The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Warangkana Ananta, 2019-06-12 03:36:04

is วรางคณา

is วรางคณา

ชอ่ื ……นางวรางคณา... นามสกุล……อนันตะ....เลขท่.ี ...50….

แนวทำงพัฒนำงำนประชำสมั พันธข์ องสำนักงำนศึกษำธกิ ำรจงั หวดั พิษณโุ ลก

บทที่ 1

บทนำ

1.1. ควำมเปน็ มำและควำมสำคญั
ปัจจบุ นั สงั คมไทยได้เปล่ยี นแปลงไปอยา่ งรวดเร็วตามกระแสสังคมยุคโลกาภวิ ัตน์ การดาเนิน

ชีวิตของคนก็เปลีย่ นไปจากอดตี เทคโนโลยี และการสอ่ื สารเจรญิ เติบโตมากข้ึน การบรหิ ารงานของ
หนว่ ยงานภาครฐั ต้องรวดเรว็ ทนั ทว่ งที เพื่อตอบสนองความต้องการของกลุม่ เปา้ หมาย คือประชาชน
การบรหิ ารงานของภาครฐั จงึ ต้องมกี ารปรบั เปลยี่ นเพอื่ ให้ตอบสนองตรงต่อความต้องการของ
ประชาชนอยา่ งแทจ้ รงิ การประชาสัมพันธ์จงึ เขา้ มามบี ทบาทมากขน้ึ ในการเปน็ สอ่ื กลาง เผยแพร่
ขา่ วสาร และเผยแพรภ่ าพลักษณ์ขององคก์ ร ในขณะเดยี วกัน การประชาสัมพนั ธเ์ ปรยี บเสมอื นประตู
ทีเ่ ปดิ รบั ความคิดเห็นของประชาชนท่มี ีต่อการทางานของหน่วยงานน้ัน ๆ ดังนั้น หนว่ ยงานใดท่ีมีการ
ดาเนนิ งานด้านประชาสมั พนั ธท์ ี่ดจี งึ ถือเป็นปัจจยั สาคัญทส่ี ่งผลต่อประสทิ ธภิ าพของ การทางานของ
องค์กรน้นั ๆ (ปรยี าภา ณ รังษี : 2553)

งานประชาสัมพนั ธเ์ ป็นงานทเี่ ก่ยี วข้องกบั การใชเ้ ครอ่ื งมอื ส่ือสาร นกั ประชาสมั พนั ธต์ ้องรกู้ าร
ใช้ส่อื ประชาสมั พันธ์ให้ไดผ้ ล ในอดีตสอ่ื มวลชนกระแสหลกั อาทิ โทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียง และสือ่
สงิ่ พมิ พ์ เป็นเคร่ืองมอื สือ่ สารหลกั ทนี่ กั ประชาสัมพันธใ์ ชใ้ นการส่อื สารองค์กร แต่เม่ือเทคโนโลยี
ก้าวหนา้ เปล่ียนแปลงไป โดยเฉพาะการถือกาเนิดของสอื่ ใหม่ (news media) เชน่ สื่ออินเทอรเ์ น็ต
สอื่ สงั คมออนไลน์ เปน็ เทคโนโลยที ่ถี ูกนามาใชอ้ ย่างกวา้ งขวางในวงวิชาชพี การประชาสมั พันธ์ (Taylor
and kent, 2010) ด้วยการนาข้อมูลหรอื กจิ กรรมต่างๆ ขององค์กรมาเผยแพร่ผ่านเวบ็ ไซด์ การ
สง่ ผ่านอเี มล การสง่ ขา่ วประชาสมั พันธ์ผ่านเครอื ข่ายสงั คมออนไลน์ (Galloway;, 2005)

สานักงานศึกษาธิการจังหวัดพิษณุโลก สังกัดสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็น
หน่วยงานที่เกิดขึ้น ตามคาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ท่ี 19/2560 ลงวันท่ี 3 เมษายน
2560 เรื่อง การปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ ได้กาหนดให้ในแต่ละจังหวัด มี
คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) และสานักงานศึกษาธิการจังหวัด เพ่ือปฏิบัติภารกิจของ
กระทรวงศึกษาธกิ ารเกย่ี วกับการบริหารและการจดั การศึกษาตามท่กี ฎหมายกาหนดในระดับจงั หวัด
และประกาศสานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่ือง การแบง่ หนว่ ยงานภายในสานกั งานศกึ ษาธิการ
ภาคและสานักงานศึกษาธิการจังหวัด ลงวันที่ 12 มิถุนายน 2560 ได้แบ่งกลุ่มภารกิจ 8 กลุ่ม
ภารกจิ คอื กลมุ่ อานวยการ กล่มุ บรหิ ารงานบคุ คล กลมุ่ นโยบายและแผน กลมุ่ พัฒนาการศึกษา กลุ่ม
นิเทศติดตาม และประเมินผล กลุ่มส่งเสริมการศึกษาเอกชน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการ
นกั เรียน และหน่วยตรวจสอบภายใน ซึ่งมีเจตนารมณ์สนับสนนุ ภารกจิ การปฏิรูปการศึกษา มีหน้าที่
กากับ ดูแลรับผดิ ชอบพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ จังหวัดพษิ ณุโลก

จากการดาเนินงานท่ีผ่านมาในระยะเวลา .2. ปี มีการขับเคลื่อนนโยบายของ
กระทรวงศึกษาธิการสู่สถานศึกษาดังเจตนารมณ์และภารกิจการปฏิรูปการศึกษาและมีการ

2

ประชาสมั พันธ์เผยแพร่กจิ กรรมและผลงานของสานักงานศกึ ษาธิการจังหวดั และหน่วยงานทางการศึกษา
ในพืน้ ทรี่ ับผดิ ชอบ ในการขับเคล่ือนนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการไปสกู่ ารปฏิบัติ เพื่อให้ข้าราชการ
ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ไดร้ ับรู้เขา้ ใจและสามารถนาไปเป็นแนวทางรว่ มกันขับเคลื่อนการทางาน
ร่วมกันอย่างต่อเนื่อง หลากหลายช่องทาง แต่ท่ีผ่านมา การประชาสัมพันธ์ข่าวสารของหน่วยงาน
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดพิษณุโลก ยังไม่สามารถสร้างการรบั รู้ข่าวสาร เข้าถึงกลุ่มข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศกึ ษา หน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้องและประชาชนท่ัวไป อาทิ การประกาศเปิดรบั สมัคร
สอบคดั เลือกข้าราชการครใู นตาแหน่ง ครูผู้ช่วย การประกาศผลการพิจารณาโยกย้ายข้าราชการครู
เป็นตน้ ดังนน้ั การพัฒนางานประชาสัมพันธ์ของสานักงานศึกษาธิการจังหวดั พิษณุโลก จะดาเนนิ ไป
ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ จะต้องได้รบั ความร่วมมือจากบุคลากรภายในองค์กร ภายนอกองค์กร และ
หน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้อง ในการเผยแพรข่ อ้ มูลข่าวสารในสอื่ ต่าง ๆ มากขนึ้

ด้วยตระหนักถึงความสาคัญดังกล่าว ผู้ศึกษาจึงสนใจที่จะศึกษาแนวทางพัฒนางาน
ประชาสัมพันธ์ของสานักงานศึกษาธิการจังหวัดพษิ ณุโลก เพอ่ื เปน็ เครื่องมอื สาคัญในการส่ือสารสูส่ ังคม
ได้อย่างชัดเจน ครบถ้วน รวดเรว็ ถูกตอ้ ง และมปี ระสิทธิภาพ
1.2 วัตถุประสงคข์ องกำรวจิ ัย

1.2.1 เพื่อศึกษาความต้องการจาเป็นในการพัฒนางานประชาสัมพันธ์ของสานักงาน
ศกึ ษาธิการจังหวดั พษิ ณโุ ลก

1.2.2 เพ่ือนาเสนอแนวทางพัฒนางานประชาสัมพันธ์ของสานักงานศึกษาธิการจังหวัด
พษิ ณุโลก
1.3 ขอบเขตของกำรวิจยั

1.3.1 ดำ้ นเนอื้ หำ
พัฒนางานประชาสมั พันธ์ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั พษิ ณโุ ลก ใน 3 ด้าน

ไดแ้ ก่ ด้านการเผยแพร่ขอ้ มลู ขา่ วสารของหน่วยงานตอ่ สาธารณชน ดา้ นการสรา้ งเครือขา่ ยการ
ประชาสมั พันธ์ และดา้ นการบรกิ ารด้านขอ้ มลู ข่าวสาร

1.3.2 ดำ้ นขอ้ มลู /แหล่งข้อมลู /ประชำกร/กลุ่มตัวอยำ่ ง/ผูใ้ ห้ข้อมูล
ข้อมูล งานประชาสมั พนั ธ์ของสานกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดพิษณโุ ลก มีภารกจิ งาน

ตามกรอบภารกจิ งานใน 3 ด้าน ไดแ้ ก่ ด้านการเผยแพร่ขอ้ มลู ข่าวสารของหนว่ ยงานตอ่ สาธารณชน
ด้านการสรา้ งเครอื ข่ายการประชาสัมพันธ์ และดา้ นการบริการดา้ นขอ้ มูลข่าวสารของสานักงาน
ศึกษาธกิ ารจงั หวดั พิษณโุ ลก

การวจิ ยั ครง้ั นี้ ผูว้ ิจยั กาหนดผู้ให้ข้อมลู ดังนี้
1. ผู้ให้ข้อมูลกลุ่มที่ 1 ผู้ตอบแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความต้องการ
จาเป็นในการพัฒนางานประชาสัมพันธ์ของสานักงานศึกษาธิการจังหวัดพิษณุโลก ประกอบด้วย
บุคลากรภายในสานักงานศึกษาธิการจังหวัดพิษณุโลก จานวน .15.. คน และบุคลากรภายนอก
สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั พษิ ณโุ ลก จานวน .10.. คน

3

2. ผใู้ หข้ ้อมูลกลุ่มท่ี 2 ผูใ้ หส้ มั ภาษณเ์ ก่ียวกบั แนวทางพัฒนางานประชาสมั พันธ์ของ
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดพิษณุโลก ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 5 ท่าน คือ
คณะกรรมการการศกึ ษาจังหวดั พิษณโุ ลก และผูม้ ีส่วนไดส้ ่วนเสีย จานวน 4 ท่าน

1.3.3 ดำ้ นเวลำ
ดาเนนิ การศกึ ษาระหว่างเดอื นเมษายน – พฤษภาคม พ.ศ. 2562

1.4 นิยำมศพั ทเ์ ชงิ ปฏิบัตกิ ำร
1.4.1 งำนประชำสัมพันธ์ของสำนักงำนศึกษำธิกำรจังหวัดพิษณุโลก หมำยถึง การ

เผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารของหน่วยงานตอ่ สาธารณชน การสร้างเครือข่ายการประชาสัมพันธ์ และการ
บรกิ ารดา้ นขอ้ มูลข่าวสาร

1.4.2 กำรเผยแพร่ขอ้ มลู ขำ่ วสำรของหนว่ ยงำนตอ่ สำธำรณชน หมายถงึ การจัดระบบ
รปู แบบการติดต่อประสานงานกบั เครือขา่ ยฯ ดว้ ยระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ การจดั ทาปฎทิ นิ การ
ประชาสมั พันธข์ อ้ มลู ข่าวสารและผลงานของสานกั งานและสถานศึกษา มีช่องทางการประชาสมั พนั ธ์
ท่ีหลากหลาย ประเด็นขอ้ มลู ข่าวสาร ผลงานทผ่ี ลติ เพอื่ เผยแพรป่ ระชาสัมพนั ธ์ สามารถนาไปใช้ได้
อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ข้อมูลข่าวสารสามารถสืบคน้ ไดด้ ้วยระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ

1.4.3 กำรสร้ำงเครือข่ำยกำรประชำสัมพันธ์ หมายถึง การสร้างเครือข่ายการ
ประชาสัมพันธ์ภายในองค์กร และการสร้างเครือข่ายการประชาสัมพันธ์ภายนอกองค์กร เพ่ือการ
ติดตอ่ ส่อื สารในการเผยแพร่ข้อมลู ขา่ วสาร สรา้ งความเขา้ ใจและความสัมพนั ธ์อนั ดรี ะหว่างบคุ ลากรใน
องคก์ ร และภายนอกองค์กร ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารขององค์กรให้
บคุ ลากรไดท้ ราบอยา่ งทั่วถงึ

1.4.4 กำรบริกำรดำ้ นขอ้ มลู ข่ำวสำร หมายถึง การจัดบริการขอ้ มูลข่าวสารและผลงานใน
รปู ของเอกสาร และดาเนนิ การจัดตั้งศูนย์บริการขอ้ มูลข่าวสารการประชาสมั พันธ์

1.4.5 ควำมต้องกำรจำเป็นในกำรพัฒนำงำนประชำสัมพันธ์ หมายถึง สภาพและความ
ต้องการได้รับการพัฒนา หรอื ปรับปรุง แก้ไข เก่ียวกับงานประชาสัมพันธ์ของสานักงานศึกษาธิการ
จังหวดั พษิ ณุโลก เพ่ือใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ บคุ คลหรือหนว่ ยงาน

1.4.6 แนวทำงพัฒนำงำนประชำสัมพันธ์ของสำนักงำนศึกษำธิกำรจังหวัดพิษณุโลก
หมายถึง แนวทางวธิ ีการหรอื ข้ันตอนการดาเนนิ งานดา้ นการประชาสัมพันธ์ของสานักงานศึกษาธิการ
จงั หวดั พิษณุโลก ให้มีประสิทธภิ าพดยี งิ่ ขน้ึ

1.5 ประโยชน์ทค่ี ำดวำ่ จะได้รับ
5.1. ทาให้ทราบข้อมูลและได้แนวทางในการวางแผน พัฒ นาและปรับปรุงงาน

ประชาสมั พันธข์ อ้ มูล ขา่ วสารของสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดพิษณุโลกมีประสิทธิภาพมากยิ่งขน้ึ
5.2. ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้เก่ียวข้อง และประชาชน ได้รับข้อมูล

ข่าวสารเกี่ยวกบั การดาเนนิ งานของสานักงานศึกษาธิการจังหวดั พษิ ณโุ ลกอยา่ งทั่วถึง

4

1.6. กรอบแนวคดิ ในกำรวิจัย
ผู้วจิ ัย ไดว้ ิเคราะหก์ รอบเเนวคิดเกีย่ วกับแนวพฒั นางานประชาสมั พนั ธ์ของสานกั งาน

ศึกษาธิการจังหวดั พิษณโุ ลก ดังน้ี

พฒั นางานประชาสมั พนั ธส์ านกั งาน 1. การเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารของหนว่ ยงานตอ่
ศึกษาธกิ ารจงั หวดั พิษณุโลก สาธารณชน

2. การสร้างเครือขา่ ยการประชาสมั พันธ์

3. การบรกิ ารด้านข้อมูลขา่ วสาร

5

บทท่ี 2

แนวคิดและหลักกำรท่ีเกี่ยวขอ้ ง

การศึกษาแนวทางพฒั นางานประชาสมั พันธ์ของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั พษิ ณุโลก ใน
คร้ังนี้ ผู้ศกึ ษาได้ศกึ ษาเอกสาร และงานวิจยั ทเี่ กีย่ วข้อง และได้นาเสนอตามหัวขอ้ เรียงตามลาดบั ดงั นี้

2:1 แนวคิด หลักการ และทฤษฎีเกีย่ วกบั การประชาสมั พันธ์
2.1.1 ความหมายของการประชาสมั พันธ์
2.1.2 ความสาคญั ของการประชาสมั พันธ์
2:1.3 วัตถุประสงคข์ องการประชาสมั พนั ธ์
2.1.4 องคป์ ระกอบของการประชาสมั พันธ์
2.1.5 หลกั การประชาสมั พนั ธ์
2.1.6 กระบวนการดาเนินงานประชาสัมพันธ์
2.1.7 การเผยแพรข่ อ้ มูลข่าวสารของหน่วยงานต่อสาธารณชน

2.2 แนวคิดเรอ่ื งการสอ่ื สารภายในองค์กร
2.2.1 ความหมายของการสอื่ สารภายในองค์กร
2.2.2 ประเภทของการส่อื สาร
2.2.3 ชอ่ งทางการสื่อสารภายในองค์กร
2.2.4 หลกั การสือ่ สารภายในองคก์ ร
2.2.5 วัตถปุ ระสงค์ของการสอ่ื สารและประชาสมั พนั ธ์ภายในองคก์ ร

2.3 การสอ่ื สารภายในองคก์ รทีม่ ปี ระสิทธิภาพ จากแนวคิดของ
- วโิ รจน์ โสวัณณะ
- กรมประชาสมั พันธ์
- วรัท พฤกษากุลนนั ท์

2.4 ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารว่าดว้ ยการประชาสัมพนั ธแ์ ละการใหข้ ่าวราชการ พ.ศ.
2548

2.5 พระราชบญั ญัติข้อมลู ข่าวสาร พ.ศ. 2550
2.6 งานวจิ ัยทเี่ ก่ียวขอ้ ง
2:1 แนวคิด หลกั กำร และทฤษฎเี ก่ยี วกบั กำรประชำสัมพนั ธ์
การประชาสมั พันธ์ เป็นการทางานทตี่ ่อเนื่องและหวังผลระยะยาวไม่มวี นั จบสิน้ ทง้ั นี้ เพราะ
ประชาชนจาเป็นต้องไดร้ ับขอ้ มลู ท่ถี กู ต้องอย่างสม่าเสมอ การขาดการรบั รเู้ กี่ยวกบั ข่าวสารและ
กจิ กรรมนาน ๆ จะเปน็ สาเหตุของการเกดิ ความรูค้ วามเข้าใจท่ีคลาดเคลอ่ื นและจะเปน็ บอ่ เกดิ ของ
ความรู้สกึ ท่ไี ม่ดี ซึ่งยงั ผลตอ่ ปฏิกริ ยิ าในทศิ ทางทเี่ ป็นผลเสียต่อหน่วยงานได้ นอกจากน้ีแลว้ การ
ประชาสมั พนั ธจ์ ะไดผ้ ลทเี่ หน็ เป็นรปู ธรรมได้ จะต้องใชเ้ วลาระยะหนงึ่ ท้ังน้ี ข้นึ อยกู่ ับลกั ษณะของการ
ประชาสมั พันธ์ และกลวิธใี นการประชาสมั พนั ธ์ดว้ ย (พรทิพย์ วรกจิ โภคาทร, 2531, หน้า 6-7)

