The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมเล่่มเครือข่ายดีเด่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รวมเล่่มเครือข่ายดีเด่น

รวมเล่่มเครือข่ายดีเด่น

แบบประเมินคดั เลือก

สาขา ภาคเี ครอื ข่าย
ประเภท หนว่ ยงานภาคเี ครอื ขา่ ยภาคเอกชนดเี ดน่

ประจาปี 2562
ศนู ยช์ ยั พฒั นาการเกษตร สิรินธร

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางมลู นาก

สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดพิจิตร

สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ

คานา ก

การจัดทาเอกสารแบบประเมินคัดเลือกการปฏิบัติงานดีเด่นระดับประเทศ สาขา
ภาคีเครือข่าย ประเภทหน่วยงานภาคีเครือข่ายเอกชนดีเด่น ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอ
บางมูลนาก ฉบับน้ี จัดทาข้ึนเพ่ือเป็นเอกสารประกอบการประเมินสาขา ภาคีเครือข่าย ประเภท
หน่วยงานภาคเี ครือขา่ ยเอกชนดเี ดน่ ประจาปี ๒๕๖๒

เอกสารแบบประเมินเล่มน้ีประกอบด้วยข้อมูลท้ังหมด ๓ ด้าน คือ ด้านที่ ๑ การบริหารจัดการ
ด้านที่ ๒ การจดั และส่งเสริมกิจกรรม กศน. และดา้ นที่ ๓ ผลการดาเนนิ งาน

การจัดทาแบบประเมินเล่มนี้สาเร็จลงได้เพราะได้รับความร่วมมือจากคณะกรรมการ
สถานศึกษา , บคุ ลากรของศูนย์ชัยพัฒนาการเกษตร สริ นิ ธร และบุคลากรของศูนย์การศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางมูลนาก จังหวัดพจิ ิตร ใหก้ ารสนบั สนนุ จดั ทาข้ึน

ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อคณะกรรมการและผู้ท่ีสนใจ หรือ
ผทู้ ีเ่ กีย่ วข้องกบั การดาเนินงานดา้ นภาคเี ครอื ข่ายภาคเอกชนต่อไป

คณะผู้จดั ทา
๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๒

สารบัญ ข

เร่อื ง หนา้
คานา ก
สารบญั ข

ตอนที่ ๑ ขอ้ มลู ทว่ั ไป
ตอนท่ี ๒ ขอ้ มูลการประเมิน ๓

ด้านท่ี ๑ การบริหารจัดการ ๑๐
ด้านที่ ๒ การจดั และส่งเสริมกจิ กรรม กศน. ๑๓
ดา้ นท่ี ๓ ผลการดาเนินงาน ค
ตอนที่ ๓ ผลงานท่ปี ระสบผลสาเร็จ
ภาคผนวก



ตอนที่ ๑ ขอ้ มูลทัว่ ไป

๑. ชอื่ หนว่ ยงาน/องค์กร/สถานศกึ ษา

ศนู ย์ชยั พฒั นาการเกษตร สริ นิ ธร สังกดั มูลนธิ ิชัยพฒั นา

๒. สถานทต่ี ้งั

หมู่ท่ี ๑๑ ตาบลเนินมะกอก อาเภอบางมูลนาก จงั หวัดพจิ ิตร
โทรศพั ท์ ๐๕-๖๖๓๒-๓๓๓ โทรสาร ๐๕-๖๖๓๒-๓๓๓ E-mail –

๓. ภารกิจของหนว่ ยงาน

๓.๑ ศูนย์เรียนรู้ด้านการเกษตรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และเป็นแบบอย่างด้านการใช้
ประโยชน์จากทด่ี ินในพ้นื ท่ปี ระสบอุทกภัยน้าท่วมขังซ้าซาก

๓.๒ เป็นแหลง่ เรยี นรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรท่ีเหมาะสมกับสภาพพ้ืนที่ ท้ังด้าน
เกษตรและเลี้ยงสัตว์ จานวน ๑๒ จุดเรียนรู้ ประกอบด้วย การปลูกผัก, การเพาะเห็ด, การปลูกผัก
สมนุ ไพรพนื้ บา้ น, การปลูกพืชสมุนไพร, การผลิตปุ๋ยอินทรีย์, การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก, การเลี้ยง
กบ, การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว, การเพาะพันธ์ุปลานิลการเพาะปลาสวยงามและปลากัด, การเล้ียงโคนม,
แปลงพนั ธุไ์ มผ้ ล และ ๑ กจิ กรรม คือ กจิ กรรมการพฒั นาระบบชลประทาน

๔. ผลงานทม่ี าสง่ เสริม สนับสนุน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

๔.๑ สง่ เสรมิ สนับสนุน การจดั การศกึ ษาตอ่ เน่ือง กิจกรรมการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาอาชพี
๔.๒ สง่ เสริม สนบั สนนุ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๔.๓ ส่งเสริม สนับสนุน การจดั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน
๔.๔ ส่งเสรมิ สนับสนนุ การดาเนนิ งาน
ศูนย์เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ
เกษตรทฤษฎีใหม่ ตามนโยบาย ๔ ศนู ย์เรยี นรู้
ในกศน.ตาบล
๔.๕ สง่ เสรมิ สนับสนนุ การจดั การศกึ ษา
ตามอัธยาศยั



