The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตัวอย่าง ไฟล์ที่จะนำมาสร้าง E-book คู่มือการจ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Opars Luekhajon, 2020-04-15 03:57:15

ตัวอย่าง ไฟล์ที่จะนำมาสร้าง E-book คู่มือการจ

ตัวอย่าง ไฟล์ที่จะนำมาสร้าง E-book คู่มือการจ

คูมอื การจัดกจิ กรรม
สงเสรมิ การอา นหอ งสมดุ ประชาชน

สถาบันพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคเหนอื
สำนกั งานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ



คำนำ

หองสมดุ ประชาชน เปน แหลงการเรียนรูทางเลือกหน่ึงของประชาชนทจี่ ะ
สงเสริมใหประชาชนเกิดการเรียนรูตลอดชีวิต ดวยเหตุที่หองสมุดประชาชนเปน
แหลง รวบรวมขอ มลู ขา วสาร ความรทู างดานวชิ าการตาง ๆ ทีส่ ามารถคนควาได
อยางหลากหลายตามความสนใจและความตองการของประชาชน ภาระงาน
ท่ีสำคัญของบรรณารักษและเจาหนาท่ีหองสมุดประชาชน จึงมีความสำคัญซ่ึงตอง
นำนโยบายการดำเนินงานหองสมุดประชาชนไปปฏิบัติใหบังเกิดผล กอใหเกิด
การสรางสรรค การบริการสื่อทุกประเภทไดอยางหลากหลายและที่สำคัญยังตอง
ทำหนา ทจ่ี ดั กจิ กรรมสงเสรมิ การอานอยางตอเนอ่ื งอกี ประการหนึ่งดว ย

ในปงบประมาณ 2557 สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศยั ภาคเหนอื จงึ ไดพ ฒั นาเอกสารคมู อื การจดั กจิ กรรมสง เสรมิ การอา นขนึ้
โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสนับสนุนบรรณารักษและเจาหนาที่หองสมุดประชาชนได
นำไปศึกษาเปนแนวทางในการจัดกิจกรรมสงเสริมการอาน ในเอกสารจะประกอบ
ไปดวยความรูและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานในภารกิจ ซ่ึงหวังเปน
อยางย่ิงวาจะเกิดประโยชนตอบรรณารักษ และเจาหนาท่ีหองสมุดประชาชนได
ตามทเี่ หน็ สมควร

สถาบัน กศน. ภาคเหนอื ไดร ับความรวมมอื จาก ผอู ำนวยการสำนักงาน
กศน.จังหวัดพิจิตร เพชรบูรณและจังหวัดลำปาง ท่ีไดใหความอนุเคราะหบุคลากร
ทสี่ ำคญั ดงั ปรากฏชอ่ื ในทา ยเอกสาร รว มในการจดั ทำคมู อื การจดั กจิ กรรมสง เสรมิ
การอา นหองสมุดประชาชน จงึ ขอขอบคุณไว ณ ทน่ี ี้

(นายประเสรฐิ หอมดี)
ผูอำนวยการสถาบนั กศน. ภาคเหนือ

กนั ยายน 2557

สารบัญ

คำนำ 1
สารบัญ
บทนำ หองสมุดกบั การเรยี นรูต ลอดชวี ติ 6
6
บทบาทหนาท่ขี องบรรณรกั ษ 11
ตอนท่ี 1 การอานและการจดั กจิ กรรมสง เสริมการอา น 12
13
การอานและความสำคัญของการอา น 14
แนวคิดในการสงเสรมิ นสิ ยั รักการอา น 16
ขัน้ ตอนการจดั กิจกรรมสงเสริมการอาน 19
ประเภทของการจัดกจิ กรรมสง เสรมิ การอาน 31
แนวทางการจัดกิจกรรมสง เสริมการอา น 31
42
เทคนิคการจัดปายนเิ ทศ 46
เทคนคิ การหดั วาดรูปการต ูน 60
ตอนที่ 2 แนวทางการจดั กิจกรรมสงเสริมการอา น 83
กจิ กรรมหนงั สือเลม แรก bookstart 86
การจัดกิจกรรมการเรยี นรูร ปู แบบคาย 87
89
การจัดกิจกรรมสงเสริมการอา นรูปแบบคาย 90
การจัดกิจกรรมสง เสรมิ การอานและการเรยี นรูส ูอ าเซยี น
แบบประเมนิ ความพึงพอใจ
ภาคผนวก

จรรยาบรรณของบรรณารักษแ ละผปู ฏบิ ัติงานหอ งสมดุ
บรรณานกุ รม
คณะผจู ัดทำ

บทนำ

หอ งสมุดกับการเรยี นรตู ลอดชวี ติ

การเรียนรตู ลอดชวี ติ

“การเรียนรูตลอดชีวิต คือ การเรียนรูท่ีเกิดจากการผสมผสานระหวางการ
ศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อใหสามารถ
พฒั นาคณุ ภาพชีวติ ไดอยา งตอเนือ่ งตลอดชีวิต”

การเรียนรูตลอดชีวิตจึงมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาบุคลากรในองคกร
ตาง ๆ เน่ืองจากสังคมปจจุบันมีการเปล่ียนแปลงในหลากหลายแงมุมของชีวิต
มนุษยผูคนในสังคมแหงการเรียนรูจึงควรนำการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตเพ่ือ
พัฒนาปรับปรุงตนเองอยางตอเนื่องและเพ่ือเพิ่มศักยภาพของตนเองในการ
ปรับปรุงคุณภาพการปฏิบัติงาน การติดตามการเปล่ียนแปลงทางดานวิทยาการ
ตา ง ๆ อยเู สมอ อันนำไปสคู ุณภาพการปฏิบัติงานและการบรกิ ารท่เี ปน เลิศ อยางไร
ก็ตาม การเรียนรูตลอดชีวิต การมีคานิยมท่ีถูกตองในเร่ืองการเรียนรูจะทำให
คนไทยสามารถปรับตัวอยูในโลกปจจุบันได ซึ่งการเรียนรูตลอดชีวิตประกอบดวย
หลกั สำคัญ 4 ประการคอื

1. การเรียนเพอ่ื รู
2. การเรยี นรูเพ่ือปฏบิ ตั ิไดจรงิ
3. การเรียนรทู ่ีจะอยรู วมกัน
4. การเรยี นรูเพอ่ื ชีวติ
จะเห็นไดวาการเรียนรูตลอดชีวิตมีความสำคัญตอชีวิตมนุษย แหลงการ
เรียนรูมหี ลากหลาย รวมถึงหองสมุดท่ีเปน แหลง รวมองคค วามรู เออื้ ใหเ กดิ การแลก
เปลยี่ นเรียนรู ตอ ยอดความรู และเปนฟน เฟองสำคัญในการสรา งเสริมกระบวนการ
เรยี นรูตลอดชีวิต

หองสมดุ กบั การเรยี นรูตลอดชวี ิต
ในโลกยคุ ปจ จบุ นั เปน ยคุ ขา วสารขอ มลู ทท่ี วั่ โลกสามารถทจี่ ะรบั รขู า วสารได

ภายในเวลาอันรวดเร็ว จึงมีผลตอการพัฒนาประเทศใหเจริญทัดเทียมกับ

1

อารยประเทศทั้งหลาย ดังนั้น ในการพัฒนาประเทศใหมีความเจริญกาวหนา จึงมี
ความจำเปนทจ่ี ะตองพัฒนาคน ในประเทศใหเปน คนรักการอาน รกั การเรยี นรู และ
พฒั นาสงั คมไทยใหเ ปน สงั คมทม่ี คี วามรเู ปน ฐาน ซงึ่ ในปจ จบุ นั การแสวงหาความรนู น้ั
หาไดไมยาก เน่อื งจากความรูม ีมากมาย หลากหลายและมเี ทคโนโลยีทกี่ าวหนาเปน
เคร่ืองมือในการแสวงหาความรูจากแหลงความรูตาง ๆ ไดอยางไมจำกัด จนทำให
ประชาชนสามารถใชป ระโยชนใ นการเรยี นรไู ดต ลอดชวี ติ หอ งสมดุ จงึ เปน ทางเลอื กหนงึ่
ในการสงเสริมใหเกิดการเรียนรูตลอดชีวิต เพราะเปนแหลงรวบรวมขอมูล ขาวสาร
ความรู และวิชาการตาง ๆ ที่ทันสมัยทันตอเหตุการณ สามารถคนควาหาความรู
ไดอยางหลากหลายตามความสนใจและความตองการของตนเอง และบุคลากรที่
ขบั เคลือ่ นการสงเสรมิ การเรยี นรตู ลอดชวี ติ คอื บรรณารักษและเจาหนา ท่ีหองสมุด
นั้นเอง ภาระงานของบรรณารักษและเจาหนาท่ีหองสมุด ถือเปนบทบาทท่ีสำคัญ
ในการดำเนนิ งานหองสมดุ มดี ังนี้

บทบาทหนาทีข่ องบรรณารักษ
บรรณารักษ คือ ผูนำของหองสมุดประชาชนแตละแหง ภารกิจของ

บรรณารักษ คือ การนำนโยบายการดำเนินการหองสมุดประชาชนไปปฏิบัติให
บังเกิดผล กอใหเกิดการบริการที่หลากหลาย เปนไปตามความตองการของกลุม
เปาหมาย บรรณารักษเปนผูดูแลรับผิดชอบหองสมุดประชาชนทางดานกายภาพ
หรือท่ีเรียกวาโครงสรางพ้ืนฐานทั้งภายในและภายนอกหองสมุดมีหนาที่จัดเตรียม
และสรางสรรคการบริการสื่อทุกประเภทและ จัดกิจกรรมสงเสริมการอานให
หอ งสมุดมชี วี ติ ชวี า

เจาหนาท่ีหองสมุด คือ บุคคลสำคัญท่ีเปนผูชวยเหลือ หรือปฏิบัติหนาท่ี
แทน ในกรณีท่ีไมบรรณารักษ หรือมีบรรณารักษแตบรรณารักษไมสามารถปฏิบัติ
หนา ทไ่ี ด

กลาวไดวา ท้ังบรรณารักษและเจาหนาที่หองสมุดตางก็มีความสำคัญใน
ฐานะ ผูขับเคลื่อนนโยบายการดำเนินการหองสมุดประชาชนใหไปถึงกลุมเปาหมาย
นั้นเอง โดยมีภาระงานหลกั ๆ ได 6 ดา น ดงั นีค้ ือ

1. บรกิ ารยมื -คืนหนังสือและส่ืออื่น ๆ เปน กิจกรรมทปี่ ระชาชนสามารถยืม
หนงั สือและสอ่ื ตาง ๆ ไปอานและไปศกึ ษา และนำกลับมาคืนตามกำหนด