6

2.1.1 ควำมหมำยของกำรประชำสมั พันธ์

คาว่า "การประขาสมั พันธ"์ ตรงกบั ภาษาอังกฤษวา่ "Public Relations" ซึง่ "ประชา"

หรือ "Public" หมายถึง หมู่คน ส่วน "สมั พนั ธ"์ หรอื "Relations" หมายถึง การเกีย่ วข้องผกู พัน

ดงั นั้น เมือ่ เอาคาทงั้ 2 คามารวมกนั เปน็ "ประชาสมั พนั ธ์" จึงหมายถึง การเก่ียวขอ้ งผูกพนั กบั

ประชาชน อย่างไรกด็ ีไดม้ บี ุคคลและองค์กรต่าง ๆ ได้ใหค้ วามหมายของการประชาสมั พันธ์ไว้ ดังน้ี

มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช (2526, หน้า 239) ได้ใหค้ วามหมายไวว้ ่า การ

ประชาสมั พันธเ์ ปน็ กลไกหน่งึ ของการบรหิ ารเพือ่ สรา้ งความนิยมใหเ้ กิดขึ้นแกห่ นว่ ยงานความนยิ มจาก

ประชาชนทาให้กจิ การของหนว่ ยงานเจรญิ ก้าวหน้า มีความมั่นคง หนว่ ยงานจงึ มีการประชาสัมพนั ธ์ใน

ลกั ษณะปลกุ เร้าเผยแพร่นโยบาย และการดาเนนิ งาน รวมท้งั กจิ กรรมต่าง ๆ ให้ประชาชนรู้อย่าง

ตอ่ เนอ่ื ง เพอ่ื สรา้ งความเข้าใจอันดี นอกจากน้ี การให้ประชาชนได้รบั ขอ้ มลู ขา่ วสารของหน่วยงานดว้ ย

ความเป็นจริงและตอ่ เนอ่ื งโดยประชาชนภายในหนว่ ยงานตอ้ งชแี้ จงแถลงขอ้ เทจ็ จรงิ ของหน่วยงานให้

ทราบเป็นระยะ ๆ เพอ่ื ความเขา้ ใจไปในทางเดียวกัน ส่วนประชาชนภายนอกหน่วยงานกต็ อ้ ง

ดาเนนิ การใหเ้ กิดความเขา้ ใจโดยการเผยแพร่กจิ กรรมต่าง ๆ ผ่านสื่อมวลชนรวมทงั้ การจัดนทิ รรศการ

กจ็ ะทาให้เกิดความเข้าใจทเี่ กิดประโยชน์ตอ่ หน่วยงาน

จฑุ ามาศ กิจเจรญิ (2539, หน้า 1) ได้ให้ความหมายของการประชาสมั พนั ธ์ไวว้ า่

การประชาสมั พนั ธ์ หมายถงึ ความพยายามของสถาบนั ทจี่ ะแสวงหาความสัมพันธ์ ความร่วมมือและ

การสนบั สนนุ จากประชาชน ตลอดจนการธารงไว้ซึ่งทศั นคตทิ ดี่ ขี องประชาชนต่อสถาบันให้คงอยตู่ ่อไป

เพ่ือใหป้ ระชาชนยอมรบั สนับสนุนใหค้ วามร่วมมือในการดาเนินงานตามกระบวนการนโยบาย

วัตถปุ ระสงคแ์ ละความเคล่อื นไหวของสถาบันหรือหน่วยงานน้ัน ๆ การประชาสมั พนั ธเ์ ปน็ กิจกรรม

สถานการณ์ การกระทา การพูดการเขียน ฯลฯ ทีท่ รงอทิ ธิพลขององค์การ สถาบนั หน่วยงาน บรษิ ทั

ห้างร้าน การปฏิบัตงิ านด้วยการตดิ ตอ่ สื่อสาร เผยแพร่ ชี้แจง ชักชวนให้ประชาชนมสี ว่ นร่วมเพอ่ื พฒั นา

และธารงไว้ซงึ่ ความสมั พนั ธอ์ ันตแี ละช่วยให้ประชาชนเข้าใจความหมายการกระทาของสถาบันไป

ในทางที่ดี

พรทพิ ย์ พมิ ลสนิ ธุ์ (2540, หน้า 8) ไดส้ รุปความวา่ การประชาสมั พันธ์ คอื วิธกี าร

ของสถาบนั อันมแี ผนการและกระทาต่อเนือ่ งไป ในอนั ทจ่ี ะสรา้ งหรอื ยงั ใหเ้ กดิ ความสมั พนั ธ์อนั ดกี ับ

กลมุ่ ประชนชน เพ่อื ใหส้ ถาบันและกลมุ่ ประชาชนที่เก่ียวขอ้ งมีความรคู้ วามเขา้ ใจ และให้การ

สนับสนุนรว่ มมือซง่ึ กันและกันอันจะเปน็ ประโยชนใ์ หส้ ถาบนั น้นั ดาเนินงานไปได้ผลตสี มความมุ่งหมาย

โตยมปี ระชามติเปน็ แนวบรรทัดฐานอนั สาคัญด้วย

วิจติ ร อาวะกลุ (2541, หน้า 17) ได้ใหค้ วามหมายของการประชาสัมพนั ธอ์ กี ว่าการ

ประชาสมั พันธเ์ ป็นศิลป์และศาสตรข์ องหน่วยงานทจ่ี ะสือ่ สารความรู้สกึ นึกคดิ กจิ กรรมและวิธที ่ี

องคก์ ารสถาบันหนว่ ยงานปฏบิ ตั เิ พอื่ ส่งเสรมิ ความสมั พนั ธอ์ นั ดกี บั สงั คมและประชาชน

2:1.2 ควำมสำคัญของกำรประชำสัมพนั ธ์

มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช (2530, หนา้ 47-50) ไดส้ รปุ ความสาคญั ของการ

ประชาสมั พันธ์ไวว้ ่า ปจั จุบันการประขาสัมพันธ์มบี ทบาทสาคญั และมคี วามจาเป็นอย่างยิ่งสาหรับ

บคุ คลและหนว่ ยงาน องคก์ าร สถาบนั ตลอดจนงานทางดา้ นการศกึ ษา งานราชการ งานด้านการ

ศาสนา และงานสังคมสงเคราะห์ ท้งั นเ้ี พราะการประชาสัมพนั ธเ์ ปน็ งานเชงิ สร้างสรรคท์ ีก่ ่อให้เกิด

7

ความรู้ความเข้าใจแกป่ ระชาชน ด้วยการสร้างสมั พนั ธภาพอันตีและการพฒั นาสง่ เสรมิ ความเขา้ ใจท่ี

ถกู ตอ้ งร่วมกนั เพอ่ื ให้เกิดความรสู้ ึกนึกคดิ ทดี่ ี มีความกลมเกลยี วราบรืน่ ระหว่างหนว่ ยงานและ

องคก์ ารสถาบนั กบั กลมุ่ ประชาชนที่เกยี่ วข้อง การประชาสัมพนั ธ์เป็นกลไกแหง่ การชักนาความ

ประทับใจ และภาพลกั ษณ์หรอื ภาพพจนท์ ดี่ จี ากหน่วยงาน องค์การ สถาบัน ไปสปู่ ระชาชน เปน็ การปู

พืน้ ฐานแหง่ ความเขา้ ใจให้แกห่ น่วยงาน ทาให้หน่วยงานเปน็ ท่ีรจู้ ัก เชา้ ใจ เล่ือมไส ศรัทธาแก่

ประชาชน รวมท้งั ทาให้ประชาชนเกิดความรสู้ กึ ทเ่ี ปน็ ไปในทางท่ีดีต่อหนว่ ยงานซึ่งเหมาะสมแกส่ ภาพ

สงั คมปัจจุบันทีม่ แี นวโน้มขยายตัวออกเป็นสงั คมทส่ี ลับซบั ชอ้ นยง่ิ ข้นึ ทาให้หนว่ ยงานและประชาชน

เกิดความเหินหา่ งและมีช่วงตา่ งกนั ข้ึนการประชาสมั พนั ธจ์ ึงมีบทบาทในการทาหน้าทเ่ี ป็นสะพาน

เช่ือมโยงความเข้าใจ กอ่ ใหเ้ กิดความรสู้ กึ และสมั พันธภาพที่ดตี ่อกนั อนั จะนา้ ไปสู่ความร่วมมอื กนั ใน

ทส่ี ุด และบรรลุถงึ ความเขา้ ใจร่วมกนั บทบาทความสาคัญของการประชาสมั พนั ธ์ในสงั คมปจั จุบนั จงึ มี

ส่วนทาให้การประชาสัมพันธเ์ จริญเติบโตกา้ วหน้าอย่างรวดเร็วท้ังนีเ้ พราะมสี าเหตหุ ลาย ๆ ประการ

ชว่ ยสง่ เสริมเออื้ อานวยใหก้ ารประชาสมั พันธม์ บี ทบาทสาคญั มากย่งิ ขน้ึ พอสรปุ ได้ดงั น้ี

1. ช่องว่างแห่งการสอื่ สารในสงั คม

2. จานวนประชากรท่ีมากขึน้ ในสงั คม

3. การมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม

4. รฐั บาลมีภารกจิ เพ่ิมมากขน้ึ กว่าเดิม

5. พัฒนาการของเครอื่ งมอื สือ่ สารเทคโนโลยสี มัยใหม่

6. มาตรฐานใหมท่ างดา้ นจรยิ ธรรม

7. อทิ ธิพลของผ้บู รโิ ภคและบทบาทการพทิ ักษ์คุ้มครองผบู้ รโิ ภค

8. วิทยาการต้านการประชาสมั พันธ์เจรญิ กา้ วหน้าขึน้

9. สมาคมวิชาชีพทางด้านการประชาสมั พนั ธ์

10. การยอมรับของหนว่ ยงานองค์กร สถาบันต่าง ๆ

รุ่งรัตน์ ชัยสาเรจ็ (2541, หน้า 1-2) ไดใ้ ห้ความสาคญั ของการประชาสัมพนั ธ์ไวว้ า่

การ

ประชาสมั พนั ธม์ ีความสาคัญ คือ เปน็ สง่ิ ทตี อ้ งดาเนนิ การเพอ่ื เปน็ การสารวจความคดิ เหน็ และ

ความรู้สึกของประชาชนทม่ี ีตอ่ การดาเนินการของหนว่ ยงานหรอื องค์การ สถาบนั เพ่ือให้ไดก้ าร

ยอมรบั และการสนับสนนุ จากประชานอยา่ งตอ่ เนอื่ งและสมา่ เสมอ เปน็ สง่ิ ท่ตี รวจสอบควานคดิ เห็น

และความตอ้ งการของประชาชนอยา่ งสมา่ เสมอ เพื่อนาไปเป็นแนวทางในการปรบั ปรงุ การนาเสนอ

ขอ้ มูลและกจิ กรรมต่าง ๆ ทีค่ าดวา่ จะสนองตอบความสนใจและความตอ้ งการของประชาชนไดอ้ ย่าง

เหมาะสม นอกจากความพยายามทจ่ี ะเผยแพร่ขา่ วสารในรปู ของการโฆษณา (Advertising) โดยตรง

เพ่อื ขายสนิ คา้ หรือบรกิ าร ในขณะเดียวกนั กต็ อ้ งประชาสมั พันธเ์ พอ่ื ช่วยสรา้ งภาพลกั ษณท์ ด่ี ี

(Favourable image) ให้เกิดข้นึ ในสายตาของประชาชน โดยมุ่งใหป้ ระชาชนประทบั ใจในคุณคา่ ต่าง

ๆ การใหบ้ รกิ ารทเี่ ปน็ มิตรการช่วยเหลอื สงั คมส่วนรวม

วริ ชั ลภริ ตั นกุล (254๙, หนา้ 26.27) ได้ให้ความสาคญั ของการประชาสมั พันธ์ไว้ว่า

การประชาสมั พันธม์ คี วามสาคญั และมบี ทบาทสาคญั ยิ่งในการสง่ เสรมิ บรรยากาศแหง่ ความเป็น

ประชาธิปไตยเพราะการประชาสมั พนั ธเ์ ป็นการตดิ ตอ่ ส่ือสารในระบบสองทางขององคก์ รสถาบนั

8

(Two way Communication) . เพ่อื เสรมิ สร้างความเข้าใจอนั ดแี กป่ ระชาชน เช่น หน่วยงานของรัฐ
สื่อสารประชาสมั พันธไ์ ปยังกลุม่ ประชาชน ขณะเดียวกันก็รับฟงั ความคิดเห็น หรอื ประชามติจาก
ประชาชน ซ่ึงหลักการนี้ มสี ว่ นสนบั สนุนประชาธิปไตยเปน็ อยา่ งมากและโดยทกี่ ารปกครองในระบบ
ประชาธิปไตย ยึดถอื อานาจสงู สุด ว่าเปน็ ของประชาชน ฉะน้ัน จึงมกี ารแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ กับ
อย่างสม่าเสมอ เพอื่ ให้ประขาชนมสี ว่ นร่วมกระบวนการกาหนดนโยบายใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการ
ของตน ส่งิ นี้แหละคอื หนา้ ทส่ี าคัญประการหนง่ึ ของการประชาสมั พนั ธ์ซงึ่ จะช่วยเอือ้ อานวยและ
ส่งเสรมิ บทบาทการประชาสัมพนั ธ์ในสงั คมประชาธปิ ไตย นอกจากนี้ การประชาสัมพนั ธ์ยงั มสี ว่ นช่วย
ปลุกเรา้ หรอื กระตุ้นใหป้ ระชาชนเกิดความเข้าใจในตวั สถาบนั และกลไกของรัฐเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรว่ มมือ
ร่วมใจและให้ความสนบั สนนุ ตอ่ การพัฒนาประเทศในแนวทางและครรลองของประชาธปิ ไตย ซง่ึ
ยอมรบั นบั ถอื ในคณุ คาและศกั ดิ์ศรขี องมนุษยชาติรวมทงั้ ความเข้าใจอันดแี ละการร่วมมอื กบั
สรา้ งสรรคค์ วามเจรญิ แก่สงั คมสว่ นรวมประเทศชาติโดยคานึงและเนน้ ถึงความสาคัญแหง่ ผลประโยชน์
รว่ มกันของทุกฝ่าย

สุปรีดา ลวิ่ เฉลมิ วงษ์ (ม.ป.ป, หน้า 3) ไดใ้ ห้ความสาคญั ของงานประชาสมั พนั ธ์ว่า งาน
ประชาสมั พนั ธ์ เป็นงานเชิงสรา้ งสรรคท์ ่กี อ่ ให้เกดิ ความรู้ ความเข้าใจแกป่ ระชาชน เปน็ งานส่งเสรมิ
ความเขา้ ใจและสรา้ งสัมพนั ธภาพอนั ดรี ะหว่างหนว่ ยงานหรอื องคก์ าร สถาบนั กบั กลมุ่ ประชาชนท่ี
เกี่ยวขอ้ งหรอื เป็นการสร้างความสัมพันธ์อันตีกบั กลุ่มประชาชนกลมุ่ ต่าง ๆ ซึ่งความคิดเห็นของ
ประชาชนหรอื ประชามตนิ ยี้ ่อมมสี ว่ นสาคญั ท่อี าจจะก่อใหเ้ กดิ ผลดี ผลเสยี แกอ่ งคก์ ารสถาบันได้เสมอ

วิจิตร อาวะกุล (2541, หนา้ 1) ได้ใหค้ วามสาคญั ของการประชาสัมพันธว์ ่าเปน็
กระบวนการส่อื สารของสถาบนั องค์การ หนว่ ยงาน กบั ประชาชนหรือสงั คมเพือ่ เปน็ การพฒั นาสรา้ ง
เสริม พน้ื ฟู ดารงรักษาภาพพจน์ สมั พันธภาพอนั ดีใหไ้ ดร้ บั การสนบั สนุน รกั ใคร่ นับถอื นิยมยกยอ่ ง
เลื่อมใส ศรัทธา ฯลฯ เช่นเดียวกับมนุษยสัมพันธ์ของบุคคลหรอื การปฏบิ ัตกิ ารทางจิตวทิ ยา ทง้ั นี้
เพ่ือใหเ้ กดิ การผสมผสานแนวทางควานรสู้ กึ นกึ คิด เพื่อให้เกดิ ความรว่ มมือสนบั สนุนร่วมใจในการ
ทางานระหวา่ งสถาบนั หน่วยงาน บริษัทห้างรา้ นกบั เจา้ หน้าทปี่ ระชาชนสงั คมทเ่ี กีย่ วขอ้ งและ
แวดลอ้ มอยู่ การประชาสัมพนั ธจ์ ึงตอ้ งพัฒนาและตอ่ ส่กู นั ดว้ ยกระสุนของความคดิ ความปรารถนาดี
ต่อกัน รวมทง้ั ศิลปะและเทคโนโยลี ทางการสื่อสารเพ่ือสรา้ งความสัมพันธ์อันม่ันคงยนื นาน การ
ประชาสมั พันธ์มลี กั ษณะของการสอ่ื สมั พนั ธ์แบบสองทาง (ยุคลวถิ )ี ( Two way Process) เป็นการ
หยง่ั ท่าท่ี ทบทวน ตรวจสอบ ส่ือสารติดต่อไปมาซึ่งกันและกนั ทราบวตั ถปุ ระสงคค์ วามตอ้ งการ
ความรู้สึกนึกคิด เจตนารมณ์ซึง่ กนั และกันระหว่างหน่วยงานกบั ประชาชน เกิดความรู้ความเข้าใจใน
การกระทา การประพฤติปฏิบตั ิ พฤตกิ รรมที่ดีตอ่ กนั และกันทาใหเ้ กดิ ลักษณะรู้เขา-รเู้ รา

สรปุ ไดว้ า่ การประชาสมั พนั ธ์ มคี วามสาคญั กบั หนว่ ยงานหรอื องศ์กร เน่ืองจากการ
ประชาสมั พันธเ์ ป็นมวลกจิ กรรมท่ีดาเนนิ การไปเพอ่ื สรา้ งความเข้าใจอันดรี ะหว่างกลมุ่ บุคคลผู้ทท่ี า
หนา้ ทอี่ ยใู่ นหนว่ ยงานหรือองค์กรกบั บุคคลทั้งภายในและภายนอกหนว่ ยงานหรอื องคก์ ร ซึง่ หนว่ ยงาน

9

หรอื องค์กรต้องรัยใช้หรอื ใหบ้ รกิ ารการดาเนนิ งานต้องมแี บบแผน ตอ่ เนือ่ งและเป็นประบวนการไมตรี
สัมพนั ธ์ทงั้ สองทาง