๕. ระยะเวลาในการจัด และ/หรือ สง่ เสริมสนับสนุนภารกจิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม

อธั ยาศัย

ศูนยช์ ยั พฒั นาการเกษตร สิรินธร เปน็ หน่วยงานภาคีเครือข่าย ภาคเอกชน ท่ีส่งเสริมสนับสนุน
ภารกิจการจักการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ของศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร แบบไม่เป็นทางการ มาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี
พ.ศ. ๒๕๕๐ ถงึ ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ รวมระยะเวลาประมาณ ๑๒ ปี

มี ก า ร จั ด ท า เ อ ก ส า ร บั น ทึ ก ข้ อ ต ก ล ง แ ล ะ ร่ ว ม ล ง น า ม ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั น อ ย่ า ง เ ป็ น ท า ง ก า ร
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ เปน็ ตน้ มา

๖. ช่ือสถานศึกษา/หนว่ ยงานทเ่ี สนอขอเขา้ รบั การประเมิน
ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางมูลนาก
สังกดั สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวัดพิจิตร
สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร

ตอนที่ ๒ ขอ้ มูลการประเมินประเภทหนว่ ยงานภาคเอกชน ๓

ดา้ นที่ ๑ การจดั ระบบการบริหารจัดการ
๑.๑ มกี ารลงนามบันทกึ ข้อตกลงความรว่ มมือ

ศูนย์ชัยพัฒนาการเกษตร สิรินธร
มีการจัดระบบการบริหารจดั การ ดา้ นการส่งเสรมิ สนบั สนุน
ก า ร ด า เ นิ น ง า น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า น อ ก ร ะ บ บ แ ล ะ
การศึกษาตามอัธยาศัย ให้กับศูนย์การศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางมูลนาก ได้มีการ
จัดทาเอกสารบันทึกข้อตกลงและร่วมลงนามความร่วมมือ
กับศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อาเภอบางมูลนาก โดยมีวัตถุประสงค์ ในการร่วมมือกันจัด/ส่งเสริม/สนับสนุนภารกิจ ทั้งของ
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางมูลนาก และของศูนย์ชัยพัฒนา
การเกษตร สริ ินธร ตง้ั แตว่ ันที่ ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๑ มเี ปา้ หมายในการดาเนินงานรว่ มกัน ดงั น้ี

๑. จดั ทาหลักสูตรและเน้อื หาวชิ าการ ด้านหลกั การทรงงาน หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง

๒. จัดกระบวนการเรียนรู้อบรมและศกึ ษาดงู านแหล่งเรียนรู้
๓. ตดิ ตามความกา้ วหนา้ ประเมินผลการพัฒนาไปสู่ความยัง่ ยืน

๑.๒ มแี ผนการดาเนินงาน/โครงการ
ศนู ยช์ ยั พฒั นาการเกษตร สิรินธร และ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษา

ตามอัธยาศัยอาเภอบางมูลนาก ได้ประสานความร่วมมือกันโดยการประชุม แลกเปล่ียนข้อมูล

วางแผน การดาเนินงาน/โครงการ ส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินให้กับศูนย์การศึกษานอกระบบและ

การศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางมูลนาก ในดา้ นตา่ งๆ เช่น ดา้ นการดาเนินการจดั กิจกรรมการเรียนรู้

ด้านการสนับสนุนทรัพยากร มีการใช้ทรัพยากรร่วมกัน รวมท้ังให้บริการข้อมูลและส่งเสริมการใช้

ประโยชน์ด้านองค์ความรู้จากจุดเรยี นรู้ต่างๆ ร่วมกัน รวมถึงวางแผนแนวทางการนิเทศ ติดตามผลการ

ดาเนินงาน/โครงการ แบบบูรณาการ เป้าหมาย แผนงาน โครงการ และบูรณาการ การทางานให้

สอดคล้องเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งศูนย์ชัยพัฒนาการเกษตร สิรินธร มีแผนการดาเนินโครงการ

ตา่ งๆไวอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ ชัดเจน ตามรูปแบบของแผนงาน/โครงการ ประกอบดว้ ย ชื่อกิจกรรม เป้าหมาย

เชิงปริมาณ ระยะเวลาดาเนินการ สถานที่ และผู้รับผิดชอบ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงาน

ส่งเสรมิ สนับสนุนและจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ เชน่



๑. อบรมส่งเสริมด้านอาชีพ ภายใต้

โครงการศูนย์ฝึกอาชีพของศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอบางมลู นาก

๒. อบรมให้ความรูห้ ลกั ปรัชญา

ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

๓. การใหบ้ รกิ ารจดุ เรยี นรใู้ ห้กับ

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั และหน่วยงาน สถานศึกษาอืน่ ๆ

๑.๓ จดั /ส่งเสริม สนบั สนนุ การดาเนนิ งาน

ศูนย์ชัยพัฒนาการเกษตร สิรินธร ได้จัด/ส่งเสริม สนับสนุนการดาเนินงานการจัด

การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ให้กับ กลุ่มเป้าหมาย นักศึกษาประชาชน ท่ีเป็นผู้เรียน

