การประเมนิ คุณภาพภายนอก
ผศ.ชุตมิ า ประมวลสขุ
ความหมายของการประเมินคณุ ภาพภายนอก
การประเมนิ คุณภาพภายนอก คอื การประเมนิ คุณภาพการจัดการศกึ ษา การติดตาม การตรวจสอบคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยผู้ประเมินภายนอกที่ได้รับการรับรองจากสานักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา โดยผู้ประเมินภายนอกท่ีได้รับการรับรองจากสานักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึ ษา (องคก์ ารมหาชน) หรือ สมศ. เพือ่ ม่งุ ใหม้ คี ุณภาพดียิง่ ขึน้
ผูป้ ระเมินภายนอกหรือคุณหมอโรงเรียนมคี วามเป็นอิสระ
และเป็นกลาง ไม่มีผลประโยชน์ขัดแย้งกับการประเมินคุณภาพ
ภายนอกจะนาไปสูก่ ารเขา้ ถึงคุณภาพการศกึ ษาดว้ ยความเปน็ กลาง
เพื่อสร้างสรรค์พฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาอย่างแท้จริง
โครงสร้าง
สานักงานรบั รองมาตรฐานและ
ประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา
(สมศ.)
แนวคดิ และหลักการการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก
การประเมินภายนอกของ สมศ. เปน็ การประเมินโดยใชร้ ูปแบบ "กลั ยาณมติ รประเมนิ " โดยมวี ัตถุประสงค์เพื่อ
1. เพื่อตรวจสอบ ยืนยันสภาพจรงิ ในการดาเนินงานของสถานศกึ ษาและประเมนิ คุณภาพการศึกษาตามมาตรฐาน
การศกึ ษาทก่ี าหนด
2. เพ่ือให้ได้ข้อมูลซึ่งชว่ ยสะท้อนให้เห็นจุดเด่น-จุดด้อยของสถานศึกษา เง่ือนไขของความสาเร็จ และสาเหตุของ
ปัญหา
3. เพอื่ ชว่ ยเสนอแนะแนวทางปรับปรงุ และพฒั นาคุณภาพการศึกษาแกส่ ถานศกึ ษาและหนว่ ยงานตน้ สังกดั
4. เพ่ือสง่ เสริมใหส้ ถานศกึ ษามีการพฒั นาคุณภาพและประกันคุณภาพภายในอยา่ งต่อเนื่อง
5. เพ่ือรายงานผลการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาต่อหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องและ
สาธารณชน
ความสาคญั การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก
ประการท่ี 1 เป็นการสง่ เสรมิ ใหส้ ถานศกึ ษาพฒั นาเขา้ สู่เกณฑม์ าตรฐานและพัฒนาตนเองใหเ้ ตม็ ตามศักยภาพอย่างตอ่ เนอื่ ง
ประการที่ 2 เพ่ิมความม่ันใจและคุ้มครองประโยชน์ให้ผู้รับบริการทางการศึกษาว่าสถานศึกษาได้จัดการศึกษามุ่งสู่คุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษาทเี่ น้นใหผ้ ูเ้ รยี นเป็นคนดี มคี วามสามารถ และมีความสขุ เพื่อเป็นสมาชิกท่ีดขี องสังคม
ประการท่ี 3 สถานศึกษาและหน่วยงานท่ีกากับดูแล เช่น คณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด สานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา รวมทั้งหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องและชุมชนท้องถิ่นมีข้อมูลท่ีจะช่วยตัดสินใจในการวางแผนและดาเนินการเพ่ือพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาของสถานศกึ ษาให้เป็นไปในทศิ ทางทต่ี ้องการและบรรลุเป้าหมายตามท่ีกาหนด
ประการที่ 4 หนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้องในระดับนโยบายมีขอ้ มูลสาคญั ในภาพรวมเก่ียวกับคุณภาพและมาตรฐานของ