2.1.3 วัตถปุ ระสงคข์ องกำรประชำสมั พันธ์
วิจิตร อาวะกุล (2541, .หนา้ 48 ) กลา่ วถงึ วัตถปุ ระสงคข์ องการประชาสมั พันธ์ไว้

ดังนี้
1. เพ่ือเป็นการเผยแพรบ่ อกกล่าว ขอรอ้ ง เลา่ เรอ่ื งราวขา่ วสารของสถาบนั หน่วยงาน

ไปให้ประชาชนไดท้ ราบ เช่น นโยบาย จุดประสงค์ การบรกิ าร การดาเนนิ การ ขอบเขตหนา้ ที่ความ
รบั ผิดชอบการช่วยเหลอื ทาประโยชน์ให้กบั สังคม

2. เพอ่ื เป็นการใหค้ วามรแู้ ละสร้างความเขา้ ใจท่ีดีทถี่ ูกตอ้ งใหเ้ กิดข้ึนกบั ประชาชนเปน็
การลบล้างความเขา้ ใจผิด ความขนุ่ ข้องหมองใจส่งิ ทสี่ รา้ งความขดั แยง้ เปน็ ศตั รกู นั กลายเป็นการสร้าง
ความเป็นมิตรและความร่วมมอื ข้ึน

3. เพอ่ื อธิบาย ช้ีแจง ทาความเขา้ ใจตอ่ การเคลอื บแคลงสงสยั ความเข้าใจผดิ ความยงั
ไม่รยู้ ังไมเ่ ขา้ ใจในเรื่องราวของสถาบัน หนว่ ยงาน บรษิ ัท การดาเนินงานเพื่อใหไ้ ดร้ ับข่าวสารทีถ่ ูกตอ้ ง
ลบลา้ งความเข้าใจที่ผดิ หรอื ไมถ่ กู ตอ้ งของสถาบัน

4. เพอ่ื แสดงออกถึงคุณงามความดี ความปรารถนาตี ความเป็นพลเมอื งดี มคี วาม
บรสิ ทุ ธ์ยิ ุติธรรม มีการดาเนนิ งานสร้างสรรค์ความเจรญิ ก้าวหน้าแก่สงั คม ชุมชน ประเทศชาตสิ ว่ นรวม

ลกั ษณา สตะเวทิน (2540, หนา้ 8) ไดใ้ ห้ความเห็นว่า การประชาสมั พนั ธม์ ี
วตั ถุประสงค์ หรอื ความมงุ่ หมาย ดังนี้

1. เพื่อสร้างความรู้ความเขา้ ใจ เผยแพร่และชแี้ จง สรา้ งความนยิ มและให้สาธารณชน
รบั รู้ถงึ บทบาท นโยบาย เปา้ หมายและวตั ถปุ ระสงค์ขององคก์ าร ซ่ึงสาธารณชนน้ันตอ้ งประกอบด้วย
ประชาชนทเี่ ป็นสมาชกิ ขององค์การและประชาชนภายนอกองคก์ าร

2. เพื่อสรา้ งชื่อเสยี งและป้องกนั ช่อื เสยี งขององค์การ และสร้างความสมั พันธ์อนั ดใี ห้
องค์การเป็นทร่ี จู้ กั ไดร้ บั ความไว้วางใจ ยกยอ่ ง ศรทั ธา โดยการแสดงเจตนารมณท์ ถ่ี ูกต้องตามบรรทัด
ฐานของสังคม เป็นการกระทาดีและสรา้ งสรรค์ความเจรญิ กา้ วหนา้ แก่สงั คม

3. เพอ่ื แสวงหาความรว่ มมอื และการสนับสนนุ จากประชาชน เช่น การเสนอรา่ ง
กฎหมายการเปลย่ี นแปลงกฎระเบยี บตา่ ง ๆ ถ้ามกี ารประชาสัมพนั ธใ์ หก้ ลุม่ ประชาชนมคี วามรคู้ วาม
เขา้ ใจ กย็ อ่ มได้รบั ความรว่ มมอื และสนบั สนุน ฉะขั้นการตรวจสอบและประเมินผลควานคิดเห็นหรอื
ประชามตขิ องประชาชนยอ่ มมีความสาคญั ตอ่ องศก์ าร ซง่ึ จะนามาส่ภู าพพจน์ขององศ์การในทสี่ ุด

2:1.4 องค์ประกอบของกำรประชำสัมพันธ์
วิทยา อ่อนชอ้ ย (2531, หน้า 15-17) ไดใ้ ห้หลกั การเกย่ี วกบั องศป์ ระกอบการจดั

งาน
ประชาสมั พันธ์วา่ งานประชาสมั พันธเ์ ปน็ งานทจี่ ัดข้ึนสนบั สนนุ หรอื เสริมงานอนื่ เป็นสาคญั เพ่ือใหก้ าร
จัดงานประชาสมั พันธก์ ลมุ่ ลลุ ว่ งโปด้วยดี ผบู้ รหิ ารและผู้ดาเนินงานประชาสมั พนั ธจ์ ะต้องวเิ คราะหถ์ งึ
องคป์ ระกอบทเ่ี ก่ยี วกบั งานประชาสมั พนั ธ์ ดงั ต่อไปน้ี

1. นโยบายของหนว่ ยงานหรอื องคก์ ร งานประชาสมั พันธจ์ ะดาเนนิ ไปดว้ ยดจี ะต้อง

10

ทราบนโยบายทเ่ี ดน่ ชดั ของหนว่ ยงานหรอื องคก์ ร เพือ่ เปน็ แนวทางในการกาหนดนโยบายแผนงาน
วิธีการจดั การประชาสัมพันธ์

2. การประพฤตติ นของหน่วยงานหรือองคก์ ร การประพฤตปิ ฏิบัติหรือการดาเนนิ
กจิ กรรมทง้ั หลายของหน่วยงาน องศ์กร หากเปน็ ไปในรูปทสี่ งั คมให้ความเห็นชอบหรือสรา้ ง
ภาพลกั ษณ์ท่ดี ีแล้ว การดาเนินการเพ่อื การประชาสมั พนั ธ์กจ็ ะเป็นไปไดง้ ่าย ประหยดั บางครงั้ การ
ประพฤตปิ ฏบิ ัตทิ ด่ี ีของหนว่ ยงานหรอื องคก์ รก็เปน็ งานประชาสมั พันธใ์ นตัวของมนั เอง

3. หนว่ ยงานหากไมม่ ีบคุ ลากรทมี่ คี วามรูค้ วามสามารถในการดาเนนิ งาน
ประชาสมั พันธ์แลว้ การดาเนินการทั้งหลายขององคก์ รย่อมเปน็ การยากทีจ่ ะให้คนท้ังหลายชื่นชม
ยอมรบั หรอื ใหก้ ารสนบั สนุนและคลอ้ ยตาม

4. งบประมาณ ลกั ษณะการได้มาของงบประมาณเพอื่ ดาเนนิ การประชาสมั พนั ธ์
5. วสั ดุอปุ กรณ์ เปน็ เครือ่ งมอื ทจี่ ะทาให้การประชาสัมพนั ธบ์ รรลเุ ปา้ หมายไดโ้ ดยง่าย
6. การจัดการเมอื่ ทราบนโยบายทแ่ี นช่ ดั หนว่ ยงานประชาสมั พันธ์จะต้องมีการจดั การ
หรอื การบรหิ ารงานภายได้กรอบของความสามารถของบคุ ลากร งบประมาณ วัสดุอปุ กรณท์ ่ีมอี ยู่
ทง้ั หลายเพ่อื ใหง้ านประชาสมั พนั ธด์ าเนินไปอย่างมีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล งานประชาสมั พนั ธ์
จึงเป็นงานของทกุ ๆคน รวมท้ังผูบ้ ริหารระดบั สูงในหน่วยงานน้นั ๆ ดังนั้น คาแนะนา นโยบายจะตอ้ ง
ถูกกลนั่ กรองใหแ้ น่ชดั วา่ วัตถปุ ระสงคต์ ่าง ๆ ท่ีได้วางแผนไวน้ ัน้ สามารถนาไปใชไ้ ด้ เขา้ ใจงา่ ย มี
รูปแบบและการประสานงานดี การควบคมุ แผนการประชาสมั พนั ธ์ได้แน่นอนและผ้ปู ฏบิ ัตงิ าน
ประชาสมั พันธ์ต้องมคี วามรู้ ความสามารถและประสบการณเ์ ป็นอยา่ งดี
2.1.5 หลกั กำรประชำสัมพันธ์
ชม ภมู ิภาค (2526, หน้า 41-43) ไดใ้ ห้หลกั การประชาสัมพนั ธ์เพอ่ื การดาเนินงาน
ให้
ประสบผลสาเรจ็ ดงั น้ี
1. การประชาสัมพันธเ์ ปน็ กระบวนการสอ่ื สารสองทาง คอื ระหวา่ งสถาบันและ
ประชาชนท่ีเกีย่ วขอ้ งท้งั สองฝ่าย จะตอ้ งเนน้ ทงั้ ผู้รบั สารและผสู้ ง่ สาร
2. การประชาสมั พันธเ์ ป็นงานหนง่ึ ในกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
3. หัวหนา้ หนว่ ยงานประชาสมั พันธ์ทางสถาบันต้องอยใู่ นฐานะทรี่ บั ทราบและกาหนด
นโยบายของสถาบนั พอสมควร ดงั น้ัน จงึ มีความสะดวกในการติดตอ่ กับผู้บริหารระดบั สงู
4. การประชาสัมพนั ธ์ ต้องยึดถอื หลกั ศีลธรรม รายงานท้ังหลายต้องเปน็ จรงิ
5. การประชาสมั พันธ์ท่ไี ด้ผล ตอ้ งใหป้ ระชาชนรสู้ กึ วา่ งานประชาสมั พนั ธ์ยึดถือ
ผลประโยชนข์ องสาธารณเปน็ หลกั
6. การประชาสมั พนั ธ์ เปน็ งานท่ีต้องอาศยั ขอ้ เทจ็ จรงิ ในการดาเนนิ งานมิใชย่ ึดถือ
ความคิดเหน็ ส่วนใหญ่
7. จดุ หมายปลายทางของการประชาสมั พันธ์ คือ ประชามตแิ ละเป็นประชามติทเ่ี กดิ
ความรจู้ รงิ จากเหตุผลมากกวา่ อารมณ์
8. การประชาสัมพันธ์แตกต่างจากการโฆษณาชวนเชื่อ
9. การประชาสัมพนั ธ์ เปน็ ทง้ั ศาสตรแ์ ละศิลป์ ในส่วนทเ่ี ป็นศาสตรน์ ้ัน ต้องอาศยั

11

ความรทู้ างทฤษฎจี ากมวลความรหู้ ลายดา้ น อาทิ จิตวิทยา มานุษยวทิ ยา สงั คมวทิ ยาการปกครอง
การเมอื ง การเศรษฐกจิ การสือ่ สารและวจิ ยั ตา่ ง ๆ ในดนั ศิลป์ ต้องอาศัยประสบการณ์และคณุ สมบัติ
ส่วนตัวท่เี หมาะสม

10. การประชาสมั พันธ์ เปน็ งานทมี่ กี ารวางแผนอยา่ งดี ทัง้ ในต้านจดุ มุ่งหมายและ
วิธีการทจ่ี ะบรรลจุ ดุ มงุ่ หมาย

11. การประชาสมั พันธ์ เปน็ งานท่ตี อ้ งใช้เวลา ใช้ความอดทนและความตอ่ เนอื่ งอยา่ ง
มรี ะบบ

12. การประชาสมั พันธ์ เป็นงานทต่ี อ้ งใช้ความชานาญเฉพาะอยา่ งรว่ มกันอย่างมี
ระบบ

13. งานประชาสัมพนั ธ์ เปน็ งานทีต่ อ้ งใช้สิง่ อานวยความสะดวกต่าง ๆ มาก
14. งานประชาสมั พนั ธ์ เป็นงานท่ีเกี่ยวข้องกบั การจงู ใจ ซ่งึ เก่ยี วขอ้ งกบั การ
เปล่ยี นแปลงของบคุ คลในช้ันสงู เชน่ ทศั นคติ
15. งานประชาสัมพนั ธ์ เป็นงานทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั บคุ คลหลายฝาย หลายระดับทั้งใน
สถาบนั และนอกสถาบัน
16. การเหน็ ความสาคัญในงานประชาสัมพันธ์ของผบู้ รหิ ารระดบั สูงของสถาบนั เปน็
ปจั จยั สาคัญประการหน่งึ ของความสาเร็จของงานประชาสัมพันธ์
17.งานประชาสมั พนั ธเ์ ป็นงานทป่ี ระกอบไปดว้ ย งานกระจายข่าวสารและกจิ กรรม
ประกอบกนั
18.ความชานาญในงานประชาสมั พนั ธข์ องหวั หน้าหนว่ ยงานประชาสมั พันธ์และ
ความร้ใู นกระบวนการบรหิ ารของหัวหน้าหนว่ ยงานประชาสมั พนั ธเ์ ปน็ ปัจจัยสาคญั ประการหน่งึ ตอ่
ความสาเรจ็ ของงานประชาสัมพนั ธ์
19. ความสาเรจ็ ของงานประชาสมั พนั ธ์ ท่ีแสดงออกมาใหเ้ ห็นไดป้ ระการหนง่ึ คอื
ชือ่ เสยี งของหน่วยงานดแี ละมคี วามกลมเกลยี วกนั ในส่วนตา่ ง ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ทงั้ ประชาชนในสถาบัน
และนอกสถาบัน
20. หากกจิ การใหม่ ๆ ของสถาบนั ได้รบั การยอมรบั รวดเร็วกเ็ ป็นเครื่องแสดงถงึ
ประสทิ ธิภาพของงานประชาสมั พนั ธ์อยา่ งหนง่ึ
วิจติ ร อาวะกุล (2541, หนา้ 193-194) ได้ใหห้ ลักการของการประชาสมั พนั ธพ์ อ
สรปุ ได้ ดังน้ี
1. ดาเนินการประชาสมั พนั ธ์กอ่ นการดาเนินงานทกุ ชนิด
2. ศกึ ษาวัตถปุ ระสงค์นโยบายของหนว่ ยงาน
3. ตง้ั วัตถปุ ระสงค์และเป้าหมาย
4. ศกึ ษางานของฝา่ ยตา่ ง ๆ ทเ่ี กยี่ วข้อง
5. ใหห้ นว่ ยงานสรา้ งผลงานเพื่อเผยแพร่
6. ทาการประชาสมั พนั ธภ์ ายในกอ่ น
7. ศึกษาและเขา้ ใจความต้องการ ประเมินทา่ ที ความรสู้ ึก และทัศนคติของกลมุ่ ตา่ ง ๆ
8. ศึกษาสารวจกระแสประชามติโดยทว่ั ถงึ

12

9. ใช้ความคิดและความละเอียดออ่ น
10. ประกอบด้วยความรสู้ กึ นกึ คดิ ท่ดี ี
11. ตง้ั คาขวญั ในการสรา้ งจุดสนใจ
12. ถือประโยชนส์ งั คมสว่ นรวม
13. ยึดถอื ความชื่อสัตยส์ ุจริตในการดาเนนิ การ
14. ดาเนนิ การด้วยความรับผดิ ชอบ
15. งานประชาสมั พนั ธเ์ ปน็ เรอื่ งของทกุ คนทจี่ ะตอ้ งช่วยกนั สร้างชว่ ยกันทา
16. คิดใครค่ รวญก่อนเผยแพรข่ อ้ เทจ็ จรงิ
17. ปราศจากการกลนั่ แกล้งใหร้ ้ายป้ายสี
18. เนน้ การกระทา ปฏิบัติ และบริการ
19. ตระหนักและตาเนนิ การในด้านมนษุ ยสัมพันธอ์ ยา่ งสม่าเสมอ
20. อย่เู บือ้ งหลังการดาเนินการ
21. ใหห้ นว่ ยงานมบี ทบาททางสงั คม
22.ให้ความรู้ความเขา้ ใจ มขี อ้ มูลอยา่ งกว้างขวาง โน้มน้าวและจูงใจด้วยวธิ ี
ละมุนละไม
23. ดาเนนิ การเผยแพรใหก้ วา้ งขวาง
24. ดาเนินการประชาสมั พนั ธ์สมา่ เสมอตอ่ เนือ่ งกันไป
25. ดาเนนิ การประชาสมั พันธ์ได้ตลอด 24 ชว่ั โมง
26. ส่ือสมั พนั ธ์แบบทางคู่หรือยุคลวิถี
27. ดว้ ยความหนักแนน่ อดทน
28. ดาเนินการแบบง่าย ๆ และธรรมดา
29. อาศัยผู้ที่มคี วามสามารถชว่ ยในการประชาสมั พนั ธ์
30. หมน่ั ตรวจสอบแกไ้ ขข้อบกพรอ่ ง
31. ป้องกนั ไวด้ ีกว่าการแก้
32. ศึกษาและใช้กลยุทธข์ องการประชาสมั พันธ์
33. ยึดหลักและรกั ษาจรรยาบรรณของการประชาสัมพันธ์
34. มีความรใู้ นเทคนคิ และกลไกของการประชาสัมพันธ์
35. มีศิลปะและรสนยิ มดี
36. การประชาสัมพนั ธ์เป็นทัพหลังของกจิ การ
วริ ัช ลภริ ัตนกุล (2546, หน้า 145-146) ไดเ้ สนอหลกั ใหญ่ ๆ ของการ
ประชาสมั พันธ์
3 ประการ สรปุ ไดด้ ังนี้
1. การบอกกลา่ วเผยแพรให้ทราบ คือ การบอกเลา่ ช้แี จงใหป้ ระชาชนได้ทราบถงึ
นโยบาย วัตถปุ ระสงคก์ ารดาเนินงานและผลงานหรอื กจิ กรรมตา่ ง ๆ ตลอดจนข่าวคราวความ
เคลอ่ื นไหวขององค์กร สถาบัน ให้ประชาชนและกลมุ่ ประชาชนทเ่ี กย่ี วขอ้ งได้ทราบและรู้เหน็ ถงึ สิง่
ดงั กล่าว

