The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระราชประวัติ รัชกาลที่ 9

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ประสาร ธาราพรรค์, 2021-11-28 07:52:43

พระราชประวัติ รัชกาลที่ 9

พระราชประวัติ รัชกาลที่ 9

พระราชพธิ สี ถาปนาเฉลิมพระเกยี รตยิ ศ สมเดจ็ พระราชนิ สี ริ กิ ติ ิ์
พระอคั รมเหสี เปน็ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ ี


ตอ่ จากนน้ั พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู ิพลอดุลยเดช บรม
นาถบพิตรเป็นองคป์ ระธานในพระราชพธิ ีสถาปนาเฉลิมพระเกียรติยศ สมเด็จพระ
ราชนิ ีสริ ิกิต์ิ พระอคั รมเหสี ใหท้ รงดารงฐานนั ดรศักดิ์เปน็ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ ิกติ ์ิ
พระบรมราชนิ ี

พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร เสด็จ
ดว้ ยกระบวนราบใหญป่ ระกาศพระองคเ์ ปน็ พทุ ธศาสนปู ถมั ภก
ณ พระอโุ บสถ วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม

จากนั้น เวลา 16.30 น. พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอ
ดุลยเดช บรมนาถบพิตรเสด็จด้วยกระบวนพยุห ยาตราสถลมารคทรงประกาศ
พระองค์เปน็ พทุ ธศาสนูปถมั ภก ณ พระอโุ บสถ วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม


วนั ที่ 6 พฤษภาคม 2493

พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร
เสดจ็ ฯ ในการพระราชพธิ เี ฉลมิ พระราชมณเฑยี ร ณ พระทนี่ งั่ จกั รพรรดพิ มิ าน

เวลา 19.54 น. พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช
บรมนาถบพิตร เสด็จฯ ในการพระราชพิธีเฉลิมพระราชมณเฑียร ณ พระท่ีน่ัง
จกั รพรรดิพมิ าน พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรม
นาถบพิตร พร้อมด้วย สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินี ทรงประทับแรม
ในพระบรมมหาราชวัง รงุ่ เช้า จึงเสดจ็ พระราชดาเนินกลับ


พระแทน่ ราชบรรจถรณ์

พระทน่ี ง่ั จกั พรรดพิ ิมาน
พระราชพิธีเฉลิมพระราชมณเฑียร หรือคาสามัญคือ พิธีข้ึนบ้านใหม่ ในหน่ึง
รชั กาลจะจัดข้นึ เพียงคร้ังเดียว ณ พระที่น่ังจักรพรรดิพิมาน หมู่พระมหามณเฑียร


พระบรมมหาราชวัง เป็นโบราณราชประเพณีในโอกาสที่พระมหากษัตริย์ขึ้นเถลิง
ถวัลยราชสมบตั ิ เปน็ พระราชพิธีตอ่ เนอ่ื งกบั พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก

ตามธรรมเนียมประเพณีแต่โบราณ เมื่อองค์พระมหากษัตริย์เสด็จขึ้นเถลิง
ถวลั ยราชสมบตั บิ รมราชาภิเษก (พระราชพิธเี ฉลิมพระยศ) จะเสด็จประทับอยู่เป็น
ประจาในพระท่ีนั่งจักรพรรดพิ มิ าน ซง่ึ เปน็ พระทน่ี งั่ องคป์ ระธานของพระทน่ี งั่ ในหมู่
พระมหามณเฑียร พระบรมมหาราชวัง โดยจะต้องจัดให้มีพระราชพธิ เี ฉลมิ พระราช
มณเฑยี ร หรือคาสามัญคอื พธิ ีข้ึนบ้านใหม่ก่อน จึงจะเสด็จข้ึนประทับได้ ซ่ึงมักจะ
จัดต่อเนื่องจากการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า
จุฬาโลก พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และพระบาทสมเด็จพระน่ัง
เกลา้ เจา้ อยหู่ ัว ทรงประทบั อยูท่ ี่พระท่ีน่ังองคน์ ีเ้ ป็นการถาวร รัชกาลต่อๆ มาเสด็จ
มาประทับเป็นการช่ัวคราวตามกาหนดพระราชพิธี เน่ืองจากได้ทรงสถาปนา
พระราชฐานที่ประทบั ขนึ้ ใหม่ สาหรบั เปน็ ท่ปี ระทบั ตามพระราชอัธยาศัย และตาม
ความเหมาะสมแห่งยุคแห่งสมัย จึงมิได้ประทับ ณ พระท่ีน่ังจักรพรรดิพิมานเป็น
ประจาเช่นในสมัยก่อน แต่ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ยังต้องจัดให้มีการ
พระราชพิธีเฉลมิ พระราชมณเฑียร ณ พระทน่ี ง่ั จักรพรรดิพมิ านเช่นเดิม