ผู้รับบริการ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางมูลนาก

อย่างต่อเนื่อง และหลากหลายกิจกรรม ทั้งด้านบุคลากร อาคารสถานท่ี ส่ือ องค์ความรู้ ซึ่งเป็นไป

ตามแผน ดงั นี้

๑. การศึกษาต่อเน่ือง กิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ โครงการศูนย์ฝึก
อาชีพชุมชน โดยศูนย์ชัยพัฒนาการเกษตร สิรินธร ได้สนับสนุนบุคลากร ทาหน้าท่ีวิทยากรให้ความรู้,
จัดกระบวนการเรียนรู้, เป็นคณะกรรมการร่วมจัดทาหลักสูตรอาชีพท่ีเหมาะสมกับบริบทของชุมชน
ให้กับศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางมูลนาก เช่น วิชาการปลูกมันเทศ
วิชาการทาปุ๋ยนา้ จุลนิ ทรีย์ และวชิ าการปลกู ผกั ปลอดสารเคมี

๒. การจัดกระบวนการเรยี นรูต้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
โดย ศูนย์ชัยพัฒนาการเกษตร สิรินธร ได้สนับสนุนบุคลากร ทาหน้าท่ีวิทยากรให้ความรู้ และจัด
กระบวนการเรียนรู้ในโครงการอบรมประชาชน สนับสนุนสถานท่ีสาหรับจัดโครงการ/กิจกรรม และ
สาหรับเป็นสถานที่ศึกษาดูงานจุดเรียนรู้ทั้ง ๑๒ จุด และอีก ๑ กิจกรรม ให้กับศูนย์การศึกษา
นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางมูลนาก

๓. การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน โดยศนู ย์ชยั พัฒนาการเกษตร สริ นิ ธร ได้ส่งเสริม สนับสนุน
สถานท่ี ส่ือ องค์ความรู้ในจุดเรียนรู้ ให้กับนักศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง กรต.และเป็น
สถานท่จี ดั โครงการพัฒนาผเู้ รียน

๔. การดาเนินงาน ศนู ย์เรียนรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎี
ใหม่ ตามนโยบาย ๔ ศูนย์เรียนรู้ใน กศน.ตาบล โดยศูนย์ชัยพัฒนาการเกษตร สิรินธร
ไดส้ ่งเสริม สนับสนุนส่ือแผ่นพับประชาสัมพันธ์ สาหรับให้บริการแก่นักศึกษา ประชาชนที่เข้ารับบริการ
ในศูนย์เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ ที่ กศน.ตาบล ทั้ง ๑๐ ตาบล
ของศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางมูลนาก

๕. การศกึ ษาตามอัธยาศยั ศูนยช์ ัยพัฒนาการเกษตร สิรินธร ได้สง่ เสริมสนับสนุน ส่ือ
เกี่ยวกับการส่งเสริมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และแผ่นพับจุดเรียนรู้ด้านอาชีพ สาหรับ
ให้บริการในมุมการอ่านในห้องสมุดประชาชนอาเภอบางมูลนาก และท่ี กศน.ตาบล และได้ร่วมจัด
นิทรรศการเคลื่อนท่ีร่วมกับ บูรณาการกับห้องสมุดประชาชนอาเภอบางมูลนากเคล่ือนที่
ณ วดั ไดปลาดุก ตาบลวงั สาโรง อาเภอบางมลู นาก จังหวดั พจิ ิตร



๑.๔ มีผรู้ ับผิดชอบของหน่วยงานท่ีชดั เจน

ศูนย์ชัยพัฒนาการเกษตร สิรินธร มีผู้รับผิดชอบหน่วยงาน โดยมี นางนพรัตน์
อุนานันท์ ทาหน้าท่ีผู้จัดการศูนย์ชัยพัฒนาการเกษตร สิรินธร ในการบริหารจัดการหน่วยงานและ
ประสานงานภาคีเครือขา่ ย รวมถึงผรู้ บั บริการ และมบี ุคลากรเปน็ ผู้ช่วยในการติดต่อประสานงานและจัด
กจิ กรรมให้บริการตามบทบาทภารกจิ ของหนว่ ยงาน ซึ่งมหี น้าท่ดี แู ล และจัดกิจกรรมถ่ายทอดเทคโนโลยี
ทางการเกษตร ท่ีเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ท้ังด้านเกษตรและเล้ียงสัตว์ จานวน ๑๒ จุดเรียนรู้ กับ ๑
กิจ ก ร ร มแ ล ะ ศู นย์ ก า ร ศึก น อ ก ร ะบ บ แ ล ะ กา ร ศึ ก ษา ต า ม อั ธ ย า ศั ย อา เ ภ อ บ าง มู ล น า ก
ได้มอบหมาย นางขวัญใจ บรรณาธรรม ตาแหนง่ ครอู าสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรยี น เป็นผู้รับผิดชอบ
งานภาคีเครือข่ายและมีครู กศน.ตาบลทุกตาบล เป็นผู้ช่วยทาหน้าที่ประสานงานกับผู้รับผิดชอบ
หน่วยงานศนู ยช์ ัยพัฒนาการเกษตร สริ ินธร ในการจัดการเรียนรู้ให้กับนกั ศึกษาประชาชน