13

2. การป้องกันและแกไ้ ขความเข้าใจผดิ การประชาสมั พันธ์ถอื เปน็ การประชาสมั พนั ธ์
เพื่อปอ้ งกนั ความเข้าใจผดิ ทางดา้ นวิชาการ ซึ่งมคี วามสาคัญมากเพราะการปอ้ งกนั ไวก้ อ่ นย่อมมีผล
ดีกวา่ ท่ีจะมาทาการแกไ้ ขในภายหลงั สาหรับการแกไ้ ขความเข้าใจผดิ จะต้องรบี ดาเนินการแกไ้ ขโดย
ด่วนเป็นไปอย่างเหมาะสมและทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์ เมอื่ มีความเข้าใจผิดเก่ยี วกับองคก์ าร สถาบัน ขึน้ ใน
กลมุ่ ประชาชน

3. การสารวจประชามติ องค์กรสถาบนั จะดาเนนิ การประชาสมั พนั ธ์อย่างมี
ประสิทธิภาพตอ้ งรซู้ งึ้ ถึงความรสู้ กึ นกึ คิดของประชาชน ต้องทราบวา่ ประชาชนตอ้ งการอะไร ไม่
ต้องการอะไรชอบหรอื ไม่ชอบสิง่ ไหน เพ่ือองค์กร สถาบนั จะสามารถตอบสนองใหส้ อดคลอ้ งกับ
ความรูส้ ึกนึกคดิ และความตอ้ งการของประชาขน

สรปุ ได้วา่ หลกั การประชาสมั พนั ธ์เป็นกระบวนการส่อื สารสองทาง เป็นงานหน่งึ ใน
กระบวนการบริหารและการจดั การ เปน็ การบอกกล่าว เผยแพร่ขอ้ มลู ข่าวสาร ขอ้ เท็จจรงิ ของ
หนว่ ยงานองคก์ ร เพอื่ ป้องกนั และแกไ้ ขความเขา้ ใจผิด จงึ ตอ้ งมกี ารวางแผนอยา่ งดเี พราะเป็นงานที่
เกยี่ วขอ้ งกบั บุคคลหลายผ้าย และตอ้ งตาเนินการสมา่ เสมอตอ่ เน่ืองกันไปเพอ่ื การตาเนินงานให้
ประสบผลสาเรจ็

2.1.6 กระบวนกำรดำเนนิ งำนประชำสัมพันธ์
กรมฝึกหัดครู (2527, หน้า 77) ไดใ้ ห้แนวทางกระบวนการทางการประชาสัมพนั ธ์

วา่ มี4 ขั้นตอน ดังนี้
1. ขนั้ ศึกษาวจิ ยั หรอื การค้นคว้าหาข้อเทจ็ จรงิ
2. ขั้นวางแผน
2.1 เป้าหมาย
2.2 ประชาชนที่จะประชาสัมพันธด์ ้วย
2.3 ยุทธศาสตรก์ ารประชาสัมพนั ธ์
2.4 กิจกรรมในการประชาสมั พนั ธ์
2.5 กาหนดเวลาจัดทากจิ กรรม
2.6 กาหนดเจ้าหนา้ ทผี่ ู้ปฏบิ ัตติ ามแผน
2.7 งบประมาณคา่ ใช้จา่ ย
3. ข้นั ตดิ ต่อส่อื สารถึงประชาชน
4. ขน้ั ประเมนิ ผล
4.1ตรวจดจู านวนผฟู้ งั ผชู้ ม
4.2ตรวจดูปฏกิ ริ ยิ าผ้ฟู งั ผู้ชม
4.3ตรวจดคู วามประทบั ใจทผี่ ู้ฟัง ผชู้ มได้รับจากการประขาสมั พนั ธ์

2.1.7 กำรเผยแพร่ข้อมลู ข่ำวสำรของหน่วยงำนต่อสำธำรณชน
สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ไดก้ าหนดในคมู่ อื การ

ปฏิบัตงิ านของงานประชาสมั พนั ธ์ กล่มุ อานวยการ สานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั เรื่อง การเผยแพร่
ขอ้ มูลข่าวสารของหน่วยงานตอ่ สาธารณชน หมายถงึ การจดั ระบบรปู แบบการติดตอ่ ประสานงานกับ
เครอื ข่ายฯ ด้วยระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ การจัดทาแผนการประชาสมั พนั ธข์ อ้ มูลข่าวสารและ

14

ผลงานของสานกั งานและสถานศึกษา ครอบคลมุ ทุกกลุ่มเปา้ หมาย มีช่องทางการประชาสมั พันธ์ที่
หลากหลาย ประเดน็ ข้อมลู ข่าวสาร ผลงานทผี่ ลติ เพ่ือเผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธ์ สามารถนาไปใชไ้ ด้
อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ขอ้ มูลข่าวสารสามารถสืบคน้ ได้ดว้ ยระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ

2.2 แนวคดิ เรื่องกำรส่อื สำรภำยในองคก์ ร
2.2:1 ควำมหมำยของกำรสอ่ื สำรภำยในองค์กร
ศุภมน อนุศาสนนนั ท์ (2549) ใหค้ วามหมายของการส่ือสารภายในองค์กรวา่ เป็น

การถา่ ยทอดขอ้ มลู ขา่ วสารต่าง ๆ ระหวา่ งบคุ คลหรอื หนว่ ยงานในองศก์ ร ผ่านรปู แบบวธิ ีการสอ่ื สาร
ต่าง ๆ เพื่อใหเ้ กดิ การรบั รแู้ ละความเขา้ ใจร่วมกันในการปฏบิ ตั ิตน ซงึ่ จะเป็นผลใหอ้ งคก์ รและบุคลากร
ในองศ์กรบรรลวุ ัตถุประสงค์ และเปา้ หมายทีไ่ ด้ตง้ั ไว้ เพือ่ ให้เกิดประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลในการ
ปฏิบตั งิ าน

กรชิ สืบสนธ์ (2538) กลา่ วถงึ การสื่อสารในองคก์ รว่า หมายถึง กระบวนการ
แลกเปล่ียนข้อมลู ข่าวสารระหวา่ งบุคคลทุกระดับ ทกุ หน่วยงาน โดยมคี วามสัมพนั ธภ์ ายใต้
สภาพแวดลอ้ ม บรรยากาศขององค์กร ซ่ึงสามารถปรบั เปลย่ี นไปตามกาลเทศะ

พะยอม วงศ์สารศรี (2538) ให้ความหมายของการสอ่ื สารในองคก์ รว่า คอื
กระบวนการแลกเปลยี่ นข้อมลู ข่าวสารระหว่างหน่วยงานและบคุ คลทุกระดบั ในองค์กรซง่ึ มี
ความสมั พนั ธ์ภายใตส้ ภาพแวดลอ้ ม บรรยากาศขององคก์ รและสงั คม ซง่ึ สามารถแปรปรวนไปไดต้ าม
สภาวการณ์

ทองใบ สดุ ชารี (2542 ใหค้ วามหมายวา่ การสื่อสารในองคก์ ร คอื การ
แลกเปล่ยี น
ขอ้ มลู ข่าวสารและความรใู้ นหมสู่ มาชกิ ขององคก์ ร เพอื่ ให้บรรลปุ ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลของ
องค์กร

นงคราญ คงเย็น (2553) ให้ความหมายการส่ือสารในองคก์ รหมายถงึ
กระบวนการ
ในการแลกเปลี่ยนข่าวสารของหน่วยงานกบั บุคลากรทกุ ระดบั ภายในองคก์ รซงึ่ มคี วามสัมพนั ธ์กนั
ภายใตส้ ภาพแวดล้อมบรรยากาศขององค์กรและสงั คมซ่งึ สามารถเปล่ยี นแปลงไปไดต้ ามสถานการณ์

จากการให้ความหมายของการสื่อสารภายในองค์กรทั้ง 5 แนวคดิ ข้างตน้ สรุปได้
ว่าการสือ่ สารภายในองคก์ ร เปน็ การแลกเปลี่ยน หรอื ถา่ ยทอดข้อมูลข่าวสารและความรู้ ระหวา่ งบคุ คล
หรือหน่วยงาน ภายไต้รูปแบบวธิ กี ารสอ่ื สารตา่ ง ๆ เพ่ือใหเ้ กิดความเข้าใจร่วมกนั เพอ่ื การปฏบิ ตั ิงานให้
บรรลปุ ระสิทธิภาพและประสทิ ธิผลขององคก์ ร

การสอ่ื สารในองคก์ รมสี ่วนสาคัญทจี่ ะทาให้บุคลากรในองค์กรสามารถทเี่ ข้าใจ
องค์กรในดา้ นตา่ งๆไดไ้ ม่วา่ จะเปน็ นโยบายวสิ ยั ทศั นแ์ ผนดาเนินการสถานการณ์ของโลกทเี่ ก่ยี วข้อง
การติดตามและควบคมุ การดาเนินการการสร้างความเปน็ หน่งึ อันเดียวกนั รวมไปถึงความจาเปน็ ที่
จะต้องเปลย่ี นแปลงองคก์ รกส็ ามารถทจี่ ะกระทาผา่ นการสอื่ สารในองค์กรไตเ้ พือ่ ใหบ้ คุ ลากรในทุก
ระดับเกดิ การปรับตัวใหเ้ ข้ากบั สถานการณท์ ม่ี ีการเปล่ยี นแปลงตลอดเวลาและนาไปสูก่ ารยนื หยัดของ

15

องค์กรท่สี ามารถจะอยไู่ ดก้ ารส่ือสารในองคก์ รนบั เป็นเครอื่ งมือท่ีสาคญั อย่างหนงึ่ ทผี่ บู้ รหิ ารควรใช้
พรอ้ มไปกับการบรหิ ารจดั การดา้ นอนื่ ๆในการเปล่ยี นแปลงองคก์ รมีงานวจิ ัยจากหลายประเทศยนื ยัน
วา่ การส่อื สารภายในองคก์ รสามารถช่วยผลักดนั การเปลีย่ นแปลงองค์กรทา่ มกลางสภาวะการแข่งขันที่
สงู เชน่ ในปจั จบุ ันจนสามารถทจี่ ะนาพาองคก์ รอยรู่ อดและมคี วามก้าวหนา้ ตอ่ ไปได้และการได้รบั ความ
รว่ มมือจากบุคลากรกลายเป็นขอ้ ได้เปรยี บทางการแข่งขนั ไดอ้ ย่างยงั่ ยนื อกี ด้วย

2:2.2 ประเภทของกำรสื่อสำร
การสอื่ สารมหี ลายประเภทขึน้ อยกู่ บั บรบิ ทของการสอ่ื สาร ประเภทของการสอื่ สารที่

สาคัญได้แก่ :
1. การสือ่ สารดว้ ยวาจาการใช้ภาษาหรอื วจั นภาษา (verbal communication)

หมายถึงการทผ่ี ู้สง่ สารสง่ ขอ้ มลู หรือความคดิ เห็นทั้งแบบตัวยวาจาหรือแบบลายลกั ษณ์อกั ษรไปยงั ผรู้ ับ
โดยใชช้ ่องทางของการสอ่ื สารตา่ งๆผสู้ ่งสารควรเลือกคาพูดหรือภาษาท่เี หมาะสมในการสอ่ื สารกบั
ผรู้ บั สารโดย

- ใชค้ าทง่ี ่ายไมก่ ากวม
- สันกะทดั รดั ไมเ่ ย่ินเยอ่
- ใชค้ าหรอื ภาษาท่ผี รู้ ับสารสามารถเข้าใจได้
- พดู ช้าๆและซัดเจน
- ใช้น้าเสยี งทเ่ี หมาะสม
- หลกี เลย่ี งการใชภ้ าษาแสดงและคาสบถ
-หลีกเลย่ี งการใชค้ าท่มี คี วามหมายหลายอย่างหรอื มคี วามหมายในแตล่ ะ
วัฒนธรรมไมเ่ หมอื นกัน
. - กระตุน้ ใหผ้ ูร้ บั สารตั้งคาถามกลับเสนอเพื่อสังเกตการตอบสนองของผรู้ บั สาร
2. การสอ่ื สารแบบไมใ่ ชภ้ าษาหรอื อวจั ภาษา (nonverbal communication)
เป็นการสอื่ สารแบบไม่ใช้คาพดู การสื่อสารแบบไม่ใชภ้ าษามกั เกดิ จากจติ ใตส้ านกึ และอารมณส์ มั พันธ์
กบั เนือ้ หาของคาพูดสถานการณและสภาพแวดลอ้ มผสู้ ่งสารใช้ภาษากายการแสดงออกทางสหี น้าการ
สมั ผสั ท่าทางหรือการเคล่อื นไหวความรสู้ กึ อารมณ์และขอ้ มลู อื่นๆไปยงั ผรู้ ับสารไม่เขา้ ใจในภาษาของ
กนั และกนั การสื่อสารประเภทน้ยี ังมปี ระโยชน์เม่อื ผรู้ ับสารหหู นวกหรอื พดู ไมไ่ ด้
3. การส่อื สารแบบเมต้า (meta communication)หมายถงึ การส่ือสารเกี่ยวกบั การ
ส่อื สารซง่ึ ใชอ้ ธบิ ายหรอื แปลความหมายของข้อมลู การส่ือสารแบบเมต้าเปน็ การสอื่ สารทสี่ าคัญและมี
ประโยชนใ์ นการมปี ฏสิ ัมพันธร์ ะหว่างบุคคลทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพตังนัน้ ขา่ วสารทเ่ี ช้าใจยากจงึ สามารถ
เขา้ ถงึ และเข้าใจได้การสอื่ สารแบบเมตา้ มปี ระโยชน์ในกลุ่มของผเู้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านเชน่ การส่อื สาร
เกีย่ วกับการเมอื งส่ือมวลชนและการทดลอง
4. การสือ่ สารแบบเป็นทางการ (format communication) หมายถงึ การส่อื สาร
ผา่ นช่องทางซึง่ ถกู กาหนดขน้ึ อย่างเป็นทางการระหวา่ งตาแหนง่ ต่างๆภายในองค์กรการสื่อสารแบบ
เป็นทางการเป็นสอ่ื สารทใ่ี ช้ในองค์กรเพอ่ื ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายขององคก์ รการส่อื สารแบบเป็นทางการมัก
อย่ใู นรูปแบบของลายลกั ษณอ์ กั ษรและมสี ายบงั คบั บญั ชา

16

5. การสอื่ สารแบบไมเ่ ป็นทางการ (informal communication) การสื่อสารแบบไม่
เป็นทางการหมายถงึ การหดู คยุ กนั หรือการมปี ฏสิ ัมพันธร์ ะหวา่ งพนักงานในลกั ษณะทไี่ ม่เกี่ยวพันธ์
โดยตรงกบั ชอ่ งทางการสอื่ สารท่ถี ูกกาหนดไวอ้ ย่างเปน็ ทางการและไมเ่ ปน็ ไปตามสายบงั คับบัญชา

2.2.3 ชอ่ งทำงกำรสือ่ สำรภำยในองค์กร
เสนาะ ตเิ ยาว์ (2541) กลา่ ววา่ การส่ือสารในองคก์ รมหี ลายรปู แบบ การเลือก

วรี ีการสอ่ื สารนั้นมเี กณฑ์ในการพจิ ารณา คือ ความรวดเร็ว ถูกต้อง มคี ่าใชจ้ ่ายมากน้อยเพียงใด หรอื
ขอ้ มลู นั้นเป็นความลบั หรอื ไม่ ซงึ่ รปู แบบชอ่ งทางการสื่อสารในองค์กร มีดังนี้

1. การส่ือสารทเี่ ปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร องคก์ รตา่ ง ๆ ใช้วธิ นี ี้มากทส่ี ดุ ในการสอ่ื สาร
ท่เี ป็นทางการ เชน่ จดหมาย บนั ทึกชว่ ยจา รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน คมู่ ือการปฏบิ ัตงิ าน นโยบาย
กฎระเบียบ ขอ้ บงั คบั และมาตรฐานของงาน

2. การพูดคุยแบบเผชิญหนา้ กัน ใชส้ าหรบั การปรับปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการ
ทางานของผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา ทาใหไ้ ดร้ บั Feedback กลบั มาอย่างรวดเร็ว

3. การสื่อสารดว้ ยสัญลักษณ์ เป็นการสื่อสารทแ่ี สดงออกของร่างกาย เชน่ สีหน้า
ภาษากาย สภาพแวดล้อม

4. การสอ่ื สารด้วยส่ืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เชน่ คอมพวิ เตอร์ โทรศพั ทม์ ือถือ ระบบ
อนิ ทราเนต จดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์ (e-mail) หรอื Teleconferencing

เอกสารการจัดการความรู้ เรื่อง หลกั การสื่อสารประชาสมั พันธ์ ภายในองค์กรจาก
เวบ็ ไซต์ https://km.opsmoac.go.th แบง่ ช่องทางการประชาสมั พันธ์ภายในองค์กร เปน็ ดงั นี้

1. กจิ กรรมประจา
1.1 ส่อื บคุ คล การสนทนา พดู คยุ การตดิ ต่อ-สอบถาม โทรศัพท์ภายใน
1:2 สอ่ื สง่ิ พมิ พ์ แผน่ ทบั แผ่นปลิว จดหมายขา่ ว จดหมายเวยี น คูม่ ือ หนังสอื

เผยแพร่เลม่ เล็ก เอกสารแนะนาจดหมายข่าวรายวัน จดหมายข่าวรายสปั ดาห์ อนุสาร วารสาร
นติ ยสาร

1.3 สอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เสียงตามสาย อินเทอรเ์ น็ต
1:4 ส่ืออืน่ ๆ ป้ายประกาศภายใน ปา้ ยประกาศใหญภ่ ายนอก ตู้ประกาศ
ตูภ้ าพขา่ ว การบรกิ ารข้อมูลข่าวสาร สต๊ิกเกอร์ กล่องรบั ความคิดเห็น คาขวญั

2. กิจกรรมพิเศษ
2.1 สือ่ บคุ คล การบรรยาย การปาฐกถา การประชมุ การสัมมนา การอภปิ ราย

การฝกึ อบรม
2.2 ส่อื สง่ิ พิมพ์ สง่ิ พมิ พเ์ ฉพาะกจิ ต่าง ๆ (แผ่นพับ แผ่นปลวิ คมู่ ือ ฯลฯ)

จดหมาย
จดหมายเวียน ปฏิทนิ อนทุ นิ สมุดฉีก

2.3 สื่ออิเลก็ ทรอนกิ ส์ เสยี งตามสาย รายการวทิ ยกุ ระจายเสยี ง รายการ
วิทยโุ ทรทศั น์ อนิ เทอร์เนต็