2

2. บริการชวยคนควาและตอบคำถาม เปนกิจกรรมท่ีบรรณารักษและ
เจาหนาที่หองสมุดจะชวยเหลือประชาชนผูมาใชบริการใหศึกษาคนควาไดงายข้ึน
โดยมีบรรณารักษหรืออุปกรณในการอำนวยความสะดวกในการสืบคน เชน บัตร
คำ โปรแกรมการสืบคนจากคอมพวิ เตอร

3. บริการสงเสริมการอานและการใชสื่อ เปนกิจกรรมท่ีจัดข้ึนเพื่อสงเสริม
การอานและการใชสื่อ เชน การแนะนำหนังสือที่นาสนใจและส่ือใหม ๆ การเชิญ
ผเู ขียนหรือผปู ระพนั ธไ ปพบสมาชิกในบางโอกาส

4. บริการตามความตองการเฉพาะ เปนกิจกรรมท่ีจัดข้ึนภายในหองสมุด
เพื่อบริการกลุมเปาหมายท่ีมีความหลากหลาย เชน มุมเด็ก มุมสืบคนอินเทอรเน็ต
มุมดหู นงั ฟง เพลง มมุ กาแฟ หองคาราโอเกะ เปนตน

5. บริการนอกหองสมุดหรือชุมชน เปนกิจกรรมท่ีจัดบริการใหบริการใน
รูปแบบหองสมุดเคลื่อนที่ โดยจัดกิจกรรมสงเสริมการอานท่ีดึงชุมชนเขามาเปน
เจาภาพรวมการจัดกจิ กรรม

ดังจะเห็นไดวา บรรณารักษและเจาหนาท่ีหองสมุดมีความสำคัญในฐานะ
ผูขับเคลื่อนนโยบายการดำเนินงานหองสมุดประชาชนใหไปถึงกลุมเปาหมาย
โดยวิธกี ารตาง ๆ ดงั น้ัน บรรณารักษย คุ ใหมค วรมีแนวคดิ ท่ีเปด กวาง กลาคดิ กลา ทำ
ส่ิงใหม ๆ เพื่อสรางภาพลักษณของงานหองสมุดที่สอดคลองกับบริบทของชุมชน
ความตองการของผใู ชบริการ บรรณารกั ษจ งึ ควรมคี ุณลักษณะ ดังนี้

1. เปนนักคิด บุคคลที่ชอบคิดและวางแผนสิ่งตาง ๆ ใหเกิดการเรียนรู
และ จัดกิจกรรมสงเสริมการอานอยางไมจำกัด อยูเพียงภายในหองสมุดเทานั้น
ตรงกันขาม ภายนอกหองสมุดหรือสถานท่ีหางไกลออกไปก็สามารถจัดกิจกรรมได
รูจ กั คดิ ท่จี ะนำกจิ กรรมตา ง ๆ ไปตอ ยอดใหเกดิ การเรียนรูตอเนอื่ งตลอดชวี ติ

2. นักแสวงหาและสรางเครือขาย สามารถสรางเครือขายการใหบริการได
กวางขวางยิ่งขึ้น จากการจัดกิจกรรมสามารถสรางทีมงาน ท่ีมีคุณภาพทั้งภายนอก
และภายในหองสมุดที่มีความเขมแข็ง เพราะไดรวมงานหลายขั้นตอน และได
รวมมือกับหลายหนวยงาน หลายระดับ มองเห็นชองทางและสามารถสราง
เครือขายไดมากขึน้ ตลอดจนการเรียนรทู ีจ่ ะอยแู ละทำงานรวมกนั

3. นกั ประชาสมั พันธ นักประชาสัมพันธเ ปนเสมอื นหนา ตาขององคก ร เชน
เดียวกับบรรณารักษเปรียบเสมือนหนาตาของหองสมุด ซ่ึงการสรางภาพลักษณท่ีดี

3

ของหองสมุดสวนหน่ึงตองใชความสามารถของบรรณารักษ มีบุคลิกภาพเปนมิตร
ย้ิมแยมแจม ใส ทักทายชว ยเหลอื ไมรอใหผ ใู ชบ ริการรองขอ

4. เปนนักพัฒนา บรรณารักษ ตองมีการพัฒนาตนเองใหมีความรอบรู
ใฝหาความรูตลอดเวลา มีความคิดริเริ่มสรางสรรค มีการพัฒนาตนเองใหมีทักษะ
ในการใชเคร่ืองมือเทคโนโลยี เพ่ือนำมาใชใหเกิดประโยชนในการดำเนินงาน ใหทัน
ตอสังคมทีม่ กี ารเปลย่ี นแปลงไป

5. เปนนักการตลาด บรรณารักษในปจจุบันจะตองเปนผูที่ทำหนาที่ในการ
ใหบริการเชงิ รกุ แทนการตอบสนองผใู ชในเชิงรบั คอื จะตอ งรูค วามตองการของผใู ช
วาผูใชตองการอะไร แลวดำเนินการจัดหา และกระตุนสงเสริมใหเกิดการใชบริการ
เพ่อื ใหหองสมดุ กลายเปนแหลง การเรยี นรูท ีส่ ำคัญท่ีอยใู นใจของผูใ ชเสมอ

6. เปนนักบูรณการ บรรณารักษตองมีความสามารถในการนำความรูมา
ผสมผสานกับระบบเทคโนโลยี และนำมาประยุกตใชใหเกิดประสิทธิภาพในการ
ทำงานมากท่สี ุด

7. มีจิตบริการ หัวใจสำคัญของงานหองสมุดคือ งานบริการ บรรณารักษ
จึงตองมีจิตใฝบริการ ใหบริการดวยความเต็มใจ ยิ้มแยมแจมใส ใหความเสมอภาค
เทา เทยี มกันตอผูใชบรกิ ารทกุ คน

จากคุณลักษณะของบรรณารักษและเจาหนาท่ีหองสมุด ท่ีเปนนักพัฒนา
มีการพัฒนาตนเองใหมีทักษะในการนำความรูท่ีทันสมัย แปลกใหม นำมาใชให
เกิดประโยชนในการดำเนินงาน เทคโนโลยีจึงเปนเครื่องมือท่ีจำเปนในการพัฒนา
งานหองสมดุ ใหเ ปนหอ งสมุดยคุ ใหม

เทคโนโลยีกับการบริหารงานหอ งสมดุ

หองสมุดเก่ียวของกับการจัดการและการบริหารสื่อการเรียนรูท้ังสาม
ประเภท คือ ส่อื ส่ิงพมิ พ ส่ือโสตทศั น และสอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส โดยมคี อมพวิ เตอรเปน
เครอื่ งมือในการ

จัดเก็บ ดังน้ันการนำเทคโนโลยีมาใชในการบริหารงานหองสมุดจึงมีความ
จำเปน จะเห็นไดจากหองสมุดที่นำเอาเทคโนโลยี รวมถึงระบบโปรแกรม
คอมพิวเตอรมาสนับสนุนการดำเนินงานบริการดานหองสมุด รองรับการใหบริการ
ของประชาชน เชน

4

1. ระบบบรกิ ารยืม – คนื ทรัพยากรดวยแถบรหัสบารโ คด
2. ระบบบริการสืบคน ขอ มูลทรพั ยากร
3. ระบบตรวจเชค็ สถติ กิ ารใชบรกิ ารหองสมดุ
4. ระบบตรวจเช็คสถติ กิ ารยมื – คนื ทรพั ยากร
จากการนำเทคโนโลยีมาใชในการบริการ สงผลใหการเนินงานเปนไป
อยางรวดเร็ว ลดขั้นตอนและระยะเวลาในการบริการ ซ่ึงรวมถึงประโยชนที่ผูใช
บริการไดรับจาการใชเทคโนโลยี ในการเรียนรู เชน การเรียนศิลปะโดยการหัด
วาดรูปใชโปรแกรม Microsoft Word โปรแกรม Microsoft Excel โปรแกรม
Microsoft Power Point และผูใชบริการ ใชคอมพิวเตอรในการสืบคนขอมูลทาง
อินเตอรเน็ต ศึกษาคนควาขอมูลขาวสารทางวิชาการอ่ืน รวมถึงการติดตอส่ือสาร
ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส(Electronic) หรอื (E-mail) เพ่อื ใชรับสง ขาวสาร ขอ มลู
รปู ภาพ และสงงานตา ง ๆ ได

5

ตอนท่ี 1

การอา นและการจดั กิจกรรมสงเสริมการอาน

การอา น (reading)
ราชบัณฑิตยสถานนิยามวา “อาน”

หมายถึงวาตามตวั อกั ษร สว น“การอา น”หมายถงึ
การแปลความหมายของตัวอักษรที่อานออกมา
เปนความรูความคิดและเกิดความเขาใจเร่ืองราวท่ี
อานตรงกับเรื่องราวท่ีผูเขียนเขียน ผูอานสามารถ
นำความรู ความคิดหรือสาระเร่ืองราวท่ีอานไปใช
ประโยชนไดซึ่งมีความหมายในลักษณะเปนการรับแลวถายทอดโดยใชตัวอักษร
สัญลกั ษณ เพ่ือสอ่ื ความคิดและความหมายน้ัน
ความหมายของการอา น

การอานเปนทักษะอยางหน่ึงของมนุษยเรา ท่ีตองนำไปใชในการดำรงชีวิต
ทักษะการอานน้ีเราสามารถพัฒนาหรือฝกฝนไปไดเรื่อยๆไมมีที่สิ้นสุดเพราะ
การอานนั้นจะเก่ียวของกับชีวิตประจำวันของคนเรามาก การอานนั้นอาจจะชวยให
ผูอานเกดิ ความสดใสสบายใจหรือสนุกสนานไปกบั การอา นได ถาเราขาดการอา นไป
เราก็จะเปนคนที่ไมสมบูรณในชีวิตดังคำกลาวของนักปราชญชาวอังกฤษกลาวไววา
“การอานทำใหค นเปนคนโดยสมบูรณ”

การอาน เปนพฤติกรรมการรับสาร ท่ี
สำคัญไมยิ่งหยอนไปกวาการฟง และการพูด
ปจจุบันมีผูรู นักวิชาการและนักเขียนนำเสนอ
ความรู ขอ มูล ขาวสารและงานสรา งสรรคตีพมิ พ
ในหนังสือและสิ่งพิมพตาง ๆ มาก เพื่อรักษาไว
เปน หลักฐานแกผ อู านในรนุ หลัง ๆ ความสามารถ
ในการอาน จึงเปนเร่ืองท่ีสำคัญและจำเปนย่ิง
ตอการเปน คนท่ีมีคณุ ภาพในสงั คมปจ จบุ นั จะเหน็