๑.๕ มแี ผนและผลการใชง้ บประมาณและทรพั ยากรร่วมกนั

ศูนย์ชัยพัฒนาการเกษตร สิรินธร และศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยอาเภอบางมูลนาก ไม่ได้มีการวางแผนด้านการใช้จ่ายงบประมาณร่วมกัน แต่มีการวางแผน
การใช้ทรพั ยากรของหน่วยงานร่วมกนั ดังนี้

๑.ด้านบุคลากร เช่น บุคลากรทาหน้าท่ี
วิทยากรใหค้ วามรู้, จัดกระบวนการเรียนรู้ , ทาหน้าท่ี
รว่ มเป็นคณะกรรมการจัดทาหลักสตู รอาชีพ

๒.ด้านอาคารสถานที่ เช่น ใช้จุดเรียนรู้
เป็นแหล่งเรียนรู้ และเป็นสถานท่ีศึกษาดูงาน, เป็นสถานที่
จัดกิจกรรมฝกึ อบรม, สถานทจ่ี ัดกจิ กรรมห้องสมดุ เคล่อื นที่

๓.ด้านสื่อ เช่น มุมบริการความรู้เร่ือง
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความรู้ด้านการประกอบอาชีพ ในห้องสมุดประชาชน , ในศูนย์
เรียนรู้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นตน้

โดย มกี ารจัดทาสรุปผลการจดั กจิ กรรมและสรุปผลการดาเนินงานตามแผนงานของหน่วยงาน

ตอนท่ี ๒ ขอ้ มลู การประเมินประเภทหนว่ ยงานภาคเอกชน ๖

ด้านท่ี ๒ การจัดและสง่ เสรมิ กจิ กรรม กศน.
๒.๑ เปน็ ผูจ้ ดั กิจกรรม กศน.

ศูนย์ชัยพัฒนาการเกษตร สิรินธร เป็นผู้ดาเนินการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ

กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ดังนี้

๑. การศึกษาขั้นพื้นฐาน
จัดกิจกรรมด้วยวิธีการให้บริการองค์ความรู้
ในรูปแบบส่ือ แหล่งเรียนรู้ ใน ๑๒ จุดเรียนรู้
ที่เป็นของจริง ส่ือสิ่งพิมพ์ ให้กับนักศึกษา
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ที่เข้าไปศึกษาค้นคว้า
ทาใบงาน เรียนรู้ด้วยด้วยตนเอง (กรต.)
ในรายวชิ าตา่ งๆ เชน่ รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง
รายวชิ าการพัฒนาอาชพี

๒. การศกึ ษาตามอธั ยาศัย
จัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่านในแหล่งเรียนร้โู ดย ศูนย์ชัยพฒั นาการเกษตร สิรินธร จะจดั ส่ือสาหรับใหก้ ับ
กลมุ่ เปา้ หมาย ประชาชน ทเ่ี ขา้ ไปเรยี นรู้ได้อา่ นและไดร้ บั ประสบการณ์ ความรู้ ตามอธั ยาศัย
ท่สี ามารถไปประยุกตใ์ ชใ้ นการพฒั นาคุณภาพชีวติ ตนเอง ครอบครัวได้

๒.๒ มีผู้เข้ารว่ มในการจัดกจิ กรรม กศน.อยา่ งสม่าเสมอ

ศู น ย์ ชั ย พั ฒ น า ก า ร เ ก ษ ต ร สิ ริ น ธ ร
ได้ดาเนินการจัด และส่งเสริม สนับสนุน ให้มีการจัด
กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย อย่างต่อเน่ือง โดยมีการวางแผนงาน และ
ประชาสัมพันธ์กิจกรรม สารวจความต้องการของ
กลุ่มเป้าหมาย ร่วมกัน เพื่อให้การจัดกิจกรรมเป็นท่ี
น่าสนใจ สอดคล้องกับวิถีชีวิตความต้องการของ
ผู้เรียน ผู้รับบริการ ที่ผู้เรียนผู้รับบริการสามารถ
นาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ส่งผลให้มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศยั อยา่ งสมา่ เสมอ ดงั นี้



งาน/โครงการ/กิจกรรม ระยะเวลาทจี่ ดั จานวนผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรม

๑. การศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ/ กมุ ภาพนั ธ์ – มถิ ุนายน ๒๕๖๒ ๗๕ คน
โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน ๑๖๒ คน

๒. การจัดกระบวนการเรียนรู้ตาม ธนั วาคม ๒๕๖1 และ ๔๘๓ คน
๑,๒๐๐ คน
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กมุ ภาพนั ธ์ ถึง กรกฎาคม 2562

๓. การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน มกราคม – กันยายน ๒๕๖๒

๔. การศึกษาตามอัธยาศยั ธันวาคม ๒๕๖๑ – สงิ หาคม ๒๕๖๒

๒.๓ มีสว่ นร่วมสนบั สนนุ ทรัพยากรในการจดั กิจกรรม กศน.

