รายงานวิชาธุรกิจและการเป็ นผู้ประกอบการ
เร่ือง
ธุรกจิ และการเป็ นผู้ประกอบการ
จดั ทาโดย
ระดับช้ัน/ห้อง ปวช.1/10 แผนก คอมพวิ เตอร์ธุรกจิ
น.ส.ณัฐณชิ า วงศ์ถนอม เลขที่ 3 รหสั นกั ศกึ ษา 6514961
นายอธิโชติ เอกชอมุ่ เลขท่ี 4 รหสั นกั ศึกษา 6514965
นายสริ ภทั ร์ เข็มทอง เลขท่ี 5 รหสั นกั ศึกษา 6514967
นายวรี วฒุ ิ ปกินะโม เลขท่ี 6 รหสั นกั ศกึ ษา 6514971
น.ส.ปรารถนา แก้วพลิ า เลขที่ 8 รหสั นกั ศกึ ษา 6514994
นายเกริกพล พาเมือง เลขที่ 10 รหสั นกั ศึกษา 6514998
น.ส.ณัฐพร วงั หอม เลขท่ี 14 รหสั นกั ศกึ ษา 6515006
นายวิษณุ จตพุ ร เลขท่ี 20 รหสั นกั ศกึ ษา 6515092
น.ส.กญั ญาวรี ์ กรเกตุ เลขที่ 22 รหสั นกั ศึกษา 6515104
น.ส.อนนั ญา ภู่ระหงษ์ เลขที่ 33 รหสั นกั ศึกษา 6515206
เสนอ
อาจารยว์ ันเพ็ญ ลอยรตั น์
รายงานนเี ้ป็นสว่ นหน่งึ ของวิชา ธรุ กิจและผู้ประกอบการ รหสั วิชา 20001-1003
ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2565
วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาพณิชยการจานงค์
สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ
คำนำ
รายงานเล่มนี ้เป็นสว่ นหนงึ่ ของวิชาธรุ กิจและการเป็นผ้ปู ระกอบการ รหสั วชิ า 20001-1003
ในระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวช.) เพอ่ื ให้ได้ศกึ ษาหาความรู้ในเรื่อง การวางแผนเปา้ หมายชีวิตด้วยวงจรควบคมุ
คณุ ภาพ PDCA, ธุรกิจและการไปผู้ประกอบการ, รูปแบบและความเป็นเจ้าของธรุ กจิ , กฎหมายและองค์กรทเ่ี ก่ียวข้องกบั
การดาเนินธรุ กจิ , การออมและการบริหารเงินทุน, ความรู้เบอื ้ งต้นในการบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ ร, การเพ่มิ ผลผลติ ใน
องค์กร และการตลาดสาหรับธรุ กจิ และการเขยี นแผนธรุ กจิ
ข้าพเจ้าขอขอบพระคณุ อาจารย์วนั เพ็ญ ลอยรัตน์ ในการเรียนครงั้ นี ้และได้ศกึ ษาอย่างเข้าใจเพ่ือเป็นประโยชน์กับ
การเรียน
ผ้จู ดั ทาหวงั ว่า รายงานเลม่ นีจ้ ะเป็นประโยชน์กบั ผ้อู า่ น นกั เรียน หรือนกั ศกึ ษา ที่กาลงั หาข้อมลู เร่ิองนอี ้ ยู่ หากมี
ข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จดั ทาขอน้อมรับไว้และขออภยั มา ณ ทนี่ ดี ้ ้วย
นักศกึ ษาระดบั ชัน้ ปวช.1/10
สำรบัญ หน้ำ
เร่ือง ก
ข
คานา 1
สารบญั 2
การวางแผนเป้าหมายชีวิตด้วยวงจรควบคมุ คณุ ภาพ PDCA 3
3
บทนา 4
สาระนา่ รู้ 5
สรุปท้ายหน่วย 5
ธุรกจิ และการเป็นผู้ประกอบการ 7
บทนา 8
สาระหน้ารู้ 9
สรุปท้ายหนว่ ย 9
รูปแบบและความเป็นเจ้าของธรุ กจิ 10
บทนา 11
สาระนา่ รู้ 12
สรุปท้ายหน่วย 12
กฎหมายและองค์กรทเ่ี กี่ยวข้องกบั การดาเนนิ ธรุ กจิ 13
บทนา 14
สาระน่ารู้ 15
สรุปท้ายหน่วย 15
การออมและการบริหารเงินทนุ 16
บทนา 17
สาระน่ารู้ 18
สรุปท้ายหน่วย 18
ความรู้เบอื ้ งต้นในการบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ ร 18
บทนา 19
สาระนา่ รู้ 20
สรุปท้ายหน่วย 20
การเพ่มิ ผลผลติ ในองค์กร 22
บทนา
สาระนา่ รู้
สรุปท้ายหน่วย
เร่ือง หน้ำ
การตลาดสาหรบั ธุรกิจและการเขียนแผนธุรกิจ 23
บทนา 24
สาระนา่ รู้ 25
สรุปเนอื ้ หา 25
26
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนินธรุ กจิ 27
บทนา 28
สาระนา่ รู้ 31
32
บรรณานกุ รม 32
ภาคผนวก 33
ภาคผนวก ก
ภาคผนวก ข
กำรวำงแผนเป้ำหมำยชวี ติ ด้วยวงจรควบคมุ คณุ ภำพ PDCA
การวางแผนเปา้ หมายชีวติ เป็นสิง่ จาเป็นทท่ี กุ คนต้องปฏิบตั ิเพราะการวางแผนชีวิตเป็นการ
กาหนดความสาเร็จของชวี ิตซึ่งการวางแผนของชวี ติ เป็นสง่ิ ที่ต้องดาเนนิ การอย่างมหี ลกั การที่
สามารถควบคมุ ตรวจสอบและแก้ไขอยา่ งเป็นรูปธรรมดงั นนั้ ต้องดาเนนิ งานอยา่ งรอบคอบครอบ
ครอบคลมุ ถงึ การกาหนดสิ่งท่ีต้องการเพอ่ื ให้การดารงชวี ิตสาเร็จตามเปา้ หมายทีก่ าหนดไว้อยา่ ง
สมบูรณ์ รวมถึงการพฒั นาสิง่ ใหม่ๆการแก้ปัญหาสง่ิ ท่ีเกิดขนึ ้ จากการปฏิบตั งิ านการวางแผน
เป้าหมายชวี ติ ยงั ชว่ ยให้สามารถคาดการณ์สิ่งท่ีเกิดขนึ ้ ในอนาคตและชว่ ยลดความสญู เสยี ตา่ งๆท่ี
อาจเกิดขนึ ้ ได้
สำระน่ำรู้
(QR Code) คอื อะไร QR Code ย่อมมาจาก Quick Response Code คือ บาร์โค้ด 2 มติ ิ (2
Dimension Barcode) ชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วยมดดสู ีดาเรียงตวั กนั มสี ณั ฐานสเี่ หล่ยี มมีพนื ้ หลงั สี
ขาวท่ีสามารถอา่ นได้ด้วยเครื่องสแกน QR code ในโทรศพั ท์มือถือท่ีมีกล้องหรือสมาร์ทโฟนเพอ่ื
ถอดข้อมลู ต่างๆเช่นข้อความเบอร์โทรศพั ท์ URL เพ่ือเชอื่ มโยงไปยงั เวบ็ ไซต์ QR Codes นพี ้ ฒั นา
จากบริษทั เด็นโซ-เวฟ ซึง่ เป็นบริษทั ในเครือของโตโยต้า ประเทศญี่ป่นุ คดิ ค้นในปีค.ศ 1994 (พ.ศ.
