The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1.2หน่วยการเรียนรู้ ศ23101

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mickey4512, 2022-09-08 02:34:32

1.2หน่วยการเรียนรู้ ศ23101

1.2หน่วยการเรียนรู้ ศ23101

หนว่ ยการเรยี นรู้ รหสั วชิ า ศ23101 ศลิ ปะ5

หน่วยการเรยี นรู้ รายวิชา ศ23101 ศลิ ปะ ประกอบด้วย 5 หนว่ ยการเรียนรู้ดงั น้ี

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ช่ือหน่วยการเรียนรู้
1 องคป์ ระกอบของบทละคร
2 นาฏยศัพท์ และภาษาทา่
3 ทักษะการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย
4 การสรา้ งสรรคอ์ ปุ กรณ์ ประกอบการแสดง
5 คุณค่าในงานนาฏศิลป์

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1

ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ องค์ประกอบของบทละครเรื่อง องค์ประกอบของบทละคร

รหัสวิชา ศ23101 ช่ือรายวชิ า ศลิ ปะ5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ

ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 2 คาบเรียน จำนวน 1 หน่วยกติ

1. สาระสำคัญ / ความคดิ รวบยอด
องค์ประกอบของบทละคร ประกอบด้วยองค์ประกอบทง้ั 4 ดังน้ี โครงเรือ่ ง ตวั ละครและการวาง

ลกั ษณะนิสยั ของตัวละคร ความคดิ หรือแกน่ ของเรือ่ ง และบทสนทนา
2. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชีว้ ดั

สาระท่ี 3 นาฏศิลป์
ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษว์ จิ ารณค์ ุณค่า นาฏศิลป์
ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคดิ อยา่ งอสิ ระ ช่นื ชม และประยกุ ตใ์ ช้ ในชีวติ ประจำวัน
ม.3/1 ระบโุ ครงสร้างของบทละครโดยใชศ้ พั ทท์ างการละคร
3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. นกั เรียนรู้และเขา้ ใจองค์ประกอบของบทละคร (K)
2. นักเรียนสามารถเขยี นความแตกต่างขององค์ประกอบของบทละครได้ (P)
3. นกั เรยี นเห็นคณุ ค่าขององค์ประกอบของบทละคร (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

1. องคป์ ระกอบของบทละคร

- โครงเร่อื ง
- ตัวละคร
- แกน่ ของเรื่อง
- บทละคร

5. สมรรถนะสำคัญ (เลือกท่เี หมาะสมกับกิจกรรม)

✓ ความสามารถในการส่ือสาร

✓ ความสามารถในการคิด

✓ ความสามารถในการแกป้ ัญหา

 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

✓ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (เลอื กทีเ่ หมาะสมกบั กิจกรรม)

 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์  ซอ่ื สตั ย์สุจรติ

 มีวินัย ✓ ใฝ่เรียนรู้

 อยู่อย่างพอเพยี ง ✓ มุง่ มนั่ ในการทำงาน

✓ รกั ความเปน็ ไทย  มีจิตสาธารณะ

7. หลักฐานการเรยี นรู้ (ชิ้นงาน/ภาระงาน)

1. ใบงานท1่ี เรือ่ งองค์ประกอบของบทละคร

8. กิจกรรมการจัดการเรยี นรู้

กลยทุ ธ/์ รูปแบบ/เทคนคิ การสอนทีใ่ ช้ (การสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจ)

คาบท่ี 1 - 2

ข้นั นำเข้าสบู่ ทเรียน

- นักเรียนชมวีดีทศั น์การแสดงละครเวที
- นกั เรยี นและครรู ว่ มกันสนทนาเกยี่ วกบั องค์ประกอบของการแสดงละคร ว่าควรมี

องคป์ ระกอบใดบ้าง
ขน้ั สอน

- นักเรียนรับฟงั การบรรยาย เร่ืององคป์ ระกอบของบทละคร โดยใชส้ ือ่ การสอน Power Point
เร่ืององค์ประกอบของบทละคร

- นกั เรียนแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 3 คน
- นักเรียนทำใบงานท่ี 1 เรือ่ งองคป์ ระกอบของบทละคร

- นักเรียนออกมานำเสนอ เรื่ององคป์ ระกอบของบทละคร หน้าชนั้ เรียน
ข้ันสรปุ

- นักเรยี นและครูรว่ มกนั สรปุ อภิปรายความรเู้ กีย่ วกบั เร่อื งองคป์ ระกอบของบทละคร

การบรู ณาการกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

หลกั ความพอประมาณ

- นกั เรียนสามารถแบง่ เวลาในการทำกจิ กรรมต่างๆ ในชว่ั โมงเรียน เพ่อื ให้ตรงต่อระยะเวลาที่
กำหนด

- นกั เรยี นเรยี นรกู้ ารใช้วัสดุ – อปุ กรณ์ท่ีมีอยู่ อยา่ งคมุ้ ค่า
- นักเรยี นเรยี นรู้การทำงานในรูปแบบที่เหมาะสมแกว่ ยั ของตนเอง
- นกั เรยี นรจู้ ักใชแ้ หล่งเรียนร้ภู ายในโรงเรียนเพ่ือประกอบการเรียนรู้
หลกั ความมเี หตผุ ล

- นกั เรยี นมีทักษะกระบวนการคดิ และการแก้ปัญหาในการทำงานรว่ มกนั ต่อเพื่อนในชัน้ เรยี น
- นกั เรยี นรู้จักการเลือกใช้วสั ดุ-อุปกรณ์ในการทำงาน
- พัฒนาผู้เรยี นตามศักยภาพ
หลักการมภี ูมิคุ้มกัน

- นักเรียนสามารถวางแผนการสรา้ งแผนผงั ความคิดอย่างมีรูปแบบ
- นกั เรยี นแบ่งหน้าที่การทำงานเพ่ือใหง้ านเสรจ็ ทนั เวลา อยา่ งมรี ะบบ
- นักเรียนสามารถปรบั ตัวท่ีดี ต่อการทำงานกลุ่ม
- เกดิ ความตระหนกั ในการเรียนรกู้ ารทำงานทง้ั ของตนเองและกลุ่ม
เง่อื นไขความรู้

- องคป์ ระกอบของบทละคร
เง่อื นไขคุณธรรม

- ความรับผิดชอบ, ความใฝ่เรยี นรู,้ ความมงุ่ ม่ันตั้งใจ
9. สื่อ / แหล่งเรยี นรู้

1. วดี ที ศั น์การแสดงละครเวที
2. Power Point เร่อื งองคป์ ระกอบของบทละคร
3. ใบงานท่ี 1 เรอ่ื งองคป์ ระกอบของบทละคร

10. การวัดและประเมินผล

ดา้ นความรู้ (K)

จุดประสงค์การเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล เครือ่ งมือการวดั และ เกณฑ์การประเมนิ
1. นกั เรยี นรแู้ ละเข้าใจ การถาม-ตอบ ประเมินผล
องคป์ ระกอบของบทละคร นกั เรียนผ่านเกณฑ์
แบบสังเกตพฤติกรรมการ ประเมินพฤติกรรมการ
ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) ถาม-ตอบ ถาม-ตอบ ร้อยละ 70

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผล เครอื่ งมอื การวัดและ เกณฑ์การประเมนิ
ประเมินผล
1. นกั เรียนสามารถเขียน ใบงาน เรอ่ื งองค์ประกอบ นกั เรยี นทำกจิ กรรมใบงาน
ใบงาน เรือ่ งองค์ประกอบ เร่ืององคป์ ระกอบของบท
ความแตกต่าง ของบทละคร ของบทละคร ละคร ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ

องค์ประกอบของบทละคร 70

ได้

ด้านทกั ษะคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A)

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผล เครือ่ งมือการวดั และ เกณฑ์การประเมิน
สังเกตพฤติกรรม ประเมินผล
1. นักเรียนเห็นคุณค่าของ นกั เรียนผา่ นเกณฑ์การ
การแสดงนาฏศิลป์ไทย แบบสังเกตพฤติกรรมการ ประเมนิ การเห็นคณุ คา่
เหน็ คุณคา่ และความสำคัญ และความสำคญั ของ
นาฏศิลป์ไทย ร้อยละ 70
ของนาฏศิลป์ไทย

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 2

ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ นาฏยศพั ท์ และภาษาท่า

รหสั วิชา ศ23101 ช่ือรายวิชา ศลิ ปะ5 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ

ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 10 คาบเรยี น จำนวน 1 หนว่ ยกติ

1. สาระสำคญั / ความคิดรวบยอด

นาฏยศัพท์ และภาษาท่าเป็นพ้นื ฐานเบอ้ื งต้นในการเริ่มต้นในทักษะพน้ื ฐานการปฏิบัติทางการแสดง
นาฏศลิ ป์ไทยในรูปแบบต่าง ๆ

2. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวช้ีวดั

สาระที่ 3 นาฏศลิ ป์

ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วิจารณ์คุณค่า นาฏศลิ ป์
ถา่ ยทอดความร้สู กึ ความคดิ อย่างอสิ ระ ช่ืนชม และประยกุ ต์ใช้ ในชวี ติ ประจำวนั

ม.3/2 ใช้นาฏยศัพท์ หรือศัพทท์ างการละครทีเ่ หมาะสมบรรยายเปรยี บเทยี บการแสดงอากปั กริ ยิ า
ของผ้คู นในชวี ิตประจำวันและในการแสดง

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. นักเรียนรู้และเข้าใจหมายความและประเภทของนาฏยศัพท์ (K)
2. นักเรียนสามารถปฏบิ ัติทา่ นาฏยศพั ท์ได้ถูกต้องสวยงาม (P)
3. นักเรียนรู้และเขา้ ใจความหมายและประเภทของภาษาท่าจากธรรมชาติ (K)
4. นกั เรยี นสามารถปฏิบัติทา่ ภาษาทา่ จากธรรมชาติไดถ้ ูกต้องสวยงาม (P)
5. นักเรยี นรแู้ ละเข้าใจความหมายและประเภทของภาษาทา่ จากการประดษิ ฐ์ (K)
6. นักเรียนสามารถปฏิบัติท่าภาษาทา่ จากการประดิษฐ์ไดถ้ ูกต้องสวยงาม (P)
7. นกั เรียนสามารถเลือกใช้ท่ารำประกอบเพลงรำวงมาตรฐานได้ถกู ต้อง(K)
8. นักเรยี นสามารถปฏบิ ตั ิทา่ รำประกอบเพลงรำวงมาตรฐานได้อย่างถูกต้อง (P)
9. นกั เรยี นเห็นคุณคา่ ของการแสดงนาฏศิลปไ์ ทย (A)

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

1. นาฏยศัพทแ์ ละภาษาทา่
- นาฏยศัพท์ (นามศพั ท/์ กิริยาศัพท/์ นาฏศพั ทเ์ บด็ เตลด็ )

- ภาษาทา่ หรอื ภาษาทางนาฏศลิ ป์ (ภาษาท่าทมี่ าจากธรรมชาติ/ภาษาท่าทจ่ี ากการประดิษฐ์)

2. รำวงมาตรฐาน
- การแสดงรำวงมาตรฐาน

5. สมรรถนะสำคัญ (เลือกท่เี หมาะสมกบั กจิ กรรม)