พระราชพิธีเฉลิมพระราชมณเฑียรมีมาต้ังแต่สมัยรัชกาลที่ 1 เริ่มจากการ
เสด็จพระท่ีนั่งไพศาลทักษิณ ประทับเหนือพระที่นั่งภัทรบิศ ทรงรับการถวาย 12
พระกานัล ภายหลังเปลี่ยนเปน็ การประกาศสถาปนาพระเกียรติยศสมเด็จพระนาง
เจา้ พระบรมราชินี แลว้ เสดจ็ ขึน้ สู่พระท่ีนั่งจักรพรรดพิ มิ าน เช้อื พระวงศฝ์ ่ายในเชิญ
เคร่อื งเฉลมิ พระราชมณเฑียร เชน่ วฬิ าร์ ศิลาบด ฟักเขียว พานข้าวเปลือก ถ่ัว งา
ภายหลังเพ่ิมไก่ขาว มผี ชู้ าระพระบาท แลว้ เสดจ็ พระราชดาเนินยงั ห้องพระบรรทม
ทรงนมสั การพระรัตนไตร พระราชวงศ์ฝ่ายในถวายดอกหมากทองคา กุญแจ ทรง
เอนพระองค์ลงบรรทมเป็นพระฤกษ์ ชาวพนักงานประโคม ทรงรับการถวายพระ
พรชัยมงคล ทรงโปรยดอกพกิ ลุ เงินพกิ ุลทองพระราชทาน เปน็ เสรจ็ พระราชพธิ ี


วนั ท่ี 7 พฤษภาคม 2493

พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร
และสมเดจ็ พระนางเจ้าสริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ ี เสดจ็ ออกสีหบัญชร
เนอ่ื งในการพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก

เวลา 16.00 น. พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช
บ ร ม น า ถ บ พิ ต ร เ ส ด็ จ อ อ ก ยั ง ท้ อ ง พ ร ะ โ ร ง ก ล า ง พ ร ะ ท่ี นั่ ง จั ก รี ม ห า
ปราสาท พระราชทานพระบรมราชวโรกาสใหค้ ณะทูตานทุ ตู และกงสลุ ตา่ งประเทศ
เฝ้าทูลละอองธลุ ีพระบาท ถวายชยั มงคล

ตอ่ มาเวลา 16.30 น. พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดลุ ย
เดช บรมนาถบพิตร พร้อมด้วย สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี
พระรา ชทานพ ระบรมราชวโรกาสให้คณะบุคคลแล ะ สมาค มต่าง ๆ
เฝา้ ทลู ละอองธลุ ีพระบาทถวายชยั มงคล ณ พระทีน่ ่ังสทุ ไธสวรรยป์ ราสาท

จากนน้ั พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถ
บพิตร พร้อมด้วย สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีเสด็จออก สีห


บั ญ ช ร พ ร ะ ร า ช ท า น พ ร ะ บ ร ม ร า ช ว โ ร ก า ส ใ ห้ พ ส ก นิ ก ร
เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท พระยารามราชภักดี ปลัดกระทรวงมหาดไทย กราบ
บังคมทูลถวายชัยมงคล ในนามพสกนกิ รชาวไทย ท่ัวพระราชอาณาจกั ร

