ไฟฟ้า LARANA COMPANY คลื่ลื่ ลื่ นลื่ นแม่ม่ ม่ เ ม่ เหล็ล็ ล็ กล็ ก
คลื่ลื่ ลื่ นลื่ นแม่ม่ ม่ เ ม่ เหล็ล็ ล็ กล็ กไฟฟ้ฟ้ ฟ้ า ฟ้ า คืคื คื อคื ออะไร
คือ คลื่นที่เคลื่อนที่โดยที่ไม่อาศัย ตัวกลาง โดยอาศัยการเหนี่ยวนำ กัน ระหว่างสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้า ซึ่งเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาทิศทางของ สนามทั้งสองตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ เป็นคลื่นที่เกิดจากการเคลื่อนที่ออกไป ในลักษณะที่เป็นคลื่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Wave)
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าช่วงความถี่ต่างๆ มี ลักษณะเฉพาะตัวจึงมีชื่อเรียกต่างกัน เรียงจากความถี่ต่ำ ไปสูงจะได้ดังนี้ คลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ รังสีอินฟาเรด แสงที่ตามองเห็น รังสีอัลตราไวโอเลต รังสีเอ็กซ์ และรังสีแกมมา คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทุกช่วงที่มีความถี่ต่อ เนื่องกัน รวมเรียกว่า "สเปกตรัม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า electromagnetic spectrum"
คลื่ลื่ ลื่ นลื่ นแม่ม่ ม่ เ ม่ เหล็ล็ ล็ กล็ ก ไฟฟ้า
สันคลื่น คือ ตำ แหน่งสูงสุดของคลื่น เหนือตำ แหน่งปกติ ท้องคลื่น คือ ตำ แหน่งที่ต่ำ ของคลื่น ใต้ตำ แหน่งปกติ แอมพลิจูด (A) คือ ระยะการกระจัด สูงสุดจากแนวสมดุลหรือความสูงจาก แนวสมดุลของสันคลื่น ความยาวของคลื่น 1ลูก (λ) คลื่นมีค่าเท่ากับระยะห่างจากสันคลื่นหนึ่ง ถึงสันคลื่นที่อยู่ติดกัน
อัตราเร็วแม่เหล็กไฟฟ้าทุกชนิด ในสุญญากาศ เท่ากับ V = 3x10⁸ m/s ซึ่งเท่ากับ อัตราเร็วของแสง สมบัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ถ่ายเทพลังงานจากที่หนึ่งไปยัง ไม่มีประจุไฟฟ้า เป็นคลื่นตามขวาง ไม่ต้องใช้ตัวกลางในการเคลื่อนที่ อีกที่หนึ่ง
สูตร ความถี่ (f) หน่วยเป็นรอบต่อวินาที (s¹) หรือHz (คาบ) คาบ T ช่วงเวลาที่คลื่นเคลื่อนที่ 1 ความยาวคลื่น (ความถี่) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเกิดจากแหล่งกำ เนิดที่ มีความถี่ต่างกัน ให้ความยาวคลื่นต่างกัน ตามสมการเคลื่อนที่ของคลื่น V = fλ V แทนอัตราเร็ว หน่วยเป็นเมตร/วินาที λแทนความยาวคลื่น หน่วยเป็นเมตร
คลื่ลื่ ลื่ นลื่ นวิวิ วิ ทวิ ทยุยุยุยุ
1.คลื่นดิน คลื่นที่เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง ขนานผิวโลก 2.คลื่นฟ้า คลืานที่เดินทางจากพื้นโลกพุ่งไป ยังบรรยากาศจนถึงชั้นเพดานฟ้าและสะท้อน กลับลงมายังโลก คลื่นวิทยุมีความถี่ช่วง 10⁴-10⁹ Hz ใช้ในการ สื่อสาร คลื่นวิทยุแบ่งออกได้ 2 ประเภท ใหญ่ๆ คือ คุณสมบัติ การสะท้อนกลับ, การหักเห, การเบี่ยงเบน