✓ ความสามารถในการส่ือสาร

✓ ความสามารถในการคิด

 ความสามารถในการแก้ปัญหา

 ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต

✓ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (เลือกท่เี หมาะสมกบั กจิ กรรม)

 รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  ซือ่ สตั ยส์ ุจริต

 มวี ินยั ✓ ใฝเ่ รยี นรู้

 อยอู่ ยา่ งพอเพียง ✓ มุ่งม่นั ในการทำงาน

✓ รกั ความเป็นไทย  มจี ติ สาธารณะ

7. หลักฐานการเรียนรู้ ( ชิน้ งาน/ภาระงาน )

1. สอบปฏิบตั ินาฏยศพั ท์ (5 คะแนน)
2. สอบปฏบิ ตั ิภาษาท่าจากธรรมชาติ (5 คะแนน)
3. สอบปฏบิ ตั ภิ าษาทา่ จากการประดิษฐ์ (5 คะแนน)
4. สอบปฏบิ ัตทิ า่ รำรำวงมาตรฐาน (5 คะแนน)

8. กิจกรรมการจัดการเรียนรู้

กลยุทธ/์ รูปแบบ/เทคนิคการสอนทีใ่ ช้

1. การลงมือปฏบิ ตั ิ Practice
คาบที่ 1 - 2

ขนั้ นำเข้าสู่บทเรียน

- นักเรียนชมการสาธติ ทา่ นาฏยศัพท์โดยครู พรอ้ มท้ังตอบคำถามการปฏิบตั ิทา่ รำน้ัน ๆ
- นักเรยี นและครรู ่วมกนั สนทนาเกย่ี วกบั ท่านาฏยศัพท์
ข้ันสอน

- นักเรยี นรบั ฟงั การบรรยาย เร่ืองนาฏยศัพท์ โดยใช้สื่อการสอน Power Point ดงั นี้

นาฏยศัพท์ หมายถงึ ศัพทท์ ่ีใชเ้ ก่ยี วกบั ลกั ษณะท่ารำ ท่ใี ช้ในการฝกึ หดั เพ่อื แสดงโขน ละคร เป็นคำท่ี
ใช้ในวงการนาฏศลิ ป์ไทย สามารถสือ่ ความหมายกนั ได้ทุกฝ่ายในการแสดงตา่ งๆ "นาฏย" หมายถงึ เกีย่ วกับการ
ฟ้อนรำ เกี่ยวกบั การแสดงละคร "ศพั ท์" หมายถงึ เสยี ง คำ คำยากท่ีต้องแปล เร่ือง เม่ือนำคำสองคำมารวมกนั
ทำให้ได้ความหมายขึน้ มา การศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ไทย ไม่วา่ จะเป็นการแสดงโขน ละคร หรือระบำ
เบด็ เตล็ดต่างๆ กด็ ี ทา่ ทางทผี่ ู้แสดงแสดงออกมานัน้ ย่อมมีความหมายเฉพาะ ยิ่งหากได้ศึกษาอยา่ งดีแล้ว อาจ
ทำให้เขา้ ใจในเร่อื งการแสดงมากย่งิ ข้นึ ทง้ั ในตัวผ้แู สดงเอง และผู้ทชี่ มการแสดงน้ันๆ สง่ิ ทเ่ี ข้ามาประกอบเปน็
ท่าทางนาฏศิลป์ไทยน้ันก็คือ เรื่องของนาฏยศัพท์ ซง่ึ แยกออกไดเ้ ปน็ คำว่า "นาฏย" กบั คำวา่ "ศพั ท์"

นาฏยศัพท์ แบ่งออกได้ 3 ประเภท ดงั นี้

1. นามศพั ท์ หมายถึง ศพั ท์ท่เี รยี กชื่อทา่ รำ หรือช่ือทา่ ทบ่ี อกอาการกระทำของผู้นน้ั เช่น วง จบี สลัด
มอื คลายมือ กรายมือ ฉายมือ ปาดมือ กระทบ กระดก ยกเท้า ก้าวเท้า ประเท้า ตบเท้า กระทงุ้ กะเทาะ จรด
เทา้ แตะเทา้ ซอยเทา้ ขย่ันเท้า ฉายเทา้ สะดุดเท้า รวมเท้า โย้ตวั ยักตัว ตไี หล่ กลอ่ มไหล่

2. กิรยิ าศัพท์ หมายถงึ ศพั ท์ท่ีใชเ้ รียกในการปฏิบตั ิบอกอาการกริ ยิ า ซึ่งแบ่งออกเป็น

ศัพทเ์ สรมิ หมายถึง ศพั ท์ท่ีใช้เรียกเพื่อปรบั ปรงุ ท่าทีให้ถูกต้องสวยงาม เช่น กันวง ลดวง ส่ง
มอื ดงึ มือ หกั ข้อ หลบศอก เปดิ คาง กดคาง ทรงตัว เผน่ ตัว ดึงไหล่ กดไหล่ ดึงเอว กดเกลยี วขา้ ง ทับ
ตวั หลบเขา่ ถีบเขา่ แข็งเขา่ กันเข่า เปดิ สน้ ชักสน้

ศพั ทเ์ สื่อม หมายถงึ ศัพท์ท่ีใชเ้ รยี กช่อื ทา่ รำหรือท่วงทีของผู้รำทไี่ ม่ถูกต้องตามมาตรฐาน
เพอื่ ให้ผู้รำรตู้ ัว และแก้ไขท่าทีของตนให้ดีขึน้ เช่น วงล้า วงคว่ำ วงเหยยี ด วงหกั วงลน้ วงแอ้ คอดม่ื
คางไก่ ฟาดคอ คอหัก เกร็งคอ หอบไหล่ ทรดุ ตัว ขย่มตัว เหลีย่ มล้า รำแอ้ รำลน รำเล้อื ย รำลำ้
จังหวะ รำหน่วงจงั หวะ

3. นาฏยศัพทเ์ บด็ เตลด็ หมายถึง ศพั ทต์ ่างๆทีใ่ ชเ้ รยี กในภาษานาฏศิลป์ นอกเหนือไปจากนามศัพท์
และกริ ิยาศพั ท์ เชน่ จบี ยาว จบี สั้น ลกั คอ เดินมือ เอยี งทางวง คืนตัว อ่อนเหลย่ี ม เหล่ียมล่าง แม่ทา ท่า-ที ขน้ึ
ทา่ ยืนเข่า ทลายทา่ นายโรง พระใหญ่ - พระน้อย นางกษัตริย์ นางตลาด ผเู้ มีย ยนื เคร่ือง

- ครสู าธิตการปฏบิ ตั ิท่านาฏยศัพท์ (การตง้ั วง การจีบ การล่อแก้ว การม้วนจีบ การสะบัดจีบ การ
ประเท้า การกระทุ้งเท้า การกระดกเท้า การฉายเทา้ ) พรอ้ มทั้งสอนนกั เรียนปฏบิ ตั ิทา่ นาฏยศพั ท์

- นักเรียนรว่ มกันฝึกซ้อมทา่ นาฏยศัพท์ โดยครูผู้สอนเปน็ ผคู้ วบคุม และคอยให้คำแนะนำ
- นกั เรียนจับคู่ สอบปฏบิ ัตทิ ่านาฏยศัพท์
ข้นั สรปุ
- นักเรียนและครูรว่ มกนั สรุปอภิปรายเกยี่ วกับนาฏยศัพท์
คาบที่ 3 - 4
ขนั้ นำเขา้ สูบ่ ทเรียน
- นกั เรยี นชมวดี ีทัศน์การแสดงโขน ตอนนารายณป์ ราบนนทุก พร้อมทง้ั ตอบคำถามการใช้ภาษาทา่ จาก

ธรรมชาติจากการปฏบิ ตั ิท่ารำน้นั ๆ

- นักเรียนและครรู ว่ มกันสนทนาความแตกต่างของภาษาท่า กริ ิยาท่าทางของมนุษย์กับภาษาทา่ ทาง
นาฏศลิ ป์

ขั้นสอน

- นกั เรยี นรบั ฟังการบรรยาย เร่ืองภาษาท่าจากธรรมชาติ โดยครผู ูส้ อน
ภาษาท่า

นาฏยภาษาหรอื ภาษาทา่ ทาง เปน็ สารทใ่ี ชใ้ นการสื่อสารอยา่ งหนง่ึ ที่ท้ังผถู้ ่ายทอดสาร (ผู้รำ) และผูร้ บั
สาร (ผู้ชม) จำเป็นจะต้องเขา้ ใจตรงกนั จงึ จะสามารถเข้าใจในความหมายของการแสดงออก น้ันได้อย่างถกู
ตอ้ งการถา่ ยทอดภาษาดว้ ยการเคลื่อนไหวของร่างกาย

ความหมายภาษาท่านาฏศิลป์

ภาษาท่านาฏศลิ ป์ เป็นการนำทา่ ทางต่างๆและสีหนา้ ที่มีอยู่ตามธรรมชาตมิ าใช้แทน เชน่ คำพูด กริยา
อาการ อารมณ์ ความรูส้ กึ มาปฏิบตั เิ ปน็ ท่าทางนาฏศิลป์ไทยทีม่ ีความหมายแทนคำพูด สอดคล้องกับจังหวะ
เพลงและการขบั ร้อง การฝกึ ปฏิบตั ิ การฝกึ หัดภาษาท่าจะต้องฝกึ ให้ถกู ต้องตามแบบแผน เพ่อื ส่อื ความหมาย
ได้โดยตรง ซ่ึงจะทำใหผ้ ู้ชมเข้าใจความหมายทผ่ี ู้แสดงต้องจะส่อื ความหมายมากขน้ึ

การแสดงนาฏศิลป์ แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท

ภาษาทา่ ทมี่ าจากธรรมชาติ เป็นท่าทางทีด่ ดั แปลงมาจากท่าทางตามธรรมชาติของคนเราแต่ปรบั ปรุง
ใหด้ สู วยงามอ่อนช้อยมากยงิ่ ข้ึน โดยใชล้ กั ษณะการร่ายรำเบื้องต้นมาผสมผสาน เช่น ทา่ ปฏเิ สธ ท่าย้ิม ท่า
เรยี ก ท่าร้องไห้ ทา่ ดีใจ ทา่ เสียใจ ท่าโกรธ

ภาษาทา่ ท่ีมาจากการประดิษฐ์โดยตรง เปน็ ทา่ ทางที่ประดิษฐ์ ข้ึนเพื่อใหเ้ พยี งพอใช้กบั คำรอ้ งหรือคำ
บรรยาย ท่ีจะต้องแสดงออกเปน็ ท่ารำ เช่น สอดสรอ้ ยมาลา เปน็ ตน้

- ครสู าธติ การปฏิบัตภิ าษาท่าทางนาฏศลิ ป์ (ท่าตวั เรา ทา่ ปฏิเสธ ทา่ เรยี ก ท่าสวยงาม ทา่ อาย ท่า
เสียใจ) พรอ้ มสอนนักเรยี นปฏบิ ัติภาษาท่าทางนาฏศลิ ป์

- นกั เรยี นรว่ มกันฝกึ ซ้อมภาษาท่าทางนาฏศิลป์ โดยครผู สู้ อนเป็นผู้ควบคมุ และคอยใหค้ ำแนะนำ
- นกั เรียนจับคู่ สอบปฏบิ ัติภาษาทา่ ทางนาฏศลิ ป์
ขน้ั สรปุ
- นักเรยี นและครรู ่วมกันสรุปอภิปรายเก่ยี วกับภาษาท่าจากธรรมชาติ