17

2.4 สอื่ อน่ื ๆ เช่น ปา้ ยประกาศใหญ่ภายนอก ของทร่ี ะลกึ ของชาร่วย การจัด
ทัศนศกึ ษา การจดั แขง่ ขนั กีฬา การนาชมหนว่ ยงานทั้งในตา่ งประเทศ คาขวญั การประกวดต่าง ๆ
สังสรรค์ และการจัดเลี้ยง เป็นต้น

2.2.4 หลกั กำรส่อื สำรในองคก์ ร
ในทกุ องค์กรจะมกี ารสือ่ สารเปน็ 2 ลกั ษณะ คือ การสอื่ สารทเ่ี ป็นทางการ และ

การสอ่ื สารทไ่ี มเ่ ป็นทางการ โดยมหี ลกั การท่จี ะทาให้การส่ือสารทงั้ สองลกั ษณะนี้มีประสทิ ธภิ าพและ
เกดิ ประสทิ ธิผลสรปุ ได้ ดังนี้ (Chester l. Barnard. 19ว38 อา้ งองิ มาจาก นติ ยา เงินประเสริฐศรี
2544 :191 -193)

1. การส่ือสารท่เี ปน็ ทางการ (forma. communication)
1.1 ชอ่ งทางการส่อื สารควรประกาศใหร้ อู้ ย่างชัดเจนและแน่นอน
1.2 อานาจหน้าทป่ี รากฏอยใู่ นชอ่ งทางของการส่อื สารอยา่ งเป็นทางการ
1.3 เส้นทางของการสอื่ สาร (line of communication) ตอ้ งสัน้ และตรง

ประเด็น
1.4 ผู้ท่มี คี วามสามารถจะเป็นศนู ย์กลางของการสื่อสาร ซง่ึ ไดแ้ ก่

เจ้าหน้าที่ หัวหนา้ งาน
1.5 เม่ือองค์กรกาลังดาเนินการไม่ควรขดั ขวางเสน้ ทางของการสอ่ื สาร
1.6 ระบบการส่ือสารทุกระบบต้องเชอ่ื ถือได้

2. การสอื่ สารทไี่ มเ่ ปน็ ทางการ (informal communication)
2:1 ตอบสนองความตอ้ งการและความรสู้ กึ ของปจั เจกบุคลในเรื่องของการ

รวมตัวกันเปน็ อนั หนงึ่ อนั เดียวกนั การเคารพตนเอง และการตัดสินใจเลือกทเี่ ป็นอสิ ระ
2.2 กอ่ ให้เกดิ ความสามัคคีภายในองคก์ ร

การใชก้ ลยทุ ธก์ ารส่อื สารในองค์กรเพื่อใหป้ ระสบผลสาเรจ็ ในการดาเนนิ งานนน้ั
ผบู้ รหิ ารจะตอ้ งใชก้ ารส่ือสารทง้ั ทเ่ี ป็นทางการและไมเ่ ป็นทางการ โดยเลอื กใชใ้ หเ้ หมาะสมกับ
สถานการณส์ อดคลอ้ งกับส่งิ ท่ีจะส่ือสารและบุคคลทจี่ ะสอื่ สาร เพอ่ื ให้บรรลเุ ป้าหมายของการสอ่ื สาร
ตามท่ีตอ้ งการได้อยา่ งแทจ้ รงิ

2:2.5 วัตถุประสงค์ของกำรสอ่ื สำรและประชำสัมพนั ธภ์ ำยในองค์กร
วเิ ชยี ร วทิ ยอดุ ม (2554) กลา่ วว่า การสอื่ สารและประชาสมั พนั ธภ์ ายในองค์กร

เป็นการกระจายขา่ วสาร สรา้ งความเขา้ ใจทีจ่ าเป็นสาหรบั การปฏิบตั งิ าน เพ่ือความสัมพันธ์อนั ดใี น
องค์กร เอ้ืออานวยใหก้ ารบรกิ ารและการดาเนินงานเป็นไปดว้ ยความราบรืน่ คลอ่ งตวั และมี
ประสทิ ธิภาพ ซง่ึ มเี ป้าหมาย ดงั นี้

1. เพอื่ แจง้ ข้อมลู ขา่ วสาร ให้ผปู้ ฏิบตั ิงานได้ทราบถึงจดุ มงุ่ หมายของการทางาน
ในองค์กร รายละเอยี ดของซอ้ มลู ขา่ วสารต่าง ๆ ทจี่ าเปน็ ในการปฏบิ ัตงิ าน และ การตัดสินใจของ
ผบู้ ริหารเกี่ยวกบั การตาเนินการตามแนวทางตา่ ง ๆ

2. เพื่อประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านของแต่ละบุคคล ช่วยใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั งิ านสามารถ
ดาเนนิ การไปในแนวทางทีส่ อดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงคข์ ององค์กร

18

3. เป็นการอานวยการและสอนงานผู้อนื่ เป็นกระบวนการทน่ี ักบรหิ ารนามาใช้

ในการปฏบิ ัตงิ าน ใหก้ ารดาเนินการไปตามวัตถปุ ระสงคข์ ององค์กรท่ตี ้ังไว้ ซ่ึงตอ้ งใช้การติดต่อส่ือสาร

เข้าช่วยเชน่ เดียวกับการฝกึ งานและการมอบอานาจหน้าที่

4. เปน็ การใช้อิทธพิ ลเหนือผูอ้ ื่น โดยใชเ้ ปน็ เครอื่ งมอื ในการจูงใจหรือใชอ้ านาจ

เหนือผู้อ่ืนใหเ้ กดิ การยอมรบั กระตุ้นการปฏิบัตงิ าน

5, เปน็ ผลทางอ้อมต่อองค์กร การติดต่อสือ่ สารในองคก์ รโดยทวั่ ไปไม่จาเปน็ ต้อง

มคี วามเกีย่ วข้องกบั การทาใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงคข์ ององศ์กรโดยตรง แต่จะมผี ลทางออ้ มตอ่

วัตถปุ ระสงค์ขององคก์ ร ซง่ึ ให้ผลโดยตรงต่อการตอบสนองความต้องการส่วนบุคคล

ณฏั พันธ์ เขจรนันท์ (2551) ได้แบ่งวตั ถปุ ระสงคข์ องการตดิ ต่อส่ือสารออกเปน็
4 ประการ ดังน้ี

1. เพือ่ เป็นการแจง้ ข้อมูลข่าวสาร เปน็ การส่อื สารเพอื่ อธิบาย รายงาน หรอื บอก
กลา่ วข่าวสารตา่ ง ๆให้บคุ คลอ่นื ได้รับทราบและเขา้ ใจความเป็นจริงทเ่ี กดิ ขน้ึ

2. เพ่อื สร้างความเชอ่ื ถอื เปน็ การสอื่ สารท่ตี อ้ งการไห้ผรู้ บั สาร ซง่ึ อาจไมเ่ คยมี

ความคิดเหน็ หรอื เช่อื ในสง่ิ ทผ่ี ู้สง่ สารต้องการจะบอก หรอื มคี วามคดิ เหน็ ในทางตรงขา้ ม เพือ่ ใหผ้ รู้ ับ
สารเช่ือถือและปฏบิ ัตติ าม

3. เพอื่ ตอกย้าความเชอื่ ถือ เปน็ การเนน้ ย้าใหผ้ รู้ บั สารมคี วามมน่ั ใจ เชือ่ ถือ

และปฏบิ ตั ิตามอย่างต่อเนื่อง
4. เพอ่ื ใหป้ ฏบิ ัติตาม อาจทาไดโ้ ดยการออกคาสง่ั อธบิ าย หรือรายงานความจรงิ

2.3 กำรสือ่ สำรภำยในองค์กรที่มีประสิทธิภำพ

การสือ่ สารเปน็ กลยทุ ธ์หรือกระบวนการหรือเคร่ืองมอื ทจี่ ะนาไปสคู่ วามเขา้ ใจในการ
ตดิ ตอ่ และการทางานรว่ มกนั ของบุคคลในองคก์ รเพ่อื บรรลเุ ป้าหมาย แตห่ ากไม่เรียนรแู้ ละเขา้ ใจความ
ต้องการของตนเอง ไมเ่ ขา้ ใจผู้อน่ื แลว้ ไม่ว่าจะมกี ระบวนการส่อื สารท่ีดีและมอี ุปกรณส์ อื่ สารทที่ นั สมัย

เพยี งใดก็ไรค้ ณุ ค่า (วิโรจน์ โสวณั นะ. 2545 :95) นอกจากนกี้ ารสือ่ สารจาเป็นจะตอ้ งเข้าใจถงึ ความ
แตกตา่ งระหว่างบคุ คล เม่อื บุคลมีความแตกตา่ งกันการสอ่ื สารท่ตี ีจะตอ้ งใช้ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ท่ดี ี
ควบคกู่ นั ไปด้วยจึงจะทาใหก้ ารส่ือสารนนั้ ประสบผลสาเร็จ

การสอ่ื สารท่ีเกิดข้ึนในองคก์ รจะมปี ระสทิ ธิภาพได้นน้ั จะประกอบด้วยปจั จัยหลาย
อยา่ ง แตท่ ่สี าคญั คอื เรื่องของคุณธรรม ทัง้ ผบู้ งั คับบญั ชาผู้ใตบ้ งั คบั บัญชาและผรู้ ่วมงานตา่ งจะต้องมี
คุณธรรมประจาใจอนั ได้แกก่ ารแสดงความจรงิ ทงั้ การพูดและการเขียน แตไ่ ม่จาเป็นตอ้ งแสดงออกมา

ท้งั หมดเหมอื นทีค่ ิดแสดงออกมาเทา่ ทจ่ี าเป็นและคดิ ว่าเหมาะสมเช่นการใหค้ าปรึกษาการเสนอแนะ
การตกั เตอื นความมีน้าใจ

2.3.1 ประสทิ ธิภาพในการสอื่ สารขึ้นอยกู่ ับปัจจัยหลายประการไดแ้ ก่

1.ระดบั ความรู้ (Knowledge) ผู้ส่งสารและผู้รบั สาร ทีม่ ีความรใู้ กลเ้ คยี งกนั
ในเรือ่ งท่ีต้องการจะสอื่ สารอาจงา่ ยตอ่ การทาความเขา้ ใจกนั

2 ทัศนคติ (Attitude) การที่ต่างฝา่ ยต่างมที ศั นคติตอ่ การสง่ และการรบั

19

ย่อมมีโอกาสพจิ ารณาตามความเป็นจรงิ ได้ดกี วา่ การมีทศั นคติเชงิ ลบต่อกันซงึ่ อาจนาไปสู่การตัดสนิ ใจ

ด้วยอารมณท์ ี่ไม่เหมาะสม

3 ระดับสงั คมและวัฒนธรรม (Social Cutural System) ผสู้ ่งสารและผรู้ ับ

สารทเ่ี ข้าใจระบบสงั คมวฒั นธรรมของผทู้ ี่มาตดิ ต่อกัน จะสามารถเลอื กวิธกี ารจัดเนอ้ื หาสาระรูปแบบ

ทีต่ ดิ ต่อใหส้ อดคลอ้ งเหมาะสม กบั บคุ คลเปา้ หมายสาหรบั การติดตอ่ ส่ือสาร

2.3.2 กรมประชาสมั พันธ์ (2557) สรปุ ว่า การสอ่ื สารท่เี กดิ ขึ้นในองค์กรจะมี

ประสทิ ธภิ าพไดน้ ั้น ขน้ึ อยู่กับปจั จัยหลายประการ ไดแ้ ก่

1. ระดบั ความรู้ (Knowledge) ผู้สง่ สารและผรู้ ับสารทมี่ คี วามรใู้ กลเ้ คยี ง

กันในเร่ืองทตี่ ้องการจะสอ่ื สาร อาจง่ายต่อการทาความเขา้ ใจกนั

2. ทัศนคติ (Attitude) การที่ตา่ งฝ่ายต่างมีทศั นคตทิ ่ีดตี ่อการสง่ และการ

รบั ยอ่ มมโี อกาสพจิ ารณาตามความเปน็ จรงิ ได้ดีกว่าการมีทัศนคตเิ ชิงลบตอ่ กัน ซึ่งอาจนาไปสกู่ าร

ตัดสินใจด้วยอารมณ์ทีไ่ มเ่ หมาะสม

3. ระดับสังคมและวฒั นธรรม (Social Cuttural System) ผสู้ ง่ สารและ

ผู้รบั สารที่เข้าใจระบบสังคม วฒั นธรรมของผทู้ ่ีมาติดตอ่ กนั จะสามารถเลอื กวธิ ี การจัดเนอ้ื หา สาระ

รปู แบบที่ติดตอ่ ให้สอดคลอ้ งเหมาะสมได้ ภาษาท่ีใชใ้ นการส่ือสาร ควรเลอื กใหเ้ หมาะกบั บุคลากร

เป้าหมายของการติดต่อสอื่ สาร

2.3.3 วรัท พฤกษากลุ พนั ท์ (2558) กลา่ วว่า การติดต่อสอ่ื สารพมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพอนั

เป็นเป้าหมายของการสอ่ื สารนั้น มีองคป์ ระกอบอันเปน็ ปจั จยั สาคัญ ทเี่ กีย่ วข้องสรุปไดด้ ังนี้

1.ทักษะการตดิ ต่อสอื่ สาร (Communication skill) ของทง้ั ผู้สง่ สารและ

ผู้รบั สาร หมายถงึ ความรู้ความสามารถและความชานาญในการพูด การเขยี น การฟงั และการ

ตคี วามหมาย การเข้ารหสั (Encode) หรอื การถอดรหัส (Dec๐de) ของทง้ั ผสู้ ง่ สารและผรู้ บั สาร ย่ิงมี

ความรู้ความสามารถมาก ก็ยิง่ ทาใหก้ ารตดิ ต่อสอ่ื สารไดผ้ ลดยี ง่ิ ขน้ึ ใช้เวลานอ้ ย ทาให้เขา้ ใจง่ายและ

เกิดการเรียนรู้ได้เร็วข้ึน ในทางตรงกันข้ามถา้ ผสู้ ง่ สารและผรู้ ับสารขาดทกั ษะหรอื ความชานาญในการ

ติดต่อสอ่ื สาร ก็ยอ่ มจะทาให้การรบั ข่าวสารไมก่ ระจา่ งชดั และไม่เกดิ ประสทิ ธิภาพในการสอ่ื สารนั้น ๆ

ได้

2.ทศั นคติ (Attitude) เปน็ สง่ิ สาคัญประการหน่ึงที่มผี ลตอ่ การติดตอ่ ส่ือสาร

ทง้ั ทัศนคตขิ องผู้สง่ สารและผรู้ ับสารเอง ซ่งึ จะต้องมีความเชือ่ ม่ันในตัวเอง และความมั่นใจในเนอื้ หา

และวธิ ีการทจี่ ะถ่ายทอด

3. ความรู้ (Knowledge) การติดต่อสอ่ื สารจะเปน็ ผลดขี ้นึ อยกู่ ับความรู้

ของผสู้ ง่ สารด้วย ถา้ ผู้สง่ สารมีควานรู้ความเขา้ ใจในเนอื้ หาที่ถ่ายทอดไปยงั ผู้รบั สารไดอ้ ย่างมี

ประสิทธิภาพมากกว่าผูท้ ไ่ี ม่มัน่ ใจในเนื้อหาความรูน้ น้ั ทง้ั นคี้ วามรู้ความเขา้ ใจในเนอ้ื หายง่ิ มรี ะดบั สู

เทา่ ไหร่ กจ็ ะมีผลทาใหก้ ารถ่ายทอดขา่ วสารไดม้ ากขึ้น

4.ลกั ษณะของสาร การตดิ ตอ่ สอื่ สารจะมปี ระสิทธภิ าพเทียงใดข้ึนอยู่กบั

ลักษณะของสารที่ อันเป็นปัจจัยในการติดตอ่ ส่อื สาร ดงั นี้

- เนอ้ื หาหรอื ขา่ วสารตอ้ งเป็นทสี่ นใจของผรู้ บั สาร

20

- ข่าวสารควรใชส้ ญั ลักษณห์ รอื เคร่ืองหมายทเ่ี กีย่ วข้องกบั ประสบการณ์ร่วม
ของผรู้ ับสาร ให้เข้าใจงา่ ย หรือเกดิ การเรยี นรู้ ภาษา ภาพหรือความคดิ รวบยอดต่างๆ ทเ่ี สนอตอ้ ง
เข้าใจง่าย ไมส่ ลบั ซับซอ้ นเกนิ กวา่ ระดบั ความสามารถของผรู้ บั สาร

- ขา่ วสารตอ้ งเรา้ ความตอ้ งการ (Need) ของผู้รบั และต้องมีการแนะแนวทาง
ในการสนองความต้องการน้ันๆได้ ต้องมกี ารสรา้ งสภาวะทกี่ ่อใหเ้ กดิ ความดึงดดู ความสนใจของผู้รบั
(Attention) โดยจะต้องมีวิธกี ารทจ่ี ะกระต้นุ หรือจงู ใจใหผ้ ู้รบั ตืน่ ตัวอยเู่ สมอ มีความพร้อมทจี่ ะรบั

5.การตดิ ตอ่ สือ่ สารเรอ่ื งใดเรอื่ งหนง่ึ ทจี่ ะไดผ้ ลดี ควรมกี ารกระทา
แบบตอ่ เนอ่ื งมีความสม่าเสมอ

6. การตดิ ต่อส่ือสารจะมีประสทิ ธภิ าพเม่ือเลอื กใชช้ ่องทางหรอื สอื่ ท่มี ี
ประสทิ ธภิ าพเหมาะสมกบั ผรู้ บั สาร การเลอื กและการใชเ้ ลอื กจะต้องมรี ะบบ จงึ จะทาใหก้ าร
ตดิ ตอ่ สอื่ สารได้ผลดี

7. ควรสรา้ งบรรยากาศทเ่ี หมาะสมในการติดตอ่ สื่อสาร เช่น บรรยากาศ
แบบเปน็ กันเอง มคี วามอบอุ่น และอสิ ระเปน็ ต้น

8. ผู้ถ่ายทอดข่าวสาร ควรจะตอ้ งรจู้ กั ใช้วธิ ีการแกป้ ญั หา อุปสรรคของการ
สื่อสารตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ เช่นการแกป้ ัญหาอุปสรรคเกีย่ วกบั ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล
ทางกายภาพ เช่น ปัญหาการไดย้ ิน สายตา การมองเห็นได้ไม่ชดั การรบั รกู้ ารตอบสนองตอ่ ส่ิงเร้า รวม
ท้งั .ควรแกไ้ ขปญั หาเทคนคิ การสอื่ สารในประเดน็ ย่อยๆ เช่น การขจัดปญั หาการพดู ที่ใชศ้ พั ทส์ งู เกนิ ไป
การใชศ้ ัพท์วิชาการสงู เกนิ ไป ปัญหาการอธบิ ายวกวนปญั หาการพูดเสยี งราบเรียบจนน่าเบอ่ื เป็นต้น