สถานศึกษาทุกระดับทุกสังกัด เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการกาหนดแนวนโยบายทางการศึกษาและการจัดสรร
งบประมาณเพ่อื การศึกษาอยา่ งมีประสิทธภิ าพ
พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
การจดั การศกึ ษาประกอบดว้ ย
พระราชบัญญตั จิ ดั ต้งั สมศ.พ.ศ.2543
อานาจหนา้ ท่ี
อานาจหนา้ ท่ี
อานาจหนา้ ท่ี
ความแตกตา่ งระหวา่ งการประเมนิ คุณภาพภายนอกแต่ละรอบ
ความแตกตา่ งระหวา่ งการประเมนิ คุณภาพภายนอกแต่ละรอบ
ความแตกตา่ งระหวา่ งการประเมนิ คุณภาพภายนอกแต่ละรอบ
จดุ เปลี่ยนระหวา่ งการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสี่
(พ.ศ.2559 – 2563)
สมศ. เริ่มให้สถานศึกษาส่งรายงานการประเมินตนเองเป็นไฟล์ไปยังหน่วยงานต้นสังกัด และจะมีการ
เชื่อมโยงฐานข้อมูลระหว่าง สมศ. และหน่วยงานต้นสังกัดผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือส่งเสริม
ให้สถานศกึ ษาลดภาระเอกสารในการจัดทารายงานผลการดาเนินงานของสถานศกึ ษา
เพิ่มเทคโนโลยี ด้วยการนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เรียกว่า “Automated QA (AQA)”
เข้ามาใช้ เพือ่ ให้
1. ใชใ้ นการเชื่อมโยงข้อมูล
2. ประมวลผลข้อมูลการประเมนิ คณุ ภาพไดห้ ลากหลายมิติ อาทิ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกทั้ง
ในลักษณะรายแห่ง จังหวัด ภูมภิ าค และระดบั ประเทศ
3. แสดงผลจุดเดน่ ในภาพรวมของสถานศกึ ษาทั้งประเทศในรายด้าน
4. ให้สถานศึกษาใช้ระบบสารสนเทศเพ่ือลดภาระด้านการส่งเอกสารรายงานการประเมินตนเอง
(SAR) ส่งผลให้การดาเนินงานของ สมศ. มคี วามรวดเร็วสามารถสะท้อนผลการประเมินคุณภาพ
ภายนอกอย่างมีประสิทธิภาพ รายงานผลต่อรัฐบาลเพื่อนาไปใช้ประกอบการกาหนดนโยบายด้าน
การศกึ ษาของประเทศไทยไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง
การประเมินคุณภาพภายนอกเช่ือมโยงกับระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาและ
หน่วยงานต้นสังกัด ท่ีคานึงถึงบริบทของสถานศึกษา และเป็นไปตามมาตรฐานของสถานศึกษาที่
สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ
การประกันคุณภาพภายใน (Internal Quality Assurance) หรือ IQA เป็นการ
ประกันคุณภาพการศึกษาโดยสถานศึกษาเอง ตามมาตรฐานท่ีประกาศจากหน่วยงานต้นสังกัด ซ่ึง
บรบิ ทของสถานศึกษาจะมีความตา่ งกันในเร่ืองปจั จัยนาเขา้ (Input) เชน่ เดก็ เครื่องมอื ส่ิงสนับสนุน
ต่างๆ กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Output) ซ่ึงสถานศกึ ษาจะทาการประเมินตนเองทุก
สิ้นปี
และส่งต่อให้มกี ารประเมินคุณภาพภายนอก (External Quality Assessment) หรือ
EQA เป็นการดาเนินการโดยหน่วยงานอิสระ ซ่ึงในประเทศไทยคือ สมศ. ท่ีได้ดาเนินการพัฒนา
มาตรฐาน เกณฑ์วิธกี ารประเมนิ เพอ่ื ทาการประเมนิ ผลคณุ ภาพของสถานศึกษาทกุ ระดบั ทุกประเภท
สมศ. ย้าประเมินคุณภาพภายนอกรอบส่ีเป็นการประเมินแนวใหม่ ใช้เทคโนโลยีลดภาระเอกสาร
สถานศึกษาออกแบบตัวชี้วัดการประเมินคุณภาพภายในเองภายใต้บริบทสถานศึกษา แก้ปัญหา