เวลา 17.00 น. พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช
บรมนาถบพิตร พร้อมด้วย สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เสด็จออก ณ
พระท่ีนั่งอมรินทรวินิจฉัยฯ ในพิธีเฉลิมพระนาม สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรม
หลวงวชิรญาณวงศ์ และ พระราชทานสมณศักด์ิ แก่พระราชาคณะ เสร็จแล้ว ทรง
สดับพระธรรมเทศนา มงคลสูตร รัตนสูตร และ เมตตสูตร รวมหนึ่งกัณฑ์
โดย สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย์ (ญานวโร)

วันที่ 8 พฤษภาคม 2493

สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ พระวรวงศเ์ ธอ กรมหมนื่ พทิ ยลาภพฤฒยิ ากร
กรมพระยาชยั นาทนเรนทร


พระวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ ววิ ฒั นไชย พระวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ นกั ขตั รมงคล

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร
พร้อมด้วย สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินี เสด็จฯ ทรงเป็นองค์ประธาน
ในพิธีสถาปนาฐานันดรศักดิ์พระราชวงศ์ ณ พระท่ีนั่งอมรินทรวินิจฉัยฯ พระ
ราชวงศ์ท่ีไดร้ บั การโปรดเกลา้ ฯ สถาปนาฐานนั ดรศักดิ์ ได้แก่

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระชัยนาทนเรนทร
พระวรวงศเ์ ธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒยิ ากร
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าววิ ัฒนไชย
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจา้ นักขัตรมงคล
จากน้ันทรงสดับพระธรรมเทศนาโดยสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิ
รญาณวงศ์ ถวายพระธรรมเทศนา เทวตาทิสนกถา ทศพธิ ราชธรรม และจักรวรรดิ
วัตรรวมหนึ่งกัณฑ์


พระราชกรณยี กจิ
พระราชกรณยี กจิ ดา้ นความสมั พันธร์ ะหวา่ งประเทศ

นายโคฟี่ อนั นนั เลขาธกิ ารสหประชาชาติ
เขา้ เฝา้ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวฯ ทลู เกลา้ ถวายรางวลั

ความสาเร็จอนั สงู สดุ ดา้ นการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์
ในปี 2549 ณ วงั ไกลกงั วล ประจวบครี ขี นั ธ์


ทรงตอ้ นรบั ประธานาธิบดสี หรฐั อเมรกิ าบารคั โอบามา
ในโอกาสเยอื นไทยอยา่ งเปน็ ทางการ

พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร
พระราชทานกระแสพระราชดารสั

ตอ่ สภาคองเกรสสหรฐั ฯ เมอื่ วันที่ 29 มิถนุ ายน 2503


สมเดจ็ พระจกั รพรรดฮิ โิ รฮโิ ตะ และสมเดจ็ พระจกั รพรรดนิ นี างาโกะ
ทรงใหก้ ารตอ้ นรับพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรม
นาถบพติ ร และสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถที่ 9 เมอ่ื ปี พ.ศ. 2506

พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร
บรมนาถบพติ รและสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถ เสด็จประเทศ
องั กฤษสมเดจ็ พระราชนิ นี าถเอลซิ าเบธที่ 2 และเจา้ ชายฟลิ ปิ ดยกุ แหง่ เอดนิ บะระ


ตั้งแต่พุทธศักราช 2502 เป็นต้นมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อม
ด้วยสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินี ได้เสด็จพระราชดาเนินไป
สมั พันธไมตรกี บั ประเทศตา่ ง ๆ ทงั้ ในยโุ รป อเมริกา ออสเตรเลีย และ เอเชีย เพื่อ
เป็นการเจริญทางพระราชไมตรีระหว่างประเทศไทย กับบรรดามิตรประเทศ
เหล่านั้น ที่มีความสัมพันธ์อันดีอยู่แล้ว ให้มีความสัมพันธ์แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น ทรงนา
ความปรารถนาดีของประชาชนชาวไทย ไปยังประเทศต่าง ๆ น้ันด้วย ทาให้
ประเทศไทยเปน็ ทีร่ ูจ้ ักกันอย่างกวา้ งไกลมากยิ่งขึ้น นบั ว่าเปน็ ประโยชนต์ อ่ ประเทศ
ไทยอยา่ งมหาศาล