6

ไดวา องคการระดบั นานาชาติ เชน องคการศกึ ษาวทิ ยาศาสตรและวัฒนธรรมแหง
สหประชาชาติ (UNESCO) จะใชความสามารถในการรูหนังสือของประชากร
ประเทศตา ง ๆ เปนดัชนวี ดั ระดับการพัฒนาของประเทศนนั้ ๆ

เกี่ยวกับการอาน มีนักวิชาการทั้งในและตางประเทศไดใหความหมายของ
การอา นที่คลา ยคลงึ กันพอสรปุ ไดวา

1. การอา นเปนกระบวนการคน หาความหมายในสงิ่ ท่ีเราไดอาน
2. การอานเปน กระบวนการเรยี นรทู ี่จะทำใหเ กดิ ความรู ความเขา ใจ
3. การอา นเปนกระบวนการจบั ใจความจากสิง่ ทีเ่ ราไดอ า น
4. การอานเปน กระบวนการทจ่ี ะทำใหเ ราเขาใจภาษาเขยี น
5. การอานเปนกระบวนการถอดความจากตัวอักษรออกมาเปนความคิด

เพือ่ นำไปใชป ระโยชน
6 การอานเปนทักษะท่ีรวมทักษะตาง ๆ เขาดวยกัน ไดแก ทักษะใน

การ คิดและทักษะทางไวยากรณ
7. การอานเปนกระบวนการคนหาความหมายในส่ิงพิมพหรือขอเขียน

ตีความเพ่อื พัฒนาตนเองท้ังดานสติปญญา อารมณ และสงั คม

สรุปไดวา การอานเปนกระบวนการทางความคิดในการรับสาร เปน
พฤติกรรมทางการใชภาษาที่มีลักษณะเฉพาะตัว เปนการถายทอดความหมายของ
ตัวอักษร สัญลักษณ ภาพท่ีไดดูออกมาเปนถอยคำและความคิด ทำความเขาใจ
ส่ิงที่อานแลวนำไปใชประโยชนเพื่อพัฒนาตนเอง ท้ังดานสติ ปญญา สังคมและ
อารมณ
ความสำคญั ของการอา น

การอานเปนส่ิงสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ใหดีข้ึนและสมบูรณมาก
ย่ิงข้ึน เพราะการอานเปนปจจัยในการพัฒนาบุคคล ชวยใหเกิดความงอกงามของ

7

สติปญญา ทำใหเรารูจักคิดเปดโลกทัศนใหกวาง
จะทำใหผูอานไดรับความรู และความบันเทิง
ทางใจการอานยังสามารถทำใหคนนำความรู
ที่ไดพัฒนาตนเองพัฒนาชุมชน รวมถึงนำไป
พฒั นาประเทศไดด ว ย

การอานทำใหผูอานมีคลังขอมูลอยูในสมอง เพราะการอานเปนการรับสาร
ผอู า นจะไดร บั สาระความรู ทำใหเ ปน ผทู ท่ี นั โลก ทนั เหตกุ ารณอ ยเู สมอ คลงั ขอ มลู นี้
เปน พนื้ ฐานแหงความรู ทีจ่ ะนำไปสูการคิดได คดิ เปนในโอกาสตอ ไป การอา นทำให
ผูอานไดพัฒนาความคิดเนื่องจากการอานเปนพฤติกรรมการรับสาร ท่ีมีความคิด
เปนแกนกลาง ขณะท่ีอานผอู านจะตองใชส มองขบคิด พิจารณา คนหาความหมาย
และทำความเขาใจขอความที่อานไปตามระดับความสามารถ การอานน้ีเปนผล
มาจากการฝกสมองขณะท่ีอาน ทำใหเกิดพัฒนาการทางความคิด ผูที่อานหนังสือ
มากจึงมักเปนปราชญหรือนักคิด การอานหนังสือจึงทำใหผูอานไดพัฒนาการใช
จินตนาการเพราะการอานทำใหผูอานไดใชความคิดอยางอิสระ สามารถสรางภาพ
ในใจของตนเองโดยการตีความจากภาษาของผูเขียน ดังนั้นแมจะอานหนังสือ
เลมเดียวกันแตผูอานก็อาจมีภาพในใจท่ีแตกตางกันไปตามจินตนาการของแตละคน
นักการศึกษาตางเห็นตรงกันวาประสบการณคร้ังแรก ในการอานน้ันมีความสำคัญ
อยางย่ิงตอการปรับตัวของเด็กความสำเร็จในการเรียน ตลอดจนทัศนคติของเด็ก
ที่มีตอการอานหนังสือ จะเปนหนทางนำไปสูความสำเร็จทางการศึกษาสืบไป
(กรมวิชาการ 2546 : 11) ไดใหขอคิดเห็นเกี่ยวกับการอานวา คนที่ไมชอบอาน
หนังสือหรือไมมีนิสัยรักการอานจะเปนส่ิงบั่นทอนความกาวหนาทางดานวัตถุและ

จิตใจ (จารุดี ผโลประการ 2538 : 6) เห็นวาการปลูกฝงนิสัย
รักการอานใหเด็ก จะสงเสริมใหเด็กเปนคนดีพรอมท้ังทางกาย
วาจา ใจและสตปิ ญ ญา อนั ประกอบดว ยมคี วามรดู ี ความประพฤตดิ ี
มีพลานามยั สมบูรณด ี สามารถแกป ญหาตาง ๆ ไดดวยตนเองและ
นำความรนู น้ั ไปใชป ระโยชนต อ ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชนประเทศชาติ
ตลอดจนมนุษยชาติท้ังมวลและ (สวัสดิ์ เรืองวิเศษ 2523 : 5)
การสรางเสรมิ นิสยั รกั การอา น ควรเรม่ิ ตัง้ แตวัยเดก็ เพราะเมอ่ื เด็ก
รักการอานต้ังแตเล็ก ๆ แลว เวลาท่ีเติบโตขึ้นนิสัยรักการอาน

8

จะติดตัวตอไปเร่ือย ๆ เปน ผลดีตอการเรยี นและการปรับปรงุ ตัวใหเ ขา กบั สังคมและ
ส่งิ แวดลอมของเดก็ ไดเ ปนอยางดี

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไดทรงบรรยาย
ถึงความสำคัญและประโยชนของการอานหนังสือในการประชุมใหญสามัญ
ประจำป พ.ศ.2530 ของสมาคมหองสมดุ แหง ประเทศไทย (อา งถึงในสำนกั งานการ
ประถมศึกษา จังหวัดเชยี งราย, 2543, หนา 4) ไวดงั น้ี

1. การอา นหนงั สอื ทำใหไ ดเ นอื้ หาสาระความรมู ากกวา การศกึ ษาหาความรู
ดว ยวธิ อี ืน่ ๆ เชน การฟง

2. ผอู า นสามารถอา นหนงั สอื ไดโ ดยไมม กี ารจำกดั เวลาและสถานทส่ี ามารถ
นำไปไหนมาไหนได

3. หนังสอื เกบ็ ไดนานกวา สอ่ื อยา งอื่น ซงึ่ มกั มีอายกุ ารใชงานโดยไมจ ำกัด
4. ผอู า นสามารถฝกคิดและสรางจินตนาการไดเองในขณะอา น
5. การอานสงเสริมใหสมองดี มีสมาธินานกวาและมากกวาส่ืออยางอื่น

ท้ังนี้เพราะขณะอานจิตใจจะตองมุงม่ันอยูกับขอความ พินิจพิเคราะห
ขอความ
6. ผูอ า นเปนผกู ำหนดการอานไดดว ยตนเอง จะอา นครา ว ๆ อานละเอียด
อานขามหรืออานทุกตัวอักษร เปนไปตามใจของผูอานหรือจะเลือก
อา นเลม ไหนกไ็ ดเ พราะหนังสอื มีมากสามารถเลอื กอานเองได
7. หนังสือมีหลากหลายรูปแบบและมีราคาถูกกวาส่ืออยางอ่ืนจึงทำให
สมองผอู า นเปดกวา งสรา งแนวคิดและทศั นะไดม ากกวา ไมยดึ ตดิ อยกู บั
แนวคดิ ใด ๆ โดยเฉพาะ ผอู า นเกดิ ความคดิ เหน็ ไดดว ยตนเอง
8. วินิจฉัยเนื้อหาสาระไดดวยตนเอง รวมท้ังหนังสือบางเลมสามารถนำไป
ปฏบิ ตั ไิ ดด วย เม่ือปฏิบตั แิ ลว เกดิ ผลดี
การอานมิใชทักษะที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
ดังนั้นจึงตองคอยกระตุนสงเสริมสนับสนุนโดยการจัดให
มีกิจกรรมสงเสริมการอานไมวาจะเปนการศึกษาใน
ระบบและการศึกษานอกระบบ ทุกระดับช้ันเพื่อที่
ประชาชนจะไดเห็นความสำคัญของการอานอยาง
ตอเน่ืองไปตลอดชีวิต ไมใชเพียงชวงระยะเวลาใด

9

เวลาหนึ่งของชวี ิตอันจะสงผลใหเ กดิ การเรยี นรู ไดอยางกวางขวางมากยิ่งขึ้น ซงึ่ การ
อา นน้ันจะชว ยในเรือ่ งตาง ๆ ดงั นี้

1. ชวยในการเพ่ิมความรูใหแกตนเอง
ไมแคบอยูกบั เฉพาะเร่อื งสวนตวั ของตนเอง

2. ชวยพัฒนาความคิดใหเกิดการ
คิดมากยิ่งข้ึนเพราะประสบการณของการอาน
จะชวยเสริมสรางความรูดานสติปญญา และ
ชว ยในการพฒั นาสอื่ หรอื ความคดิ ในดา นตา ง ๆ

3. ชวยใหสังคมยอมรับเรามากขึ้นใน
การอานน้ันจะชวยใหเราปรับตัวของเราเอง
เขากับสังคมไดดี เพราะในหนังสือท่ีเราอานจะ
มีประสบการณต าง ๆ ของผูอน่ื ใหเราไดค ิดแลว
นำมาปรับใชก ับตวั เรา

4. ชวยในการเสริมประสบการณชีวิต
ใหประสบผลสำเร็จเพราะในหนังสือจะมี
ประสบการณของผูอื่นใหเรามาศึกษา และ
ปรบั ปรงุ แกไ ขของตวั เองใหดกี วาคนอนื่

5. ชวยใหเรามีความบันเทิงและความสนุกสนานในการอาน ถาเราเปน
คนชอบอานเราก็จะสนกุ แตถาเราไมชอบอานเราก็จะรูสึกเบ่ือ ดังนัน้ เราควรจะอา น
ใหมากจะไดมคี วามสนุกและความบันเทงิ ในตัวเราเองมากขึ้น