คาบที่ 5 – 6
ข้นั นำเข้าสบู่ ทเรียน
- นักเรียนชมวดี ที ศั น์การแสดงละครใน อิเหนา ตอน บุษบาชมศาล พรอ้ มท้ังตอบคำถามการปฏิบตั ทิ ่า
รำนัน้ ๆ

- นักเรียนและครูรว่ มกันสนทนาความหมายของทา่ รำแต่ละท่า ในการแสดงละครใน อิเหนา ตอน
บุษบาชมศาล

ขนั้ สอน
- นกั เรียนรับฟังการบรรยาย เรื่องภาษาท่าจากการประดิษฐ์ โดยครผู ู้สอน
- ครูสาธิตการปฏบิ ตั ิภาษาท่าทางนาฏศลิ ป์ (ทา่ พรหมสี่หนา้ ทา่ สอดสร้อยมาลา ทา่ จันทร์ทรงกลด ท่า

กลางอัมพร) พรอ้ มท้ังสอนนกั เรียนปฏบิ ตั ภิ าษาทา่ ทางนาฏศิลป์

- นกั เรยี นรว่ มกนั ฝกึ ซ้อมภาษาท่าทางนาฏศิลป์ โดยครูผูส้ อนเปน็ ผคู้ วบคมุ และคอยใหค้ ำแนะนำ
- นักเรยี นจับคู่ สอบปฏิบัตภิ าษาทา่ ทางนาฏศลิ ป์
ขั้นสรุป

- นกั เรยี นและครูรว่ มกันสรปุ อภปิ รายเกี่ยวกบั ภาษาทา่ จากการประดษิ ฐ์
คาบที่ 7 - 8

ขน้ั นำเขา้ สู่บทเรียน

- นกั เรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น จำนวน 10 ขอ้
- นกั เรยี นชมภาพชุดการแสดงรำวงมาตรฐานทง้ั 4 แบบ พรอ้ มทง้ั ตอบคำถามเก่ียวกบั ภาพ โดยครูเปน็

ผู้ตั้งคำถาม

- นักเรียนและครรู ว่ มกนั สนทนาถึงความแตกตา่ งของการแต่งกายรำวงมาตรฐานทั้ง 4 แบบ
ขนั้ สอน

- นกั เรียนศึกษาใบความรู้ เร่อื งประวัติความเป็นมารำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐาน เปน็ การแสดงท่มี วี ิวัฒนาการมาจาก “ รำโทน “ เป็นการรำและรอ้ งของชาวบ้าน ซ่ึงจะมผี ู้
รำทงั้ ชาย และหญิง รำกนั เป็นคู่ ๆ รอบ ครกตำข้าวทว่ี างควำ่ ไว้ หรือไม่กร็ ำกันเป็นวงกลม โดยมโี ทนเป็นเครือ่ ง
ดนตรีประกอบจังหวะ ลกั ษณะการรำ และรอ้ งเปน็ ไปตามความถนัด ไม่มีแบบแผนกำหนดไว้ คงเป็นการรำ
และรอ้ งงา่ ย ๆ มุง่ เน้นทค่ี วามสนกุ สนานร่นื เริงเป็นสำคญั เช่น เพลงช่อมาลี เพลงยวนยาเหล เพลงหล่อจริงนะ
ดารา เพลงตามองตา เพลงใกล้เขา้ ไปอีกนดิ ฯลฯ ด้วยเหตุที่การรำชนดิ นมี้ ีโทนเป็นเครอื่ งดนตรปี ระกอบ
จังหวะ จึงเรยี กการแสดงชดุ นี้ว่า “รำโทน”

ต่อมาเม่อื ปี พ.ศ. 2487 ในสมัยจอมพล ป. พบิ ูลสงคราม เป็นนายกรฐั มนตรี รับบาลตระหนักถึง
ความสำคัญของการละเล่นรนื่ เรงิ ประจำชาติ และเหน็ วา่ คนไทยนยิ มเล่นรำโทนกันอย่างแพรห่ ลาย ถา้ ปรบั ปรงุ
การเลน่ รำโทนให้เปน็ ระเบยี บทัง้ เพลงร้องลลี าทา่ รำ และการแต่งกาย จำทำให้การเลน่ รำโทนเป็นท่นี ่านิยมมาก
ยงิ่ ขน้ึ จึงได้มอบหมายให้กรมศิลปากรปรบั ปรงุ รำโทนเสยี ใหม่ให้เปน็ มาตรฐาน มีการแต่งเนอ้ื ร้อง ทำนองเพลง
และนำทา่ รำจากแมบ่ ทมากำหนดเปน็ ท่ารำเฉพาะแตล่ ะเพลงอย่างเป็นแบบแผน

รำวงมาตรฐาน ประกอบด้วยเพลงทัง้ หมด 10 เพลง กรมศิลปากรแตง่ เนื้อร้องจำนวน 4 เพลง คอื เพลง
งามแสงเดือน เพลงชาวไทย เพลงรำซมิ ารำ เพลงคืนเดอื นหงาย ท่านผหู้ ญงิ ละเอยี ด พิบูลสงคราม แต่งเน้ือรอ้ ง
เพม่ิ อีก 6 เพลง คอื เพลงดวงจนั ทร์วนั เพ็ญ เพลงดอกไม้ของชาติ เพลงดวงจันทร์ขวญั ฟ้า เพลงหญิงไทยใจงาม
เพลงบชู านักรบ เพลงยอดชายใจหาญ สว่ นทำนองเพลงทงั้ 10 เพลง กรมศิลปากร และกรมประชาสัมพนั ธเ์ ปน็
ผู้แตง่

เมอ่ื ปรับปรงุ แบบแผนการเล่นรำโทนให้มีมาตรฐาน และมีความเหมาะสม จงึ มีการเปลย่ี นแปลงชื่อจากรำ
โทนเป็น “รำวงมาตรฐาน” อันมีลกั ษณะการแสดงที่เปน็ การรำรว่ มกันระหวา่ งชาย – หญิง เปน็ คู่ ๆ
เคลื่อนยา้ ยเวียนไปเปน็ วงกลม มีเพลงร้องทแี่ ตง่ ทำนองขึน้ ใหม่ มีการใช้ท้ังวงป่ีพาทย์บรรเลงเพลงประกอบ

และบางเพลงก็ใช้วงดนตรีสากลบรรเลงเพลงประกอบ ซึ่งเพลงรอ้ งที่แต่งข้นึ ใหม่ท้งั 10 เพลง มีท่ารำท่กี ำหนด
ไวเ้ ปน็ แบบแผนคือ

เพลงที่ ช่อื เพลง ทา่ รำทีใ่ ช้

1 เพลงงามแสงเดอื น ทา่ สอดสรอ้ ยมาลา

2 เพลงชาวไทย ทา่ ชักแปง้ ผดั หนา้

3 เพลงรำมาซิมารำ ทา่ รำสา่ ย

4 เพลงคนื เดือนหงาย ท่าสอดสร้อยมาลาแปลง

5 เพลงดวงจนั ทรว์ นั เพ็ญ ทา่ แขกเตา้ เข้ารงั และทา่ ผาลาเพียงไหล่

6 เพลงดอกไมข้ องชาติ ท่ารำยว่ั

7 เพลงหญงิ ไทยใจงาม ทา่ พรหมส่ีหน้า และทา่ ยงู ฟ้อนหาง

8 เพลงดวงจันทรข์ วญั ฟา้ ท่าช้างประสานงา และท่าจนั ทร์ทรงกลดแปลง

9 เพลงยอดชายใจหาญ หญงิ ทา่ ชะนีรา่ ยไม้
ชายท่าจ่อเพลิงกัลป์

10 เพลงบูชานักรบ หญงิ ท่าขดั จางนาง และท่าล่อแก้ว
ชายท่าจันทร์ทรงกลดตำ่ และทา่ ขอแก้ว

รำวงมาตรฐานนยิ มเล่นในงานร่ืนเริงบันเทงิ ต่าง ๆ และยงั นิยมนำมาใชเ้ ลน่ แทนการเตน้ รำ สำหรบั

เครื่องแตง่ กายก็มีการกำหนดการแต่งกายของผูแ้ สดงให้มีระเบยี บด้วยการใช้ชดุ ไทย และชุดสากลนยิ ม โดย

แต่งเป็นคู่ รับกันท้ังชายและหญิง อาทิ ผ้ชู ายนงุ่ โจงกระเบน สวมเสอ้ื คอกลม มีผ้าคาดเอว ผ้หู ญิงนุง่ โจง

กระเบน ห่มสไบอัดจีบ ผ้ชู ายน่งุ โจงกระเบน สวมเสื้อราชประแตน ผู้หญิงแต่งชุดไทยแบบรชั กาลที่ 5 ผชู้ าย

แต่งสูท ผู้หญิงแตง่ ชดุ ไทยเรือนตน้ หรอื ไทยจักรี

รำวงมาตรฐาน เปน็ การรำทีไ่ ด้รบั ความนยิ มสบื มาจนถงึ ปัจจบุ ัน มักนยิ มนำมาใช้หลังจากจบการแสดง

หรือจบงานบันเทิงตา่ ง ๆ เพื่อเชิญชวนผูร้ ่วมงานออกมารำวงร่วมกัน เปน็ การแสดงความสามัคคีกลมเกลยี ว

อีกทั้งยังเป็นที่นิยมของชาวตา่ งชาติในการออกมารำวงเพ่อื ความสนกุ สนาน

- นักเรยี นร่วมกันอภิปราย เรื่องประวัติความเป็นมารำวงมาตรฐาน โดยมีครูคอยให้คำแนะนำในสว่ นท่ี
นกั เรยี นไม่เข้าใจ

- ครูสาธิตการปฏบิ ตั ิท่ารำประกอบการแสดงรำวงมาตรฐาน เพลงที่ 1 - 5 พร้อมสอนนักเรียนปฏิบตั ิ
ท่ารำประกอบการแสดงรำวงมาตรฐาน

- นักเรยี นแบง่ กลุ่มกลมุ่ ละเท่า ๆ กนั จำนวน 5 กลุ่ม ฝกึ ซอ้ มทา่ รำประกอบการแสดงรำวงมาตรฐาน
เพลงท่ี 1 - 5 โดยศึกษาเพิ่มเติมจากสมดุ ภาพหรรษา 1 ครูผู้สอนเป็นผูค้ วบคมุ และคอยให้คำแนะนำ
ข้ันสรปุ

- นักเรยี นและครูร่วมกันสรปุ อภิปรายเกีย่ วกบั ประวัตคิ วามเปน็ มาของการแสดงรำวงมาตรฐาน และทา่
รำประกอบการแสดงรำวงมาตรฐาน เพลงท่ี 1 - 5

คาบที่ 9 - 10

ขน้ั นำเข้าสู่บทเรียน

- ทบทวนประวัตคิ วามเปน็ มาของการแสดงรำวงมาตรฐาน และท่ารำประกอบการแสดงรำวงมาตรฐาน
เพลงที่ 1 – 5