ศูนย์ชัยพัฒนาการเกษตร สิรินธร มีส่วนร่วมสนับสนุน
ทรัพยากรในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ให้กับศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ
บางมูลนาก ตามทีไ่ ดว้ างแผนไว้รว่ มกนั ดังกิจกรรม โครงการต่อไปน้ี

๑. การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาอาชพี ดงั นี้
๑.๑ ด้านบุคลากร
๑. ทาหน้าที่วิทยากรและจัดกระบวนการเรียนรู้ วิชาปลูกผักสลัดออแกนิกส์,

การปลูกมันเทศ,การปลูกพืชไร้ดิน,การปลูกใบเตยเพ่ือการค้า,การเพาะต้นอ่อนทานตะวันและ
การทาน้าหมักจลุ นิ ทรยี ์ เป็นต้น เพ่อื ส่งเสรมิ อาชีพ สามารถสร้างงาน สรา้ งรายได้ ให้กบั ผูเ้ รียน

๒. ร่วมเป็นคณะกรรมการจัดทาหลกั สตู รอาชพี การปลูกชะอม , การปลกู ไผ่
๓. การนเิ ทศตดิ ตามประเมินการจดั กจิ กรรมทีด่ าเนินงานร่วมกันทกุ กิจกรรม
๑.๒ ดา้ นสอ่ื สง่ เสริมอาชีพ
๒. การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
๒.๑ ด้านบุคลากร ทาหน้าท่ีวิทยากรโครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน กิจกรรม
การเรยี นร้หู ลกั การทรงงานในหลวงรชั กาลท่ี ๙
๒.๒ ด้านอาคารสถานท่ี สนับสนุนสถานที่จัดโครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ,
การเรยี นรู้ด้วยตนเอง (กรต.)


๓. การจดั กระบวนการเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

๓.๑ ด้านบุคลากร ทาหนา้ ท่วี ิทยากรสอนและจดั กระบวนการเรียนรู้
๓.๒ ดา้ นอาคารสถานที่ สนบั สนุนสถานท่ีจัดโครงการอบรมหลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี งและหลกั ทรงงาน, เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง

๓.๓ ด้านสือ่ สนับสนนุ สือ่ ท่ีใชใ้ นการดาเนินโครงการอบรม รู้เรอื่ งหลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

๔. การศกึ ษาตามอัธยาศัย
๔.๑ ด้านส่ือ สนับสนุนส่ือสาหรับส่งเสริมการอ่านเร่ืองเก่ียวกับ อาชีพ

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ของหอ้ งสมดุ ประชาชน และในศูนย์เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ ของ กศน.ตาบล

๒.๔ มสี ว่ นร่วมในกิจกรรมท่ีทาประโยชนต์ ่อการพัฒนาสถานศึกษา
ศูนย์ชัยพัฒนาการเกษตร สิรินธร เป็นหน่วยงานภาคีเครือข่ายภาคเอกชน ท่ีมีส่วนร่วม

ในการดาเนินกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศยั อาเภอบางมูลนาก ดงั น้ี

๑. ร่วมมือกับสถานศึกษา เพ่ือนาองค์ความรู้ ทักษะ และเทคโนโลยีมาช่วยในการ
จัดการเรยี นรู้ ในการจดั ทาหลกั สูตร สอ่ื

๒. มสี ่วนร่วมเป็นแหล่งเรยี นรู้
พฒั นาทกั ษะและคุณภาพชีวติ กลุม่ เปา้ หมาย กศน.
ใหเ้ กดิ การเรียนรูต้ ลอดชีวิต

๓. มีส่วนร่วมในการนิเทศ ติดตาม
ประเมินผลการจัดกิจกรรม มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ซ่ึงกนั และกัน ทจี่ ะช่วยให้เกดิ การปรับปรุงและพัฒนา
ให้ดีขึ้น ตามวัตถุประสงค์ของโครงการและข้อตกลง
ความรว่ มมือกัน ไปสู่คุณภาพอยา่ งยงั่ ยืน

๔. เข้าร่วมกิจกรรมของสถานศึกษาในโอกาสต่างๆ เพื่อผนึกพลังในความร่วมมือ
การดาเนนิ งานใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ และสรา้ งขวัญกาลงั ใจการทางานร่วมกนั

๒.๕ เผยแพร่ และขยายผล ๙

การเผยแพร่ และขยายผลการดาเนินงาน

ตามภารกิจของหน่วยงาน ถือเป็นส่ิงสาคัญท่ี

ศูนย์ชัยพัฒนาการเกษตร สิรินธร ดาเนินงาน

อ ยู่ เ ป็ น นิ จ แ ล ะ ต่ อ เ น่ื อ ง เ พ ร า ะ

เ ป็ น จุ ด มุ่ ง ห ม า ย ส า คั ญ ใ น ก า ร จั ด ตั้ ง

ศูนย์ชัยพัฒนาการเกษตร สิรินธร แห่งนี้

เพื่อให้ประชาชนใน จังหวัดพิจิตร และจังหวัด

ใกล้เคียงไดร้ ับรู้ข่าวสาร และใชเ้ ป็นข้อมลู ในการตดั สนิ ใจเข้ารับบริการภารกจิ ของหน่วยงาน