2537) (วกิ ิพเี ดยี สารานกุ รมเสรี, 2557)
ทกุ คนจะต้องมกี ารวางแผนชีวติ ให้ชดั เจนทงั้ ด้านสขุ ภาพ ด้านค่คู รอง ด้านการศกึ ษา เพอ่ื ให้
การดาเนนิ ชวี ิตเป็นไปตามหลกั การลดปัญหาความเสี่ยงท่อี าจเกดิ ขนึ ้ ระหว่างทางของชวี ติ ควรมีการ
วางแผนอยา่ งมหี ลกั การ สามารถควบคมุ ตรวจสอบ และ แก้ไขได้อยา่ งเป็นรูปธรรม ต้องเข้าใจใน
หลกั ความต้องการของมนษุ ย์เพอ่ื ให้กาหนดกรอบการดาเนินชีวติ อย่างเป็นรูปธรรมตรวจสอบและ
แก้ไขปัญหาครงั้ นเี ้ปา้ หมายของแต่ละบุคคลย่อมแตกตา่ งกนั ขนึ ้ อยกู่ บั ความต้องการของแตล่ ะ
บุคคล
ธุรกจิ และกำรเป็ นผ้ปู ระกอบกำร
ผ้ปู ระกอบการเป็นบคุ คลที่มอี ทิ ธิพลต่อการดาเนนิ ธุรกจิ ของตนเอง เน่ืองจากเป็นอาชีพอสิ ระ
สามารถวางแผนการดาเนินงาน สร้างสรรคน์ วตั กรรมใหม่ได้ด้วยตนเอง แลยอมรบั ความเสย่ี งที่จะ
เกิดขนึ ้ จากการประกอบธุรกิจเพอื่ ม่งุ หวงั ผลกาไร การเป็นนกั แสวงหาโอกาส มีความคดิ ริเร่ิม
สร้างสรรค์ มีความม่งุ มน่ั รู้จกั ตนเอง มีภาวะผ้นู า มคี วามรู้ความกล้า ศรัทธาในอาชีพ และเป็น
บคุ คลทม่ี เี ครือข่าย ถอื ว่าเป็นคณุ สมบตั ิสว่ นหน่ึงของผ้ปู ระกอบการที่สามารถดาเนนิ ธุรกิจให้
ประสบความสาเร็จในยคุ ปัจจบุ นั
สำระหน้ำรู้
ควำมหมำยของผ้ปู ระกอบกำร
ผ้ปู ระกอบการ หมายถึง เจ้าของกจิ การ หรือผ้ทู ่คี ดิ ริเริ่มจดั ตงั้ ธุรกิจขนึ ้ มาเป็นของตนเอง มกี าร
วางแผนการดาเนินงาน และดาเนนิ ธุรกจิ ทกุ ด้านด้วยตนเอง โดยมองเห็นโอกาสทางธรุ กจิ และ
ยอมรบั ความเสยี่ งท่ีอาจเกดิ ขนึ ้ ได้ตลอดเวลา เพื่อมงุ่ หวงั ผลกาไรทีเ่ กิดจากผลการดาเนนิ งานของ
ธุรกิจตนเอง
ดงั นนั้ ผ้ดู าเนินการผลิตจงึ เรียกว่าผ้ปู ระกอบการ เพราะทาหน้าท่ีตดั สินใจเกยี่ วกบั ปัญหาพืน้ ฐาน
ทางเศรษฐกจิ ว่าจะผลิตอะไรและผลติ เพอื่ ใคร โดยจะรวบรวมปัจจยั การผลติ ดงั นี ้
1. ทด่ี นิ ได้แก่ ทด่ี ินรวมถึงทรัพยากรธรรมชาติต่างๆ
2. แรงงาน เป็นทรัพยากรมนษุ ย์
3. ทนุ คอื เคร่ืองจกั รเคร่ืองมอื ทม่ี นษุ ย์สร้างขนึ ้ เพอ่ื ใช้ร่วมกบั ปัจจยั การผลิตอืน่ ๆในการผลิตสินค้า
และบริการ
แนวทำงในกำรเป็ นผ้ปู ระกอบกำร
การเป็นผ้ปู ระกอบการในกจิ การใดกิจการหนงึ่ เป็นส่งิ ท่ีทกุ คนมองวา่ เป็นเรื่องยากตอ่ การเร่ิมต้น
เพราะไมท่ ราบว่าจะเริ่มต้นจากตรงจดุ ใดก่อน แล้วทาอยา่ งไรต่อไปจงึ ทาให้กิจการของตนเอง
ประสบความสาเร็จได้ในทสี่ ดุ ดงั นนั้ แนวทางเร่ิมต้นเป็นผ้ปู ระกอบการ จึงควรเริ่มจากการหาข้อมลู
ดงั นี ้
1. รู้จกั ตน
2. รู้ข้อมลู ของลกู ค้า
3. รู้ข้อมลู ของค่แู ขง่ ขนั
4. รู้นโยบายส่งเสริมจากภาครัฐบาล
5. วางแผนการเงนิ ในระยะยาว
6. การทาบญั ชี
7. การบริการทม่ี ปี ระสิทธิภาพ
8. ขายสินค้าหรือบริการท่ีมีคณุ ภาพ
9. จ้างบคุ ลากรท่ีเหมาะสม
10. เลอื กทาเลทต่ี งั้ ทีเ่ หมาะสมกบั สินค้าหรือบริการ
ประสบความสาเร็จในปัจจบุ นั ปัจจยั ทท่ี าให้ธรุ กิจประสบความสาเร็จสว่ นหนง่ึ เกดิ ได้จากการ
มคี วามยดื หยนุ่ สร้างนวตั กรรม ความสมั พนั ธ์กบั ลกู ค้า ผลิตสินค้าและบริการท่มี คี ณุ ภาพ
ขณะเดียวกนั ผ้ปู ระกอบการควรพิจารณาปัจจยั ที่ทาให้ธุรกิจล้มเหลว นอกจากนี ้การตดั สินใจเป็น
กระบวนการเลอื กทางเลือกใดทางเลอื กหนงึ่ หรือประเมินอยา่ งดแี ล้ววา่ เป็นทางให้บรรลุ
วตั ถปุ ระสงค์และเปา้ หมายขององคก์ ร การตดั สินใจเป็นสิ่งสาคญั และเกยี่ วข้องกบั หน้าท่ีการเป็น
ผ้ปู ระกอบการท่ีมีคณุ สมบตั ิของผ้ปู ระกอบการทท่ี าให้ธุรกิจการบริหารหรือการจดั การเกอื บทกุ
ขนั้ ตอน ไม่ว่าจะเป็นการวางแผนการจดั องค์กร การจดั คนเข้าทางาน การประสานงาน และการ
ควบคมุ การตดั สนิ ใจเริ่มต้นธุรกิจจึงต้องมวี ตั ถปุ ระสงค์ท่ชี ดั เจนวา่ จะได้รับสง่ิ ใดกลบั มาบ้างจาก
การเป็นเจ้าของธรุ กจิ ซงึ่ มหี ลาย ๆ ประการ อาทิ กาไรและความมนั่ คงความพอใจส่วนบุคคล ความ