ขัน้ สอน

- ครูสาธิตการปฏิบัตทิ า่ รำประกอบการแสดงรำวงมาตรฐาน เพลงที่ 6 - 10 พร้อมสอนนกั เรยี นปฏบิ ตั ิ
ทา่ รำประกอบการแสดงรำวงมาตรฐาน

- นักเรียนแบง่ กลุ่มกลุม่ ละเทา่ ๆ กัน จำนวน 5 กล่มุ ฝึกซอ้ มท่ารำประกอบการแสดงรำวงมาตรฐาน
เพลงท่ี 6 – 10 โดยศึกษาเพิม่ เตมิ จากสมุดภาพหรรษา 2 ครผู ู้สอนเปน็ ผคู้ วบคุม และคอยให้
คำแนะนำ

ขัน้ สรปุ

- นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน จำนวน 10 ขอ้
- นกั เรยี นและครรู ่วมกันสรปุ อภปิ รายเก่ียวกบั ประวัติความเปน็ มาของการแสดงรำวงมาตรฐาน และทา่

รำประกอบการแสดงรำวงมาตรฐาน เพลงท่ี 1 – 10
บรู ณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เรอื่ งการใช้ ฎ และ ฏ

- ครใู ห้ความรคู้ วามเข้าใจเพิม่ เตมิ ในการเลือกใช้ ฎ และ ฏ เพ่อื นักเรียนเลือกใชส้ ำหรบั การเขียนให้
ถกู ต้อง เชน่ คำว่า นาฏศิลป์ และ นาฏยศัพท์ คำเหลา่ นม้ี ักเจอในรายวิชา ศิลปะ เน่ืองจากครูผ้สู อน
ได้สังเกตนักเรียนจากปีการศึกษาท่ผี า่ นๆมา พบวา่ นักเรียนมักเขียนคำดังกล่าวผิดอยู่บอ่ ยครงั้ ครูบอก
เทคนคิ การจำใหน้ ักเรียนดังนี้

- ตวั ฎ (ดอ ชะ ดา) ใช้เป็นพยัญชนะตัวสะกดในมาตรากด มกั ใช้สำหรบั คำเดีย่ ว ๆ หรอื อย่หู น้าคำอ่ืน
เชน่ คำวา่ กฎ กฎระเบยี บ กฎกระทรวง กฎทบวง เป็นต้น

- ตวั ฏ (ตอ ปะ ตกั ) ใชเ้ ป็นพยัญชนะตวั สะกดในมาตรากด มักใช้เปน็ ตัวสะกดในคำที่อยู่ทา้ ย เช่น
ปรากฏ กบฏ เปน็ ต้น

- เช่นเดยี วกบั คำว่านาฏศิลป์ นาฏยศพั ท์ นาฏลีลา จงึ ใช้ตัวสะกดดว้ ย ฏ เพราะเปน็ คำสะกดที่อยูใ่ นคำ
ทา้ ย

9. ส่อื / แหลง่ เรียนรู้

1. Power Point เร่ืองนาฏยศัพท์
2. วีดที ัศนก์ ารแสดงโขน ตอนนารายณ์ปราบนนทุก
3. วีดีทศั น์การแสดงละครใน อิเหนา ตอนบษุ บาชมศาล
4. รูปภาพการแต่งกายรำวงมาตรฐาน ทงั้ 4 แบบ
5. สมดุ ภาพหรรษา 1
6. สมุดภาพหรรษา 2
10. การวัดและประเมินผล

ด้านความรู้ (K)

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผล เครอ่ื งมอื การวัดและ เกณฑ์การประเมนิ
ทำทดสอบวดั ความรู้ เรอ่ื ง ประเมนิ ผล
1. นกั เรยี นรู้และเขา้ ใจ นักเรยี นทำแบบทดสอบ
หมายความและประเภท นาฏยศัพท์ แบบทดสอบเร่ือง นาฏย เร่ืองนาฏยศัพท์ผา่ นเกณฑ์
ของนาฏยศัพท์ การถาม-ตอบ ศพั ท์ 10 ข้อ
2. นกั เรยี นรู้และเข้าใจ ร้อยละ 70
ความหมายและประเภท การถาม-ตอบ แบบสังเกตพฤติกรรมการ นักเรียนผ่านเกณฑ์
ของภาษาท่าจากธรรมชาติ ถาม-ตอบ ประเมนิ พฤติกรรมการ
3. นักเรยี นร้แู ละเขา้ ใจ ทำแบบทดสอบวัดความรู้ ถาม-ตอบ ร้อยละ 70
ความหมายและประเภท เรอื่ งรำวงมาตรฐาน แบบสงั เกตพฤติกรรมการ นกั เรยี นผ่านเกณฑ์การ
ของภาษาทา่ จากการ ถาม-ตอบ ประเมนิ พฤติกรรมการ
ประดษิ ฐ์ ถาม-ตอบ ร้อยละ 70
4. นกั เรียนสามารถ แบบทดสอบก่อนเรียน
เลือกใช้ทา่ รำประกอบ แบบทดสอบหลังเรียน นกั เรยี นผ่านเกณฑ์
เพลงรำวงมาตรฐานได้ แบบทดสอบวัดความรู้
ถกู ต้อง เร่อื งรำวงมาตรฐาน ร้อย
ด้านทกั ษะกระบวนการ (P)
ละ 70

จุดประสงค์การเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผล เครอื่ งมือการวัดและ เกณฑ์การประเมนิ
สอบปฏิบัตทิ ่านาฏยศัพท์ ประเมนิ ผล
1. นกั เรียนสามารถปฏบิ ตั ิ นักเรียนผา่ นเกณฑก์ าร
ทา่ นาฏยศพั ท์ได้ถูกต้อง แบบประเมินทกั ษะการ ประเมินทักษะการปฏบิ ตั ิ
สวยงาม ปฏิบัติ
รอ้ ยละ 70

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล เคร่ืองมือการวัดและ เกณฑ์การประเมนิ
ประเมินผล
2. นกั เรียนสามารถปฏบิ ตั ิ สอบปฏิบัติภาษาท่าจาก นักเรยี นผา่ นเกณฑก์ าร
ภาษาทา่ จากธรรมชาติได้ ธรรมชาติ แบบประเมนิ ทกั ษะการ ประเมนิ ทักษะการปฏบิ ตั ิ
ถูกต้องสวยงาม ปฏิบตั ิ
3. นักเรยี นสามารถปฏิบัติ สอบปฏบิ ัติ ภาษาท่าจาก รอ้ ยละ 70
ทา่ ภาษาทา่ จากการ การประดิษฐ์ แบบประเมินทกั ษะการ นกั เรียนผ่านเกณฑก์ าร
ประดิษฐไ์ ดถ้ กู ต้องสวยงาม ปฏบิ ตั ิ ประเมนิ ทักษะการปฏิบัติ
4. นกั เรยี นสามารถปฏิบัติ สอบปฏิบัติท่ารำรำวง
ทา่ รำประกอบเพลงรำวง มาตรฐาน แบบประเมินทกั ษะการ รอ้ ยละ 70
มาตรฐานได้อย่างถูกต้อง ปฏบิ ตั ิ นักเรียนผา่ นเกณฑ์การ
ประเมินทักษะการปฏิบัติ
ท่ารำรำวงมาตรฐาน ร้อย

ละ 70

ดา้ นทกั ษะคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผล เครอ่ื งมอื การวัดและ เกณฑ์การประเมิน
สังเกตพฤตกิ รรม ประเมนิ ผล
1. นักเรียนเห็นคณุ ค่าของ นักเรียนผ่านเกณฑ์การ
การแสดงนาฏศลิ ป์ไทย แบบสังเกตพฤติกรรมการ ประเมนิ การเห็นคุณคา่
เหน็ คณุ คา่ และความสำคญั และความสำคญั ของ
นาฏศิลป์ไทย รอ้ ยละ 70
ของนาฏศลิ ป์ไทย

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 3

ช่ือหน่วยการเรียนรู้ ทักษะทางการแสดงนาฏศลิ ป์ไทย

รหสั วชิ า ศ23101 ชื่อรายวชิ า ศลิ ปะ5 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ

ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 คาบเรยี น จำนวน 1 หน่วยกิต

1. สาระสำคญั / ความคดิ รวบยอด

นาฏศลิ ป์ไทย เปน็ ศลิ ปวฒั นธรรมทแ่ี สดงถึงความเปน็ ไทย ท่มี มี าตง้ั แตช่ ้านาน และไดร้ บั อิทธิพลแบบ
แผนตามแนวคดิ จากตา่ งชาติเข้ามาผสมผสาน และนำมาปรับปรุงเปน็ เอกลกั ษณป์ ระจำชาติไทย การแสดง
นาฏศลิ ป์ไทยเป็นการแสดงท่ีมีความวจิ ติ รงดงาม ทงั้ เสื้อผา้ การแต่งกายลลี าท่ารำดนตรีประกอบและบทรอ้ ง
นอกจากน้ีการแสดงนาฏศิลป์ไทยยงั เกดิ จากการละเล่นพ้ืนบา้ น วถิ ชี วี ิตของชาวไทยในแต่ละภมู ภิ าค

การประดิษฐ์ท่าที่ใชใ้ นการแสดง เป็นการสร้างสรรคก์ ารแสดงให้มีความสมบรู ณ์ สวยงาม ซึง่ ในการ
ประดษิ ฐ์ทา่ รำจะต้องสรา้ งสรรค์ท่ารำใหม้ ีความเหมาะสมและสัมพันธ์กับการแสดง เพ่อื ให้เกิดความงดงาม นา่
ชม

นาฏศิลป์ คือ การรวมความเปน็ สุนทรีย์ทางสายตาและทางการได้ยนิ ไวด้ ว้ ยกนั ซึ่งมีองค์ประกอบของ
นาฏศิลป์ ดงั น้ี จังหวะทำนอง การเคลือ่ นไหว อารมณ์ความรู้สกึ ภาษาทา่ นาฏยศัพท์ รูปแบบของการแสดง
และการแต่งกาย

วิธกี ารเลอื กการแสดงในรปู แบบตา่ ง ๆ มคี วามสำคญั และควรใหม้ คี วามสอดคล้องกับประเภทของ
รูปแบบงาน ซ่ึงวธิ ก๊ ารเลือกการแสดงต้องคำนงึ ถึง ประเภทของงาน ขัน้ ตอนการดำเนินงาน ประโยชน์และ
คณุ คา่ ของการแสดง

เร่อื งราวการดำเนนิ ชีวติ ในแต่ละวนั ของมนษุ ยน์ ั้นย่อมมีความแตกตา่ งกันออกไป บางวันอาจเปน็
เรือ่ งราวดีๆ ของใครบางคน หรอื บางวันอาจเปน็ เร่ืองที่เลวร้ายไมม่ ีความสุขของใครบางคน ในเรือ่ งราวนนั้ ๆ
สามารถสะท้อนแนวคิดการใช้ชวี ติ ให้แก่ผอู้ ืน่ ได้เชน่ กนั

2. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ช้วี ัด

สาระท่ี 3 นาฏศิลป์

ศ 3.1 เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ปอ์ ย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษว์ ิจารณค์ ุณคา่ นาฏศิลป์
ถา่ ยทอดความร้สู ึก ความคิดอยา่ งอิสระ ชนื่ ชม และประยุกต์ใช้ ในชวี ิตประจำวัน