ในส่วนของการเผยแพร่ ขยายผลการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาให้กับ

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางมูลนาก ส่วนใหญ่ดาเนินการ

ประชาสัมพันธเ์ พ่อื เผยแพร่ และขยายผล ดว้ ยรปู แบบดงั นี้

๑. การเข้าร่วมประชุม และพบปะกับ

หน่วยงานต่างๆ เช่น เวทีการประชุมหัวหน้าส่วนราชการ,

ป ร ะ ชุ ม ผู้ ใ ห ญ่ บ้ า น ก า นั น ก า ร ป ร ะ ช า ค ม ห มู่ บ้ า น

งานสภากาแฟชุมชนคนบางมลู นาก ฯลฯ

๒. จัดทาแผน่ พบั จุลสาร ผลการดาเนินงาน
๓. จัดแสดงนทิ รรศการ ผลสาเร็จ และนาเสนอหลักสตู รการอบรม
ของศูนย์ชยั พัฒนาการเกษตร สิรินธร
๔. สรา้ งเครือข่าย กล่มุ เป้าหมายเพ่ือนาไปขยายผลในพน้ื ที่ชุมชน เชน่ เครอื ข่าย

กลุม่ อาชพี เครือข่ายเศรษฐกจิ พอเพยี ง

๑๐

ตอนที่ ๒ ข้อมูลการประเมินประเภทหนว่ ยงานภาคเอกชน

ดา้ นที่ ๓ ผลการดาเนนิ งาน

๓.๑ มผี ลการดาเนินงานสาเร็จตามเปา้ หมาย

ศูนย์ชัยพัฒนาการเกษตรสิรินธร ได้ดาเนินงานจัดและส่งเสริมสนับสนุน
การจัดการศึกษาตามอธั ยาศัย ในปงี บประมาณ ๒๕๖๒ มผี ลการดาเนนิ งานสรปุ ไดด้ ังนี้

ผลการดาเนนิ งานเชงิ ปริมาณ
๑. กจิ กรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชพี

ดาเนินการจัดส่งเสริมอาชีพภายใต้โครงการศูนย์ฝึกอาชีพ
ชุมชน ในรูปแบบ กลุ่มสนใจ หลักสูตรระยะส้ันโดยมี
หลักสูตร และวิชาที่หลากหลาย ตามความสนใจท่ีเหมาะสม
กับบรบิ ทพืน้ ที่ ใหก้ บั กลมุ่ เป้าหมายประชาชนทัว่ ไป
ไดร้ บั การฝึกทักษะความรใู้ นการประกอบอาชีพ
จานวน ๗๕ คน

๒. กจิ กรรมการจัดกระบวนการเรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ผู้เข้ารับการอบรม ได้เรียนรู้เรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และได้รับ

การสง่ เสรมิ การดาเนนิ ชวี ติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง จานวน ๑๖๒ คน
๓. กจิ กรรมการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน

ส่งเสริมและสนับสนุน สถานที่แหล่งเรียนรู้ให้กับนักศึกษา
หลักสตู รการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ ทเ่ี ขา้ ร่วมกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น และ
ใช้ แหล่งเรียนรู้ ในการเรียนรู้ ด้ว ยตนเอง (กรต. )
จานวน ๔๘๓ คน

๔. การศึกษาตามอธั ยาศัย
๑. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ สอ่ื

ที่ห้องสมุดประชาชน จานวน ๑ แห่งและที่ กศน.ตาบล
จานวน ๑๐ แห่งโดยหมุนเวียนสื่อไปท่ีบ้านหนังสือชุมชน
ไตรมาสละ ๑ ครงั้

๒. จัดนิทรรศการ จานวน ๑๔ ครงั้

ผลการดาเนินงานเชงิ คุณภาพ ๑๑

ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง มีความรู้ด้าน
เทคโนโลยีทางการเกษตร และทักษะในการประกอบอาชีพ
ท่ีเหมาะสมกับศักยภาพพ้ืนที่ สามารถนาความรู้ไปใช้ในการ
ประกอบอาชีพ สร้างรายได้ท่ีมั่นคงให้กับตนเอง และ
ครอบครัว ชุมชน สามารถประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนนิ ชวี ติ ประจาวนั และ
รู้จักพ่ึงพาตนเองไดอ้ ย่างยง่ั ยนื

สถานศึกษามีส่ือและแหล่งเรียนรู้ท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ ส่งผลให้ผู้เรียนการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน สามารถเข้าถึงสื่อ แหล่งเรียนรู้ได้สะดวก และใฝ่เรียนรู้อย่างต่อเน่ือง มีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนสงู ขึ้น