จากความสำคัญและประโยชนของการอานท่ีไดกลาวมาขางตน จะเห็น
ไดวาการอานมีคุณคาตอชีวิตมนุษยอยางมากมายหลายทาง ท้ังสติปญญา อารมณ
และทางสังคม ทำใหเราไดคิด ไดรูแลวนำมาเปนขอมูลในการตัดสินใจ ปรับใชให
เปนประโยชนตอตัวเราได ท้ังนี้ขึ้นอยูกับผูอานดวยวามีความตั้งใจในการอานมาก
อา นนอ ยเพียงใด ถา อานอยา งไมต ง้ั ใจผูอ า นจะไมร ูเ รื่องในสิง่ ที่ตนอา นทำใหเสียเวลา
โดยเปลาประโยชน ซ่ึงควรจะเอาเวลาน้ันไปทำอยางอื่นจะดีกวา ฉะนั้นลองถาม
ตวั เองดวู า วันน้คี ุณอา นหนังสือแลว หรือยัง

10

แนวคดิ ในการสง เสรมิ นสิ ยั รกั การอา น

พัฒนาการในดานตาง ๆ ของเด็ก ยอมข้ึนอยูกับการสรางสภาพแวดลอม
ท่ีเหมาะสม การสง เสรมิ อยา งถูกตองและความรกั ความเขา ใจเปนพนื้ ฐาน กอ นทเ่ี รา
จะพูดถึงการปลกู ฝง นิสยั รกั การอา นใหแกเ ดก็ เราควรตองศึกษาวธิ ีการแนวคดิ และ
แนวปฏบิ ตั ิทจ่ี ะสงเสรมิ ลกู หลาน เด็กนกั เรียนใหอา นหนงั สือ รกั หนงั สอื ไดอ ยางไร

บางคนอาจเขาใจวา นิสัยรักการอาน ขึ้นอยูกับสถานภาพทางเศรษฐกิจ
และสังคมของครอบครัว กลาวอีกนัยหน่ึงก็คือ ครอบครัวตองมีฐานะ เด็กจึงจะ
รักการอาน ในเรื่องน้ีได มีการสำรวจและวิจัยดูแลว พบวา ฐานะทางเศรษฐกิจ
สังคมมีผลกระทบตอนิสัยรักการอานนอยมาก ไมวาครอบครัวจะมีฐานะร่ำรวย
ปานกลาง หรือฐานะยากจน เด็กจะพัฒนานิสัยรักการอานขึ้นมาได ดวยเหตุปจจัย
อ่ืน ๆ ท่ีคลายกัน โดยไมไดขึ้นอยูกับฐานะเทาใดนัก (ยกเวนในกรณีที่ครอบครัวมี
ฐานะยากจนเด็กขาดพัฒนาการใน ขั้นพื้นฐานทางรางกายและสติปญญา) ท้ังนี้
เปนที่รูกันโดยท่ัวไปวา พอ แม ผูปกครองท่ีมีฐานะดียอมสามารถสนับสนุนเด็ก
ไดมากกวาผูปกครองที่มีฐานะยากจน แตก็ปรากฏวา เด็กยากจนที่รักการอาน
จะสามารถแสวงหาหนังสือ และส่ิงอื่นๆท่ีอยูรอบตัวมาอานอยางกระตือรือรนได
ในขณะท่ีเด็กที่อยูในครอบครัวท่ีมีฐานะร่ำรวย แมผูปกครองจะซื้อหาหนังสือมาให
มากมายเพียงใด ก็ยังไมสนใจหนังสือเทาใดนักซึ่งกลุมครอบครัวลักษณะเชนนี้มีอยู
ไมนอยทีเดียว อีกทั้งการอานหนังสือของคนไทยเปนกิจกรรมที่ไมแพรหลายแม
ในหมูผูรหู นงั สือแลว โดยเฉพาะการหาอา นหนังสอื ทดี่ แี ละมสี าระยงั มีนอย สาเหตมุ ี
อยูหลายประการนับต้ังแตการขาดแคลนหนังสือท่ีดี จำนวนหนังสือมีไมเพียงพอ
และตรงกับความตองการของผูอาน การขาดแคลนแหลงหนังสือท่ีสามารถยืมไป
อานได สิ่งเหลานี้ทำใหผูคนขาดแรงจูงใจ และแรงกระตุนใหอยากอาน ดังนั้นหาก
ตองการใหการอานหนังสือจนเกิดเปนนิสัย จำเปนตองมีการปลูกฝงและชักชวน
ใหเกิดความสนใจการอานอยางตอเน่ือง สม่ำเสมอ ดังน้ันการจัดกิจกรรมสงเสริม
นิสัยรักอานจึงควรมลี ักษณะดังนี้

1. เรา ใจใหเ กิดความอยากอานหนงั สอื
2. ใหเกิดความพยายามท่ีจะอานและเสริมแรงใหอยากรูเรื่องราวที่มีอยูใน

หนงั สอื

11

3. แนะนำ กระตุนใหอยากรูอยากเห็นเรื่องนารูตางๆ เกิดความรอบรู
คดิ กวา งมีการอา นตอเนือ่ งจนเปน นสิ ยั

4. สรา งบรรยากาศทีน่ าอา น รวมทง้ั ใหมวี ัสดุการอานทีด่ ี มีแหลง การอาน
ทเ่ี หมาะสมและเพียงพอ

ขน้ั ตอนการจัดกจิ กรรมสง เสรมิ การอาน
การจัดกิจกรรมตองท่ีดีควรเกิดจากการ

รวมมือหลายฝาย ซึ่งตองอาศัยความคิดสรางสรรค
กิจกรรมและมีความเขาใจถึงวิธีการรวมกัน เพื่อให
บรรลผุ ลตามเปา หมายทว่ี างไว ดงั นน้ั การจดั กจิ กรรม
ทกุ คร้ังควรตอ งคำนึงถึงขน้ั ตอนการจัดดังนี้

1. กำหนดวตั ถปุ ระสงคใ นการจดั ใหชดั เจน กจิ กรรมมลี กั ษณะแตกตางกัน
เชนจัดเพ่ือสงเสริมการอาน การใชหองสมุดเพ่ือการศึกษาคนควา ใหความรูเรื่อง
ตา ง ๆ ในวนั สำคัญ เปน ตน

2. คำนึงถึงกลุมเปาหมายวาเปนคนกลุมใด เพื่อกำหนดประเภทและ
ลักษณะกจิ กรรม รปู แบบ เนอื้ หาไดเหมาะสมสอดคลองกับวตั ถุประสงคท กี่ ำหนดไว
จึงจะเปนประโยชนตอ ผูร ว มกจิ กรรม

3. วางแผนการจัดกิจกรรม ท้ังดานวิชาการและการบริหารจัดการ
จะประกอบไปดวยหลายงาน เชนการจัดทำแผนการเรียนรู(เน้ือหา วัตถุประสงค
วธิ กี าร สอ่ื อปุ กรณต า ง ๆ เวลา ผรู บั ผดิ ชอบ การวดั และประเมนิ ผล) งานประชาสมั พนั ธ
สถานท่สี ือ่ การวดั ผลประเมินผล เปนตน

4. การดำเนินการจัดกิจกรรม เปนข้ันตอนการปฏิบัติจริงตามแผนการ
เรียนรูท่ีกำหนด ท้ังน้ีงานทุกอยางตองจัดเตรียมไวเปนอยางดี มีความพรอม
บางกิจกรรมอาจจะตองมีการซักซอมหรือทดลองกันกอน เพ่ือทราบขอบกพรอง
จะไดแ กไ ขได ทันกอนจดั กิจกรรม

5. การวัดผลและประเมินผล การจัดกิจกรรมสงเสริมการอาน สามารถ
วัดได ท้ังการจัดศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยบูรณาการเนื้อหา
ในสาระความรพู ื้นฐานและสาระการพัฒนาสงั คมใหเ ขา กบั กิจกรรม ถา กจิ กรรมเปน
ลักษณะนี้ตองมีการวัดความรูตามเน้ือหาและวัตถุประสงคที่กำหนด รวมทั้งตอง
จดั ทำแบบประเมินความพึงพอใจดว ย

12

ประเภทของกจิ กรรมสง เสรมิ การอา น

กิจกรรมสงเสริมการอาน เปนงานท่ีหองสมุดจัดขึ้นเพ่ือชักจูงสงเสริมให
ผูมาใชหองสมุดเกิดนิสัยรักการอาน ซ่ึงการจัดกิจกรรมสงเสริมการอานควร
จัดกิจกรรมใหครอบคลุมในทุกกลุมเปาหมาย โดยความรวมมือของครอบครัว
ครู และองคกรที่เก่ยี วของ รฐั บาลใหความสำคัญและกำหนดเปน นโยบายใหแตละ
หนวยงานรวมขับเคล่ือน และจัดสรรเงินงบประมาณในการจัดกิจกรรมอยาง
สม่ำเสมอ จัดส่ิงอำนวยความสะดวกในการสงเสริมการอานท่ีเหมาะสมทั่วประเทศ
อาทิเชน มุมรักการอานในหนวยงาน ในสถานประกอบการตาง ๆ บานหนังสือ
อัจฉริยะที่สำนักงาน กศน.จัดขึ้นตลอดจนแหลงเรียนรูตาง ๆ ดังน้ัน การจัด
กจิ กรรมสง เสรมิ การอาน จงึ เปนเรอื่ งทีค่ นในชาติทุกระดบั ครอบครัว ชมุ ชนและ
ประเทศตองมีเปาหมายรวมกนั อยา งจริงจงั

กิจกรรมสงเสริมการอานมีหลาย
ประเภท แตละประเภทมีหลายวิธีดังท่ีแมน
มาส ชวลิต (2543 : 80)นายกสมาคมหอ งสมุด
แหง ประเทศไทยไดก ลา ววา กจิ กรรมเพอ่ื สง เสรมิ
การอานมีหลายแบบ สามารถจัดกลุมตาม
ลักษณะกิจกรรมที่ดึงดูดความสนใจโดยทาง
ประสาทสัมผัสอยางใดอยางหนึ่งหรือหลาย
อยา งรวมกนั กไ็ ด เชน

1. กิจกรรมท่ีเราโสตประสาท ชวนให
ฟง ใชเ สยี งจากคำพดู เปน หลกั กจิ กรรมประเภทน้ี
ไดแก การเลานิทานใหฟง การเลาเร่ืองจาก
หนังสือ การอานหนังสือใหฟง การแนะนำ
หนังสือดวยปากเปลา การบรรยาย การอภปิ ราย
การโตวาทีเก่ียวกับหนังสือ การบรรเลงดนตรี
และรองเพลงจากบทละครรองทำใหเกิดความ
เพลิดเพลินในอรรถรส ถอยคำนั้นซ่ึงนอกจากฟงเพราะแลว ยังทำใหมองเห็นภาพ
และใหความรสู กึ ตา ง ๆ เชน เสียใจ ดใี จ เกลียดชัง รัก โกรธ แชม ชื่น สงบ