ม.3/3 มที กั ษะในการใชค้ วามคดิ ในการพฒั นารูปแบบการแสดง

ม.3/4 มที ักษะในการแปลความและการสอ่ื สารผา่ นการแสดง

ม.3/5 วิจารณ์เปรยี บเทยี บงานนาฏศิลปท์ ีม่ คี วามแตกตา่ งกันโดยใช้ความรู้เรื่ององคป์ ระกอบนาฏศลิ ป์

ม.3/6 รว่ มจัดงานการแสดงในบทบาทหน้าที่ตา่ ง ๆ

ม.3/7 นำเสนอแนวตดิ จากเน้ือเร่อื งของการแสดงทส่ี ามารถนำไปปรับใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

1. นักเรียนเห็นความแตกตา่ งของรูปแบบการแสดงนาฏศิลป์แตล่ ะประเภท (K)
2. นักเรียนนำเสนอความคดิ รูปแบบการแสดงนาฏศลิ ปแ์ ต่ละประเภทได้ (P)
3. นกั เรยี นสามารถสื่อความหมายประกอบบทร้องไดถ้ ูกต้อง (K)
4. นักเรียนสามารถประดษิ ฐ์ท่ารำทสี่ ื่อสารผา่ นการแสดงได้ (P)
5. นกั เรยี นร้แู ละเข้าใจถึงองค์ประกอบนาฏศลิ ป์ท้ัง 6 (K)
6. นักเรียนเขียนเปรยี บเทียบงานนาฏศลิ ป์ในรปู แบบตา่ งๆ ได้ (P)
7. นกั เรยี นร้แู ละเขา้ ใจการจดั รปู แบบการแสดงในรูปแบบต่าง ๆ (K)
8. นกั เรียนสามารถจดั งานการแสดงในบทบาทท่ตี นเองได้รับอย่างถกู ต้อง และเหมาะสม (P)
9. นกั เรียนร้แู ละเข้าใจทักษะการใชช้ ีวิตท่ีเหมาะสม (K)
10. นกั เรียนสามารถถ่ายทอดเรอื่ งราวผา่ นการแสดงได้ (P)
11. นกั เรยี นเหน็ คุณคา่ ของการแสดงนาฏศิลปไ์ ทย (A)
4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

1. การแสดงนาฏศิลป์

- รูปแบบการแสดง (การแสดงหม/ู่ การแสดงเดยี่ ว/การแสดงละคร/การแสดงเป็นชุดเปน็
ตอน)

2. การประดษิ ฐ์ท่ารำ

- การประดิษฐท์ ่ารำและท่าทางประกอบการแสดง (ความหมาย/ความเปน็ มา/ท่าทางท่ีใช้
การประดิษฐ์ท่ารำ)

3. องคป์ ระกอบของนาฏศลิ ป์

- จงั หวะทำนอง

- การเคล่อื นไหว

- อารมณแ์ ละความรสู้ กึ

- ภาษาท่า นาฏศพั ท์

- รปู แบบของการแสดง

- การแตง่ กาย

4. สร้างสรรคง์ านแสดง

- วิธกี ารเลือกการแสดง (ประเภทของงาน/ขัน้ ตอน/ประโยชน์และคณุ คา่ ของการแสดง)

5. ละครกับชวี ิต

ภมู ิปัญญาท้องถิ่น

- ระบำนบนารายณ์

5. สมรรถนะสำคัญ (เลือกทเี่ หมาะสมกบั กิจกรรม)

✓ ความสามารถในการสื่อสาร

✓ ความสามารถในการคิด

 ความสามารถในการแกป้ ัญหา

 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ

✓ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

6. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (เลือกทเี่ หมาะสมกบั กิจกรรม)

 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์  ซื่อสตั ยส์ จุ รติ

 มวี นิ ยั ✓ ใฝ่เรยี นรู้

 อยอู่ ยา่ งพอเพียง ✓ มงุ่ มนั่ ในการทำงาน

✓ รักความเปน็ ไทย  มีจติ สาธารณะ

7. หลกั ฐานการเรียนรู้ ( ชิ้นงาน/ภาระงาน )

1. นำเสนอหนา้ ชนั้ เรียน เร่ืองรปู แบบการแสดงนาฏศลิ ป์ (5 คะแนน)
2. สอบปฏิบัติการคิดประดิษฐ์ท่ารำ (10 คะแนน)
3. ใบงาน เรื่องการเปรียบเทยี บรูปแบบการแสดง (โดยใชอ้ งค์ความรเู้ ร่อื งองค์ประกอบนาฏศิลป์)
4. แสดงบทบาทสมมตกิ ารจัดงานแสดง (5 คะแนน)

5. แสดงละครสน้ั (5 คะแนน)
8. กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
กลยทุ ธ/์ รูปแบบ/เทคนิคการสอนที่ใช้

1. นำเสนอหนา้ ชั้นเรยี น
2. ลงมอื ปฏิบัติ
3. สรปุ องค์ความรู้
4. บทบาทสมมติ
คาบท่ี 1 – 2
ขน้ั นำเขา้ สู่บทเรยี น
- นกั เรยี นชมตวั อย่างการแสดงเดยี่ ว (ฉยุ ฉายพราหมณ)์ ตัวอยา่ งการแสดงหมู่ (ระบำนบนารายณ์ เปน็
การแสดงนาฏศลิ ป์สร้างสรรค์ทว่ี ิทยาลยั นาฏศลิ ปลพบรุ ไี ด้คิดรเิ ริม่ เมื่อปี 2534) ตวั อย่างการแสดง
ละครพันทาง (เร่ืองพญาผานอง ตอนรักสามเศร้า) และการแสดงเปน็ ชดุ เปน็ ตอน รจนาเสี่ยง
พวงมาลัย (เรื่องสงั ข์ทอง ตอนเลือกคู่)

- นกั เรยี นและครูรว่ มกันอภิปรายถงึ ความแตกตา่ งระหว่างรูปแบบการแสดงแตล่ ะประเภท โดยมคี รเู ปน็

ผู้กระต้นุ หวั ข้อในการอภิปราย
ขน้ั สอน
- นักเรียนรับฟังการบรรยาย เร่ืองรูปแบบการแสดง โดยใช้สอ่ื การสอน Power Point เรอื่ งรูปแบบการ

แสดง

- นักเรยี นแบ่งกลุ่ม 4 กล่มุ กลุ่มละเทา่ ๆ กัน พร้อมตวั แทนกลุม่ ละ 1 คน หมุนวงล้อ Online ผา่ น
Application PiliApp แทนการจับฉลากเพื่อสรา้ งความแปลกใหม่ให้แก่นกั เรยี น โดยมีหัวข้อดังนี้
1.การแสดงเด่ยี ว
2.การแสดงหมู่
3.การแสดงละคร

4.การแสดงเปน็ ชุดเป็นตอน

- นักเรียนแต่ละกลุม่ สรุปความคดิ รวมยอดจากองค์ความรู้ เร่ืองรูปแบบการแสดง
ขั้นสรุป
- นกั เรียนและครูร่วมกันสรุปอภปิ รายเกีย่ วกับ เรอื่ งรปู แบบการแสดง
คาบท่ี 3 – 4
ขน้ั นำเข้าสบู่ ทเรียน
- ทบทวนความรู้เดมิ เรอ่ื ง รปู แบบการแสดงท้ัง 4
ขน้ั สอน
- นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ สง่ ตวั แทนกลมุ่ ออกนำเสนอหน้าชน้ั เรยี น ในหัวข้อทต่ี นเองได้รับ
ขน้ั สรปุ
- นกั เรียนและครูรว่ มกันสรปุ อภปิ รายเกีย่ วกบั เรื่องรปู แบบการแสดงทง้ั 4 ประเภท โดยมคี รูเป็นผ้คู อย

ให้คำแนะนำเพ่ิมเตมิ ในสว่ นทีน่ ักเรียนยังอธบิ ายเน้ือหาไมช่ ดั เจน
คาบที่ 5 - 6

ขน้ั นำเขา้ ส่บู ทเรียน
- ครปู ฏบิ ัติท่ารำเพ่ือส่ือสารกับนักเรียน พรอ้ มใหน้ ักเรยี นแปลความหมายผา่ นการแสดง โดยครูต้งั

ถามใหน้ ักเรียน ครกู ำลังสื่อสารกับนักเรยี นว่าอย่างไร เช่น ทา่ ตัวเรา ท่ารัก ทา่ สญู สน้ิ ท่าเรยี ก
ทา่ ทน่ี ่ี ทา่ ท่นี นั้ เปน็ ตน้
- นกั เรยี นชมวีดที ศั น์ การรำประกอบบทเพลง
- นกั เรยี นและครูร่วมกันสนทนาเก่ยี วกับการแปลความหมายและตีทา่ ทางการแสดงนาฏศิลป์
ขนั้ สอน
- นักเรียนรบั ฟังการบรรยาย เร่ืองความหมายและความเป็นมาของการประดิษฐท์ ่ารำ โดย

ครผู ู้สอน

ความหมายและความเป็นมาของการประดิษฐ์ท่ารำ
ผ้ทู มี่ ีความคิดสรา้ งสรรคแ์ ละมคี วามสามารถในการตีความหมายของบทประพันธท์ นี่ ำมาเปน็

บทร้องและบทละคร ที่จะตอ้ งให้ผ้แู สดงได้สื่ออารมณ์ไปสผู่ ู้ชม โดยมีหลกั คดิ ดงั น้ี ผู้ประดษิ ฐ์ท่ารำที่
สวยงาม
ทา่ ทางที่ใช้ในการประดิษฐท์ ่ารำ

การตีบทรำตามความหมายของบทร้องต้องสร้างสรรค์ท่ารำให้
เหมาะสมกับบทร้อง เช่น บทรอ้ งวา่ "ปราโมทแสน..." ผู้ประดิษฐท์ ่ารำใช้ ภาษา
ท่า กิรยิ าดีใจ จีบมือซา้ ยข้างปาก เป็นต้น

1. การอ่านบทละคร ผูป้ ระดิษฐ์สรา้ งสรรค์ทา่ รำทดี่ ตี ้องอา่ นบทละคร
เพอ่ื พจิ ารณาเร่ืองราวบทละครของตวั ละครวา่ แตล่ ะตัวมีอารมณ์ความรู้สึก
อยา่ งไรจึงนำมาประดิษฐส์ ร้างสรรคท์ ่ารำใหส้ อดคลอ้ งกบั ตวั ละคร

2. การสร้างสรรคท์ า่ รำในแม่บท คอื การนำท่ารำในแม่บทมาประดิษฐ์สรา้ งสรรคท์ า่ รำ เพ่ือ
สื่อความหมายตามบทร้อง ยึดใหเ้ ป็นแบบแผนมาตรฐานทางนาฏศลิ ป์

3. การจัดรูปแบบของการแสดง การแสดงนาฏศิลป์ ไดแ้ ก่ ระบำ รำ ฟ้อน ละคร มีรูปแบบ
ของการจดั การแสดงเปน็ เอกลกั ษณ์และท่าทายความคิดสร้างสรรค์ของผูป้ ระดิษฐ์ท่ารำ ยกตัวอยา่ ง
เช่น การจัดการแสดงประเภทระบำ ควรมหี ลักเกณฑ์ท่ีต้องพิจารณา ดงั น้ี