2.4 ระเบยี บกระทรวงศกึ ษำธกิ ำรวำ่ ด้วยกำรประชำสัมพนั ธแ์ ละกำรใหข้ ่ำวรำชกำร พ.ศ. 2548
การประชาสมั พันธ์และการให้ข่าวสารราชการ ไดถ้ ูกกาหนดไว้ ระเบยี บ

กระทรวงศึกษาธิการว่า ดว้ ยการประชาสัมพนั ธแ์ ละการให้ขา่ วสาร พ.ศ. 2548 (ระเบยี บ
กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2548, หนา้ 1-2) ไดใ้ หค้ วามหมายไวด้ งั นี้

"การประชาสมั พนั ธ"์ หมายถงึ การติดต่อ การสอื่ สาร การตดิ ตาม การสอบถาม การรบั
ฟงั การประสานงาน การใหส้ มั ภาษณ์ การชแ้ี จง การแถลง การเผยแพร่ การโฆษณา และวิธกี ารอื่น
ใดในลกั ษณะเดยี วกัน เกย่ี วกับข่าวสารตามอานาจหนา้ ทขี่ องกระทรวงศกึ ษาธิการ

"ขา่ วราชการ" หมายความวา่ ข่าวเก่ียวกบั นโยบาย แผนการปฏิบตั ิงาน และผลงานของ
ส่วนราชการหรอื หนว่ ยงานในสงั กดั

"การใหข้ า่ วราชการ" หมายความวา่ การเผยแพร่ข่าวราชการ และให้หมายความรวมถึง
การใหส้ ัมภาษณท์ ่จี ัดทาโดยผ่านสอื่ มวลชนดว้ ย

"สว่ นราชการ" หมายความวา่ ส่วนราชการในสังกดั กระทรวงศึกษาธิการ และให้
หมายความรวมถงึ หน่วยงานกากบั ของกระทรวงศึกษาธกิ ารด้วย ยกเว้นสถานศกึ ษาของรัฐท่ีจดั
การศึกษาระดบั ปริญญาทีเ่ ป็นนติ ิบุคคลในสายบงั คบั บญั ชาของสานกั งานคณะกรรมการการ
อุดมศึกษา

21

"หัวหนา้ ส่วนราชการ" หมายความวา่ ปลดั กระทรวง เลขาธกิ าร อธบิ ดีหรือตาแหนง่ ท่ี
เรียกช่ืออย่างอื่นทมี่ ฐี านะเปน็ อธิบดี ซงึ่ เป็นผบู้ งั คบั บัญชาของสว่ นราชการทีไ่ มม่ ฐี านะเป็นกรม และให้
ความหมายถงึ หัวหน้าหน่วยงานในกากบั ของกระทรวงศกึ ษาธิการดว้ ย

ในการประชาสมั พนั ธ์ หรือการให้ข่าวราชการเกี่ยวกบั นโยบายและการปฏิบตั งิ าน
ประจาของกระหรรงศึกษาธิการ ให้รัฐมนตรเี ป็นผู้ประชาสมั พันธ์ หรอื ใหข้ ้าราชการ และ การประชา
สันพนั ธ์ หรอื การใหข้ ่าวราชการเกีย่ วกับนโยบายและการปฏิบตั ิงานประจาของส่วนราชการ ให้หัวหน้า
ส่วนราชการหรือหัวหนา้ หนว่ ยงานในกากบั ของกระทรวงศึกษาธกิ ารเป็นผู้ประชาสมั พนั ธ์ หรือใหข้ า่ ว
ราชการ

2.5 พระรำชบญั ญตั ิข้อมูลข่ำวสำร พ.ศ. 2550
พระราชบัญญตั ขิ ้อมลู ข่าวสาร พ.ศ. 2550 ได้ให้ความหมายของขอ้ มลู ขา่ วสารของ

ราชการ
"ข้อมลู ขา่ วสาร" หมายความวา่ สิง่ ทส่ี ือ่ ความหมายใหร้ เู้ รอ่ื งราวข้อเท็จจรงิ ข้อมลู

หรอื สิง่ ใดๆ ไม่ว่าการสอื่ ความหมายนน้ั จะทาไดโ้ ดยสภาพของสง่ิ นน้ั เองหรอื โดผ่านวิธกี ารใดๆ และไม่
ว่าจะไดจ้ ดั ทาไว้ในรปู ของเอกสาร แฟม้ รายงาน หนงั สอื แผนผงั แผนที่ ภาพวาด ภาพถา่ ย ฟลิ ม์ การ
บันทึกภาพหรือเสียง การบันทกึ โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ หรอื วธิ อี ่ืนใดที่ทาให้สง่ิ ท่บี นั ทึกไว้ปรากฎได้

"ข้อมลู ขา่ วสารของราชการ" หมายความว่า ข้อมลู ข่าวสารทอ่ี ยใู่ นความครอบครอง
หรอื ควบคุมดูแลของหนว่ ยงานของรฐั ไมว่ ่าจะเป็นขอ้ มลู ข่าวสารเกย่ี วกบั การดาเนินงานของรัฐหรอื
ข้อมูลข่าวสารเก่ียวกบั เอกชน

"หน่วยงานของรฐั " หมายความว่า ราชการสว่ นกลาง ราชการส่วนภมู ิภาค ราชการ
สว่ นทอ้ งถิ่น รัฐวิสาหกจิ สว่ นราชการสังกัดรฐั สภา ศาลเฉพาะในสว่ นทไี่ ม่เกย่ี วกับการพิจารณา
พิพากษาคดี องค์กรควบคมุ การประกอบวิชาชพี หน่วยงานอสิ ระของรัฐและหน่วยงานอืน่ ตามที่
กาหนดในกฎกระทรวง

"เจา้ หน้าที่ของรฐั " หมายความวา่ ผ้ซู ่ึงปฎบิ ัติงานใหแ้ กห่ นว่ ยงานของรัฐ
“จดั ศูนย์ข้อมลู ขา่ วสารตามกฎหมายขอ้ มลู ข่าวสารของราชการ” ให้มขี อ้ มลู ขา่ วสาร
ของราชการอยา่ งนอ้ ยตามทก่ี ฎหมายกาหนด เพอ่ื ให้ประชาชนเขา้ ตรวจดไู ด้ ในมาตรา 9 แห่ง
พระราชบญั ญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารที่
คณะกรรมการขอ้ มลู ข่าวสารของราชการกาหนด (ประกาศคณะกรรมการข้อมลู ข่าวสารของราชการ
ลงวันท่ี 24 กมุ ภาพนั ธ์ 2541 เรือ่ งหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการเกี่ยวกบั การจัดให้มขี ้อมลู ข่าวสารของ
ราชการไวใ้ ห้ประชาชนเขา้ ตรวจดู) ได้แก่ ต้องจัดใหม้ ีสถานทหี่ รือศูนยข์ อ้ มลู ขา่ วสารและข้อมูล
ขา่ วสารไว้ใหป้ ระชาชนเขา้ ตรวจดูได้โดยสะดวก ตอ้ งจดั ทาดัชนหี รือรายการขอ้ มูลข่าวสารทม่ี ี
รายละเอียดเพียงพอสาหรับประชาชนสามารถคันหาขอ้ มลู ขา่ วสารได้ด้วยตนเอง ฯลฯ

2.6 งำนวจิ ยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง
กัลยาพชั ร ชาคร (2557) ไดศ้ ึกษาการเพ่มิ ประสิทธภิ าพการสื่อสารภายในองคก์ รของ

สานกั ราชเลขาธกิ าร ศกึ ษากรณีชอ่ งทางการสือ่ สาร พบว่า ซอ่ งทางการส่ือสารท่กี ลมุ่ ตัวอยา่ งรบั รู้

22

ข้อมูลไดร้ วดเร็วทสี่ ุด3 อันดบั แรก คือ โทรศพั ท์ สื่อสังคมออนไลน์ และ e mail สาหรบั ความพึง
พอใจต่อซอ่ งทางการสอื่ สารนน้ั กลบั พบว่ากลมุ่ ตวั อยา่ งพอใจส่อื สงั คมออนไลน์มาเปน็ อนั ดบั แรก
โทรศพั ทแ์ ละ e=mail เปน็ อนั ดบั รองลงมา ตันผลารวเิ คราะห์ขอ้ มลู ดา้ นคดิ เหน็ ที่มีต่อการส่ือสาร
ภายในสานักราชเลขาธิการ พบวา่ ในแตล่ ะชว่ งอายุ(Generation) มีมมุ มองทแี่ ตกตา่ งกนั กล่าวคือ
กลุ่มชว่ งอาย5ุ 0 ปีข้ึนไป เน้นการติดตอ่ สื่อสารด้วยวาจาและเห็นว่าสอ่ื แบบดง้ั เดิม เซน่ โทรศพั ท์
โทรสาร การประชุม หรอื เอกสารลายลักษณอ์ กั ษร เป็นช่องทางทเี่ หมาะสม ในขณะท่ีกลมุ่ อายุ 31 -
50 ปี สามารถปรับตวั เขา้ กับช่องทางการสอื่ สารได้หลากหลาย ทงั้ ส่อื ดง้ั เดมิ และสอื่ ใหม่ ไม่วา่ จะเป็น
Intranet e-mail หรือสื่อสงั คมออนไลน์ สาหรับกลมุ่ ช่วงอายุทนี่ อ้ ยกวา่ 31 ปี มีความชน่ื ชอบ
และมีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีใหม่ ๆ และมองวา่ เป็นช่องทางท่ตี นเองพอใจมากทส่ี ดุ

ซึง่ ผู้วจิ ยั มขี อ้ เสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อมุ่งไปสผู่ ลสัมฤทธขิ์ องการสื่อสาร และเพ่ือให้
องค์กรสามารถปรบั ตวั ได้ทันกับการเปล่ียนแปลง ประกอบดว้ ย แนวทางการสื่อสารกบั คนต่างรนุ่ ใน
องค์กรการพฒั นาขดี ความสามารถของบคุ ลากร และการพัฒนาระบบการสือ่ สารองค์กรแบบบูรณา
การ เน้นการส่ือสารแบบสองทางควบคู่ไปกบั การจดั ระบบส่ือสารองคก์ รแบบเครือข่าย รวมถงึ นา
เทคนิคการบรหิ ารองค์กรแบบ Management by walking around - MBWA เพ่อื ลดชอ่ งวา่ งการ
สือ่ สารระหว่างผู้บรหิ ารและผปู้ ฏบิ ัติงาน ตลอดจนการพฒั นาบคุ ลากรใหม้ ที ักษะของการเปน็ ผู้สอ่ื สาร
ทีด่ ี

กัญญารัตน์ อินทรเ์ มือง(2554) ศึกษาประสทิ ธิภาพการสื่อสารในองค์กรกบั ความสาเรจ็
ในการดาเนินงานของมหาวิทยาลัยนเรศวร พบว่า บุคลากรของมหาวทิ ยาลัยนเรศวร มคี วามพงึ พอใจ
ตอ่ ชอ่ งทางการสอ่ื สารภายในองคก์ ร แบบการพดู มากทสี่ ดุ รองลงมาคอื แบบการเขยี น ภาพ และ
เสียงตามสาย สาหรบั เนอ้ื หาข่าวสารน้ัน มีความสนใจข่าวสารประเภทสทิ ธแิ ละสวัสดกิ ารของ
บุคลากรมากท่ีสดุ รองลงมาคือ นโยบายของมหาวิทยาลัย ระเบยี บ ขอ้ บังคับ วิธีปฏิบตั ิต่าง ๆ และ
กจิ กรรมต่าง ๆ ของมหาวิทยาลยั ในสว่ นของความคาดหวงั ต่อการสรา้ งบรรยากาศการส่อื สารภายใน
องคก์ รและความพึงพอใจการสอื่ สารภายในองค์กร พบวา่ บคุ ลากรมีความเห็นว่าประสทิ ธภิ าพการ
สอื่ สารภายในองคก์ รจะเกดิ ขึน้ ได้ องค์กรควรกาหนดเป็นนโยบาย ประกอบด้วย นโยบายด้านการ
เผยแพรข่ า่ วสารภายในองค์กร จัดใหม้ ีสอื่ ในการติดต่อทมี่ ีคณุ ภาพ จดั ให้มีชอ่ งทางการสื่อสารทม่ี ี
ประสิทธิภาพ และองค์กรตอ้ งให้ข้อมลู ทที่ ว่ั ถึงและเพยี งพอแก่บคุ ลากรทกุ คนในองคก์ ร

ชนิดา อินสมบตั ิ (2557) ศึกษาความคาดหวังและความพึงพอใจของพนกั งานทมี่ ตี ่อสอ่ื
ประชาสมั พนั ธภ์ ายในองคก์ ร กรณีศกึ ษา บริษัทไทยซมั มทิ ฮาเนส จากัด (มหาชน) และบรษิ ทั ในเครือ
พบวา่ พนักงานบรษิ ทั ไทยชัมมทิ ฮาเนส จากัด (มหาชน) มีพฤตกิ รรมการเปิดรับข้อมลู ขา่ วสารผา่ นสื่อ
ประชาสมั พันธป์ ระเภทสือ่ เสยี งตามสายมากทสี่ ดุ เนอื่ งจากเป็นการเปิดรับขอ้ มลู ข่าวสารตามความ
เคยชนิ และมีความสะดวก และเหน็ วา่ สามารถแจ้งขอ้ มูลขา่ วสารได้ราดเร็วและทว่ั ถงึ รองลงมาคือสือ่
ประเภทอินทราเน็ต (e - mail) ส่อื ปา้ ยประชาสัมพนั ธ์ และสือ่ บุคคล โดยมีความพึงพอใจต่อส่อื
ประชาสมั พันธ์ประเภทที่สามารถดึงดูดความสนใจมากที่สุด และมคี วามคาดหวังตอ่ เนอื้ หา
ของขา่ วสารทปี่ ระชาสมั พนั ธ์คือ ข่าวสารดา้ นสทิ ธิประโยชนแ์ ละสวสั ดิการของพนกั งาน กิจกรรม
ของบรษิ ทั และเหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ

23

สาวติ รี ลาดวน (2553) ศกึ ษาความพึงพอใจในสื่อประขาสัมพันธภ์ ายในองค์กร
กรณศี กึ ษา การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จงั หวดั นครสวรรค์ พบวา่ ในภาพรวมพนักงานการไฟฟา้ มคี วามพึง
พอใจในสอ่ื ประชาสมั พนั ธ์แตล่ ะประเภทไมแ่ ตกตา่ งกัน โดยส่วนใหญพ่ นกั งานฯ มีความพึงพอใจในส่ือ
ประเภท Intranet รองลงมาคือ กระดานขา่ ว วารสาร กฟภ. บอร์ดกจิ กรรม และเอกสารต่าง ๆ ที่
เกย่ี วขอ้ ง ในดา้ นความพงึ พอใจในปจั จัยอนื่ ๆ ด้านการประชาสมั พนั ธ์ ไดแ้ ก่ พนักงานมคี วามพงึ พอใจ
รูปแบบของสอ่ื ประชาสมั พนั ธ์ ได้แก่ สอ่ื สิ่งพมิ พ์ เสยี งตามสาย และส่ือ Intranet ด้านความ
หลากหลายของสอ่ื พนกั งานสว่ นใหญเ่ หน็ ว่าการไฟฟ้าสว่ นภูมภิ าค จังหวัดนครสวรรค์ มสี ื่อ
ประชาสมั พนั ธท์ หี่ ลากหลาย สามารถเขา้ ถงึ สื่อได้ตามความสนใจของแตล่ ะบคุ คล พนกั งานมคี วาม
สนใจในเนอ้ื หาขา่ วสารของส่ือประชาสมั พันธ์ เช่น ข้อมูลเกยี่ วกับฐานเงินเดือน การไดร้ บั สวัสดกิ าร
ต่าง ๆ ขอ้ มลู ทีส่ ามารถชว่ ยทาใหม้ ผี ลงานโดดเดน่ ในองคก์ ร และข่าวสารทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับหน้าทกี่ ารงาน
ของตนเอง

มนชนก ชัยแสนยากร และ ผศ.ดร.จติ ระพี ทรัพย์แสนดี (2558) ศกึ ษาเรื่องการเปิดรับ
ส่ือประชาสมั พันธภ์ ายในองคก์ รและความพึงพอใจต่อข้อมลู ขา่ วสารของบุคลากรคณะสาธารณสขุ
ศาสตร์มหาวทิ ยาลยั มหิดล พบว่า โดยส่วนใหญบ่ ุคลากรเปดิ รับส่ือในระดบั บุคคลมากทสี่ ดุ รองลงมา
คือสอ่ื สง่ิ พมิ พ์ ประเภทโปสเตอรป์ ระชาสมั พันธ์ และข่าวเฉพาะกิจ และส่อื อเิ ล็กทรอนิกส์ ได้แก่ อเี มล
ส่วนตัว บุคลากรในองคก์ รสนใจขา่ วสารประเภทกจิ กรรมทานบุ ารงุ ศลิ ปวฒั นธรรมและส่งิ แวดลอ้ ม
แต่จะไม่ค่อยสนใจขา่ วสารในประเด็นด้านความปลอดภัยเทา่ ที่ควร

24

บทที่ 3
วธิ ดี ำเนนิ กำรวิจัย
3.1 ระเบียบวิธีวิจยั
การศึกษาแนวทางพัฒนางานประขาสมั พันธ์ของสานักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัดพิษณุโลก
เปน็ การวจิ ัยเชงิ สารวจ แบ่งออกเป็น 2 ขนั้ ตอน โดยมีรายละเอยี ดของแต่ข้ันตอน ดังน้ี
3.2 ขั้นตอนกำรวจิ ยั
ข้ันตอนท่ี 1 การศึกษาความต้องการจาเป็นในการพัฒนางานประชาสัมพันธ์ของ
สานักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดพษิ ณุโลก แบ่งออกเป็น 3 ด้าน ไดแ้ ก่ 1) การเผยแพรข่ ้อมูลข่าวสาร
ของหน่วยงานต่อสาธารณชน 2) การสร้างเครือขา่ ยการประชาสัมพนั ธ์ และ 3) การบรกิ ารด้านข้อมลู
ข่าวสาร
ผูใ้ หข้ อ้ มลู
1. บคุ ลากรภายในสานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวดั พิษณโุ ลก จานวน .15.. คน
2. บุคลากรภายนอกสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดพิษณโุ ลก ไดแ้ ก่ ผู้รบั บริการ กรรมการ
การศึกษาจังหวัดพิษณุโลก ครูและบุคลากรทางการศึกษา และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง จานวน 10.
คน
เครอ่ื งมือที่ใช้ในกำรวิจยั
เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็น แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความ
ตอ้ งการจาเปน็ ในการพัฒนางานประชาสัมพันธ์ของสานักงานศึกษาธิการจังหวัดพิษณุโลก มีลกั ษณะ
เปน็ แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ แบ่งออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ 1) ดา้ นการ
เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานต่อสาธารณชน 2) ด้านการสร้างเครือข่ายการประชาสัมพันธ์
และ 3) ด้านการบรกิ ารดา้ นขอ้ มลู ขา่ วสาร