๓.๒ นิเทศ ติดตามผลรว่ มกัน

ศูนย์ชัยพฒั นาการเกษตร สริ นิ ธร
มีระบบนิเทศ ตดิ ตามผลการดาเนินงาน หลายรปู แบบ
ท้ังท่ีดาเนินงานนิเทศเองโดยผู้จัดการศูนย์ฯ และแบบการมี
ส่วนร่วมกับมูลนิธิชยั พัฒนา และร่วมกับ หน่วยงานเครือข่ายท่ี
ร่วมจัด สนับสนุน รวมถึงร่วมกับครูผู้รับผิดชอบงานนิเทศของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศัยอาเภอบางมูลนาก ในการนิเทศ ติดตามผลการจดั กิจกรรมในขณะจดั และร่วมติดตามการ
นาความรู้ไปใช้ของผู้เรียน โดยใช้เครื่องมือหลายอย่าง เช่น การสอบถาม สัมภาษณ์ การใช้แบบบันทึก
การนิเทศกิจกรรม และแบบติดตามการนาความรู้ไปใช้ และมีการสรุปรายงานผลการนิเทศติดตาม
ตอ่ ผ้เู กย่ี วขอ้ ง

๓.๓ ประเมินผลการดาเนนิ งานร่วมกนั

มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน แบบบูรณาการใช้หลักการมีส่วนร่วมท้ัง
การปฏิบัติงานและประเมินผล โดยการสังเกตการณ์เรียนรู้
ตรวจประเมินจากชิ้นงานท่ีผู้เรียนทา ประเมินความพึงพอใจ
ประเมินจากการนาความรู้ไปใช้ ทาให้รู้ข้อมูล การเรียนรู้ของ
ผูเ้ รยี นวา่ เปน็ ไปตามเปา้ หมายในการจัดกิจกรรมที่ต้ังไว้หรือไม่
เ พ่ื อ ใ ช้ ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น เ ป็ น ข้ อ มู ล ใ น ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม
ให้ผเู้ รยี นเกิดการพฒั นาและเรยี นรอู้ ยา่ งเต็มตามศักยภาพ

๓.๔ วัดความพึงพอใจของผู้รับบริการ ๑๒

ศูนย์ชัยพัฒนาการเกษตร สิรินธร และศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยอาเภอบางมูลนาก มีการสอบถามความพึงพอใจ ผู้เรียน ผู้รับบริการ ท่ีเข้าร่วมกิจกรรม
ทุกคร้ัง โดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ เพื่อนาผลการประเมินมาใช้สาหรับเป็นข้อมูลสารสนเทศ
ในการปรบั ปรุงพัฒนาการจัดการศึกษาให้เกิดคุณภาพมากข้ึน ให้ผู้เรียน ผู้รับบริการ เกิดความพึงพอใจ
ต่อการรับบรกิ ารยิ่งๆขน้ึ ซ่ึงมีจานวนผเู้ รยี น ผู้รับบริการ มากกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ คนของผู้ท่ีเข้าร่วมกิจกรรม
ในปงี บประมาณ ๒๕๖๒ มคี วามพึงพอใจอยู่ในระดบั ดขี ึ้นไป

๓.๕ มรี ะยะเวลาในการดาเนนิ งานร่วมกนั อย่างต่อเน่อื ง ๒ ปีข้ึนไป

ศูนย์ชัยพัฒนาการเกษตร สิรินธร และ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยอาเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร เป็นภาคีเครือข่าย ท่ีมีการดาเนินงานร่วมกัน ตั้งแต่
ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ที่ยังไม่ได้มีการจัดทาเอกสารบันทึกข้อตกลงและร่วมลงนามความร่วมมือ ส่งเสริม

สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และสนับสนุนทรัพยากรต่าง ๆ

เชน่ บุคลากร อาคารสถานที่ แหล่งเรยี นรู้ สอ่ื มาอย่างต่อเนื่อง รวมระยะเวลาเกินกวา่ ๒ ปขี ้นึ ไป

ตอนท่ี ๓ ผลงานที่ประสบความสาเร็จ ๑๓

ผลงานเด่นท่ีเป็นประโยชนต์ ่อผู้รับบรกิ าร

ศูนย์ชัยพัฒนาการเกษตร สิรินธร เป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบด้านการเกษตรตามแนวทาง
เศรษฐกิจพอเพียง ที่ประชาชนสามารถใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ในการประกอบอาชีพตามแนวเศรษฐกิจ
พอเพียง นับว่าเป็น ศูนย์กลางเครือข่ายการจัดกระบวนการเรียนรู้ และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้าน
กระบวนการผลิตทางการเกษตร จากการดาเนินงานส่งเสริมสนับสนุนภารกิจการจัดการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับอาเภอบางมูลนาก ได้ร่วมวางแผนและร่วมดาเนินงานกับ
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางมูลนาก ในปีงบประมาณ ๒๕๖๒
มผี ลงานทีป่ รากฏเด่นชดั เปน็ ประโยชนต์ อ่ ผเู้ รียน ผรู้ ับบรกิ าร ดังน้ี