อิสระและอานาจ และสถานภาพทางสงั คม การประกอบธุรกิจให้ประสบความสาเร็จเป็นสิ่งทที่ กุ คน
ปรารถนาให้เกดิ ขนึ ้ ในการดาเนนิ ธรุ กิจ การประกอบธุรกิจในปัจจบุ นั ควรยึดหลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง และนามาประยกุ ต์ใช้ในการดาเนินธุรกจิ ของผ้ปู ระกอบการภายใต้ของทกุ ฝ่าย
ใน 2 หลกั คณุ ธรรมทีเ่ รียกวา่ 3 ห่วง 2 เง่ือนไข
รูปแบบและควำมเป็ นเจ้ำของธุรกจิ
การประกอบธุรกจิ ถือวา่ เป็นอาชพี อสิ ระท่ีผ้ปู ระกอบการต้องคานึงถงึ ประเภทของธรุ กจิ และ
รูปแบบของธรุ กจิ วา่ มคี วามสอดคล้องกบั การประกอบธุรกจิ อย่างไร ทงั้ นขี ้ นึ ้ อยกู่ บั ความต้องการ
ความรู้ความสามารถของผ้ปู ระกอบการในการเลือกประเภทและรูปแบบของธรุ กจิ ใดจงึ จะ
เหมาะสมกบั ตนเองมากที่สดุ ซึ่งเป็นสงิ่ ที่ผ้ปู ระกอบการต้องให้ความสาคญั อยา่ งยงิ่ ไมว่ า่ จะเป็น
ธุรกจิ การผลติ ธรุ กิจการค้าส่งธุรกจิ การค้าปลกี และธุรกิจบริการ รวมทงั้ ศกึ ษารูปแบบทางกฎหมาย
ของธุรกจิ เนอ่ื งจากมคี วามแตกต่างกนั ไมว่ า่ จะเป็นกิจการเจ้าของคนเดียว ห้างห้นุ สว่ น บริษทั
จากดั รวมทงั้ ข้อกฎหมายท่ีเป็นตวั ควบคมุ การประกอบธุรกจิ อาทิ กฎหมายแรงงาน กฎหมาย
ค้มุ ครองผ้บู ริโภค และกฎหมายเกย่ี วกบั ภาษีอากร นอกจากนยี ้ งั มลี กั ษณะของการประกอบธรุ กจิ
อีกรูปแบบหน่ึง คือ การประกอบธุรกจิ แบบสมั ปทาน ซ่งึ เป็นอกี ทางเลอื กหนงึ่ ทีผ่ ้ปู ระกอบการ
สามารถเลือกประกอบธุรกิจ เพ่ือเป็นการประหยดั ระยะเวลาแห่งความสาเร็จในการประกอบธรุ กจิ
โดยอาศยั ผ้ทู ่ปี ระสบความสาเร็จแล้วเดินตามรอยความสาเร็จได้อย่างรวดเร็ว
สำระน่ำรู้
การประกอบธุรกจิ การค้าอาจดาเนินการได้หลายรูปแบบ ทงั้ โดยบุคคลคนเดยี วเป็นเจ้าของ
กจิ การโดยลาพงั หรืออาจดาเนินการโดยร่วมลงทนุ กบั บคุ คลอื่นเป็นกลมุ่ คณะก็ได้ การทจี่ ะ
ตดั สนิ ใจเลอื กดาเนนิ ธรุ กจิ การค้าในรูปแบบใดนนั้ ผ้ปู ระกอบการจะต้องคานงึ ถึงองค์ประกอบท่ี
สาคญั หลายประการด้วยกนั เช่น ลกั ษณะของกจิ การค้า เงนิ ทนุ ความรู้ความสามารถในการ
ดาเนนิ ธรุ กจิ เป็นต้น ทงั้ นเี ้พือ่ ให้การประกอบธุรกิจนนั้ ประสบผลสาเร็จ นามาซ่งึ ผลประโยชน์และ
กาไรสงู สดุ
ในระบบเศรษฐกจิ แบบเสรีนิยม ประชาชนมอี สิ ระและมีสทิ ธิที่จะเลอื กประกอบธุรกจิ ประเภท
ใดกไ็ ด้ทีไ่ มข่ ดั ตอ่ ระเบียบของกฎหมาย การดาเนินงานจดั ตงั้ ธรุ กจิ ในรูปแบบกิจการเจ้าของคนเดยี ว
หรือร่วมห้นุ กบั บุคคลอ่ืน หรือร่วมทนุ จดั ตงั้ บริษทั จากดั ตลอดจนธรุ กจิ แฟรนไชส์ ธุรกิจแต่ละ
ประเภทมที งั้ ข้อดีและข้อเสยี ดงั นนั้ ผ้ปู ระกอบธรุ กิจควรพจิ ารณาและตดั สนิ ใจเลือกรูปแบบให้
สอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงค์ ทนุ และสภาพแวดล้อม
กฎหมำยและองค์กรท่เี ก่ยี วข้องกับกำรดำเนนิ ธุรกจิ
การประกอบธรุ กจิ เป็นกิจกรรมทางด้านเศรษฐกิจและการพาณชิ ย์ทีม่ ีเปา้ หมายในการจดั การ
หาสินค้าบริการซ่งึ มีกฎหมายเข้ามาเกย่ี วข้องในการดาเนนิ งานเพื่อให้เกิดการทางานทมี่ ี
ประสิทธิภาพสงู สดุ ซึง่ จะเหน็ ว่ามกี ฎหมายที่เกีย่ วข้องหลายฉบบั เชน่ พระราชบญั ญตั ิส่งเสริม
วสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ยพ.ศ 2543 และแก้ไขเพม่ิ เตมิ ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ 2561ทต่ี ้องศึกษา
และเข้าใจเพื่อการประกอบธรุ กิจจะได้ไม่ผิดกฎหมายบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ของกิจการนอกจากนี ้
ผ้ปู ระกอบการยงั ต้องศกึ ษาเกย่ี วกบั กฎหมายต่างๆท่เี ก่ยี วข้องกบั ธุรกิจพาณชิ ย์ทม่ี ีอย่หู ลายฉบบั
และหลายเรื่องเพอ่ื การดาเนินธรุ กิจให้เหมาะสมและสอดคล้องกบั กฎหมายดงั กล่าว
สำระน่ำรู้
พระราชบญั ญตั นิ มี ้ บี ทบญั ญัตบิ างประการเก่ยี วกบั การจากดั สิทธิและเสรีภาพของบุคคลซง่ึ