ประเทศตา่ ง ๆ ทเี่ สดจ็ พระราชดาเนนิ ไปทรงเจริญทางพระราชไมตรนี นั้ มดี งั นี้
- เวยี ดนามใต้ ระหว่างวันที่ 18-21 ธันวาคม 2502 ซงึ่ เป็นการเสดจ็ พระราช
ด า เ นิ น เ ยื อ น ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ค รั้ ง แ ร ก ใ น รั ช ก า ล ปั จ จุ บั น
- เสดจ็ พระราชดาเนินเยือนสาธารณรัฐอินโดนีเซีย ระหว่างวันที่ 8-16 กุมภาพันธ์
2503
- เสด็จพระราชดาเนินเยือนสหภาพพม่า ระหว่างวันที่ 2-5 มีนาคม 2503
- เสด็จพระราชดาเนินเยือนสหรัฐอเมริกา ระหวา่ งวันที่ 14 มิถุนายน - 15
กรกฎาคม 2503
- เสด็จพระราชดาเนินเยือนอังกฤษ ระหว่างวันที่ 19-23 กรกฎาคม 2503
- เสดจ็ พระราชดาเนินเยือนสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนั ระหว่างวนั ที่ 25
กรกฎาคม - 2 สงิ หาคม 2503
- เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นสาธารณรฐั โปรตเุ กส ระหวา่ งวนั ท่ี 22-25 สงิ หาคม
2503
- เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นสวติ เซอรแ์ ลนด์ ระหวา่ งวันที่ 29-31 สงิ หาคม 2503
- เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นเดนมารก์ ระหว่างวันท่ี 6-9 กนั ยายน 2503
- เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นนอรเ์ วย์ ระหวา่ งวนั ที่ 19-21 กนั ยายน 2503
- เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นสวเี ดน ระหวา่ งวนั ที่ 23-25 กันยายน 2503


- เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นสาธารณรฐั อติ าลี ระหวา่ งวนั ที่ 28 กนั ยายน - 1
ตลุ าคม 2503
- เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นนครรฐั วาตกิ นั เมอ่ื วนั ที่ 1 ตลุ าคม 2503
- เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นเบลเยยี่ ม ระหว่างวันที่ 4-7 ตลุ าคม 2503
- เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นสาธารณรฐั ฝรง่ั เศส ระหวา่ งวนั ที่ 11-14 ตลุ าคม 2503
- เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นลกั เซมเบอรก์ ระหวา่ งวนั ท่ี 17-19 ตลุ าคม 2503
- เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นเนเธอรแ์ ลนด์ ระหวา่ งวนั ที่ 24-27 ตลุ าคม 2503
- เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นสเปน ระหวา่ งวันท่ี 3-8 พฤศจกิ ายน 2503
- เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นสาธารณรฐั อสิ ลามปากสี ถาน ระหวา่ งวนั ที่ 11-22
มนี าคม 2505
- เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นสหพนั ธรฐั มลายา ระหวา่ งวนั ที่ 20-27 มิถนุ ายน 2505
- เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นนวิ ซแี ลนด์ ระหวา่ งวนั ที่ 18-26 สงิ หาคม 2505
- ออสเตรเลยี ระหว่างวนั ท่ี 26 สงิ หาคม - 12 กนั ยายน 2505
- เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นญป่ี นุ่ ระหวา่ งวนั ที่ 27 พฤษภาคม - 5 มิถนุ ายน 2506
- เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นสาธารณรฐั จีน ระหวา่ งวนั ท่ี 5-8 มิถุนายน 2506
- เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นสาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปินส์ ระหวา่ งวนั ที่ 9-14 กรกฎาคม
2506
- เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นสาธารณรฐั ออสเตรยี ระหวา่ งวนั ที่ 29 กนั ยายน - 5
ธนั วาคม 2507
- เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นสาธารณรฐั เยอรมนั ระหวา่ งวนั ท่ี 22-28 สงิ หาคม
2509 ซ่งึ เปน็ การเสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นครงั้ ทสี่ อง
- เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นสาธารณรฐั ออสเตรยี ระหวา่ งวนั ที่ 29 กนั ยายน - 2
ตลุ าคม 2509 ซงึ่ เปน็ การเสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นครง้ั ทส่ี อง
- เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นอหิ รา่ น ระหวา่ งวนั ที่ 23-30 เมษายน 2510
- เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นสหรฐั อเมรกิ า ระหวา่ งวนั ที่ 6-20 มถิ ุนายน 2510 ซง่ึ
เปน็ การเสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นครงั้ ทส่ี อง


- เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื น แคนาดา ระหว่างวันท่ี 21-24 มิถนุ ายน 2510
- เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ระหว่างวนั ท่ี
8-9 เมษายน 2537

เมื่อเสร็จสิ้นการเสด็จพระราชดาเนินเยือนประเทศต่าง ๆ แล้ว ก็ได้ทรง
ต้อนรบั พระราชอาคนั ตกุ ะ ที่เปน็ ประมขุ ของประเทศตา่ ง ๆ ทีเ่ สด็จและเดินทางมา
เยือนประเทศไทยเปน็ การตอบแทน และบรรดาพระราชอาคันตุกะท้ังหลาย ต่างก็
ประทบั ใจในพระราชวงศ์ของไทย ตลอดจนประชาชนชาวไทยอย่างทว่ั หน้า
พระราชกรณยี กจิ ดา้ นการพฒั นาชนบท

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดาเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรใน
ภูมิภาคต่างๆ ทุกภาคทรงประจักษ์ในปัญหาของราษฎร ในชนบทท่ีดารงชีวิตด้วย
ความยากจน ลาเค็ญและด้อยโอกาส ได้ทรงพระวิริยะอุตสาหะหาทางแก้ปัญหา
ตลอดมาตราบจนปัจจุบัน อาจกล่าวได้ว่า ทุกหนทุกแห่งบนผืนแผ่นดินไทยท่ีรอย
พระบาทได้ประทับลง ได้ทรงขจัดทุกข์ยากนาความผาสุกและทรงยกฐานะความ


เป็นอยู่ ของราษฎร ให้ดีขึ้นด้วยพระบุญญาธิการและพระปรีชาสามารถ
ปราดเปรื่อง พร้อมด้วยสายพระเนตรอันยาวไกล ทรงอุทิศพระองค์เพ่ือประโยชน์
สขุ ของราษฏร และเพอื่ ความเจรญิ พัฒนาของประเทศชาตติ ลอดระยะเวลาโดยมไิ ด้
ทรงคานงึ ประโยชนส์ ขุ สว่ นพระองค์เลย ดังในปฐมพระบรมราชโองการในระหว่าง

พระราชพิธีบรมราชาภิเษก เม่ือวันท่ี 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ว่า "เราจะครอง
แผน่ ดนิ โดยธรรม เพือ่ ประโยชนส์ ุขแก่มหาชนชาวสยาม"