การจัดแถวของการแสดงระบำ

รปู แบบการแปรแถว

1. แถวตอนลกึ ผ้แู สดงฝ่ายชายจะอย่ดู า้ นซา้ ย ฝ่ายหญิงอยู่ฝา่ ยขวา

2. แถวหนา้ กระดาน
2.1 แถวเดี่ยว
2.2 แถวคู่ตรงกนั

2.3 แถวคู่สบั หว่าง

3. รปู วงกลม 3.2 วงกลมซอ้ น
3.1วงกลมเดย่ี ว

3.3 วงกลมที่มีตัวกลาง 3.4 ครงึ่ วงกลม

4. แถวรปู สามเหลี่ยม
5. การจบั คู่
6. รปู ทแยงมุม

7. การเขา้ พูตา่ ง ๆ 7.2 พู 4 7.3 พลู ะเอียด
7.1 พู

ขั้นสรุป

- นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั สรุปอภิปรายเก่ียวกับ เรื่องความหมาย และความเปน็ มาการประดษิ ฐ์
ท่ารำ

คาบท่ี 7 - 10

ขน้ั นำเข้าสู่บทเรียน

- ทบทวนความรเู้ ดมิ เรื่องความหมาย และความเป็นมาการประดษิ ฐ์ทา่ รำ
ขั้นสอน

- นักเรียนแบง่ กลุ่ม 3-4 กล่มุ โดยแบง่ กลุม่ ละเท่า ๆ กัน พร้อมให้แตล่ ะกลุ่มเลอื กเพลงที่ชอบ
กล่มุ ละ 1 เพลง

- นกั เรยี นแต่ละกลุ่มร่วมกนั ตีความหมายของเนอ้ื เพลงที่เลอื ก พรอ้ มทั้งวเิ คราะหท์ ่ารำท่ี
ต้องการนำมาใช้สือ่ สารเพื่อประกอบการแสดง

- นักเรียนนำเสนอท่ารำทต่ี ้องการนำมาใชส้ ื่อสารเพ่ือประกอบการแสดง โดยมีครูผสู้ อนเป็นผู้
คอยแนะนำและชแี้ นะท่ารำใหถ้ กู ต้องตรงตามความหมายของเน้ือเพลงตามที่แตล่ ะกลุ่มเลอื ก

- นกั เรียนและครรู ว่ มกนั สนทนาเก่ียวกับทา่ รำทน่ี ักเรยี นประดษิ ฐข์ ้ึนเพื่อการแสดงประกอบ
เพลง

ขั้นสรปุ

- นกั เรยี นและครรู ่วมกันสรุปอภิปรายเก่ยี วกบั การประดษิ ฐ์ทา่ รำของนกั เรียนแต่ละกลุม่ โดย
ใหค้ ำแนะนำเพ่ิมเติมกลุ่มทยี่ งั มกี ารประดษิ ฐท์ ่ารำที่ยังไม่สอดคล้องกับเนื้อเพลง

คาบท่ี 11 - 12

ขั้นนำเขา้ สู่บทเรยี น

- ทบทวนความรเู้ ดิม เรื่องการประดษิ ฐ์ทา่ รำ
ข้นั สอน

- นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ ซ้อมปฏิบัติทา่ รำที่ต้องการนำมาใชส้ ื่อสารเพอื่ ประกอบการแสดง (30
นาท)ี

- นักเรยี นสอบปฏบิ ตั ิการประดิษฐ์ท่ารำจากเพลงที่นักเรยี นเลอื ก
ขั้นสรุป

- นักเรยี นและครรู ว่ มกนั สรุปอภิปรายเกยี่ วกับ การประดิษฐ์ท่ารำ ของนักเรยี นแต่ละกลมุ่
คาบที่ 13 - 14

ข้นั นำเข้าสบู่ ทเรยี น

- ครูตั้งคำถามกบั นกั เรยี นดังน้ี
- นักเรยี นคิดวา่ ในการแสดงนาฏศิลป์มสี ิง่ ใดเปน็ สว่ นประกอบบา้ ง

- นกั เรียนคิดว่าในการแสดงแต่ละประเภทมีสว่ นประกอบที่แตกตา่ งกนั หรือไม่
- นักเรยี นและครูร่วมกันสนทนาเก่ียวกบั เร่ืององค์ประกอบของนาฏศิลป์
ข้ันสอน
- นักเรยี นรับฟังการบรรยาย เรื่ององคป์ ระกอบของนาฏศลิ ป์ โดยครูผูส้ อน
องคป์ ระกอบนาฏศลิ ป์ไทย
- นักเรียนรบั ชมวดี ที ศั น์การแสดงระบำโบราณคดี ท้งั 4 การแสดง (ระบำสโุ ขทัย ระบำศรีวชิ ยั

ระบำลพบรุ ี และระบำเชียงแสน)

- นกั เรียนจับคทู่ ำใบงาน เรอ่ื งการเปรียบเทยี บรปู แบบการแสดง (โดยใช้องค์ความรู้เร่ือง
องคป์ ระกอบนาฏศลิ ป์)

ข้ันสรุป
- นกั เรียนและครูรว่ มกันสรปุ อภิปรายเกย่ี วกับ เรอ่ื งการเปรียบเทยี บรูปแบบการแสดงโดยใช้องค์

ความร้เู รื่ององค์ประกอบนาฏศิลป์
คาบที่ 15 - 16

ขน้ั นำเขา้ ส่บู ทเรยี น
- นักเรยี นชมวดี ที ัศน์การแสดงละครนอก เร่อื งพระสธุ น มโนราห์
- ครูตงั้ คำถามกบั นักเรยี นดงั นี้
- นกั เรยี นคดิ วา่ ก่อนที่จะมีการแสดงให้เราไดช้ ม ผแู้ สดงต้องวางแผนก่อนการแสดงอย่างไร
บ้าง
- ถา้ นักเรียนเปน็ คนจัดการแสดงนักเรยี นคดิ วา่ ตนเองเหมาะสมกบั หนา้ ที่ใด เพราะอะไร

ข้นั สอน

- นกั เรียนรับฟงั การบรรยาย เร่ืองวธิ ีการเลือกการแสดง โดยครูผู้สอน
- นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม 2 กลมุ่ กลุ่มละเท่า ๆ กัน
- นกั เรียนส่งตัวแทนกลุ่มกลุ่มละ 1 คน มาจบั ฉลาก “สถานการณ์การจดั การแสดง”
- นักเรียนแบ่งบทบาทหน้าท่ีตามสถานการณก์ ารจดั การแสดง (ทุกคนตอ้ งมบี ทบาทหนา้ ที่ของ

ตนเอง)
- นกั เรียนนำเสนอบทบาทหน้าท่ขี องตนเองทไ่ี ดร้ บั ตามสถานการณ์การจดั การแสดงที่ได้รบั
- นักเรียนฝกึ ซ้อมแสดงบทบาทสมมตุ ใิ นการจดั การแสดงตามสถานการณ์ทไ่ี ด้รับ โดยมี

ครูผู้สอนเป็นผคู้ อยใหค้ ำแนะนำในสว่ นทีน่ กั เรียนยงั ไม่เขา้ ใจ
ขัน้ สรุป

- นักเรียนและครูรว่ มกันสรปุ อภปิ รายเกยี่ วกบั เรื่องวิธีการเลือกการแสดง และบทบาทหนา้ ท่ีที่
ไดร้ บั

คาบท่ี 17 - 18

ข้นั นำเข้าส่บู ทเรียน

- นักเรียนรบั ฟังเร่ืองเล่าของครู โดยครเู ป็นผู้เล่า
- นกั เรียนและครูรว่ มกันวเิ คราะห์สถานการณท์ ี่เกิดข้นึ ในเร่อื งเล่าของครู

- เรื่องทเี่ กิดขน้ึ เกิดจากสง่ิ ใด
- ครใู ช้วธิ ีการแก้ไขปญั หาถูกต้องหรอื ไม่
- ครูควรแก้ไขโดยใช้วธิ กี ารใดจึงจะเหมาะสม
ขั้นสอน

- นกั เรยี นรับฟงั การบรรยาย เรื่องละครกับชีวิต โดยครผู ้สู อน
ละครสว่ นใหญ่เปน็ เร่ืองราวท่ีสะทอ้ นมาจากชีวติ ขิงคนในสังคม ซึง่ ผชู้ มสามารถเขา้ ใจ

เรือ่ งราวท่ีเกิดขึ้นได้ง่าย และนำข้อคดิ ท่ีได้มาปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั เพราะละครส่วนใหญ่จะสอดแทรก
เรือ่ งราวด้านจรยิ ธรรมและศลี ธรรม ซึง่ ละครส่วนใหญจ่ ะมีความเกยี่ วขอ้ งกบั ชีวิตของคนในสงั คม ซ่งึ ผู้เขียนบท
ประพนั ธ์จะสอดแทรกเร่ืองราว ข้อคิดตา่ งๆ ไวใ้ นเน้ือเร่ือง ซึ่งผปู้ ระพันธ์จะต้องคำนงึ ถงึ คุณคา่ ของละครกับ
ชวี ติ ของคนในสงั คมและคำนึงถงึ สงิ่ ต่างๆ ดังน้ี

ด้านสตปิ ัญญา คุณค่าทางอารมณ์ คณุ ค่าทางอารมณ์

คือ มีขอ้ คดิ ปรัชญาอะไรทแ่ี ฝง ละครหรอื ภาพยนตรเ์ ป็นส่งิ ที่ คือ คุณคา่ ท่สี ัมผัสได้ทางหู ตา
อยู่ในละครบา้ ง เชน่ การ มนษุ ยน์ ำมาชมเพื่อความผ่อน สง่ิ เหล่านอี้ าจเป็นคุณคา่ ที่
สอดแทรกความรู้ ข้อคิดต่างๆ ที่ คลายทางอารมณ์ เพ่ือความ กอ่ ให้เกิดความซาบซง้ึ ในด้าน
นำมาปรับใชใ้ นชีวติ ประจำวันได้ สบายใจ คลายเครยี ด ทำให้เกดิ สนุ ทรีย์กไ็ ด้
ความสขุ เม่ือไดช้ ม

- นักเรยี นคดิ วเิ คราะห์ เรื่องราวทีเ่ คยเกิดขนึ้ จรงิ ในชวี ติ ของตนเอง พร้อมทั้งจดบนั ทึกลงในกระดาษ
(เรือ่ งท่ีเกิดขน้ึ เกดิ เปน็ อย่างไร เกดิ จากสง่ิ ใด ใช้วธิ กี ารแก้ไขปญั หาอยา่ งไร ถูกต้องหรือไม่ และ
ควรแกไ้ ขโดยใช้วธิ กี ารใดจึงจะเหมาะสม)

- นกั เรยี นนำเสนอเรื่องราวของตนเองหน้าชั้นเรยี น
- นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ ในการเลอื กเรอ่ื งราวของเพ่อื นในช้ัน 1 เรื่อง เพื่อนำมาจัดแสดง

ละครสัน้
- นกั เรียนร่วมกนั คัดเลอื กผู้แสดงละครในบทบาทต่าง ๆ ตามเร่อื งราวท่ีร่วมกันเลือก
ขัน้ สรุป

- นกั เรียนและครรู ่วมกันสรุปอภิปรายเก่ียวกบั เร่อื งละครกับชวี ติ
- สรปุ เรื่องราวท่จี ะนำมาแสดงในรูปแบบละครสัน้
คาบที่ 19 - 20