มาตรา 29 ประกอบกบั มาตรา 31 ของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทยบญั ญัตใิ ห้กระทาได้โดย
อาศยั อานาจตามบทบญั ญตั แิ ห่งกฎหมายจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้ตราพระราชบญั ญตั ขิ นึ ้ ไว้
โดยคาแนะนาและยินยอมของรฐั สภาดงั ต่อไปนมี ้ าตรา 1 พระราชบญั ญัตนิ เี ้รียกวา่ พระราชบญั ญตั ิ
ส่งเสริมวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมพ.ศ 2543 มาตรา 3 ในพระราชบญั ญัตนิ วี ้ ิสาหกจิ
หมายความวา่ กจิ การผลติ สนิ ค้ากจิ การให้บริการกิจการค้าส่งสินค้าปลีกหรือกิจการอน่ื ตามที่
รัฐมนตรีประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
การประกอบธรุ กจิ เป็นกิจกรรมทางด้านเศรษฐกจิ และการพาณชิ ยท์ ี่มีเป้าหมายในการจดั หา
สนิ ค้าและบริการซึ่งจะมกี ฎหมายเข้ามาเกีย่ วข้องในการดาเนินงานเพื่อให้เกดิ การทางานทีม่ ี
ประสทิ ธิภาพสงู สดุ ซง่ึ จะเห็นว่ามกี ฎหมายทเ่ี ก่ยี วข้องหลายฉบบั เช่นพระราชบญั ญตั สิ ง่ เสริม
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ยพ.ศ 2543 และแก้ไขเพิ่มเติมฉบบั ที่ 2 พ.ศ 2561
พระราชบญั ญัตทิ ะเบยี นพาณิชย์พ.ศ 2499 และแก้ไขเพม่ิ เตมิ ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ 2549 พระราชบญั ญตั ิ
ลขิ สิทธิ์พ.ศ 2537 และแก้ไขเพิ่มเตมิ ฉบบั ท่ี 4 พ.ศ 2561 พระราชบญั ญัติสิทธิบตั รพ.ศ 2542
พระราชบญั ญัตเิ ครื่องหมายการค้าพ.ศ 2534 และแก้ไขเพ่มิ เตมิ ฉบบั ที่ 2 พ.ศ 2559
กำรออมและกำรบริหำรเงนิ ทนุ
การออมและเงนิ ทนุ ถอื เป็นปัจจยั หลกั ของการประกอบ กิจการเพอื่ อานวยความสะดวก
สาหรับการดาเนินงาน แหลง่ เงินทนุ ทีผ่ ้ปู ระกอบการสามารถขอก้มู ีทงั้ ภาครฐั เอกชน และแหลง่
เงนิ ทนุ อนื่ ๆ โดยทว่ั ไปแล้วธุรกิจจะเริ่มต้นด้วย เงินทนุ จากเจ้าของกจิ การ และเม่ือกิจการดาเนนิ ไป
ได้ระยะ เวลาหนึง่ กจ็ ะขยายธุรกจิ โดยแสวงหาแหลง่ เงินทนุ ท่ีใช้ในการ ขยายธรุ กิจ อาจต้องใช้วธิ ี
เพม่ิ ทนุ จากสมาชิกทีร่ ่วมลงทนุ หรืออาจต้องก้ยู มื ญาติพีน่ ้องในครอบครัว หรือเพือ่ นฝงู หรือก้ยู ืม
จากแหลง่ ภายนอก ซง่ึ ผ้ปู ระกอบการต้องทาความ เข้าใจในรายละเอยี ดของแหล่งเงนิ ก้แู ตล่ ะแห่ง
และแตล่ ะ รูปแบบให้เหมาะสมกบั ธรุ กจิ ของตนเองความรู้เบอื ้ งต้นในการบริหารงานคณุ ภาพใน
องคก์ ร
สำระน่ำรู้
ปัจจบุ นั ส่ิงสาคญั ในการดารงชีวิตและกาสร้างธุรกจิ ให้มนั คง การจบั จา่ ยใช้สอยถือเป็นเร่ือง
ทีผ่ ้ปู ระกอบการหรือประชาชนทว่ั ไปต้องมีความระมดั ระวงั ไม่ใช้จ่ายเกนิ ตวั เก็บออมเงนิ ส่วนหน่ึง
ไว้ใช้จา่ ยเมอื่ ยามเจ็บปวยหรือฉกุ เฉนิ และเมื่อมกี ารออมเงินเพิม่ มากขนึ ้ ควรนาเงินไปลงทนุ เพ่ือหา
ผลตอบแทน หรือทาให้เงินออมนนั้ มผี ลประโยชน์เพ่มิ มากขนึ ้
เงินออมเป็นสิ่งจาเป็นในการสร้างความมนั่ คงให้กบั ชีวติ และทรพั ยส์ ิน และยงั เป็น แหลง่
เงินทนุ สาหรบั ธรุ กจิ ถือเป็นเรื่องสาคญั มาก เพราะจาเป็นต้องมีการใช้เงนิ ทนุ ไม่ว่า จะเป็นการ
เร่ิมต้นกจิ การ การขยายกจิ การ หรือการแก้ปัญหาในการดาเนนิ ธุรกิจ โดย เฉพาะจากแหลง่ เงนิ ทนุ
ภายนอก เพราะมีธุรกจิ เพียงน้อยรายที่จะมีเงินทนุ เหลือเบ่อื ท่ี จะเร่ิมต้น ซึ่งแหลง่ เงนิ ทนุ ในการ
สนบั สนนุ ตอ่ ผ้ปู ระกอบการมีหลายรูปแบบแตกตา่ งกนั ดงั นนั้ ผ้ปู ระกอบการควรเลือกแหล่งเงนิ ทุน
ทีเ่ หมาะสมกบั ตนเองหรือมีความเป็นไปได้ ในการได้รบั การสนบั สนนุ โดยการตรวจสอบ
รายละเอยี ดหรือเง่อื นไขต่าง ๆ ให้ชดั เจน เพื่อจะได้ไม่เป็นการเสียเวลาและคา่ ใช้จ่ายสาหรับ
ผ้ปู ระกอบการ
ควำมรู้เบือ้ งต้นในกำรบริหำรงำนคณุ ภำพในองค์กร
การประกอบธุรกจิ ในปัจจบุ นั จะเห็นว่ามีสภาวการณ์การแข่งขนั สงู ผ้ปู ระกอบการต้องหา
วธิ ีการทจ่ี ะทาอยา่ งไรให้ธรุ กจิ ของตนเองอยรู่ อด ไม่ว่าจะเป็นการผลิตสนิ ค้าหรือบริการท่มี คี วาม