25

วิธีกำรรวบรวมข้อมลู
ผู้ศกึ ษาดาเนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ด้วยตนเอง ตามจานวนของกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
สถติ แิ ละกำรวเิ ครำะหข์ อ้ มูล/กำรแปลผล
ผู้ศึกษานาข้อมูลท่ีได้จากการตอบแบบสอบถามมาวิเคราะห์ข้อมูลการแจกแจงความถี่
(Frequency) คา่ เฉล่ยี (Mean) และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
ขัน้ ตอนท่ี 2 การนาเสนอแนวทางพัฒนางานประชาสัมพันธ์ของสานักงานศกึ ษาธิการ
จงั หวัดพษิ ณุโลก 3 ด้าน ได้แก่ 1) การเผยแพรข่ ้อมูลข่าวสารของหน่วยงานตอ่ สาธารณชน 2) การ
สร้างเครอื ข่ายการประชาสัมพันธ์ และ 3) การบรกิ ารดา้ นข้อมูลข่าวสาร
2.1 ร่างแนวทางการพฒั นางานประชาสมั พนั ธ์ของสานักงานศกึ ษาธิการจังหวัด
พษิ ณโุ ลก จากผลการศึกษาในขั้นตอนท่ี 1
2.2 ประเมนิ ร่างแนวทางการพฒั นางานประชาสัมพันธ์ของสานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั
พิษณุโลก โดยผทู้ รงคุณวฒุ ิ ศาสตราจารย์ ดร.พฤทธิ์ ศิรบิ รรณพิทกั ษ์ ดร.พรอญั ชลี พกุ ชาญคา้
ประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของร่างแนวทางการพฒั นางานประชาสมั พันธข์ อง
สานกั งานศึกษาธิการจงั หวดั พษิ ณโุ ลก เครอื่ งมือที่ใช้ คือ แบบสมั ภาษณแ์ บบมีโครงสร้าง มลี ักษณะ
เปน็ ขอ้ คาถามสอบถามความคิดเห็นเกย่ี วกบั แนวทางพฒั นางานประชาสัมพนั ธ์ของสานกั งาน
ศึกษาธิการจังหวัดพษิ ณโุ ลก โดยมีประเด็นคาถามประกอบด้วย 1) ด้านการเผยแพร่ข้อมลู ข่าวสาร
ของหน่วยงานตอ่ สาธารณชน 2) ดา้ นการสร้างเครือข่ายการประชาสมั พันธ์ และ 3) ดา้ นการบริการ
ดา้ นข้อมูลขา่ วสาร
ผู้ใหข้ ้อมูล
1. ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ จานวน 5 ท่าน ได้แก่ คณะกรรมการการศกึ ษาจังหวดั พิษณุโลก
ศกึ ษาธกิ ารจังหวดั พิษณโุ ลก ประธานสถานศกึ ษาเอกชนจงั หวดั พษิ ณโุ ลก
2. ผ้มู สี ่วนไดส้ ว่ นเสีย ไดแ้ ก่ ผู้รบั บริการ และเครอื ข่ายประชาสมั พันธ์ จานวน 4 ท่าน
สถติ ทิ ใี่ ช้วิเครำะหข์ อ้ มลู ได้แก่
ผู้วิจัยนาข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) มา
สรปุ เปน็ ประเด็น เพือ่ นามาใช้ในการร่างแนวทางพัฒนางานประชาสมั พันธ์ของสานักงานศึกษาธิการ
จังหวดั พิษณโุ ลก
2.3 นาเสนอแนวทางพัฒนางานประชาสมั พันธ์ของสานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั พิษณโุ ลก
ผู้ศึกษา ปรบั ปรุงแก้ไขร่างแนวทางพฒั นางานประชาสมั พันธ์ของสานักงานศกึ ษาธิการ
จงั หวัดพิษณุโลก ตามขอ้ เสนอแนะของผทู้ รงคุณวุฒิ และสรปุ เปน็ แนวทางพัฒนาพัฒนางาน
ประชาสมั พนั ธ์ของสานกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั พษิ ณุโลก

26

บทท่ี 4
ผลกำรศกึ ษำ

จากการศกึ ษาเอกสาร แนวคิด หนังสอื เอกสาร ข้อมลู จากเวบ็ ไซต์ และงานวจิ ัยทเ่ี กีย่ วข้อง
เกี่ยวกบั แนวทางพฒั นางานประชาสมั พันธ์ของสานกั งานศึกษาธิการจังหวัดพษิ ณโุ ลก ดังน้ี

4.1 ผลกำรศึกษำตำมวตั ถปุ ระสงค์ ข้อ 1
ผศู้ กึ ษาได้ศึกษา แนวทางพัฒนางานประชาสมั พนั ธข์ องสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัด

พษิ ณโุ ลก 2 ข้ันตอน ดังนี้
4.1.1 ขนั้ ตอนท่ี 1 ศกึ ษาค้นควา้ เอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กย่ี วขอ้ ง จากการศกึ ษาแนวคิด

หนังสือ เอกสาร ข้อมลู จากเว็บไซต์ และงานวิจยั ท่ีเกย่ี วข้อง กับแนวทางพัฒนางานประชาสมั พนั ธข์ อง
สานักงานศึกษาธิการจงั หวัดพษิ ณโุ ลก พบวา่ แนวทางพัฒนางานประชาสัมพันธข์ องสานกั งาน
ศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั พิษณุโลก มีดังน้ี

1. ด้ำนกำรเผยแพรข่ ้อมลู ข่ำวสำรของหน่วยงำนต่อสำธำรณชน จากการศกึ ษาแนวทาง
พัฒนางานประชาสมั พนั ธ์ของสานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดพษิ ณโุ ลก ใหป้ ระสบความสาเรจ็ ได้อยา่ งมี
ประสทิ ธิภาพนั้น ควรมีแนวทางดา้ นการเผยแพร่ข้อมลู ข่าวสารของหน่วยงานตอ่ สาธารณชน ดังน้ี

1) ประชาสมั พนั ธ์ข้อมลู ข่าวสารอยา่ งต่อเน่อื งใหก้ บั ผ้รู บั บรกิ าร
2) ประชาสมั พันธ์ในกจิ กรรมทเ่ี ป็นรูปธรรมหรอื ท่เี ปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษรท่ีชัดเจน
3) ประชาสมั พนั ธ์ใหก้ บั ผรู้ ับบรกิ ารในการรว่ มแสดงความคดิ เหน็ ต่อกจิ กรรมของ
สานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดพษิ ณุโลก
4) ประชาสมั พนั ธข์ อ้ มลู ขา่ วสารทเี่ ปน็ ขอ้ เทจ็ จริงท่ีมีความถูกต้องและชดั เจน
5) ดาเนนิ งานด้านการประชาสัมพันธข์ องสานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั พิษณโุ ลก
อย่างทว่ั ถงึ และตอ่ เน่ืองตลอดปี
6) ประชาสมั พันธข์ ้อมลู ขา่ วสารอยา่ งมสี าระ ตรงประเด็น และเข้าถึงทุก
กลุ่มเปา้ หมาย
7) ดาเนินกิจกรรมประชาสมั พันธต์ ามแผนปฏิบตั กิ ารประจาปี
8) ประชาสมั พนั ธข์ อ้ มลู ข่าวสารอย่างนา่ สนใจและสอดคลอ้ งกบั ความต้องการ
ของผรู้ ับบรกิ าร
9) ประชาสมั พนั ธข์ อ้ มลู ข่าวการผา่ นสอ่ื ในหลากหลายช่องทาง อาทิ แผน่ พับ
เว็บไซด์ เฟสบุ๊ค ไลน์ ปา้ ยนิเทศ ฯลฯ

2. ดำ้ นกำรสรำ้ งเครือข่ำยกำรประชำสัมพนั ธ์ แบ่งออกเปน็ 2 ด้าน ดังน้ี

27

2.1 ดา้ นการสรา้ งเครอื ขา่ ยประชาสมั พนั ธภ์ ายในองค์กร จากการศึกษา
แนวทางพัฒนางานประชาสมั พันธข์ องสานกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดพิษณุโลก ใหป้ ระสบควานสาเรจ็ ได้
อย่างมีประสิทธภิ าพนนั้ ควรมแี นวทางดา้ นการสรา้ งเครอื ข่ายประขาสมั พนั ธ์ภายในองค์กร ดังน้ี

1) สร้างเครอื ขา่ ยประชาสมั พันธภ์ ายในองค์กร เพ่อื ทาหนา้ ท่ีประสานการ
ทางานในการส่ือสารงานภายในองคก์ ร

2) เสริมสรา้ งเครือขา่ ยประสานงานการประชาสมั พนั ธภ์ ายในองคก์ รเพอ่ื
การรบั รู้ รบั ทราบขา่ วสารทถี่ ูกต้อง ชดั เจน และครบถว้ น

3) สร้างความเข้าใจ และความสมั พนั ธอ์ ันดรี ะหว่างบุคลากรในองคก์ รใน
การดาเนนิ งานเพือ่ การรับรู้ รบั ทราบภารกจิ และสามารถปฏบิ ตั งิ านใหเ้ ป็นไปในทิศทางเดยี วกัน

4) บริการขอ้ มลู ข่าวสารการดาเนินงานของสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัด
พิษณโุ ลกอย่างตอ่ เนอื่ งใหก้ บั บคุ ลากรของสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดพษิ ณโุ ลก เพื่อสามารถใหข้ ้อมลู
ขา่ วสารแก่ผรู้ บั บรกิ ารอยา่ งถูกตอ้ ง ชัดเจน ทันต่อเวลา

5) เผยแพร่ข้อมลู ขา่ วสารของภายในองคก์ รให้บคุ ลากรไดร้ บั ทราบอยา่ ง
ทว่ั ถงึ

2.2 ด้านการสรา้ งเครือข่ายประชาสมั พันธภ์ ายนอกองคก์ ร จากการศกึ ษา
แนวทางพฒั นางานประชาสมั พันธข์ องสานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั พิษณุโลก ใหป้ ระสบความสาเรจ็ ได้
อยา่ งมปี ระสิทธิภาพนน้ั ควรมีแนวทางด้านการสร้างเครอื ขา่ ยประชาสมั พนั ธ์ภายนอกองค์กร ดังน้ี

1) สรา้ งเครอื ขา่ ยประชาสมั พนั ธภ์ ายนอกองคก์ ร เพอื่ ทาหน้าท่ีประสาน
การทางานในการส่อื สารงานภายนอกองค์กร

2) จัดกิจกรรมการบรกิ ารและการเผยแพรข่ อ้ มลู ขา่ วสารภายนอกองค์กร
เพอื่ นาไปสู่การสรา้ งความรว่ มมอื ความช่วยเหลือในการเชอ่ื มโยงและแลกเปลยี่ นข้อมลู เพ่อื สร้าง
ชุมชนแห่งการเรยี นรู้

3) บริการข้อมลู ข่าวสารการดาเนินงานของสานักงานศึกษาธิการจังหวดั
พษิ ณโุ ลก อยา่ งต่อเนอื่ งใหก้ บั บคุ ลากรภายนอกองคก์ ร เพ่อื สามารถให้ข้อมลู ข่าวสารแกผ่ ูร้ บั บริการ
อยา่ งถกู ตอ้ ง ชัดเจน ทนั ต่อเวลา

4) จดั กจิ กรรมทเ่ี สรมิ สร้างความสมั พันธ์อันดีเครอื ข่ายภายนอกองค์กร
อย่างเป็นประจาและตอ่ เนอื่ ง

3. ดำ้ นกำรบรกิ ำรขอ้ มูลขำ่ วสำร จากการศึกษาแนวทางพฒั นางานประชาสมั พนั ธ์
ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดพิษณโุ ลก ให้ประสบความสาเรจ็ ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพนน้ั ควรมี
แนวทางดา้ นการบริการด้านขอ้ มูลขา่ วสารดังน้ี

1) วางแผนพฒั นาการบรกิ ารด้านข้อมลู ข่าวสารอยา่ งเปน็ ระบบแบบมีสว่ นร่วม
ระหวา่ งบุคลากรภายในและภายนอกองค์กร

28

2) พฒั นาระบบขอ้ มลู สารสนเทศเพอื่ การเผยแพร่และประชาสมั พันธ์ใหม้ ี
ประสิทธิภาพ

3) กาหนดให้มบี รกิ ารและเผยแพร่ข้อมลู ขา่ วสารด้วยวธิ ีการที่หลากหลาย
4) จัดระบบบริการจัดการสารสนเทศทีเ่ ออ้ื ตอ่ การสบื ค้นข้อมลู ขา่ วสาร
5) จดั บรกิ ารสืบค้นด้านข้อมลู สารสนเทศภายในองค์กรทมี่ ีประสทิ ธิภาพ
6) พฒั นาระบบงานประชาสัมพนั ธ์ ด้านการเผยแพรซ่ อ้ มลู ขา่ วสารของ
หนว่ ยงานตอ่ สาธารณชน
7) พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั พษิ ณุโลกผา่ น
ระบบอเิ ลคทรอนิกส์ทสี่ ามารถเชอื่ มโยงเพอื่ ให้บริการแก่ทุกกลุม่ เป้าหมาย
8) แตง่ ต้งั ผรู้ ับผดิ ชอบงานการบรกิ ารดา้ นขอ้ มลู ข่าวสารที่ชัดเจน
4.1.2 ขัน้ ตอนที่ 2 นาแนวทางพฒั นางานประชาสมั พันธข์ องสานกั งานศกึ ษาธิการ
จงั หวัดพิษณโุ ลก ที่ได้จากขึ้นตอนที่ 1 มาศกึ ษาเพ่มิ เตมิ โดยการสมั ภาษณผ์ ้ทู รงคณุ วฒุ ิและผู้มสี ว่ นได้
ส่วนเสยี

จากการศกึ ษาแนวคิดจากผทู้ รงคุณวุฒแิ ละผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสยี ที่เปน็ ผูใ้ ห้
ขอ้ มูลในการศึกษาคน้ คว้าสว่ นบุคคลในครั้งนี้ ผู้ศกึ ษาไดร้ วบรวมแนวคดิ ทเ่ี ปน็ ขอ้ เสนอในการพฒั นา
แนวทางในแต่ละประเด็นดงั กล่าว และจดั ทาเปน็ ข้อสรปุ และนาเสนอแนวทางพฒั นางาน
ประชาสมั พนั ธ์ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดพิษณุโลก ดงั น้ี

1. ด้ำนที่ 1 ด้ำนกำรเผยแพร่ข้อมลู ขำ่ วสำรของหน่วยงำนตอ่ สำธำรณชน พบ
ประเดน็ ทน่ี า่ สนใจทเี่ พมิ่ เตมิ จากผทู้ รงคุณวฒุ ิและผ้มู สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี วา่ ควรมกี ารดาเนินการ ดงั น้ี

1) จดั นิทรรศการ/กจิ กรรม/แสดงผลงานของสานักงานศกึ ษาธิการจังหวดั
พษิ ณโุ ลกต่อสาธารณชน เพ่ือการประชาสมั พนั ธข์ อ้ มลู ข่าวสารของสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั
พิษณุโลกตอ่ สาธารณชนใหเ้ ปน็ ทรี่ จู้ กั รบั รู้ รับทราบการดาเนนิ กิจกรรมของสานกั งานศึกษาธกิ าร
จังหวดั พษิ ณุโลก (ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ คนท่ี 1)

2) จดั ประชมุ /อบรม ระหว่างหนว่ ยงานเครอื ข่ายกบั สานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั
พิษณุโลก เพ่ือการเผยแพร่ข้อมลู ขา่ วสารเกยี่ วกับกจิ กรรมของสานักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั พิษณุโลก
(ผู้ทรงคุณวฒุ ิ คนท่ี 1)

3) ให้บริการข่าวสารผา่ นเว็บไซต์/จดหมายข่าว/หนงั สอื พมิ พ์/โทรทศั น์ เก่ยี วกบั
การจดั กจิ กรรมของสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดพิษณุโลกอย่างตอ่ เน่อื ง (ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ คนที่ 1)

4) สร้างการรบั รู้ ความเข้าใจ และการตดั สินใจใหเ้ กิดแกผ่ รู้ ับบริการ หนว่ ยงาน
เครือขา่ ยและกลมุ่ เป้าหมาย ผู้ทรงคณุ วุฒิ คนท่ี 2)

5) จัดใหม้ ีชอ่ งการสอ่ื สารแบบสองทาง (Two ways communication) เพื่อให้
เกิดการแลกเปลย่ี นแบบมชี วี ติ ชีวา เช่น เว็บบล็อกสาหรบั การพดู คยุ โตต้ อบ และมี Admin ที่ขยนั
Update ขอ้ มูลอยา่ งสมา่ เสมอ (ผทู้ รงคุณวุฒิ คนท่ี 3)

6) ผ้รู บั บริการ/สาธารณชน สามารถเขา้ ถงึ และใช้บริการ ตรวจสอบขอ้ มลู ข่าวสาร
ได้ทกุ เวลา(ผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสีย (หนว่ ยงานเครือข่าย)คนที่ 1

29

7) ผู้รบั บริการสามารถเข้าถงึ และรบั รู้ขา่ วสารขอ้ มลู ของสานกั งานศึกษาธิการ
จังหวัดพษิ ณโุ ลก หลากหลายชอ่ งทาง ทันสมยั อยเู่ สมอผา่ นเว็บไซต์ (ผู้มสี ว่ นไดส้ วนเสีย(ผเู้ รียน) คนที่
1)