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมุ่งมั่นที่จะหาวิธีการพัฒนาชนบทให้
เจริญก้าวหน้า เพราะทรงทราบดีวา่ มขี อ้ จากดั และมอี ปุ สรรคในดา้ นต่าง ๆ มาก ท้งั
ด้านเศรษฐกิจและสังคม ด้านการเปล่ียนแปลงทัศนคติของราษฎรในท้องถ่ิน ที่
สาคัญคือชาวชนบทขาดความรู้ความสามารถ และสิ่งจาเป็นขั้นพื้นฐานในการ
ดารงชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งการที่เกษตรกรขาดคือความรู้ ในเร่ืองการประกอบ
อาชีพเกษตรกรรม อย่างมีหลักวิชา รวมทั้งอุปสรรคปัญหาอื่น ๆ เช่นขาดที่ดินทา
กินเป็นของตนเอง ขาดแคลนแหล่งน้าท่ีจะใช้ทาการเกษตรและใช้อุปโภคบริโภค
เป็นต้น แต่ด้วยพระราชหฤทัยท่ีมุ่งม่ันในการช่วยเหลือราษฎรให้พ้นหรือบรรเทา
จากความเดือดร้อนดังน้ัน แนวพระราชดาริท่ีจะช่วยพัฒนาชนบทจึงออกมาในรูป


ของโครงการต่าง ๆ อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ ซึ่งมีลักษณะแต่ละโครงการ
แตกตา่ งกนั ออกไปตามปัญหาและสภาพภูมปิ ระเทศในแต่ละแห่ง แต่มีจุดประสงค์
เดียวกัน คือ การพัฒนาชนบทเพ่ือให้ราษฎรในชนบทได้มีความเป็นอยู่ตลอดจน
สามารถประกอบอาชีพ เล้ียงครอบครัวให้ดีขึ้น แนวพระราชดาริที่สาคัญในเรื่อง
การพฒั นาชนบท คอื มพี ระราชประสงคท์ ี่จะมงุ่ ชว่ ยใหช้ าวชนบทนน่ั เองได้สามารถ
ช่วยเหลือพึ่งตนเองได้ จะสังเกตเห็นได้ว่าโครงการต่าง ๆ อันเน่ืองมาจาก
พระราชดาริ ที่ขยายตัวครอบคลุมพ้ืนท่ีส่วนต่าง ๆ ของประเทศนั้น จุดมุ่งหมาย
สาคัญประการสุดท้ายก็คือทาให้ชาวชนบทสามารถพ่ึงพาตนเองได้ทั้งส้ินได้ทรง
ปฏิบตั ิพระราชกรณยี กจิ ด้านนโี้ ดยการสรา้ งพ้นื ฐานหลักที่จาเป็นต่อการผลิตให้แก่
ราษฎรเหล่านั้นอันจะเป็นรากฐานที่จะนาพาไปสู่การพ่ึงตนเองได้ในท่ีสุดในเวลา
เดยี วกนั กท็ รงสง่ เสรมิ ใหช้ าวชนบทไดม้ ีความรูใ้ นเรื่องของการประกอบอาชีพอย่าง
ถูกวิธี โดยเผยแพร่ความรู้น้ันแก่ชาวชนบทอย่างค่อยเป็นค่อยไปในลักษณะท่ีเป็น
ระบบอย่างต่อเนอื่ งและให้สอดคล้องแก่ความจาเป็นของแต่ละท้องถิ่นซ่ึงเร่ืองการ
พฒั นาชนบทน้ันไม่ใชเ่ รอ่ื งง่าย เพราะตอ้ งอาศัยเครอื่ งไม้เครอื่ งมือหลายชนดิ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ เย่ียมเยียนราษฎร ไม่ว่าแห่งหนตาบล
หรือภูมิภาคใด มิได้ทรงคานึงถึงเส้นทางท่ีจะเสด็จพระราชดาเนินหรือ ภยันตราย