คลื่นวิทยุมีการส่งสัญญาณ 2ระบบ 1.ระบบAM ช่วงความถี่ 530-1600 kHz สื่อสารโดยใช้ คลื่นเสี่ยงผสมคลื่นวิทยุ เรียกว่า "คลื่นพาหะ" ส่งได้ทั้งคลื่นดินและคลื่ฟ้า,สื่อสารได้ไกล เเต่ถูกรบกวนง่าย 2.ระบบ FM ช่วงความถี่ 88-108MHz สื่อสารโดยคลื่น เสียงผสมเข้ากับคลื่นพาหะโดยความถี่ของ คลื่นพาหะ จะเปลี่ยนแปลงตามสัญญาคลื่น เสียง ชัดเจนกว่า AM
รัรั รั งรั งสีสี สี อิสี อิ อิ นอิ นฟาเรด
รังสีอินฟาเรด Infrared rays มีช่วงความถี่ 10¹¹ - 10¹⁴ หรือความยาวคลื่นตั้งแต่ 10-3 - 10-6 เมตร รังสีอินฟาเรดสามรถใช้ กับฟิล์มถ่ายรูปบางชนิดได้ และใช้เป็นการ ควบคุมระยะไกลหรือรีโมทคอนโทรลกับ เครื่องรับโทรทัศน์ได้ ช่วงคลื่นสั้น = ภาพถ่าย ช่วงคลื่นกลาง = จรวดนำ วิถี ช่วงคลื่นยาว = บำ บัดผู้ป่วย แบ่งออกเป็น 3 ช่วง
รังสีอัลตราไวโอเลต
Ultraviolet rays มีช่วงความถี่ 10¹⁵ - 10¹⁸ Hz หรือ 770 THz -30 PHz มีความยาวคลื่น 10nm - 400nm เป็นรังสีจากการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ ทำ ให้เกิดประจุอิสระและไออ่อนใน บรรยากาศชื้นไฮโอโนสเฟียร์ รังสีนี้ทำ ให้เชื้อโรคบางชนิดตายได้ แต่มีอันตรายต่อผิวหนังและตาคน
รัรั รั งรั งสีสี สี เสี เอกซ์ซ์ ซ์ซ์
รังสีเอกซ์ X-ray เป็นการแผ่รังสีแบบ แตกตัวเป็นไอออน และมีอันตรายต่อ มนุษย์ แต่ในเบื้องต้นมีการใช้รังสีเอก ซ์สำ หรับถ่ายภาพเพื่อวินิจฉัยโรคและ งานผลึกศาสตร์ คุณสมบัติ ทำ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางชีววิทยาต่อ เซลล์สิ่งมีชีวิต มีคุณสมบัติเหมือนแสง เดิน ทางเป็นเส้นตรงในสุญญากาศ ไม่หักเหใน สนามไฟฟ้า/สนามแม่เหล็กเป็นต้น
ทางร่าง ผมร่วง อ่อนเพลีย ฯลฯ ทางอวัยวะ ผิวหนังแดง/แห้ง/ลอก ฯลฯ และเกิดแผลเป็นบริเวณที่ฉาย แสง 1. 2. อันตรายจากรังสี สามารถรักษามะเร็งได้เเต่มีผลข้างเคียง ดังนี้
รัรั รั งรั งสีสี สี แสี แกมมา
รังสีแกมมา (Gramma say) มีช่วง ความยาวคลื่นสั้นกว่ารังสีเอกซ์ รังสี แกมมามีความถี่สูงมากๆ ดังนั้นจึง ประกอบด้วย โฟตอนพลังงานสูงหลายตัว เป็นการแผ่รังสีแบบ ionlzation มี อันตรายต่อชีวภาพ แต่ก็ยังสามารถนำ มา ใช้ประโยชน์ได้ ทางการเกษตร กำ จัดแมลง ถนอมดหาร ทางอุตสาหกรรม พอลิเมอรี ปรับปรุงคุณ ภาอัญมณี ทางการแพทย์ รักษาโรคมะเร็ง ทำ ความ สะอาดเครื่องมือ
คลื่ลื่ ลื่ นลื่ นแสง
คลื่นแสง คือ คลื่นชนิดหนึ่งและมี พลังงานแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วง ความยาวคลื่นที่สายตามนุษย์มองเห็น หรือบางครั้งอาจรวมถึงการแผ่รังสีแม่ เหล็กไฟฟ้าในช่วงความยาวคลื่น ตั้งแต่ รังสีอินฟารดถึงรังสีอัลตราไวโอเลตด้วย
2024-2025 ปรากฏการณ์ณ์ ณ์โณ์ ฟโตอิอิ อิ เอิ เล็ล็ ล็ กล็ กตริริ ริ กริ ก
2024-2025 อิเล็กตรอนในสสารดูดซัพพลังงาน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จนอิเล็กตรอนมีพลังงาน มากกว่าพลังานยึดเหนี่ยวของอะตอมของ สสาร อิเล็กตรอนจะหลุดออกมาจากอะตอม อิเล็กตรอนที่หลุดของมาเรียกว่า "โฟโต อิเล็กตรอน" เมื่อเเสงตกกระทบอิเล็กตรอนที่ หลุดออกมาจะมีพลังงานจลน์
2024-2025