แตกต่างจากค่แู ขง่ ขนั ในลกั ษณะอยา่ งไรให้เป็นที่ยอมรบั ของกล่มุ เป้าหมาย ซง่ึ การนาหลกั การ
บริหารงานคณุ ภาพในองค์กรมาใช้เป็นส่งิ สาคญั โดยเป็นการควบคมุ คณุ ภาพมาตรฐานของกิจการ
และมตี วั ชวี ้ ดั ทเ่ี ป็นรูปธรรมในการน้าธรุ กิจสเู่ ปา้ หมาย
สำระน่ำรู้
ความหมายและขอบขา่ ยของการบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ ร
ความหมายของการบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ ร คอื กระบวนการบริหารงานท่ีประกอบด้วย
นโยบายคณุ ภาพ วตั ถปุ ระสงค์ คณุ ภาพ การวาแผนงานคณุ ภาพ ระบบการบริหารจดั การเชิง
คณุ ภาพ ระบบการตรวจสอบหรือการประเมินผล และการปรับปรุงอย่างตอ่ เนอื่ ง เพอื่ ตอบสนอง
ความต้องการของลกู ค้า ของพนกั งานและของสงั คม
“คณุ ภาพ” ปัจจบุ นั เป็นส่งิ ที่ผ้ปู ระกอบการต้องสามารถให้บริการตอบสนองความต้องการของ
ผ้ใู ช้บริการหรือกล่มุ ลกู ค้าจนเกดิ เป็น “ความพึงพอใจ” อยา่ งที่สดุ นน่ั คือ คาวา่ คณุ ภาพ ของลกู ค้า
ในยคุ ปัจจบุ นั นอกจากนพี ้ บวา่ องคก์ รจะเจริญเตบิ โตอย่างยิง่ ใหญ่มน่ั คงต้องมกี ารนาหลกั การ
บริหารงานคณุ ภาพในองค์กรในรูปแบบต่าง ๆ มาใช้ให้เหมาะสม เพ่ือเป็นการควบคมุ คณุ ภาพ
มาตรฐานของกิจการ ทงั้ นมี ้ เี ทคนิคการควบคมุ คณุ ภาพที่หลากหลายโดยเลือกใช้ให้เหมาะสมกบั
สภาวะการแข่งขนั และการดาเนินงานเพ่อื ให้บรรลเุ ป้าหมายต่อไป
กำรเพ่มิ ผลผลติ ในองค์กร
การเพม่ิ ผลผลติ เป็นความรับผิดชอบของทกุ คน ในแง่ ของบริษทั หรือโรงงาน ผ้บู ริหารต้องมี
ความเข้าใจในเร่ือง การเพ่ิมผลผลิตและให้การสนบั สนนุ การดาเนินกิจกรรมอย่าง เต็มท่ี ใน
ขณะเดยี วกนั ฝ่ายพนกั งานต้องให้ความร่วมมอื โดยการทางานอยา่ งเต็มความสามารถและเพมิ่
ทกั ษะ การทางานให้สงู ขนึ ้ นอกจากนี ้การเพ่มิ ผลผลิตยงั ต้องอาศยั ความร่วมมอื จากพนกั งาน
เจ้าหน้าท่ี บคุ ลากร และหน่วยงานอื่น ทวั่ ๆ ไป ในการร่วมกนั ปรับปรุงการเพ่ิมผลผลติ ในทกุ สถานท่ี
ทงั้ ท่ีทางาน และสถานประกอบการ ด้วยการทาสงิ่ ต่าง ๆ อย่างถกู ต้อง โดยใช้ทรพั ยากรให้เกดิ
ประโยชน์สงู สดุ ซ่งึ สง่ ผลให้การเพ่มิ ผลผลิตโดยรวมของประเทศเพิม่ สงู ขนึ ้ อนั จะ นาไปส่กู าร
ยกระดบั มาตรฐานการครองชีพของประชาชน ในประเทศ ซงึ่ กค็ ือเป้าหมายสาคญั สงู สดุ ของการ
เพ่มิ ผล
สำระน่ำรู้
ระบบการเสนอแนะ (Suggestion) เพอื่ การ ปรับปรุงงาน เป็นเทคนคิ วิธีการหนึ่งทีเ่ ป็น
กิจกรรม ในการปรบั ปรุงงานเพ่ือการเพ่ิมผลผลิต เป็นระบบ ทเี่ ปิดโอกาสให้พนกั งานทกุ คนใน
หน่วยงานได้มี สว่ นร่วมในการแสดงความคดิ เห็น เสนอแนะ ปรับปรุงสง่ิ ทที่ าอยใู่ ห้ดยี ิง่ ขนึ ้ ซึ่งถือวา่
เป็นระบบท่ี ช่วยให้ระดบั ล่างได้ถา่ ยทอดและแสดงความคิดเห็น อนั เป็นประโยชน์ในการบริหารงาน
จากล่างขนึ ้ บนผ้บู ริหาร
กำรเพ่มิ ผลผลิตในองค์กร โดยทกุ คนมสี ่วนร่วม
ผ้บู ริหำร
1. สง่ เสริม สนบั สนนุ กระต้นุ และให้กาลงั ใจแก่พนกั งานในการเพิ่มผลผลิต
2. จดั หาสง่ิ อานวยความสะดวกให้เพยี งพอ
3. พฒั นาตนเองเพอื่ เพิ่มความสามารถในการจดั การ
4. มกี ารวางแผนตดั สินใจท่ีถกู ต้อง
หัวหน้ำงำน
1. เป็นผ้นู าและเป็นตวั อยา่ งที่ดใี ห้แกพ่ นกั งาน
2. มวี ธิ ีการจงู ใจในการทางาน
3. จดั ทาเอกสารคมู่ อื การทางานเพ่ือชว่ ยให้งานมีประสิทธิภาพ
4. มีทกั ษะในการตดิ ต่อสือ่ สารทด่ี ี
5. พฒั นาตนเองอย่เู สมอ
6. ติดตามดแู ลการทางานของผ้ใู ต้บงั คบั บญั ชา
7. สอนงานให้แก่ผ้ใู ต้บงั คบั บญั ชา
8. ให้คาแนะนาแก่ผ้ใู ต้บงั คบั บญั ชา
พนักงำน
1. ทาความเข้าใจกบั เป้าหมายและนโยบายขององคก์ ร
2. เรียนรู้งานและคิดปรบั ปรุงอยเู่ สมอ
3. รับฟังความคิดเหน็ ของผ้อู ืน่
4. มีความเสยี สละให้แก่องคก์ าร
5. ทางานเป็นทีม
6. มีความสมั พนั ธ์ที่ดีภายในองคก์ าร
7. รู้จกั การวางแผนในการทางาน