ข้นั นำเขา้ สู่บทเรยี น

- นักเรียนและครู ร่วมกันทบทวนความรูเ้ ดมิ เร่ืองละครกบั ชวี ติ
ข้ันสอน

- นักเรยี นฝึกซ้อมบทบาทหนา้ ที่ที่ตนเองไดร้ บั ในการแสดงละครสัน้ เรื่องที่รว่ มกันคดั เลอื ก
- นกั เรยี นและครูรับชมการแสดงละครสั้น
- นักเรยี นรว่ มกันวิเคราะห์ วจิ ารณ์ รูปแบบการแสดงละครสั้น ทีเ่ พ่อื นออกมานำเสนอหน้าช้ัน

เรยี น
ขัน้ สรุป

- นักเรยี นและครรู ่วมกันสรุปอภปิ รายเก่ยี วกับ เร่อื งละครกับชวี ติ
9. สอื่ / แหล่งเรยี นรู้

1. รูปภาพการแสดงรำเดยี่ ว (ฉุยฉายพราหมณ)์
2. รูปภาพการแสดงรำหมู่ (ระบำนบนารายณ)์
3. รูปภาพการแสดงละคร (ละครพันทาง เร่ืองพญาผานอง)
4. รปู ภาพการแสดงเป็นชุดเปน็ ตอน (เร่อื งสังขท์ อง ตอนเลอื กคู่ รจนาเสยี งพวงมาลัย)
5. PowerPoint เร่ืองรปู แบบการแสดงนาฏศลิ ป์
6. Application Piliapp (วงลอ้ สมุ่ )
7. วีดีทศั นก์ ารรำประกอบเพลง
8. วีดีทัศนก์ ารแสดงระบำสโุ ขทยั , ระบำศรวี ิชัย, ระบำลพบุรี , ระบำเชยี งแสน
9. วดี ีทัศน์การแสดงละครนอก เรือ่ งพระสธุ น มโนราห์

10. ส่อื การสอน PowerPoint เรื่องละครกับชวี ิต
10. การวัดและประเมนิ ผล

ด้านความรู้ (K)

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผล เครอ่ื งมือการวัดและ เกณฑ์การประเมนิ
การถาม-ตอบ ประเมนิ ผล
1. นักเรยี นเห็นความ นักเรยี นผา่ นเกณฑก์ าร
แตกต่างของรูปแบบการ การถาม-ตอบ แบบสงั เกตพฤติกรรมการ ประเมนิ พฤติกรรมการ
แสดงนาฏศิลปแ์ ต่ละ การถาม-ตอบ ถาม-ตอบ ถาม-ตอบ ร้อยละ 70
ประเภท การถาม-ตอบ
2. นกั เรยี นสามารถสือ่ การถาม-ตอบ แบบสงั เกตพฤติกรรมการ นกั เรยี นผา่ นเกณฑ์การ
ความหมายประกอบบท ถาม-ตอบ ประเมินพฤติกรรมการ
รอ้ งได้ถูกต้อง ถาม-ตอบ ร้อยละ 70
3. นกั เรียนรู้และเขา้ ใจถึง แบบสงั เกตพฤติกรรมการ นักเรียนผา่ นเกณฑก์ าร
องคป์ ระกอบนาฏศิลปท์ ั้ง ถาม-ตอบ ประเมนิ พฤติกรรมการ
6 ถาม-ตอบ ร้อยละ 70
4. นกั เรยี นรู้และเขา้ ใจการ แบบสงั เกตพฤติกรรมการ นกั เรยี นผ่านเกณฑก์ าร
จดั รูปแบบการแสดงใน ถาม-ตอบ ประเมินการถาม-ตอบ
รูปแบบตา่ งๆ
5. นกั เรียนรแู้ ละเขา้ ใจ แบบสงั เกตพฤติกรรมการ รอ้ ยละ 70
ทกั ษะการใช้ชีวติ ที่ ถาม-ตอบ นักเรยี นผา่ นเกณฑ์การ
เหมาะสม ประเมนิ พฤติกรรมการ
ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) ถาม-ตอบ ร้อยละ 70

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เครื่องมือการวดั และ เกณฑ์การประเมิน
การนำเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น ประเมนิ ผล
1. นกั เรียนนำเสนอ นกั เรียนผา่ นเกณฑ์การ
ความคดิ รูปแบบการแสดง สอบปฏิบตั ิ แบบประเมินการนำเสนอ ประเมนิ นำเสนอ รปู แบบ
นาฏศิลป์แตล่ ะประเภทได้
2. นกั เรยี นสามารถ แบบประเมนิ ทกั ษะการ การแสดง รอ้ ยละ 70
ประดษิ ฐท์ ่ารำท่สี ่ือสาร ปฏบิ ัติ นกั เรยี นผา่ นเกณฑก์ าร
ผ่านการแสดงได้ ประเมนิ ทักษะปฏิบัติ รอ้ ย

ละ 70

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผล เครอ่ื งมอื การวดั และ เกณฑ์การประเมิน
ประเมินผล
3. นักเรียนเขียน ทำใบงาน นักเรียนผา่ นเกณฑ์การ
ใบงาน เรือ่ งการ ประเมินการทำใบงาน รอ้ ย
เปรยี บเทียบงานนาฏศลิ ป์ เปรียบเทียบรูปแบบการ
ละ 70
ในรูปแบบตา่ งๆ ได้ แสดง นกั เรยี นผ่านเกณฑ์การ
แบบประเมนิ การจัดการ ประเมินการจัดการแสดง
4. นักเรียนสามารถจดั งาน จัดการแสดง
แสดง รอ้ ยละ 70
การแสดงในบทบาทที่

ตนเองไดร้ บั อยา่ งถูกตอ้ ง

และเหมาะสม

5. นกั เรยี นสามารถ แสดงละครสัน้ แบบประเมนิ การแสดง นักเรยี นผา่ นเกณฑ์การ
ละครสั้น ประเมิน การแสดงละคร
ถ่ายทอดเร่ืองราวผา่ นการ
ส้นั รอ้ ยละ 70
แสดงได้

ด้านทกั ษะคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A)

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผล เครื่องมอื การวัดและ เกณฑ์การประเมนิ
สังเกตพฤติกรรม ประเมนิ ผล
1. นกั เรยี นเหน็ คุณค่าของ นกั เรียนผ่านเกณฑ์การ
การแสดงนาฏศิลป์ไทย แบบสังเกตพฤติกรรมการ ประเมินการเห็นคุณคา่
เหน็ คณุ ค่าและความสำคัญ และความสำคัญของ
นาฏศิลป์ไทย ร้อยละ 70
ของนาฏศิลป์ไทย

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 4

ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ การสรา้ งสรรคอ์ ปุ กรณ์ประกอบการแสดง

รหัสวชิ า ศ23101 ชอื่ รายวชิ า ศิลปะ5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 4 คาบเรียน จำนวน 1 หน่วยกิต

1. สาระสำคญั / ความคดิ รวบยอด

การแสดงนาฏศลิ ป์ไทยในรูปแบบต่าง ๆ มีการใชอ้ ุปกรณก์ ารแสดงในการประกอบการแสดง เพอื่ ให้
ผู้ชมเกดิ ความสนใจในรปู แบบของการใช้วสั ดอุ ุปกรณป์ ระกอบการแสดงนนั้ ๆ เชน่ ในการแสดงภาคใตม้ ีการใช้
พัด ร่ม มาประกอบการแสดง ส่วนภาคเหนอื มกี ารใช้รม่ เหนอื เทยี น มาเป็นสว่ นประกอบการแสดงเชน่ กนั

2. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชว้ี ดั

สาระท่ี 3 นาฏศลิ ป์

ศ 3.2 เขา้ ใจความสัมพันธร์ ะหว่างนาฏศลิ ป์ ประวตั ศิ าสตร์และวฒั นธรรม เห็นคณุ คา่ ของนาฏศิลปท์ ี่
เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปญั ญาท้องถิ่น ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล

ม.3/1 ออกแบบ และสร้างสรรค์อปุ กรณ์ และเคร่อื งแต่งกาย เพอ่ื แสดงนาฏศลิ ป์ และการละครทมี่ า
จากวฒั นธรรมต่าง ๆ

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

1. นกั เรยี นเข้าใจความแตกต่างระหว่างอปุ กรณป์ ระกอบการแสดงของแต่ละวฒั นธรรม (K)

2. นักเรยี นสามารถสรา้ งสรรคอ์ ปุ กรณป์ ระกอบการแสดงท่ีเหมาะสมกับวฒั นธรรมได้ (P)

3. นักเรียนเหน็ คุณค่าของการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

ออกแบบและสร้างสรรค์อุปกรณแ์ ละเคร่ืองแตง่ กาย เพ่ือการแสดงนาฏศลิ ป์

5. สมรรถนะสำคัญ (เลือกทเ่ี หมาะสมกบั กิจกรรม)

✓ ความสามารถในการสอื่ สาร

✓ ความสามารถในการคิด

 ความสามารถในการแก้ปัญหา

 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต

✓ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (เลอื กทเ่ี หมาะสมกบั กิจกรรม)

 รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  ซ่อื สตั ย์สจุ ริต

 มวี นิ ัย ✓ ใฝเ่ รยี นรู้

 อยู่อย่างพอเพยี ง ✓ มงุ่ มนั่ ในการทำงาน

✓ รักความเปน็ ไทย  มีจติ สาธารณะ

7. หลักฐานการเรยี นรู้ ( ชน้ิ งาน/ภาระงาน )

1. ประดษิ ฐ์อุปกรณป์ ระกอบการแต่งกาย (10 คะแนน)
8. กจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้

กลยุทธ์/รปู แบบ/เทคนิคการสอนทีใ่ ช้

1. ลงมอื ปฏิบัติ
คาบท่ี 1 - 2

ขัน้ นำเข้าส่บู ทเรยี น

- นกั เรยี นชมวดี ีทัศน์การแสดงระบำสร้างสรรค์ในรปู แบบต่างๆ ของกรมศลิ ปากร 3 การแสดง
- นักเรยี นและครูรว่ มกันวเิ คราะห์ความแตกต่างของลกั ษณะการแต่งกาย เครื่องประดับ และ

อุปกรณ์ประกอบการแสดงในระบำนัน้ ๆ โดยครูตั้งคำถามดังนี้
- นกั เรียนคดิ ว่าการแสดงระบำสรา้ งสรรคข์ องกรมศิลปากร ท้ัง 3 การแสดงนัน้ ต้องการส่ือถงึ

ส่งิ ใด
- นักเรยี นร้ไู ด้อย่างไรว่าการแสดงน้นั ๆ ตอ้ งการสอ่ื ถงึ ส่งิ น้นั นกั เรียนดูและสงั เกตได้จากส่งิ ใด
- นกั เรียนคดิ วา่ เคร่ืองประดับในการแสดงแต่ละชุดนน้ั มคี วามเหมาะสมหรอื ไม่ เพราะอะไร

ขั้นสอน

- นกั เรียนรบั ฟังการบรรยาย เร่ืองการออกแบบและการสร้างสรรค์งานอุปกรณ์ และเคร่อื งแต่งกาย
เพอ่ื การแสดงนาฏศิลป์ โดยครผู สู้ อน