๑. ดา้ นการสง่ เสรมิ พัฒนาอาชพี

ผู้เข้ารับการอบรม มีทักษะความรู้ในการ
ประกอบอาชีพ ตามความสนใจที่เหมาะสมกับบริบท
พน้ื ที่สามารถนาความรู้ ทักษะที่ได้รับไปใช้พัฒนาอาชีพ,
ต่อยอดอาชีพ และ สร้างอาชีพใหม่ มีงานทา และ
มีรายได้ให้กับตนเอง ครอบครัว สามารถพึงตนเองได้
อย่างย่ังยืน ตัวอย่างเช่น กลุ่มการปลูกใบเตยเพ่ือการค้า
ต า บ ล เ นิ น ม ะ ก อ ก ซึ่ ง มี น า ง สุ รี ย์ วุ ฒ ฑ ย า ก ร
เป็นหัวหน้ากลุ่ม, นางสาวปิ่น จามกิ่ง ตาบลลาประดา
ประกอบอาชีพการปลูกผักปลอดสารและ นางรุ่งจิต น้อยแสง ตาบลเนินมะกอก ประกอบอาชีพ
การทาสบู่สมุนไพร เปน็ ตน้

๑๔

๒. ดา้ นสง่ เสริมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถนาไป

ประยุกต์ใช้ในการดาเนินชวี ติ และมีกล่มุ เป้าหมายท่ีน้อมนาไปปฏิบัติในชีวิตประจาวันที่เป็นแบบอย่างท่ี

ดี และสามารถเปน็ วทิ ยากร หรอื เปน็ แหล่งเรยี นรู้ ให้กับผ้อู ืน่ ได้ เชน่

นางเยาวลักษณ์ พวั เฮง ตาบลห้วยเขน

นางสาวปวณี า ไกรมาศ ตาบลวังกรด

นางประทปี ฮวบนวม ตาบลภูมิ

นายนิกร แกว้ ทับ ตาบลบางไผ่

นางสาวลิ้นจ้ี ทองวงษ์ ตาบลหอไกร

นางมาลัย ชนื่ เยน็ ตาบลบางมลู นาก

นางสารวย สงคเ์ จริญ ตาบลวังสาโรง

นายชติ ปานพลอย ตาบลวังตะกู

นางสรุ ีย์ วุฒฑยากร ตาบลเนินมะกอก

ศูน ย์ชั ยพั ฒ นา กา ร เก ษต ร สิ ริน ธ ร

อาเภอบางมูลนาก ได้ส่งเสริมหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง ทาให้ชุมชนบ้านห้วยเขน หมู่ท่ี ๒

ตาบล ห้วยเขน อาเภอบางมูลนาก ได้รับการคัดเลือก

จากจังหวัดพิจิตร ให้ได้รับรางวัล หมู่บ้านเศรษฐกิจ

พอเพยี ง “อยู่เยน็ เป็นสขุ ดีเด่น” ดีเด่นระดับจังหวัด

เมื่อวันท่ี ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒ จากผู้ว่าราชการ

จังหวดั พิจติ ร

๓. ด้านการสง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน

จากการท่ีศูนย์ชัยพัฒนาการเกษตร สิรินธร ส่งเสริมการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้กับ
นักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่เข้าร่วม
กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียนและศึกษาแหล่งเรียนรดู้ ้วยตนเอง สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ในการดารงชีวิต ใน
การเรยี น มคี ณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ส่งผลให้ผู้เรียนและสถานศึกษาได้รับเกียรติบัตรในด้านคุณธรรม
จ ริ ย ธ ร ร ม แ ล ะ ด้ า น วิ ช า ก า ร ค ว า ม ส า ม า ร ถ พิ เ ศ ษ จ า ก ห น่ ว ย ง า น ต้ น สั ง กั ด แ ล ะ
หน่วยงานเครอื ขา่ ย



ภาคผนวก

ดา้ นที่ 1 การจดั ระบบการบรหิ ารจดั การ ด้านที่ 1 การจัดระบบการบรหิ ารจัดการ
ตัวชี้วัด 1.1 ตัวชว้ี ัด 1.4

ด้านที่ 1 การจัดระบบการบรหิ ารจดั การ
ตวั ชว้ี ดั 1.3











คณะทางาน

ทป่ี รกึ ษา

1. นางมาเลยี ม จนั ทร์พรม ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอบางมลู นาก
2. คณะกรรมการสถานศึกษา กศน.อาเภอบางมลู นาก

ผ้รู วบรวม และจดั ทาเอกสาร

1. นางจารพุ ร จนั ทะแจม่ ประธานกรรมการ
2. นางสาวมาลี บญุ โห้ กรรมการ
3. นางวีณา จันทรมณี กรรมการ
4. นางสาวกนั ยา สระทองหน กรรมการ
5. นางสาวเบญจวรรณ คาสขุ กรรมการ
6. นางสาวกติ ตยิ า รอดมา กรรมการ
7. นางสาวรภัสสรณ์ รุ่งเจรญิ เรอื งชัย กรรมการ
8. นายศักดิส์ กล นันทะสุข กรรมการ
9. นางประสพพร พกุ ชื่น กรรมการ
10. นางอบุ ล ขวัญมขุ กรรมการ
11. นายชยั วฒั น์ นากแกว้ กรรมการ
12. นางขวัญใจ บรรณาธรรม
กรรมการและเลขานุการ

********************************************************************************************


Click to View FlipBook Version