ใช้มาตรฐานเดียววดั ทัง้ ประเทศ (One Size Fit Al)
การประเมนิ เป็น Peer Review ตามองค์ประกอบคณะผูป้ ระเมนิ ท่ีมคี วามเชย่ี วชาญ (Expert
Judgment)
จัดคณะประเมินให้มีความเหมาะสมและมีความรู้
และประสบการณ์ตรง สอดคล้องกับบริบทของ
สถานศึกษา
สมศ. มุ่งเน้นการประเมนิ เพื่อพฒั นา โดยยึด 5 วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ไวด้ ังนี้
1. มงุ่ ให้มีการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ไมจ่ ับผิดหรอื ใหโ้ ทษ
2. ยึดหลักความเท่ียงตรง โปร่งใส มีร่องรอยหลักฐานตามสภาพจริง และมีความรับผิดชอบ
ตรวจสอบได้
3. มุ่งสรา้ งความสมดลุ ระหวา่ งเสรภี าพทางการศกึ ษากับจุดมุง่ หมายหลกั และหลกั การศกึ ษาของ
ชาติ โดยให้มีเอกภาพเชงิ นโยบาย แตม่ คี วามหลากหลายในทางปฏิบตั ิ
4. มุ่งเสรมิ และประสานงานในลกั ษณะกัลยาณมิตร
5. สง่ เสรมิ การมีสว่ นร่วมในการประเมนิ คุณภาพและพัฒนาการจดั การศึกษาจากทกุ ฝ่าย
สมศ. ได้มกี ารยึดหลักการปฏบิ ตั งิ านแบบมสี ่วนรว่ ม เพื่อให้ครอบคลุมทกุ ภาคส่วนใน
การประเมินคณุ ภาพภายนอก เพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการบริหารจดั การศกึ ษา
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบส่ี กาหนดให้มีการวิเคราะห์ SAR
(Pre-Analysis) โดยดูว่า SAR ของสถานศึกษามคี วามครบถ้วน ใน
ประเด็นความเป็นระบบ/เหมาะสมเป็นไปได้ เช่ือถือได้ มากน้อยเพียงใด
ทงั้ น้ี การกาหนดลงพืน้ ทต่ี รวจเยยี่ มสถานศกึ ษามรี ูปแบบ ดังน้ี
1. Non visit ไมล่ งพื้นท่ี
2. Patial visit ลงพน้ื ท่ี 1-2 วัน
3. Ful visit ลงพ้นื ท่ี 3 วนั
*การกาหนดลงพ้ืนที่ตรวจเย่ียมข้ึนอยู่กับรายงานประเมินตนเองของ
สถานศึกษา
เปา้ หมายการประเมินคณุ ภาพภายนอก รอบ 4
คณะผูป้ ระเมนิ ภายนอก สมศ. ประกอบด้วย
มีความเทยี่ งตรง เป็นกลาง โปร่งใส
รักษาความลบั ของขอ้ มลู สารสนเทศสว่ นบคุ คลและสถานศกึ ษาอยา่ งเคร่งครดั
ไมร่ ับอามสิ สนิ จา้ ง รางวลั ของขวัญ ของกานลั
ไมแ่ สวงหาผลประโยชนใ์ หต้ วั เองหรอื ผอู้ นื่ ไมว่ ่าโดยทางตรงหรอื ทางออ้ ม
ปฏบิ ัติงานตามท่ไี ด้รบั มอบหมายอยา่ งครบถว้ นสมบูรณ์ ตามมาตรฐานการประเมนิ
ผู้ประเมนิ ตอ้ งไมเ่ ปน็ ทป่ี รกึ ษาหรอื วทิ ยากรใหก้ ับสถานศกึ ษาเนอ่ื งจากอาจเกดิ ผลประโยชนท์ ับซอ้ น
กระบวนการประเมนิ คุณภาพภายนอกของ สมศ.
กระบวนการประเมนิ คุณภาพภายนอกของ สมศ.
จานวนสถานศึกษาที่ไดร้ ับการประเมนิ คุณภาพภายนอก
จานวนผูป้ ระเมนิ ภายนอก
กรอบแนวทางการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก
*** ตัวบง่ ชี้พ้นื ฐานการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบส่ี ***
หลกั เกณฑก์ ารตดั สนิ ระดบั คณุ ภาพของการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบส่ี
หลกั เกณฑก์ ารตดั สนิ ระดบั คณุ ภาพของการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบส่ี
ระดับคณุ ภาพของ สมศ.
แนวทางการพจิ ารณาการตดั สนิ ระดบั คณุ ภาพ
แนวทางการพจิ ารณาการตดั สนิ ระดบั คณุ ภาพ