13

2. กิจกรรมที่เราจักษุประสาท ชวนใหดู เพงพินิจ อานความหมายของ
ส่ิงที่เห็น กิจกรรมประเภทน้ี ไดแก การจัดแสดงภาพชนิดตาง ๆ เชน ภาพถาย
ภาพท่ีตัดเก็บรวบรวมจากวารสารหรือปฏิทินเปนเรื่องเปนชุด ภาพเขียน
ภาพประกอบหนังสือ นิทรรศการหนังสือ การแสดงภาพหนังสือและส่ิงของจะมี
คำบรรยายอธบิ าย สง่ิ ทแี่ สดง สรุปขอ คิดเห็นเกย่ี วกับการแสดง มงุ ใหผ ชู มใชส มาธิ
ในการชม

3. กิจกรรมที่เราจักษุและโสตประสาทในขณะเดียวกัน ไดแก กิจกรรมท่ี
ชวนใหดแู ละฟง ไปพรอ ม ๆ กัน ประสาทท้งั สองสวนจะประสานและทำงานรวมกัน
กิจกรรมที่จัดสวนใหญจะเปนการเลานิทานดูภาพประกอบและหูฟงเร่ืองราว
จากการเลา ส่ือท่ีใชนอกจากหนังสือแลวอาจใชส่ืออื่น ๆ ได เชน ภาพนิ่ง
ประกอบคำบรรยายกิจกรรมอน่ื ๆ นอกจากนี้ เชน การจัดนิทรรศการ การสาธิต

4. กิจกรรมท่ีกลุมเปาหมายหรือผูรวมกิจกรรมมีสวนรวม กิจกรรม
ประเภทน้ีจะชวยใหผูรวมกิจกรรมมีความเพลิดเพลินและรูสึกมีความภาคภูมิใจท่ี
ตนเองไดแสดงความสามารถในการเลา วาดภาพประกอบ รองเพลง การแขงขัน
หรือใหเขียนนิทานโดยแตงข้ึนใหม มีการตอบคำถามเก่ียวกับเร่ืองท่ีไดฟง
การแสดงออกทั้งความคิดเห็นและไดแสดงกิจกรรมรวมกับผูอ่ืน จะทำใหผูรวม
กิจกรรมหรือกลุมเปาหมายประทับใจและจดจำเหตุการณ เกิดความสนใจอยาก
กระทำตอเนอื่ ง

กิจกรรมสงเสริมการอานแตละประเภทที่กลาวมานั้น บรรณารักษสามารถ
นำมากำหนดเปนโครงการเพื่อจัดกิจกรรมใหแกกลุมเปาหมายที่เหมือนหรือ
แตกตางกัน เชน กิจกรรมหนังสือเลมแรก Bookstart กิจกรรมคายรักการอาน
กิจกรรมสงเสริมการอานและการเรียนรูสูอาเซียน กิจกรรมสงเสริมการอานผาน
แตม ยอดนักอานเปนตน

แนวทางการจดั กจิ กรรมสง เสรมิ การอา น

การจัดกิจกรรมสงเสริมการอาน บรรณารักษควรมีแผนการจัดกิจกรรม
ตลอดปตามความเหมาะสมและความสนใจของผูใชบริการท้ังในและนอกหองสมุด
ท้ังนี้เพ่ือสง เสริมการอานและการศึกษาคนควา เพิม่ พนู ความรู ซงึ่ การจดั กจิ กรรมใน
หองสมุดจะเปนจุดสนใจใหประชาชนเขามาใชบริการมากย่ิงขึ้นซ่ึงการจัดกิจกรรม

14

สงเสริมการอานมีข้ันตอนในการดำเนินงานคือ สำรวจความตองการของกลุมผูใช
บริการจัดทำแผนการจัดกิจกรรมสงเสริมการอานใหมีกิจกรรมอยางตอเน่ือง
ออกแบบกิจกรรมใหเหมาะสมกับกลุมผูใชบริการ จัดใหมีการประชาสัมพันธทั้ง
เชิงรกุ ท้ังในและนอกหอ งสมดุ ดำเนนิ การจดั กิจกรรมตามแผน และใหม กี ารนเิ ทศ
ติดตามผลการจัดกิจกรรมเพ่ือนำผลที่ไดไปพัฒนาปรับปรุงใหตรงตามความตองการ
ของผูใชบริการ โดยกระบวนการดังกลาวเนนกิจกรรมพัฒนาความสามารถใน
การอานและสรางนิสัยรักการอาน นอกจากน้ียังตองคำนึงถึง ความสอดคลองกับ
สถานการณปจจุบันและสภาพปญหาของสังคม มีการบูรณาการการอานกับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาตอเนื่องและการศึกษาตามอัธยาศัย สงเสริมให
หนวยงานภาครัฐและเอกชนเขามาจัดและหรือมีสวนรวมในการจัดกิจกรรมสงเสริม
การอาน

การจัดกิจกรรมสงเสริมการอาน จะทำใหกลุมเปาหมายไดรับประโยชนใน
ทางตรงคือการพฒั นาทกั ษะการอานจนเปนนสิ ยั รักการอา น และประโยชนทางออม
ท่ีมีตอการพัฒนาบุคลิกภาพและความสามารถในการชวยจูงใจและเราความสนใจ
ตอหนงั สือและการอา น ฝกทกั ษะทางภาษา ฟง พูด อา น เขียน พฒั นาความคิด
มีเจตคติที่ดีตอการอาน เพลิดเพลินและผอนคลายความตึงเครียด สงเสริมใหเกิด
ความสามัคคี เอื้อเฟอชวยเหลือกัน การจัดกิจกรรมสงเสริมการอานใหประสบ
ผลสำเร็จ ตองคำนึงถึงปจจัยตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของ ไดแก วัยและความสนใจของ
กลุมเปาหมาย งบประมาณ บุคลากร ลักษณะของกิจกรรม เวลา สถานที่และ
ขัน้ ตอนในการจัดกจิ กรรม บรรณารกั ษจ ึงควรศึกษาใหร อบรูใ นเรอ่ื งตาง ๆ ดังกลาว
และการจัดกิจกรรมอยางสม่ำเสมอ จะทำใหรูปญหา และหาวิธีแกไขเพื่อให
กิจกรรมนน้ั ดำเนินการตอไปประสบผลสำเรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงคท ่ีวางไว

15

เทคนคิ การจดั ปา ยนิเทศ
การจัดปายนิเทศหรือจัดนิทรรศการใหความรูในเรื่องที่สำคัญ ประเด็นที่

นาสนใจ และในวันสำคัญตาง ๆ ซ่ึงบรรณารักษจะตองจัดอยางสม่ำเสมอตาม
ปฏิทินวันสำคัญตลอดทั้ง เพื่อใหผูใชบริการหองสมุดไดศึกษาหาความรู สงเสริม
นิสัยรักการอาน ดังนั้นการจัดปายนิเทศนั้นจะดึงดูดความสนใจมากนอยเพียงใด
บรรณารักษจะตองมเี ทคนิคในการจดั ปา ยนเิ ทศดงั กลา ว วิธงี า ย ๆ มีดังน้ี

1. วตั ถปุ ระสงคข องการจดั ปา ยนเิ ทศ ตอ งการเนน อะไร เชน เพอ่ื คลอ ยตาม
ตอตา น หรอื ตระหนัก

2. ต้ังหัวเร่ืองใหสัมพันธกับเนื้อหาเพียงแตอานหัวเร่ืองก็ตองการติดตาม
อานจนจบโดยมรี ปู แบบ สสี ันของตัวอักษร ภาพประกอบ ทกี่ ลมกลนื กนั ไมควรใช
สีสะทอ นแสง

3. การจัดวางหวั ขอ เร่ืองเน้อื หา ภาพประกอบ โดยทดลองวางรูปแบบกอ น
แลว พจิ ารณาความเหมาะสม ตรวจสอบอกี ครั้งหนึ่งวาถูกตอ ง สมบรู ณ เรียบรอ ย
หรอื ไม จึงตดิ อยางถาวรภายหลงั ควรมีจดุ เดนในปา ยนิเทศเพยี งจดุ เดียวเทาน้นั

4. จัดตกแตงบริเวณรอบ ๆ ปายนิเทศใหมีบรรยากาศเชิญชวน นาอาน
เชน ประดับดวยตนไม สวนหยอมฯ และควรจัดวางปายนิเทศในสถานที่เขาถึงได
สะดวก และสะดุดตา อยใู นระดบั สายตาของผูอา น แสงสวางเพียงพอ

16

17

เทคนคิ การเลา นิทาน
การเลานิทาน เปนกิจกรรมสงเสริมการอานท่ีเด็กชอบกิจกรรมหนึ่ง ซ่ึง

ถายทอดเรื่องราวโดยใชเสียง และประโยคท่ีชวนใหผูฟงติดตามเร่ืองราวจินตนาการ
ภาพและเกิดความรูสึกคลอยตามเสียงที่เลา การเลานิทานแตละประเภทมี
เปาหมายหลักในการเลาเหมือนกัน คือสงเสริมใหเด็กเกิดจินตนาการ มีสมาธิ เกิด
ความคิดและกลาแสดงออกการมีเทคนิคในการเลานิทาน เปนเรื่องสำคัญมาก
สำหรับบรรณารักษที่จะสรางแรงจูงใจใหเด็กมีสวนรวมในกิจกรรมเทคนิคงาย ๆ
ในการเลานิทานมีดังนี้

1. บรรณารกั ษแนะนำตนเองกอนเลา และบอกช่ือเรอ่ื งนิทานท่จี ะเลา
2. เริม่ เลา ชา ๆ อยางชัดถอ ยชดั คำ มีการแสดงทา ทางประกอบการเลาได

อยา งกลมกลนื
3. สรางบรรยากาศและอารมณตามทองเรื่อง ดัดเสียงตามบุคลิกของ

ตวั ละคร ทำเสยี งตื่นเตน หวั เราะ รองไห ดีใจ ใหผูฟงคลอ ยตามเหมือน
อยูในเรือ่ งจริง
4. แทรกขอคิด คำคม คติเตือนใจสรุปการเลาเพื่อสรางความประทับใจให
ผฟู ง
5. เชิญชวน แนะนำใหผูฟงติดตามอานนิทานในหองสมุดประชาชน
บอ ย ๆ ครงั้ เปน ประจำหรือชกั ชวนพอ แม ใหอ า นรวมกัน

18

เทคนิคการหดั วาดภาพการตูน
การวาดภาพเปนการถายทอดความรูสึก

นึกคิด ตลอดจนความคิดสรางสรรคของผูวาด
ออกมาเปนภาพที่สวยงาม ซึ่งการใชศิลปะการ
วาดภาพการตูนเปนศาสตรและศิลปงาย ๆ ท่ี
บรรณารกั ษ ครู และผปู กครอง สามารถทำและ
นำมาจดั กิจกรรมสง เสริมการอา นได เพื่อสงเสรมิ
การคิด จินตนาการ การสรางสรรคสิ่งใหม ๆ
ใหแกเด็ก โดยเริ่มตนจากการเขียนภาพลายเสน
จากงายคอย ๆ เพ่ิมความยากขึ้นเรื่อย ๆ จนได
เปน ภาพการต นู ทต่ี องการ ดังภาพ