- นกั เรียนจับกลุ่ม 4 กลุ่ม โดยแบง่ กลมุ่ ละเทา่ ๆ กัน
- นักเรียนระดมสมองร่วมกันวางแผนการออกแบบเครื่องประดับและการแตง่ กายประกอบการแสดง

นาฏศลิ ปส์ ร้างสรรค์ทน่ี ักเรยี นสร้างสรรคข์ นึ้ โดยผา่ นกระบวนการคิดใชแ้ รงบนั ดาลใจในการ
ดำเนนิ งาน
- ให้นักเรียนวางแผน แบ่งกนั เตรยี มอปุ กรณน์ ำมาสรา้ งสรรค์อปุ กรณ์และการแตง่ กายเพือ่ การแสดง
นาฏศลิ ป์
- นักเรียนวาดเค้าโครง รปู แบบอปุ กรณ์และการแตง่ กายตามจนิ ตนาการของตนเอง
- นักเรียนสง่ ตัวแทนกลุ่มออกนำเสนอ แนวคิดการสรา้ งสรรค์อุปกรณ์และการแต่งกายเพ่อื การแสดง
นาฏศิลป์
ขนั้ สรปุ

- นกั เรียนและครรู ่วมกันสรปุ อภปิ รายเกย่ี วกบั การสรา้ งสรรคอ์ ุปกรณ์และการแตง่ กายเพ่ือการ
แสดงนาฏศิลป์ และใหน้ ักเรียนแต่ละกลุม่ นำการสรา้ งสรรค์ช้นิ งานมานำเสนอในสัปดาห์ต่อไป

คาบที่ 3 - 4

ขนั้ นำเข้าสบู่ ทเรียน

- นกั เรียนและครู ร่วมกันทบทวนความรู้เดมิ เรอ่ื งการออกแบบและการสรา้ งสรรค์งานอุปกรณ์ และ
เครอื่ งแตง่ กายเพ่ือการแสดงนาฏศิลป์

ข้ันสอน

- นักเรยี นจดั เตรยี มอุปกรณป์ ระกอบการแสดง ท่สี รา้ งสรรค์ขึน้ เพอ่ื นำเสนอ
- นักเรียนแตล่ ะกลุ่มนำเสนอรูปแบบแนวคดิ การสร้างสรรค์ชนิ้ งานของกลุม่ ตนเอง
- นักเรยี นร่วมกันวิเคราะห์ วจิ ารณ์ การสรา้ งสรรคช์ ้ินงานของกลมุ่ ตนเองและกลมุ่ อนื่ ๆ
ขน้ั สรปุ

- นักเรียนและครูร่วมกันสรุปอภปิ รายเก่ยี วกบั การออกแบบและการสร้างสรรค์งานอปุ กรณ์ และ
เคร่อื งแต่งกายเพื่อการแสดงนาฏศลิ ป์

9. สื่อ / แหล่งเรยี นรู้

1. วดี ที ัศนก์ ารแสดงระบำสร้างสรรคข์ องกรมศลิ ปากร 3 การแสดง

10. การวดั และประเมนิ ผล
ดา้ นความรู้ (K)

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การวดั และประเมินผล เคร่อื งมอื การวดั และ เกณฑ์การประเมิน
การถาม-ตอบ ประเมินผล
1. นักเรยี นเข้าใจความ นกั เรยี นผา่ นเกณฑ์การ
แตกตา่ งระหวา่ งอุปกรณ์ แบบสงั เกตพฤติกรรมการ ประเมินพฤติกรรม รอ้ ยละ
ประกอบการแสดงของแต่ ถาม-ตอบ
ละวฒั นธรรม 70
ด้านทักษะกระบวนการ (P)

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การวดั และประเมินผล เครื่องมือการวัดและ เกณฑ์การประเมิน
ประเมินผล
1. นกั เรียนสามารถ ช้ินงาน นกั เรยี นผ่านเกณฑ์การ
แบบประเมินชิน้ งาน ประเมินช้นิ งาน รอ้ ยละ 70

สรา้ งสรรคอ์ ุปกรณ์

ประกอบการแสดงที่

เหมาะสมกับวัฒนธรรมได้

ดา้ นทักษะคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)

จุดประสงค์การเรียนรู้ การวดั และประเมินผล เครอื่ งมอื การวดั และ เกณฑ์การประเมิน
สังเกตพฤตกิ รรม ประเมนิ ผล
1. นกั เรยี นเหน็ คุณค่าของ นักเรียนผา่ นเกณฑ์การ
การแสดงนาฏศลิ ป์ไทย แบบสังเกตพฤติกรรมการ ประเมินการเห็นคณุ ค่า
เหน็ คณุ คา่ และความสำคญั และความสำคัญของ
นาฏศลิ ปไ์ ทย ร้อยละ 70
ของนาฏศิลป์ไทย

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 5

ชื่อหน่วยการเรียนรู้ คณุ คา่ ในงานนาฏศิลป์

รหสั วชิ า ศ23101 ช่อื รายวิชา ศิลปะ5 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ

ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 2 คาบเรยี น จำนวน 1 หนว่ ยกิต

1. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด

การแสดงนาฏศิลป์และละครเปน็ ส่งิ ที่แสดงถงึ เอกลกั ษณข์ องชาติอันทรงคุณค่า สร้างความผอ่ นคลาย
ใหก้ บั คนในชาติ และเปน็ ศลิ ปวัฒนธรรมของชาติที่ควรอนรุ ักษ์ไวส้ บื ไป

2. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชว้ี ัด

สาระท่ี 3 นาฏศิลป์

ศ 3.2 เขา้ ใจความสัมพันธร์ ะหว่างนาฏศลิ ป์ ประวัติศาสตร์และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศลิ ป์ที่
เปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ภูมิปัญญาไทยและสากล

ม.3/2 อธบิ ายความสำคัญและบทบาทของนาฏศลิ ป์และการละครในชีวิตประจำวัน

ม.3/3 แสดงความคดิ เห็นในการอนรุ ักษ์

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. นกั เรยี นเข้าใจความสำคญั บทบาทนาฏศิลป์ การละคร และการอนรุ ักษ์นาฏศิลป์ไทย (K)

2. นกั เรยี นนำเสนอความสำคัญของนาฏศิลป์และการอนุรักษน์ าฏศิลป์ไทย (P)

3. นักเรียนเห็นคณุ ค่าของการแสดงนาฏศิลปไ์ ทย (A)

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ความสำคัญและบทบาทของนาฏศลิ ป์และการละครในชีวิตประจำวัน
การอนรุ ักษน์ าฏศลิ ป์
ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ิน
รำโทนไทยเบง้ิ บ้านโคกสลุง จ.ลพบรุ ี

5. สมรรถนะสำคัญ (เลือกทเี่ หมาะสมกบั กิจกรรม)

✓ ความสามารถในการสอื่ สาร

✓ ความสามารถในการคิด

 ความสามารถในการแกป้ ัญหา

 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ

✓ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (เลือกทเ่ี หมาะสมกับกิจกรรม)

 รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  ซือ่ สตั ย์สุจริต

 มีวนิ ัย ✓ ใฝ่เรียนรู้

 อยู่อยา่ งพอเพยี ง ✓ มงุ่ ม่ันในการทำงาน

✓ รกั ความเป็นไทย  มจี ิตสาธารณะ

7. หลกั ฐานการเรยี นรู้ ( ชิ้นงาน/ภาระงาน )

1. การนำเสนอหน้าชนั้ เรียน (5คะแนน)
8. กจิ กรรมการจัดการเรียนรู้

กลยุทธ/์ รปู แบบ/เทคนิคการสอนที่ใช้

1. รับฟังการบรรยาย
คาบที่ 1 - 2

ขน้ั นำเข้าสบู่ ทเรยี น

- นักเรียนและครูรว่ มกนั อภิปราย เรอ่ื งความสำคัญของนาฏศลิ ป์และการละคร โดยครตู ้ังคำถาม
ดงั น้ี
- นักเรยี นคดิ ว่านาฏศิลปแ์ ละการละครไทยมคี วามสำคญั ในชีวิตประจำวันของเราอย่างไร
- นักเรยี นคดิ วา่ เราควรอนุรกั ษ์นาฏศิลปแ์ ละการละครไทยหรอื ไม่
- นักเรียนคดิ ว่าการแสดงในท้องถิน่ เรามีการแสดงใด

ขนั้ สอน

- ครูใหน้ กั เรยี นชมการแสดงชมการแสดงรำโทนไทยเบ้งิ โคกสลงุ

- นกั เรยี นรว่ มกันอภปิ รายถึงความสำคัญและบทบาทของนาฏศลิ ป์ และการละคร โดยครูคอย
ร่วมอภิปรายให้ตรงจุดประสงค์ของการเรยี นรู้

- นักเรยี นจับกลมุ่ กลุ่มละ 4 – 5 คน รว่ มกนั วเิ คราะห์การแสดงรำโทนไทยเบิ้งโคกสลงุ และ
การร่วมอนรุ ักษ์ให้คงอยู่ และเลอื กตัวแทนกลุ่ม 2 คน เพ่อื นำเสนอหน้าช้ันเรียน

ข้ันสรปุ

- นกั เรียนและครรู ่วมกนั สรุปอภปิ รายเกีย่ วกบั ความสำคัญและบทบาทของนาฏศิลปก์ ารละคร
และร่วมกันแสดงความคิดเห็นการอนุรักษน์ าฏศลิ ป์

9. สอื่ / แหล่งเรยี นรู้

1. วีดที ศั น์การแสดงรำโทนไทยเบิ้งโคกสลุง
10. การวัดและประเมนิ ผล

ด้านความรู้ (K)

จุดประสงค์การเรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผล เครอื่ งมือการวดั และ เกณฑ์การประเมิน
การถาม-ตอบ ประเมินผล
นกั เรียนเข้าใจความสำคัญ นกั เรยี นผา่ นเกณฑก์ าร
บทบาทนาฏศิลป์ การ แบบประเมนิ พฤติกรรม ประเมนิ พฤติกรรมการ
ละคร และการอนรุ ักษ์ การถาม-ตอบ ถาม-ตอบ ร้อยละ 70
นาฏศิลป์ไทย
ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P)

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผล เครอื่ งมอื การวัดและ เกณฑ์การประเมิน
นำเสนอหน้าช้ันเรียน ประเมินผล
นักเรยี นนำเสนอ นักเรยี นผ่านเกณฑก์ าร
ความสำคัญของนาฏศลิ ป์ แบบประเมินการนำเสนอ ประเมินการนำเสนอ ร้อย
และการอนรุ ักษน์ าฏศลิ ป์
ไทย ละ 70

ด้านทักษะคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)

จุดประสงค์การเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล เคร่อื งมอื การวัดและ เกณฑ์การประเมนิ
สังเกตพฤติกรรม ประเมินผล
1. นกั เรียนเหน็ คุณค่าของ นกั เรยี นผา่ นเกณฑก์ าร
การแสดงนาฏศลิ ป์ไทย แบบสงั เกตพฤติกรรมการ ประเมินการเห็นคณุ ค่า
เหน็ คุณค่าและความสำคญั และความสำคญั ของ
นาฏศิลปไ์ ทย รอ้ ยละ 70
ของนาฏศลิ ป์ไทย


Click to View FlipBook Version