8. มที กั ษะในการสอื่ สารที่ดี
9. ผลติ สนิ ค้าทีม่ รคณุ ภาพ
10. ชว่ ยลดความสญู เสีย
11. ปฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บอย่างเคร่งครดั
12. ร่วมมอื ต่อกิจกรรมขององคก์ ารอยา่ งเตม็ ท่ี
13. มีทศั นคตทิ ่ีดี
การเพม่ิ ผลผลิตขององค์กรก่อให้เกิดประโยชน์แก่ทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้อง ส่งผลให้มีการขยายตวั
ทางเศรษฐกิจ และสามารถแข่งขนั ได้ในตลาดการค้าโลก โดยผลทไ่ี ด้รับจากการเพม่ิ ผลผลิต เช่น
ด้านกาไรแกอ่ งคก์ ร ด้านความมน่ั คง ในการทางานและคา่ จ้างพนกั งาน ด้านคณุ ภาพสนิ ค้าและ
บริการท่ีดี ให้กบั ลกู ค้า ด้านภาษีและรายรับอ่นื ๆ แก่รัฐ ซึง่ ผลประโยชน์เหลา่ นที ้ าให้ ผ้ปู ระกอบการ
พนกั งาน ลกู ค้า ส่งิ แวดล้อม และประเทศชาติ มคี วามเป็นอยู่ ท่ีดขี นึ ้
กำรตลำดสำหรับธุรกจิ และกำรเขยี นแผนธุรกจิ
การดาเนนิ ธรุ กจิ ผ้ปู ระกอบการต้องเข้าใจความหมายของการตลาดวา่ คอื การกระทา
กจิ กรรมตา่ ง ๆ ในทางธรุ กจิ ทม่ี ผี ลให้เกดิ การนาสนิ ค้าหรือบริการจากผ้ผู ลติ ไปส่ผู ้บู ริโภคหรือ
ผ้ใู ช้บริการนนั้ ๆ ให้ได้รับความพงึ พอใจ ขณะเดยี วกนั การดาเนินธุรกิจให้ประสบความสาเร็จตาม
วตั ถปุ ระสงค์ของกิจการ ต้องนาส่วนประสมทางการตลาดที่ประกอบด้วย สนิ ค้า ราคา สถานที่ เเละ
การสง่ เสริมการตลาดมาใช้ให้เหมาะสมในการสร้างความเป็นตวั ตนหรืออตั ลกั ษณ์ของตนเอง
นอกจากนี ้ต้องศึกษาเเนวโน้วการเเข่งขนั ทีม่ คี วามรุนเเรงในปัจจบุ นั ให้สามารถปรบั ตวั ได้ทนั กบั
สถานการณ์เเละการเปล่ยี นเเปลงที่เกิดขนึ ้ ทงั้ ทางด้านเศรษฐกจิ การเมือง สงั คม และเทคโนโลยี
เเผนการธุรกิจขนาดยอ่ มเป็นสิง่ สาคญั สาหรบั ผ้ปู ระกอบการ เพราะถอื เป็นเเผนท่ีหรือเเนวทางการ
ดาเนินธรุ กจิ ในการตดั สินใจว่าธรุ กจิ จะประสบความสาเร็จหรือล้มเหลวได้อย่างชดั เจน ทงั้ นใี ้ น
ปัจจบุ นั มีการเเข่งขนั อย่างรุนเเรงภายใต้สภาวการณ์ทมี่ กี ารเปลี่ยนเเปลง
สำระน่ำรู้
การตลาด คอื กระบวนการของการสือ่ สารคณุ ค่าของผลติ ภณั ฑ์หรือบริการไปยงั ลกู ค้า
การตลาดอาจถกู ตคี วามว่าเป็นศลิ ปะแหง่ การขายสนิ ค้าในบางครงั้ แตก่ ารขายนนั้ เป็นเพยี งส่วน
เลก็ ๆ สว่ นหนึ่งของการตลาด การตลาดอาจถกู มองว่าเป็นหน้าที่ขององคก์ ารและกล่มุ กระบวนการ
เพ่ือการผลิต การสง่ สินค้าและการส่อื สารคณุ คา่ ไปยงั ลกู ค้า และการจดั การความสมั พนั ธ์ต่อลกู ค้า
ในทางที่เป็นประโยชน์แกอ่ งค์การและผ้ถู ือห้นุ การจดั การการตลาดเป็นศิลปะของการเลือกตลาด
เปา้ หมาย ตลอดจนการได้มาและการรกั ษาลกู ค้า ผา่ นทางการจดั หาคณุ ค่าของลกู ค้าทเ่ี หนือกวา่ มี
มโนทศั น์ห้าอย่างหลกั ๆ ทอ่ี งคก์ ารสามารถเลอื กเพอ่ื นาไปดาเนินการธุรกจิ ได้แก่ มโนทศั น์เน้นการ
ผลติ เน้นผลิตภณั ฑ์ เน้นการขาย เน้นการตลาด และเน้นการตลาดองคร์ วม ซึ่งองค์ประกอบสีอ่ ยา่ ง
ของการตลาดองค์รวมคือ การตลาดความสมั พนั ธ์ การตลาดภายใน การตลาดครบวงจร และ
การตลาดรบั ผิดชอบต่อสงั คม กล่มุ ของภาระหน้าท่ีท่ีสาคญั ตอ่ การจดั การการตลาดทปี่ ระสบ
ผลสาเร็จประกอบไปด้วย การมองการตลาดเชงิ ลึก การติดต่อเช่ือมโยงกบั ลกู ค้าการสร้างตราสินค้า
ท่ีมน่ั คง การสร้างผลิตภณั ฑท์ ีต่ อบสนองลกู ค้า การสง่ สินค้าและการส่ือสารคณุ คา่ การสร้างความ
เจริญเตบิ โตในระยะยาว และการพฒั นากลยทุ ธ์และแผนการตลาด
การดาเนนิ ธรุ กิจในปัจจบุ นั หากขาดความรู้เเละความเข้าใจด้านการตลาด อาจทาให้เกิด
ความผิดพลาดได้ โดยเฉพาะธรุ กิจขนาดยอ่ ม ซงึ่ มีการเปิดตวั ธุรกิจเพ่มิ มากขนึ ้ ดงั นนั้
ผ้ปู ระกอบการจะต้องมคี วามรู้เรื่องการตลาดสาหรบั ธุรกจิ ขนาดย่อม เพอ่ื ใช้ในการวางเเผน การ
ดาเนนิ งาน เเละพฒั นาปรบั ปรุงธรุ กจิ ให้สามารถสร้างความสาเร็จได้ โดยการเขียนเเผนการตลาด