หัดวาดภาพการตนู สตั วป ก นกพิราบ pigeon

19

นกพริ าบ pigeon
ลกู นกตัวอว น bird

20

นกเคา แมว owl
นกเคาแมว owl

21

ลูกไกอ อกจากไข chicken
ลกู ไกเ จี๊ยบ chicken

22

ลกู เปด duck
เปด duck

23

หา น goose

24

หดั วาดภาพการต ูนสัตวบก
สนุ ขั dog
ฮปิ โป hippo

25

ววั ตวั ผู bull
วัวตวั เมีย cow

26

ลิง monkey
เสือดาว leopard

27

ชา ง elephant

28

หัดวาดภาพการต นู ดอกไม flowers

29

ตนไม tree

30

ตอนที่ 2

แนวทางการจดั กจิ กรรมสง เสรมิ การอา น

กจิ กรรม หนังสอื เลม แรก Bookstart
แผนการจัดกิจกรรม
1. ช่อื กิจกรรม หนงั สือเลมแรก bookstart
2. แนวคิด

กจิ กรรมหนงั สือเลมแรก Bookstart เปนกระบวนการสรา งความเขา ใจให
กับพอ แมแ ละผูเล้ียงเด็ก ใหนำชุดหนงั สอื เลมแรกที่มีการคัดสรรอยางเหมาะสมกบั
วัยของเด็กในแตละขวบป ไปใชเปนเครื่องมือในการสรางความรัก ความอบอุนและ
สรางความสัมพันธอันดีในครอบครัวอยางตอเนื่องไปพรอม ๆ กับการพัฒนาสมอง
ของเด็ก วัย 0-6 ป
3. วัตถุประสงค

เพื่อสงเสริมสนับสนุนใหพอ แม ลูกมีความสุขรวมกันโดยใชหนังสือเปน
สื่อกลาง และสรางนิสยั รักการอา นใหกับลูกต้ังแตว ยั ทารก
4. เน้ือหา

4.1 การคดั เลอื กพน้ื ที่ (1 สัปดาห)
4.2 การสรางความเขาใจกับโครงการและวัตถุประสงคของการดำเนินงาน

(1 วนั )
4.3 การคดั สรรหนงั สือ (1 สปั ดาห)
4.4 การเตรียมความพรอมของพอ แมและผูเล้ียงเด็ก เพ่ือการเรียนรู

การนำหนังสอื เขา สูเดก็ (1 สัปดาห)
4.5 การเย่ยี มบา นและบันทึกความกา วหนา (1 สัปดาห)
5. ระยะเวลา 4 สัปดาห และชว งการติดตามความกาวหนา ปล ะ 2 คร้งั
6. สือ่ และอุปกรณ
6.1 แบบบนั ทึกขอ มูลพืน้ ฐานเด็กแรกเกิดถงึ 3 ขวบ
6.2 แผน พับประชาสมั พันธก จิ กรรมโครงการ ใบสมัครเขารวมโครงการ
6.3 วิทยุชมุ ชน

31

6.4 หนังสือสำหรับเดก็ แรกเกิด ถึง อายุ 6 ขวบ
6.5 ถงุ หนังสอื Bookstart
6.6 สมุดบนั ทกึ
7. ข้นั ตอนการจดั กจิ กรรม
7.1 ศึกษาวิธีการจัดกิจกรรมหนังสือเลมแรก จากหนังสือและโครงการ
สายใยรักครอบครัว
7.2 สรุปแนวคิด เพ่ือนำเสนอโครงการตอผูอำนวยการสถานศึกษา
โดยความรับผดิ ชอบของบรรณารักษห อ งสมุดประชาชนอำเภอ
7.3 ประสานงานขอความรวมมือทีมงานเพอื่ ดำเนินกจิ กรรมรวมกัน
7.4 ประสานองคกรทองถิ่นขอความอนุเคราะหในดานงบประมาณ
ดำเนินการ (การจดั ซอื้ หนังสือและถุงหนงั สือ Bookstart)
7.5 ศึกษาขอมูลที่ รพ.สต. เก่ียวกับจำนวนเด็กแรกเกิดและเก็บรวบรวม
ขอ มูลและประชาสมั พนั ธโครงการ โดยแผนพับ และผานส่ือวทิ ยชุ มุ ชน
7.6 คัดเลือกพ้ืนท่ีดำเนินการและกลุมเปาหมายครอบครัวจำนวน
10 ครอบครวั 1 ตำบลและรับสมคั รผูเขารวมโครงการ
7.7 จัดประชุมผูเกี่ยวของประกอบดวย อบต. รพ.สต. ตัวแทนชุมชน
อสม.และ กศน.อำเภอ เปนตน เพ่ือชี้แจงโครงการและการดำเนินงานตลอดจน
รายละเอยี ดของภารกจิ และการรบั ผิดชอบของแตละองคก รตามความเหมาะสม
7.8 พิจารณาคัดสรรหนังสือเชน มีสาระเหมาะสมกับวัย มีความหมายดี
รปู เลมขนาดพอดี มีสสี ันสวยงามและดงึ ดูดใจ เปนตน
7.9 จัดซื้อ จัดหาหนังสือ ถุงใสหนังสือ และจัดเตรียมไวเปนชุดตาม
จำนวนกลมุ เปาหมายครัวเรือน
7.10 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการกลุมเปาหมาย พอ แมและผูเล้ียงเด็ก เพ่ือ
เตรียมความพรอมและเรียนรูเรื่องกระบวนการนำหนังสือสูเด็ก และฝกปฏิบัติวิธี
การอานหนังสือ การใชเสียงและการเลาเรื่อง พรอมกับแจกถุงหนังสือ Bookstart
เพือ่ นำไปปฏิบัติตอ ทบี่ า น
7.11 การเยี่ยมบาน เพ่ือศึกษากระบวนการนำหนังสือไปใชกับเด็กและ
พฒั นาการของเดก็ ตลอดจนสภาพปญหาและขอ เสนอแนะ สามสปั ดาหต อ 1 ครง้ั

1) จัดทำแผนการติดตาม แบบบันทึกขอมูลพื้นฐานเด็กแรกเกิดถึง
สามขวบและแบบบันทกึ การเย่ียมบา น

32

2) ออกเย่ียมบานกลุมเปาหมายรวมกับ อสม. หมอ/พยาบาล
โดยการสังเกต เฝา มองพฤตกิ รรมของพอ แมและผูเลีย้ งเดก็ ในการใชห นังสือกบั เดก็

3) ซกั ถาม พูดคุยและบันทกึ ผล
7.12 สรุปรายงาน
8. การวัดและประเมนิ ผล
8.1 การมสี ว นรว มขององคกรในชุมชน
8.2 แบบประเมินผลความพึงพอใจจากการประชุมปฏิบัติการกลุมเปา
หมาย ผูรว มโครงการ
8.3 การสงั เกต สมั ภาษณ
8.4 พฒั นาการของเด็ก
การจัดกิจกรรมโครงการหนังสือเลมแรก Bookstart เกิดจากการมี
สวนรวมของ พอ แม ผูปกครอง องคกรทองถ่ินและสถานศึกษา กศน.อำเภอ
โดยบรรณารักษหองสมุดประชาชน รวมกันขับเคล่ือนการดำเนินงานใหรวมบรรลุ
ตามวัตถุประสงคของกิจกรรม โดยภารกิจของบรรณารักษหองสมุดประชาชนที่
สำคัญมีดวยกันหลายประการ ซ่ึงจะขอนำเสนอจากประสบการณที่ไดทำมาแลว
และเหน็ วาประสบผลสำเร็จเพ่ือ เปนแนวทางสำหรบั บรรณารกั ษนำไปปรบั ใช ดงั นี้
1. การคัดเลือกพ้ืนที่ดำเนินงานและกลุมเปาหมาย ตลอดจนองคกรท้ัง
ภาครัฐและเอกชนเขามามีสวนรวมโครงการ เปนตัวช้ีวัดที่สำคัญหน่ึงที่จะทำให
โครงการดำเนินไปไดในระดับใด ดังนั้นควรเลือกกลุมเปาหมายท่ีมีสวนเก่ียวของ
ทุกสวนท้ังหมด จากความพรอม ความเช่ือเรื่องการใชหนังสือสามารถพัฒนาเด็ก
ตั้งแตยังเปนทารกได ตามแนวคิดของกิจกรรมหนังสือเลมแรก ซ่ึงมีตัวอยาง
โครงการที่เปนท่ีรูจักกันดีคือโครงการสายใยรักโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพประจำ
ตำบล โดยมีองคการบริหาร สวนตำบล เทศบาลไดใหการสนับสนุนเรื่อง
งบประมาณ

ชุมชนทาบัว จังหวดั พิจติ ร
ไดรับการสนบั สนุนการจัดกิจกรรม

หนังสือเลมแรก Bookstart
จาก อบต .ทา บัว

33

2. การประชุมคณะทำงาน ครั้งแรกเปนส่ิงสำคัญบรรณารักษตองมีความ
ชัดเจน มุงมั่นที่จะทำ เพื่อใหทุกกลุมแสดงความคิดเห็นและเห็นวาเปนสิ่งที่ควรทำ
ซ่ึงจะนำไปสูความรวมมือ รวมคิดวาจะทำอยางไร ภารกิจไหนใครควรรับผิดชอบ
ภายใตข อจำกดั และเง่ือนไขในหนวยงานของตน

3. การคัดสรรหนังสือ บรรณารักษและเจาหนาท่ีหองสมุด มีสวนรวมใน
กระบวนการคัดสรรหนังสือโดยเลือกหนังสือรวมกับพอ แม ผูปกครอง ครูและเด็ก
ในพื้นที่การจัดกิจกรรม โดยเลือกหนังสือที่มีแกนของเรื่อง นำเสนอแนวทาง
การปฏิบัติ ที่ดีงาม อยางตรงไปตรงมา ไมซับซอน เขาใจไดงาย ใชภาษาที่งาย ๆ
ซำ้ ๆ ยำ้ ๆ ไดใ จความมีความหมาย และภาษาทสี่ ละสลวยสวยงาม ภาพประกอบดู
สดใส สะอาดตา ชัดเจน ตัวอักษรตองมีขนาดใหญ เสนหนาเหมาะสมกับสายตา
เด็กเล็ก เปนตัวอักษร ที่เปนปกติ ไมเลนหาง ไรหัว รูปเลม ภาพ ขนาดของเลม
ไมใหญจนเกินไป ปกหนังสือมีสีสันสดใส ดึงดูดใจ รวมถึงมีความงายตอการใชและ
การเก็บรักษา