2. ดำ้ นที่ 2 ด้ำนกำรสรำ้ งเครอื ข่ำยกำรประชำสมั พันธ์ พบประเด็นท่นี ่าสนใจท่ี
เพมิ่ เตมิ จาก
ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิและผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสียว่าควรมกี ารดาเนนิ การ ดังน้ี

2.1) ด้ำนกำรสรำ้ งเครอื ขำ่ ยประชำสมั พันธภ์ ำยในองค์กร
1) ควรนากระบวนการองคก์ รแหง่ การเรียนรู้ (Learning Organization)

มาใชส้ ร้าง
เครอื ขา่ ยประชาสมั พันธภ์ ายในองค์กร (ผูท้ รงคุณวุฒิ คนที่ 1)

2) สร้าง/จัดใหม้ ีการสร้างเครือขา่ ยการประชาสัมพนั ธ์ภายในองค์กรโดย
การนาระบบอนิ เทอรเ์ นต็ มาใชใ้ นการสอ่ื สารภายในองคก์ ร (ผูท้ รงคณุ วฒุ ิ คนท่ี 1)

3) จดั กจิ กรรมเสริมสร้างความสัมพนั ธร์ ะหว่างครูและบุคลากรทางการ
ศกึ ษาและเจา้ หนา้ ที่ของสานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดพิษณโุ ลก (ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ คนท่ี 1)

4) ควรนาหลกั กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management:
KM) เพือ่ เปน็ การพฒั นาบคุ ลากรทางการศึกษาของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดพษิ ณโุ ลก เกดิ การ
เรยี นรู้ รบั รู้ และการจดั การความรู้ใหเ้ กิดในสานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวดั พษิ ณุโลก (ผทู้ รงคุณวฒุ ิ คนที่
1)

5) การบริการและนาเสนอเผยแพร่ข้อมลู ข่าวสาร เพ่ือการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู และ
มีความโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ (ผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสีย (หนว่ ยงานเครอื ข่าย) คนที่ 1)

2.2) ดำ้ นกำรสรำ้ งเครือข่ำยกำรประชำสมั พนั ธ์ภำยนอกองค์กร
1) บริการขอ้ มลู ขา่ วสาร และการเข้าถงึ ขอ้ มลู ตรงตามความต้องการของ

ผรู้ บั บรกิ ารได้ตลอดเวลา เชน่ เวบ็ ไซต์ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั พษิ ณุโลก เฟสบคุ๊ ของ
สานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดพษิ ณโุ ลก (ผทู้ รงคณุ วุฒิ คนท่ี 1)

2) กาหนดรปู แบบการติดตอ่ และการใหบ้ รกิ ารผา่ นระบบอนิ เทอร์เนต็
สงั คมออนไลน์ (Social. Media) เพอื่ ใหผ้ รู้ บั บริการเขา้ ถงึ ขอ้ มูลขา่ วสารของสานักงานศึกษาธิการ
จงั หวัดพษิ ณุโลก อาทิ E-mail Application Website (ผูท้ รงคุณวฒุ ิ คนที่ 1)

3) ประชมุ /สมั มนา/อบรม ใหค้ วามรเู้ กี่ยวกบั การดาเนินกิจกรรมของ
สานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั พิษณโุ ลก รว่ มกบั หน่วยงานเครอื ขา่ ย (ผ้ทู รงคุณวุฒิ คนที่ 1)

4) สรา้ งเครอื ข่ายดาเนนิ การร่วมกบั องคก์ ารปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ (ผมู้ สี ่วน
ได้สว่ นเสยี (หน่วยงานเครอื ข่าย) คนท่ี 1)

5) จัดทาทะเบียนเครือขา่ ยภายนอกองคก์ ร เพ่ือเผยแพรข่ ่าวสารข้อมลู ของ
สานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดพิษณุโลก ใหม้ ีความเหมาะสมกบั กลมุ่ เปา้ หมายเพื่อใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพ
และประสทิ ธผิ ลในการประชาสัมพันธ์ (ผูม้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี (หนว่ ยงานเครอื ข่าย) คนที่ 1)

3. ด้ำนท่ี 3 ดำ้ นกำรบริกำรดำ้ นขอ้ มลู ขำ่ วสำร พบประเดน็ ที่นา่ สนใจทเ่ี พม่ิ เติม
จากผทู้ รงคณุ วุฒิและผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสียว่าควรมกี ารดาเนนิ การ ดังนี้

30

1) มกี ารส่อื สารภายในองคก์ รในลกั ษณะรูปแบบของเอกสาร แผน่ พบั จดหมาย
ข่าวให้แก่บคุ ลากรของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดพิษณโุ ลก (ผูท้ รงคุณวุฒิ คนที่ 1)

2) บริการจดั การข้อมลู ข่าวสารของสานกั งานศึกษาธิการจงั หวัดพษิ ณุโลก ให้มี
ความถูกต้อง ชดั เจน เหมาะสม และครบถ้วน (ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ คนที่ 1)

3) บรหิ ารจัดการผรู้ ับบรกิ าร หนว่ ยงานเครือขา่ ยและสาธารณชนเก่ยี วกับข้อมลู
ข่าวสารของสานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดพิษณุโลก เพอ่ื ให้ไดร้ ับรขู้ ่าวสารรวดเร็วถกู ตอ้ งครบถว้ น
(ผู้ทรงคุณวุฒิ คนท่ี 1)

4) บรหิ ารจัดการ การตดิ ตอ่ สอ่ื สารบคุ ลากรภายในองคก์ ร และมีการตดิ ตาม
ความก้าวหนา้ ของการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง (ผทู้ รงคุณวุฒิ คนที่ 1)

5) บริหารจัดการใหส้ านกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั พษิ ณโุ ลก มีการดาเนินงาน
ประสานงานโดยนาหลกั การจัดการองคค์ วามรู้ (Knowledge Management) (ผู้ทรงคณุ วุฒิ คนที่ 1)

6) บรหิ ารจดั การโดยนากระบวนการ "สงั คมแหง่ การเรียนร"ู้ (Social Network)
มาดาเนนิ การในการประสานงาน ติดต่อสอ่ื สารประชาสมั พนั ธ์ท้งั ภายในองค์กร ผรู้ ับบรกิ าร
หนว่ ยงานเครอื ขา่ ยและสาธารณชน เกยี่ วกับการจดั การศึกษาทางไกลของสถานศึกษา (ผูท้ รงคณุ วุฒิ
คนท่ี 1)

7) ติดตามและการประเมนิ ผลการประชาสัมพนั ธข์ องสานกั งานศึกษาธกิ าร
จังหวดั พิษณโุ ลก เพือ่ ให้ทราบถึงปัญหา อุปสรรค และแนวทางการแกไ้ ขเพ่ือการพฒั นาสานักงาน
ศึกษาธกิ ารจงั หวดั พิษณโุ ลกต่อไป (ผทู้ รงคุณวุฒิ คนที่ 1)

8) การบรหิ ารจัดการควรจะดาเนินงานทาอยา่ งเป็นระบบและตอ่ เน่ือง เพอื่ ใหไ้ ด้
ข้อมูลเพ่อื
การพฒั นาการประชาสมั พันธ์ของสานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดพิษณโุ ลก (ผู้ทรงคุณวฒุ ิ คนที่ 2)
9) มกี ารพัฒนาบคุ ลากรทรี่ ับผดิ ชอบดา้ นการประชาสัมพันธ์ของสานกั งาน
ศึกษาธกิ ารจังหวัดพษิ ณุโลกใหส้ อดคล้อง เหมาะสมกบั ภารกิจ บทบาทหน้าทขี่ องสานักงาน
ศกึ ษาธกิ ารจังหวดั พษิ ณุโลก อย่างเป็นระบบและตอ่ เนอื่ ง (ผ้ทู รงคณุ วุฒิ คนท่ี 2)
10) มีระบบสารสนเทศเพ่ือการจดั การ (Management information Systers;
MS) เพ่อื ใหบ้ รกิ ารสนบั สนุนการทางานภายในองค์กร ผูท้ รงคณุ วฒุ ิ คนท่ี 1)

ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ ในประเด็นแนวทำงพฒั นำงำนประขำสัมพนั ธ์ พบประเด็นท่ี
นำ่ สนใจทีเ่ พมิ่ เตมิ จำกผ้ทู รงคุณวุฒแิ ละผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสีย วำ่ ควรมกี ำรดำเนินกำร ดงั นี้

1) หารปู แบบการประชาสมั พนั ธท์ เ่ี ข้าถงึ กลมุ่ เป้าหมาย ควรทาอย่างต่อเนอื่ ง
(ผูท้ รงคณุ วฒุ ิ คนที่ 2)

2) เพม่ิ ความถี่ในการประขาสัมพันธ์ข้อมลู ข่าวสารของสานกั งานศึกษาธิการจงั หวัด
พิษณโุ ลกมากข้ึน และมีรปู แบบการประชาสัมพันธ์ทส่ี ามารถสะทอ้ นกจิ กรรมได้มากขึน้ (ผทู้ รงคุณวฒุ ิ
คนที่ 2

3) เพ่ิมช่องทางการประชาสมั พนั ธ์ ผ่านสื่อ และระบบออนไลน์ เพื่อเข้าถึง
ผู้รบั บรกิ ารได้อยา่ งรวดเร็วและทัว่ ถงึ (ผูม้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี คนที่ 1)

31

4) ประชาสมั พนั ธ์กจิ กรรมของสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั พษิ ณโุ ลก อยา่ งต่อเน่อื ง
และหลากหลายช่องทาง/รูปแบบทห่ี ลากหลาย (ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสีย (ผเู้ รียน) คนที่ 2)

4.2 ผลกำรศึกษำตำมวตั ถุประสงค์ ข้อ 2
จากการศกึ ษาแนวทางพัฒนางานประชาสัมพันธ์ของสานักงานศึกษาธิการจังหวัด

พิษณุโลก โดยการสรปุ ผลการสังเคราะหท์ งั้ สว่ นของการศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวจิ ยั ที่เกี่ยวขอ้ ง
และในส่วนของการเก็บข้อมูลโดยการสมั ภาษณ์ สรุปไดว้ ่า แนวทางพัฒนางานประชาสมั พันธ์ของ
สานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดพิษณโุ ลก ควรมกี ารดาเนนิ การ ดงั นี้

ด้ำนที่ 1 ด้ำนกำรเผยแพร่ข้อมูลข่ำวสำรของหน่วยงำนต่อสำธำรณชน
1) ประชาสมั พนั ธข์ ้อมลู ขา่ วสารทเี่ ปน็ ขอ้ เท็จจรงิ ทม่ี ีความถกู ต้องและเปน็

ลายลกั ษณ์อกั ษรชัดเจนอย่างทว่ั ถงึ และตอ่ เน่อื งเขา้ ถึงทกุ กลมุ่ เป้าหมาย.
2) ประชาสมั พนั ธใ์ หก้ บั ผรู้ ับบรกิ ารในการรว่ มแสดงความคดิ เห็นต่อ

กจิ กรรมของสานักงานศึกษาธิการจังหวดั พษิ ณโุ ลก
3) ดาเนนิ กจิ กรรมประชาสมั พนั ธ์ตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี
4) ประชาสมั พนั ธ์ข้อมลู ขา่ วสารผา่ นสอ่ื ในหลากหลายชอ่ งทาง อาทิ แผ่น

พับ เว็บไซต์ เฟสบ๊คุ ไลน์ ป้ายนเิ ทศ ฯลฯ
5) จัดนิทรรศการ กจิ กรรม/แสดงผลงานของสานักงานศกึ ษาธิการจงั หวัด

พิษณุโลกตอ่ สาธารณชนเพือ่ การประชาสมั พนั ธ์ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานตอ่ ผรู้ บั บรกิ าร หน่วยงาน
เครอื ข่ายและสาธารณชน ใหเ้ ป็นท่ีรจู้ ัก รบั รรู้ บั ทราบการจดั กจิ กรรมของสานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั
พษิ ณุโลก

ดำ้ นท่ี 2 ด้ำนกำรสร้ำงเครอื ขำ่ ยกำรประชำสัมพนั ธ์
2.1 ด้านการสรา้ งเครอื ข่ายประชาสัมพันธภ์ ายในองคก์ ร
1) สรา้ งเครือข่ายการประสานงานประชาสัมพันธภ์ ายในองคก์ ร เพอ่ื

ทาหน้าทปี่ ระสานการทางานในการสอ่ื สารงานภายในองศก์ ร และเพอื่ การรับรู้ รบั ทราบขา่ วสารท่ี
ถกู ต้อง ชัดเจนและครบถว้ น

2) สรา้ งความเข้าใจ และความสมั พนั ธ์อนั ดรี ะหว่างบุคลากรในองคก์ ร
เดยี วกนั การดาเงินงานเพอ่ื การรบั รู้ รบั ทราบภารกจิ และสามารถปฏบิ ตั งิ านให้เป็นไปในทศิ ทาง
เดียวกนั

3) บริการขอ้ มลู ขา่ วสารการดาเนนิ งานสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั
พษิ ณโุ ลก อย่างตอ่ เนอ่ื งใหก้ ับบคุ ลากรของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดพิษณุโลก เพอ่ื สามารถให้
ขอ้ มลู ขา่ วสารแกผ่ รู้ ับบริการอยา่ งถูกตอ้ ง ชดั เจน ทันต่อเวลา โปร่งใสและตรวจสอบได้

4) เผยแพรข่ อ้ มลู ข่าวสารของภายในองค์กรใหบ้ ุคลากรสามารถเข้าถงึ
รบั รู้ รับทราบอย่างทัว่ ถงึ

5) ควรนากระบวนการองคก์ รแห่งการเรียนรู้ (Leaning
organization) มาใชส้ ร้างเครือขา่ ยประชาสมั พันธ์ภายในองคก์ ร

32

6) สรา้ ง/จดั ใหม้ กี ารสรา้ งเครือข่ายการประชาสัมพันธ์ภายในองค์กร
โดยการนาระบบอนิ เทอรเ์ น็ตมาใชใ้ นการส่ือสารภายในองคก์ ร

7) ควรนาหลกั กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge
Management KM) เพือ่ เป็นการพฒั นาบคุ ลากรทางการศกึ ษาของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัด
พษิ ณุโลก ให้เกดิ การเรียนรู้ รับรู้ และการจัดการความรู้ใหเ้ กิดในสานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวดั
พษิ ณุโลก

2.2 ด้ำนกำรสร้ำงเครอื ขำ่ ยกำรประชำสัมพนั ธภ์ ำยนอกองค์กร
1) สรา้ งเครอื ข่ายประชาสมั พันธภ์ ายนอกองค์กรเพ่ือทาหนา้ ที่ประสานการ

ทางานในการสอ่ื สารภายนอกองคก์ ร
2) จดั กจิ กรรมการบรกิ ารและการเผยแพร่ขอ้ มลู ขา่ วสารภายนอกองคก์ ร

เพอ่ื นาไปสู่การสรา้ งความร่วมมอื ความช่วยเหลือ ในการเชอ่ื มโยงและแลกเปลยี่ นขอ้ มลู เพ่อื สร้างชุมชน
แหง่ การเรียนรู้

3) บริการข้อมลู ขา่ วสารการดาเนินงานสถานศึกษาอยา่ งตอ่ เน่ืองใหก้ ับ
บคุ ลากรภายนอกองค์กรของสานักงานศึกษาธิการจงั หวัดพษิ ณุโลก เพอื่ สามารถให้ขอ้ มลู ขา่ วสารแก่
ผรู้ บั บรกิ ารอยา่ งถูกตอ้ ง ชัดเจน ทันตอ่ เวลา

4) จัดกจิ กรรมทเ่ี สรมิ สรา้ งความสมั พันธอ์ ันตีเครอื ขา่ ยภายนอกองคก์ ร
อย่างเปน็ ประจาและตอ่ เนอื่ ง

5) จดั ทาทะเบียนเครอื ข่ายภายนอกองคก์ ร เพือ่ เผยแพร่ข่าวสาร ข้อมูล
ของสานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดพิษณโุ ลก ให้มีความเหมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมายเพื่อให้เกดิ
ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลในการประชาสมั พนั ธ์

6) กาหนดซอ่ งทางและรูปแบบการติดตอ่ และการใหบ้ ริการผา่ นระบบ
อินเทอร์เน็ตสงั คมออนไลน์ (Social Media) เพื่อใหผ้ รู้ ับริการเขา้ ถงึ ข้อมลู ขา่ วสารของสถานศกึ ษา
อาทิ E mail Application Website Line Facebook ฯลฯ

ดำ้ นที่ 3 ดำ้ นกำรบริกำรดำ้ นขอ้ มูลขำ่ วสำร
1) แตง่ ตั้งผรู้ ับผิดชอบงานการบริการด้านการประชาสัมพันธ์ /ข้อมลู

ขา่ วสารของสานักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั พิษณุโลกที่ชดั เจน
2) วางแผนพฒั นาการบรหิ ารด้านข้อมลู ข่าวสารอยา่ งเปน็ ระบบแบบมสี ่วน

รว่ มระหวา่ งบุคลากรภายในและภายนอกองคก์ ร
3) กาหนดใหม้ บี รกิ ารและเผยแพรข่ อ้ มลู ข่าวสารดว้ ยวิธีการท่ีหลากหลาย
4) จัดระบบบรหิ ารจัดการสารสนเทศทเี่ อ้ือต่อการสบื คน้ ขอ้ มลู ข่าวสาร

อยา่ งมีประสิทธิภาพ
5) พัฒนาระบบงานประชาสัมพนั ธด์ ้านการเผยแพร่ข้อมลู ขา่ วสารของ

หนว่ ยงานตอ่ ผรู้ บั บรกิ าร หนว่ ยงานเครือข่ายและสาธารณชน
6) พัฒนาระบบข้อมลู สารสนเทศของหนว่ ยงาน ผ่านระบบอิเลคทรอนกิ สท์ ่ี

สามารถเช่ือมโยงเพอ่ื ให้บริการแก่ทุกกลมุ่ เป้าหมายอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

33

7) บรหิ ารจดั การโดยนากระบวนการ "สงั คมแห่งการเรียนร"ู้ (Social
Network) มาดาเนนิ การในการประสานงาน ตดิ ต่อสอ่ื สารประชาสัมพนั ธท์ ั้งภายในองค์กร ภายนอก
องค์กร หนว่ ยงานเครือขา่ ยและสาธารณชน เกยี่ วกบั การจดั การศกึ ษาของสานกั งานศึกษาธกิ าร
จงั หวดั พษิ ณโุ ลก


Click to View FlipBook Version