สาหรับธรุ กิจ เพ่ือใช้เป็นเเนวทางในการบริหารธรุ กิจขนาดย่อมต่อไป
ปรัชญำเศรษฐกจิ พอเพียงในกำรดำเนนิ ธุรกจิ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นปรชั ญาทช่ี แี ้ นวทางการดารงชวี ติ ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั
รชั กาลที่1 มีพระราชดารัสแกช่ าวไทยตงั้ แตป่ ีพ.ศ.2517 และถกู พกู ถึงอยา่ งชดั เจนในวนั ท่ี4ธนวาคม
พ.ศ.2540 ในกระแสโลกาภิวตั น์และการเปล่ยี นแปลงต่างๆและถกู บรรจใุ นแผนพฒั นาเศรษฐกจิ
และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที9่ ตอ่ มาในวนั ท่ี 22 ตลุ าคม พ.ศ.2542 โดยทรงพระกรุณาปรับปรุงแก้ไข
และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานญุ าตให้นาบทความท่ที รงแก้ไขแล้วไป
เผยแพร่ เพื่อเป็นแนวทางปฎิบตั ิแก่สานกั งานขณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ
และทกุ ฝ่ายทเ่ี กย่ี วข้อง ตลอดจนโดยประชาชนทวั่ ไป
ธุรกิจพอเพียง หมายถึง การดาเนินธรุ กิจทคี่ านงึ ถึงความมนั่ คงและยง่ั ยนื มากกว่าการแสวงหา
ผลประโยชน์ในระยะสนั้ ดงั นนั้ จงึ ต้องมีความรอบรู้ในธุรกิจท่ตี นดาเนินการอยู่ และศกึ ษาข้อมลู
ข่าวสาร อยตู่ ลอดเวลา เพอ่ื ให้สามารถก้าวทนั ต่อการเปล่ียนแปลงต่างๆ มีความรอบคอบในการ
ตดั สินใจใน แต่ละครงั้ เพื่อปอ้ งกนั ข้อผิดพลาดต่างๆ ไมใ่ ห้เกิดขนึ ้ และต้องมคี ณุ ธรรมคอื มคี วาม
ซ่อื สตั ย์สจุ ริตในการ ประกอบอาชพี ไมผ่ ลติ หรือขายสนิ ค้าทีก่ ่อให้เกิดโทษ หรือสร้างปัญหาให้กับ
คนในสงั คมและสงิ่ แวดล้อม มคี วามขยนั หมั่นเพียร อดทน ในการพฒั นาธรุ กจิ ไมใ่ ห้มีความบกพร่อง
และก้าวหน้าไปอย่างตอ่ เน่อื ง โดยมกี ารพฒั นาประสทิ ธิภาพการผลิต การปรบั ปรุงสนิ ค้าและ
คณุ ภาพให้ทนั กบั ความต้องการของผ้บู ริโภค และการเปลยี่ นแปลงทางเทคโนโลยใี หม่ๆ และใน
ขณะเดยี วกนั ต้องมีความรับผดิ ชอบต่อสงั คม และ ระบบนิเวศวทิ ยาทกุ ขนั้ ตอนในการดาเนนิ ธุรกจิ
โดยการรกั ษาสมดลุ ในการแบ่งปันผลประโยชน์ของการ ในระหว่างผ้มู สี ่วนได้สว่ นเสยี ตา่ งๆ อย่าง
สมเหตสุ มผล ตงั้ แต่ผ้บู ริโภค พนกั งาน บริษัท และสงั คมวงกว้าง รวมถึงสงิ่ แวดล้อม
หลักควำมพอประมำณทำงธุรกิจ
ความพอเพียงตามนยั ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จะต้องประกอบด้วยคณุ ลกั ษณะ 3 ประการ คอื
ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล และการมภี มู ิค้มุ กนั ในตวั ที่ดี โดยความหมายของความ
พอประมาณนนั้ หมายถึง ความเหมาะสมของการดาเนินงาน ทงั้ ในแง่ของขนาดทไ่ี ม่เลก็ เกินไป
หรือไมใ่ หญจ่ นเกนิ ตวั แต่เป็นไปตามอตั ภาพและสภาพแวดล้อม และในแง่ของจงั หวะเวลาที่ไมเ่ ร็ว
เกนิ ไปหรือไม่ช้าจนเกินไป แตร่ ู้จกั ทาเป็นขนั้ ตอนเพือ่ ให้การดาเนนิ งานมคี วามก้าวหน้า โดยที่ไม่ทา
ให้ตนเองและผ้อู ื่นเดอื ดร้อน โดยในทนี่ ี ้จะพจิ ารณาธรุ กิจในฐานะที่เป็นหน่วยการผลติ ในทาง
เศรษฐศาสตร์
กำรประยุกต์ใช้ปรัชญำเศรษฐกิจพอเพยี งในกำรดำเนนิ ธุรกิจ
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรชั ญาทช่ี ถี ้ งึ การดารงและปฏิบตั ติ นของประชาชนในทกุ ระดบั ตงั้ แต่
ระดบั บคุ คลระดบั ครอบครวั ระดบั ชมุ ชนจนถึงระดบั รฐั ทงั้ ในการพฒั นาและการบริหารประเทศให้
ดาเนิน ไปบนทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจเพอ่ื ให้ก้าวทนั ต่อโลกยคุ โลกาภิวตั น์ ซึ่ง
เป็นเศรษฐกจิ ของทกุ คนและทกุ อาชพี ซง่ึ การนาไปปฏิบตั กิ ต็ ้องเหมาะสมกบั อาชีพของตนเองด้วย
ผ้ปู ระกอบการจงึ ควรจะดาเนนิ ธุรกิจแบบเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นแนวความคิดทีม่ ากกว่าการ
มงุ่ เน้นธรุ กจิ และสงั คม เพราะเป็นแนวความคดิ ท่คี านงึ ถึงความมีสานึกในคณุ ธรรม ความซ่ือสตั ย์
สจุ ริต ความรอบคอบให้เกดิ ความสมดลุ และพร้อมตอ่ การรองรบั การเปลีย่ นแปลงทงั้ ด้านวตั ถุ
