณฑ์)

สง่ิ ทีใ่ ครไมเ่ ปรียบได้
๑. นตฺถิ วชิ ฺชาสมํ มิตฺตํ ไม่มีมติ รใดจะเปรยี บด้วยวิทยา
๒. นตถฺ ิ พยฺ าธิสโม รปิ ุ ไมม่ ฆี ่าศึกทไ่ี หนเทยี มพยาธิ
๓. นตถฺ ิ อตฺตสมํ เปม ํ ไม่มคี วามรกั อะไร จะเท่ากับรักตน
๔. นตฺถิ กมมฺ สมํ พล ํ ไม่มแี รงอะไรเสมอดว้ ยแรงกรรม
(ธมมฺ นีติ ปกิณฺณกกถา ข้อ ๓๑๙)

ผ้ไู ม่รู้อ่มิ
(ธมมฺ นตี ิ ปกิณณฺ กกถา ข้อ ๓๗๐)
๑. น ติตตฺ ิ ราชา ธเนนมหฺ ิ พระราชาไม่ทรงอ่ิมในราชทรัพย์
๒. ปณฺฑิโตบี สภุ าสิเต บณั ฑติ ก็ไมร่ จู้ ักอมิ่ ในค�ำสุภาสิต
๓. จกฺขบู ี บยี ทสสฺ เน แม้ดวงตา กไ็ ม่อิ่มในการดรู ปู
๔. สาคโรบ มหาชเล ทะเลหลวงกไ็ มอ่ ิ่มในการดืม่ นำ้�
(ธมมฺ นีติ ปกณิ ฺณกกถา ข้อ ๓๕๓)

48

ทรี่ ะลกึ งานท�ำบญุ ประจำ� ปี ๒๕๖๓ สลากภัต ปีท่ี ๙๒

วดั เจดยี ห์ ลวง

ผู้ที่ยง่ิ รบกวนกย็ ่ิงรักกัน ๔ เหลา่
๑. เทวดาตั้งปญั หาถามพระเจ้าวิเทหราชว่า :
“หนตฺ ิ หตฺเถหิ ปาเทหิ มขุ ญฺจ ปรสิ มุ ฺภติ
สเว ราช บโี ย โหติ กนฺเตนมภปิ สฺสส”ิ
“บุคคลประหารผู้อนื่ ดว้ ยมอื , ด้วยเท้า, เอามือตมผู้อ่นื แต่กบบั เป็ฯทร่ี กั ของ
ผู้ถกู ประหาร พระองคท์ รงเหน็ ใครเปน็ ท่รี ักของผถู้ ูกประหาร ?”
พระมโหสธตอบแทนพระเจา้ วเิ ทหราชวา่ ไดแ้ กบ่ ตุ ร ยง่ิ ตบยง่ิ ตแี ละทงิ้ ผมบดิ า
มารดา กย็ ิง่ เปน็ ทร่ี กั ของบดิ ามารดา
๒. ปัญหาเทวดา :
“อกฺโกสติ ยถากามํ อาคมญฺจสฺส เนจฺฉติ
สเว ราช บโี ย โหต ิ กนเฺ ดมภปิ สฺสสี”
“ผทู้ ช่ี อบดา่ แตไ่ มอ่ ยากใหผ้ ถู้ กู ดา่ เดอื ดรอ้ น คอื ผดู้ า่ ๆ ดว้ ยความรกั พระองค์
ทรงเห็นวา่ ใครเป็นผูด้ ่า ?”
พระมโหสรตอบว่า ได้แก่บิดารมารดา ด่าว่าบุตรเท่าไรก็ไม่อยากให้บุตร
ประสพภัยอย่างทีต่ นดา่ กบบั ทวคี วามรกั ในบตุ รยง่ิ ๆ ขน้ึ ไป
๓. ปัญหาเทวดา :
“อพภฺ าจิกขฺ ิ อภูเต อลิเกนาภสิ ารเย
สเว ราช บโี ย โหติ กนตฺ นมภปิ สสฺ ส”ิ
“บุคคลคกู่ นั ดว้ ยค�ำอันไมจ่ รงิ , ชอบเขา้ กันด้วยคำ� ล้อเลียน, แต่กลับเปน็ ทีร่ ัก
แห่งกนั และกนั , พระองค์รางเหน็ วา่ ไดแ้ ก่ใคร ?”
พระมโหสธตอบว่า ได้แก่ สามีและภรรยา ล้อกันเล่นด้วยความสิเนหา
ต่างคนต่างหาความกนั วา่ นอกใจ แต่กบับรักใครกันยิง่ ข้นึ

49


Click to View FlipBook Version