4. บรรณารกั ษแ ละเจาหนาที่หอ งสมุด ดำเนนิ การอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารกลมุ
พอแมและผูเล้ียงดูเด็ก เปนกระบวนการเพ่ิมพูนความรูและเรียนรูในเรื่องใหม ๆ
ในการเลย้ี งดูเดก็ วัย 0 – 6 ป โดยมขี ้ันตอนดงั น้ี

ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมตัวในการอานหนังสือกับเด็ก (พอ แมและ
ผูเล้ียงเด็ก)

บรรณารกั ษจ ดั อบรมเพ่อื
เตรียมความพรอ มพอ แม

และผปู กครอง
ในการเรยี นรเู รื่องวธิ ีการนำ

หนังสือสูเดก็

34

1.1 เตรียมภาวะอารมณ การใชเวลากับลูก ตองผอนคลาย เพื่อ
พอ แมจะไดเ ลน อานหนังสือ หรือทำกจิ กรรมกบั ลกู อยา งปลอดโปรง

1.2 เตรียมเวลา พอ แมตองจัดสรรเวลาและตารางชีวิตของตนเองให
ลงตัว เพ่ือจะไดมีเวลาอยูกับลูกเอาใจใสอยางเต็มท่ี ตกลงกันวาเวลาใดเปนเวลาที่
เหมาะสมระหวางพอ แมกับลกู

1.3 เตรียมความรู พอ แมตองฝกซอมอานหนังสือนิทานเพ่ือจะไดรูวา
นิทานเรื่องใดสนุก เพลงใดที่จะทำใหลูกสนใจเคล่ือนไหวอยางมีความสุข จะไดนำ
มาใชก ับลกู

1.4 เตรียมเสียง เวลาอานหนังสือใหลูกฟง พอ แมตองอานออกเสียง
ใหชัดเจนไปพรอมๆ กับน้ำเสียงท่ีมีลีลา เสียงสูงๆต่ำๆทำเสียงใหญเสียงนอยใหลูก
สนุกสนานและมอี ารมณคลอยตาม

1.5 เตรียมทาทาง พอ แมตองเตรียมทาทางที่เหมาะสมตามบุคลิกตัว
ละครในเน้ือเร่ืองจากหนังสือ ดังน้ันในการอานหนังสือใหลูกฟง พอ แมอาจใชมือ
แขง ขา หู ตา หนา หัว ประกอบกับเนอื้ เร่อื งไดท ัง้ หมด

1.6 เตรียมสายตา ในระหวางการอานหนังสือกับลูก พอ แมตอง
ประสานสายตากับลูกเพ่ือใหลูกไดรับรูถึงความรัก ความอบอุน ความปลอดภัยไป
พรอม ๆ กับความสนุกสนาน และเกิดความรูสึกรวมกับพอ แมที่กำลังอานหนังสือ
ใหฟง

ขนั้ ตอนท่ี 2 การใชหนังสอื กับเดก็
2.1 จดั มมุ หน่ึงในบา นท่เี ปน มุมสบาย ๆ ใหเปน มุมหนงั สือเพอื่ วางหรือ
แขวนถุงหนังสือใหเปนท่ี ลูกจะไดเรียนรูวาเม่ือใดท่ีตองการหนังสือจะมาหยิบจาก
มมุ น้ี

35

2.2 จัดบรรยากาศในบาน ใหเอื้อตอการอานหนังสือรวมกันของ
พอ แม ลูก เชน ปด โทรทศั นแลวเปด หนงั สอื ทุกวันหลงั อาหาร 3 มือ้

2.3 สรางชวงเวลาที่ชื่นชอบของครอบครัวใหเปนเวลา เพื่อพอ แมได
อุมลูกนั่งตัก แลวสื่อรักดวยหนังสือ ทำอยางสม่ำเสมอ โดยใหลูกมีสวนรวมใน
การชวยเปดหนังสือ ลูกจะไดสังเกต และจำไดวาการเปดหนาหนังสือจะพลิกจาก
ขวาไปซายเสมอ

จัดมุมและสรางบรรยากาศแหง
การเรียนรใู หก ับสมาชิกภายใน

ครอบครวั

2.4 อานหนังสือใหลูกฟงเปนประจำ อานเม่ือไหรก็ได อานที่ไหนก็ได
อานไดทุกเวลาในทุกสถานที่อยางไมจำกัด โดยใชน้ิวชี้ตามคำท่ีอาน ใหลูกสังเกต
เห็นวาการอา นเริม่ ตน จากซา ยไปขวา

2.5 อา นออกเสยี งสูง ๆ ต่ำ ๆ ดัดเสยี งเล็ก เสียงใหญเพอื่ กระตุนใหล กู
เกิดความสนใจ พรอมช้ีชวนใหลูกดูภาพ กอด สัมผัส หยอกเยา และเคล่ือนไหว
รางกาย

2.6 ในกรณีที่อานหนังสือไมออกหรืออานหนังสือไมคลอง ใหใชภาพ
ในหนังสือเปน ประเดน็ ในการพดู คยุ ช้ชี วน และสอนลูก

คุณยายอา นหนังสือไมค ลอ ง
จึงใชว ิธเี ลา ตามภาพในหนังสอื แทน

การอาน

36

2.7 พอ แมตองใสใจและแสดงการตอบรับทุกครั้งที่ลูกแสดงความ
ตองการหนงั สอื

2.8 อานทกุ วัน วันละ 5-15 นาที
5. การมอบชุดหนังสือเลมแรก เปนการทำความเขาใจกับพอ แมท่ีมารวม
กิจกรรมและความสำคัญของการใชหนังสือกับลูก ต้ังแตอายุ 6-9 เดือน โดยช้ีแจง
การใชถุงหนังสือเปนกลุมใหญกอนและหลังจากไดรับถุงไปแลว ผูเกี่ยวของทุกคน
รวมกันอธิบายการใชถุงหนังสือ ตอบคำถามเม่ือมีความสงสัยหรือไมเขาใจเปน
รายบุคคลคนอกี ครงั้

6. การเยี่ยมบานเปนข้ันตอนท่ีสำคัญ เพราะเปนโอกาสดีที่ผูเก่ียวของ
ทกุ คนไดส รา งความสมั พนั ธท ดี่ กี บั เดก็ และครอบครวั ในกลมุ เปา หมายไปพรอ ม ๆ กนั
พรอมท้ังสังเกตและเฝามองพฤติกรรมของพอ แมในการใชหนังสือกับเด็กและมีการ
บันทึกผลความกาวหนาและสภาพปญหาท่ีพบ เพ่ือการพัฒนาตอไปใหบรรลุ
วัตถุประสงคตามเปาหมายท่ีกำหนดไว การเย่ียมบานในแตละปจะมี 2 ครั้ง คือ
ครั้งท่ี 1 หลังจากรับถุงหนังสือเลมแรกไปแลว 6 สัปดาห และคร้ังที่ 2 หลังจาก
การเยี่ยมบานครง้ั ที่ 1 ไปแลว 8 สปั ดาห

เจา หนาทโี่ รงพยาบาล
สงเสรมิ สุขภาพตำบลทาบวั
เยีย่ มบานสงั เกตพฤติกรรมของ
พอ แมผูป กครองท่ีใชหนงั สือกบั เดก็

37

สอ่ื /อุปกรณ
ถุงหนังสือเลมแรก BookStart (ไดรับการสนับสนุนจากมูลนิธิหนังสือเพ่ือ

เด็ก หรือจัดหาแหลงเงินทุนจากภาคีเครือขาย พอ แมและผูปกครองรวมท้ัง
บรรณารักษก ็ได)

ภายในถุงหนังสอื เลม แรก
ประกอบดว ยหนงั สอื นทิ าน ของเลน
วซี ดี ีใหความรู หนงั สือคูมอื พอ แม

38

แบบบันทึกความตอ งการเขา รวมกิจกรรมหนังสือเลม แรก Bookstrat
หอ งสมดุ ประชาชน.......................................................

1. ชอ่ื (พนื้ ท่ี).............................................................................................................
2. ช่ือผูประสานงาน.................(บรรณารักษ)...........................................................

หนวยงาน.............................................................................................................
3. ช่ือผูใหขอมูล.......................................................................................................

หนวยงาน......................................................โทรศัพท.........................................
4. จำนวนเด็กแรกเกิด – 3 ขวบ.................คน ชาย..............คน หญิง................คน
5. บนั ทกึ ความตอ งการเขารว มกิจกรรมของพอ แมแ ละผูปกครอง

5.1 ช่ือเขารวมกิจกรรม ช่ือ-สกุล........................................................
ท่ีอยู..........................................................................โทรศัพท...................................

5.2 ช่ือเขารวมกิจกรรม ช่ือ-สกุล........................................................
ท่ีอยู..........................................................................โทรศัพท...................................

5.3 ช่ือเขารวมกิจกรรม ชื่อ-สกุล........................................................
ท่ีอยู..........................................................................โทรศัพท...................................

5.4 ชื่อเขารวมกิจกรรม ชื่อ-สกุล........................................................
ท่ีอยู..........................................................................โทรศัพท...................................

5.5 ชื่อเขารวมกิจกรรม ช่ือ-สกุล........................................................
ท่ีอยู..........................................................................โทรศัพท...................................

39

แบบบนั ทกึ การเย่ียมบา นผเู ขารว มกิจกรรมหนงั สือเลม แรก Bookstrat
หองสมดุ ประชาชน..........................................................

1. ช่อื (พ้ืนที)่ ...............................................................................................

2. ช่ือผูประสานงาน...........(บรรณารักษ)...............................................

3. ชอ่ื พอ /แม/ผูเ ลีย้ งเดก็ ..............................................................................

4. ชื่อเด็ก....................................................................................................