สงั คม สิ่งแวดล้อม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอก
หลกั สาคญั ในการนาไปประยกุ ต์ใช้กบั เศรษฐกจิ พอเพยี ง กค็ อื การครองตนให้อย่บู นทางสาย
กลาง คอื พอประมาณ มีเหตผุ ล สร้างภูมิค้มุ กนั และมบี ทบาทในการช่วยเหลือกนั ภายในประเทศ
การบริหารจดั การด้วยความพอเพียงนนั้ จะต้องเริ่มทีเ่ ปา้ หมาย ได้แก่
1. ความสามารถในการบริหารงาน โดยต้องสอดคล้องกบั โลกภายนอกโดยไม่ขยายตวั เกินกวา่
กาลงั ทมี่ ีอยู่ หรือต้องมปี ระสิทธิผลในทางการตลาดหรือการตามทนั กบั การเปล่ียนแปลงที่เกดิ ขึน้
ซ่ึงต้องมีสตแิ ละความรู้
2. ต้องแสวงหาความรู้กบั สร้างความเข้มแขง็ หรือเพมิ่ ความขยนั ขนั แขง็ ในการทางาน เคยมกี าร
ตดิ ตามเทคนิควิทยาการ แล้วรู้จกั เลือกเช้เทคโนโลยแี ละเอามาประยกุ ต์ใช้เพอ่ื ประโยชน์ใน
3. มปี ระสิทธิภาพดีขนึ ้ หรือกค็ อื การเพ่ิมผลผลิตอย่างมปี ระสิทธิภาพ การผลติ และการทางานให้
มีประสิทธานคณภาพชีวติ คือการรู้จกั ใช้จา่ ยบริโภคตามความจาเป็นและอยา่ งมีเหตผุ ล -งมีคณคา่
มกี ารเรียนรู้โดยมีความสขุ สมดลุ ทงั้ กายและใจพร้อมกบั มีการออมเพ่อื ความปลอดภยั ด้วย
สว่ นมากผ้ปู ระกอบการมกั จะขาดวนิ ยั การจดั การความประมาทและไมใ่ ส่ใจกบั เศรษฐกจิ พอเพยี ง
ส่วนมากผ้ปู ระกอบการมกั จะขาดการความประมาทและให้ธุรกจิ ได้รบั ความเสยี หายจากการ
เปล่ยี นแปลงท่ามกลางกระแส ไมบ่ ริหารจดั การแบบพอเพียง
คอื การปฏิบตั ติ ามแนวทางการบริหารจดั การแบบพอเพียง โลกาภิวตั น์ ดงั นนั้ วธิ ีปอ้ งกนั ทต่ี นจะ
เลือกใช้เทคโนโลยีท่เี หมาะสมเพ่อื น้ามาชว่ ยให้การผลติ และได้แก่
1. ต้องรู้จกั ซงึ่ ตนเอง โดยรู้จกั เลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพอื่ นามา กรทางานดขี นึ ้ ทางานได้
อย่างมีประสิทธิภาพมากกวา่ เดมิ
2. ต้องรุ้จกั ประมาณการในการบริโภค โดยจะต้องมีสติในการใช้จ่าย การลงทนุ กบั การบริโภคให้
เกิดความสมดลุ ให้ได้ประโยชน์ค้มุ คา่ กบั ต้นทุนต่างๆ ทีต่ ้องเสียไป
3. การดาเนนิ ชีวติ หรือการบริหารงงาน จะต้องมสี ตริ อบคอบ ไมป่ ระมาท โดยต้องนกึ ถึง ความ
เส่ยี งทอี่ าจเกดิ ขนึ ้ และวางระบบรองรับเพ่ือความปลอดภยั โดยต้องจดั ให้มแี ผนสารองไว้เพอ่ื ความ
ปลอดภยั รักษาสภาพคลอ่ ง คือ ไม่ลงทนุ มากเกนิ ไป
4. ต้องมกี ารบริหารจดั การทดี่ ี ตงั้ แต่การต้องมีความโปร่งใส โดยมธี รรมาภบิ าล มคี วามซอื่ สตั ย์
สจุ ริต มีการพฒั นา สร้างประสทิ ธิภาพเพม่ิ ความแขง็ แกร่ง เพือ่ ให้เป็นภมู ิค้มุ กนั ต่อปัญหาทม่ี า
กระทบ
บรรณำนุกรม
ดร.จนั ทรา ส่งศรี. ธุรกิจและกำรเป็ นผ้ปู ระกอบกำร. กรุงเทพฯ : ศนู ยส์ ่งเสริมวิชาการ, 2562.
Google sites. 2561. กำรเป็ นผ้ปู ระกอบกำร[ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก :
https:/s.google.com/site/natpatai24456/ (25 พฤศจิกายน 2565.)
Business plus. 2564. กำรเพ่มิ ผลผลติ ในองค์กร โดยทกุ คนมีส่วนร่วม[ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก : https://www.businessplus.co.th/Activities/ (25 พฤศจิกายน 2565.)
วิกิพเี ดยี . 2565. กำรตลำด[ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/
ภำคผนวก ก
รูปภำพขณะทำงำน
ภำคผนวก ข
หนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์ E-Book Online
Book Link : https://anyflip.com/ddrzi/syst/
QR Code : เพยี งสแกนก็สามารถเปิดดรู ูปเลม่ รายงานแบบออนไลน์ได้
สำระน่ำรู้
E-Book หรือ หนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์ คือ หนงั สอื อิเล็กทรอนสิ ์ ทสี่ ามารถเปิดอา่ นได้ โดยไมต่ ้อง
พมิ พล์ งบนกระดาษ สามารถ อา่ นได้บนสื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ เชน่ คอมพวิ เตอร์ โน้ตบ๊คุ แท็บเล็ต หรือ
โทรศพั ทม์ อื ถือ