5. การสงั เกตและเฝา มองพฤติกรรมของพอ แมใ นการใชหนงั สอื กบั เดก็

5.1 จัดมุมหนึ่งในบานที่เปนมุมสบายๆใหเปนมุมหนังสือเพ่ือวาง

หรือแขวนถุงหนังสือใหเปนท่ีเปนทาง ลูกจะไดเรียนรูวาเม่ือใดที่ตองการหนังสือจะ

มาหยบิ จากมมุ นี้ ° มี ° ไมม ี

5.2 จัดบรรยากาศในบานใหเอ้ือตอการอานหนังสือรวมกันของพอ

แม ลกู

° มี ° ไมมี

5.3 สรางชวงเวลาที่ชื่นชอบของครับครัวใหเปนเวลาพอแมไดอุมลูก

นั่งตัก แลวสอ่ื รักดว ยหนงั สอื ทำอยา งสมำ่ เสมอ

° มี ° ไมม ี

5.4 อานหนังสือใหลูกฟงเปนประจำ อานเม่ือไหร ท่ีไหนก็ได

ไดทกุ เวลา ในทุกสถานท่ีอยา งไมจ ำกดั โดยใชน วิ้ ชต้ี ามคำท่อี า น ใหลูกสงั เกตเหน็ วา

การเปด หนงสอื อานเริม่ ตนจากซา ยไปขวา

° มี ° ไมมี

5.5 อานออกเสียงสูง ๆ ต่ำ ๆ ดดั เสียงเลก็ เสยี งนอ ย เพือ่ กระตนุ ให

ลกู เกดิ ความสนใจ พรอ มช้ชี วนใหลูกดภู าพ กอด สมั ผสั หยอกเยา และเคล่ือนไหว

รางกาย

° มี ° ไมม ี

5.6 ในกรณีท่ีอานหนังสือไมออกหรืออานหนังสือไมคลองใหใชภาพ

ในหนังสือเปนประเด็นในการพดู คยุ ชี้ชวนและสอนลูก

° มี ° ไมมี

40

5.7 พอแมตองใสใจและแสดงการตอบรับทุกคร้ัง ที่ลูกแสดงความ

ตอ งการหนังสอื ° มี ° ไมม ี

5.8 อานทุกวัน วนั ละ 5 - 15 นาที

° มี ° ไมม ี

สรปุ ผลการสงั เกตและสภาพปญหาท่พี บ
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................

41

การจัดกจิ กรรมการเรยี นรรู ูปแบบคา ย

การจัดคายเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา เปนรูปแบบหนึ่งของการจัด
การเรยี น การสอนทีแ่ ตกตา งไปจากการเรยี นในชั้นเรียน กลา วคอื ผเู รยี นจะตอ งอยู
รวมกันเปนหมูคณะนอกหองเรียนโดยมีหัวหนาคอยดูแลในการทำกิจกรรมตาง ๆ
รวมกัน มีการกำหนดระยะเวลา กิจกรรมตอ งสงเสริมใหบุคคลหรือผูเรยี นไดพัฒนา
ตนเองท้ังรางกาย จิตใจ สติปญญาอารมณ โดยมีผูนำคายหรือมีวิทยากรใหความรู
โดยเฉพาะเปน ผดู ำเนินการจัดกิจกรรม
วัตถุประสงคของการเขาคาย

1. เพื่อใหผูเขาคายไดรวมกิจกรรมคายดวยความสนุกสนานในสภาพ
แวดลอมและการดแู ลท่ีถกู ตอง

2. เพื่อกระตุน สงเสริมใหผูเขาคายมีความรูและทักษะจากกิจกรรม
การเรียนรตู าง ๆ ภายในคา ย ซ่งึ สามารถนำไปประยกุ ตใ ชในชีวติ ประจำวันตอไปได

3. เพื่อพัฒนาความเขาใจในคานิยมที่ถูกตอง โดยเขาใจถึงความเปนเพ่ือน
พี่นองท่ีแทจริง และยอมรับบุคคลอื่นที่แตกตางจากเรา ไมวาจะเปนเรื่องเชื้อชาติ
ศาสนา และวฒั นธรรม

4. เพ่ือพัฒนาบุคคล โดยการอยูรวมกันเปนกลุมแบบประชาธิปไตยอยางมี
เหตุผล มีความเขา ใจและรบั ผดิ ชอบตอสว นรวมดขี ้นึ
ประเภทของการจัดคา ย

ศนู ยส ง เสรมิ การศึกษาตามอธั ยาศยั (2542 : 15) ไดแ บงประเภทของคาย
ที่ใชจดั ในงานการศึกษานอกโรงเรียนออกเปน 4 ประเภท คือ

1. คายท่ีจัดตามกำหนดของหลกั สูตร เชน คายปฐมนิทศ
2. คายสงเสริมการเรียนการสอนตามหลักสูตร เชน คายวิทยาศาสตร
คายภาษาองั กฤษ คา ยภาษาไทย เปนตน
3. คายสรางแกนนำหรือเครือขายกิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียน เชน
คายพฒั นาผูนำชุมชน คายประชาธิปไตย เปน ตน
4. คายพัฒนาความรู ทักษะและทัศนคติในเรื่องตาง ๆ ที่สอดคลองกับ
สถานการณป จ จบุ ัน เชน คายตอตา นยาเสพตดิ คายเผยแพรความรูเพือ่ ปองกันโรค
เอดส คายสง เสรมิ การอา น เปน ตน

42

คายแตละประเภทดังกลาวสามารถจัดไดหลายรูปแบบ ข้ึนอยูกับ
วัตถุประสงคของโครงการ และทรัพยากร ความพรอมของผูเรียน เชนรูปแบบคาย
พกั แรม คายไป – กลับและคา ยวนั เดียว
ขัน้ ตอนการจดั กิจกรรมคา ย

ในการจัดกิจกรรมคาย จำเปนตองมีการบริหารคายและการจัดการ
ท่ีดี เพ่ือใหบรรลุผลการจัดตามวัตถุประสงคของโครงการที่กำหนดไว ผูที่มี
สวนเกี่ยวของหรือไดรับการมอบหมายใหทำหนาท่ีตองมีความรับผิดชอบและปฏิบัติ
ใหดที ี่สดุ โดยแบง ขั้นตอนการจัดคายออกเปน 3 ขน้ั ตอนใหญๆ ดงั น้ี (ศูนยส งเสริม
การศึกษาตามอธั ยาศยั , 2542 : 27-31)

1. การวางแผนงานและการเตรียมงาน ประกอบดวย การวางแผนการจัด
กิจกรรมการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู การประเมินผลการเรียนรู สวนการ
เตรียมงาน เชนเตรียมบุคลากรดานตางๆ ท้ังในหนวยงาน องคกรเครือขายที่
เก่ียวของ โดยมีการประชุมคณะทำงาน รวมถึงวิทยากรใหความรู ครูที่จัดกิจกรรม
ฐานการเรียนรูตางๆ วิทยากรคาย คณะทำงานดานอ่ืน ๆ เชน การจัดอาคาร
สถานที่ ทพ่ี ัก ฐานการเรยี นรู อาหาร นำ้ ดม่ื และสวัสดิการตา ง ๆ เพอ่ื ใหการเตรยี ม
งานทุกอยา งมคี วามพรอ มที่สดุ ซงึ่ จะสงผลถงึ การบรรลวุ ัตถุประสงคข องโครงการ

2. การดำเนินการจัดคาย ควรดำเนินงานไปตามแผนที่กำหนดไว
ท้ังแผนการจัดกิจกรรม และแผนการจัดการเรียนรู ในแตละวันควรมีการประชุม
สรุปผลการการดำเนินงานตามภารกิจ โดยใชเวลาในชวงทายหลังจากเสร็จภารกิจ
เพ่ือใหทราบผลการดำเนินงาน ปญหา อุปสรรค แนวทางแกไข ทั้งนี้ตองไมลืม
ตรวจสอบกบั วัตถปุ ระสงคแ ละผลทคี่ าดหวงั ของโครงการ

3. การประเมินผลและการติดตามผล ควรวัดและประเมินผลการเรียนรู
ในแตละกิจกรรมเพ่ือตรวจสอบวา ผูเขารวมกิจกรรมบรรลุผลตามเปาหมายหรือไม
รวมท้ังประเมนิ ผลความพงึ พอใจของผเู ขาคายท่ีมีตอ การจัดกิจกรรม

43

ขอดี ขอ เสยี ของการจัดคายในรูปแบบตาง ๆ

รปู แบบการจดั คา ย ขอ ดี ขอ เสยี

1. การจดั คา ยนอกอาคาร - เปน บรรยากาศแปลกใหม - ไมส ามารถใชอ ปุ กรณ
- ไดเ รยี นรสู ง่ิ แวดลอ มรอบตวั เครอ่ื งเสยี งไดโ ดยสะดวก
- บรรยากาศภายนอกจะเปน
แรงกระตนุ ใหผ เู ขา คา ยสนใจ - จดั กจิ กรรมไดใ นบาง
ในการเรยี นรมู ากขน้ึ ฤดกู าล
- เสยี งไมร บกวนซง่ึ กนั และกนั
ของแตล ะกลมุ
- สถานทก่ี วา งขวางสามารถ
ทำกจิ กรรมไดเ ตม็ ท่ี

2. การจดั คา ยในอาคาร - สามารถใชอ ปุ กรณแ ละ - อาคารตอ งมขี นาดทส่ี ามารถ
เครอ่ื งเสยี งไดอ ยา งสะดวก บรรจคุ นไดเ พยี งพอสะดวก
ไมแ นน เกนิ ไป
- การนำเสนอผลงาน การทำ
กจิ กรรมกลมุ ทำไดอ ยา ง - ตอ งเพม่ิ งบประมาณในสว น
สะดวก ของการเชา หอ งประชมุ หรอื
อาคาร กรณที ข่ี อใชส ถานท่ี
- สามารถปรบั เปลย่ี นกจิ กรรม ของหนว ยงานอน่ื ๆ
ใหส อดคลอ งกบั สถานการณ

ไดต ามความเหมาะสม
สามารถจดั กจิ กรรมคา ยได
ทกุ ฤดกู าล

44

รปู แบบการจดั คา ย ขอ ดี ขอ เสยี

3. การจดั คา ยพกั แรม - สมาชกิ ชาวคา ยมโี อกาส - คณะผจู ดั ตอ งดแู ล รบั ผดิ ชอบ
2 วนั 1 คนื หรอื
มากกวา แลกเปลย่ี นเรยี นรปู ระสบการณ สมาชกิ ชาวคา ยและระมดั ระวงั

มากขน้ึ มากขน้ึ

- สมาชกิ ชาวคา ยไดเ รยี นรกู ารอยู - การบรหิ ารจดั การ สวสั ดกิ าร

รว มกนั เปน หมคู ณะและมโี อกาส ดา นตา ง ๆ ไมส ะดวกเทา ทค่ี วร

ไดค ดิ รว มกนั เปน ทมี ไดร บั ความรู อาจมขี อ ขาดตกบกพรอ งได

จากการทำกจิ กรรมหลากหลาย - ตอ งเสยี คา ใชจ า ยเพม่ิ มากขน้ึ

รปู แบบมากขน้ึ - สมาชกิ ชาวคา ยตอ งจดั

- รจู กั เคารพในกตกิ าของคา ยคา ย เตรยี มตวั ใหพ รอ มและ

พกั แรม เปน การเสรมิ สรา ง จดั สมั ภาระเพอ่ื การอยคู า ยมาก

อปุ นสิ ยั ใหม วี นิ ยั ในตนเองและ

การอยรู ว มกนั เปน หมคู ณะ

45


Click to View FlipBook Version