ใด ๆ หรือแม้พื้นที่ที่เสด็จฯ ไป จะต้องทรงพระดาเนินเป็นระยะทางหลาย ๆ
กโิ ลเมตรตามเส้นทางท่ีขรขุ ระ บางคร้งั ตอ้ ง ข้นึ เขาลงห้วย บางครัง้ ตอ้ งบุกป่าฝา่ ดง
ด้วยไม่มีเส้นทางถนนท่ีจะเข้าไปถึง ก็มิได้ทรงย่อท้อหรือเหนื่อยหน่ายพระราช
หฤทัย หรือ แม้ขุนเขาจะสูงชัน แม้ฝนจะตกหนัก ตามเส้นทางท่ีจะเสด็จฯ ผ่าน
เตม็ ไปดว้ ยน้าขงั และโคลนตม หรือแม้อากาศจะหนาวเหน็บหรือ ร้อนอบอ้าว ก็ไม่
ทรงถือเป็นอุปสรรคกีดขวางการเสด็จฯ ไปให้ถึงตัวราษฎรท่ีทรงห่วงใย และท่ีเฝ้า
รอการเสด็จพระราชดาเนินไป ทรงเย่ียมเยียนอย่างใจจดจ่อ ภาพที่คนไทยท่ัว
ประเทศไดเ้ หน็ จนเจนตา เจนใจ ตลอดระยะเวลา 50 ปีท่ผี ่านมา พระองค์จะเสด็จ
ฯ เคยี งข้างด้วยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ พระราชโอรสและพระราช
ธิดาประทับท่ามกลางราษฎรมีพระราชดารัสซักถามถึงปัญหาความเดือดร้อนของ
ราษฎรด้วยความสนพระราชหฤทัย และเปี่ยมด้วยพระเมตตายงั ความชน่ื ชมโสมนสั
ในหมู่ราษฎรที่ทุกข์ยากเหล่านั้น นั่นคือกาลังใจท่ีจะทาให้พวกเขาลุกข้ึนสู้ชีวิตสู้
ปัญหาโดยไมย่ ่อทอ้ อกี ต่อไป


พระองค์ทรงจดั ทาโครงการพฒั นาชนบทตามแนวพระราชดารคิ วบคไู่ ปในทกุ
ๆ ด้าน ไม่เน้นด้านใดด้านหน่ึง พระองค์มีจุดประสงค์เดียวคือ เพื่อขจัดความทุกข์
ยากของชาวชนบท และสนับสนนุ สง่ เสรมิ ให้มคี วามเปน็ อยู่ทด่ี ขี ึ้น รวมทงั้ แก้ปัญหา
สังคมเมืองให้ดีขึ้น โดยจะเห็นได้จากโครงการในพระราชดาริหลายโครงการที่
เกิดข้ึนจากความรับผิดชอบของหน่วยงานต่าง ๆโครงการอันเน่ืองมาจาก
พระราชดาริจะเป็นโครงการเกี่ยวกับปรับปรุงถนนหนทาง การก่อสร้างถนนเพื่อ
การ สัญจรไปมาได้สะดวกและท่ัวถึง การคมนาคมเป็นปัจจัยพ้ืนฐานท่ี สาคัญของ
การนาความเจริญไปส่ชู นบท การส่ือสาร ตดิ ต่อที่ดยี ังผล สาคญั ทาใหเ้ ศรษฐกจิ ของ
ราษฎรในพ้ืนท่ีดีข้ึน ราษฎรก็มีความเป็นอยู่ท่ีดีข้ึน ในการพัฒนาชนบทนั้น การ
คมนาคม เป็นปัจจัยพ้ืนฐานท่ีสาคัญท่ีจะมองข้ามไปเสียมิได้ เพราะเป็นเสมือน
ประตูเช่ือม ระหว่างในเมือง และชนบท ดังน้ัน การที่จะเริ่มโครงการพัฒนาใด ๆ
นัน้ จะต้องเรม่ิ จากการปรับปรงุ และการก่อสร้างถนนหนทางเป็นการเปิดประตูนา
ความเจริญเข้าไปสู่พ้ืนท่ี และแม้ในยามประเทศประสบภาวะเศรษฐกิจ ตั้งแต่ ปี
พ.ศ. 2539 เป็นต้นมา ก็ได้พระราชทานแนวทางดารงชีพแบบ “เศรษฐกิจ
พอเพียง” และ “ทฤษฎีใหม่” ให้ราษฎรได้พงึ่ ตนเอง ใช้ผนื แผน่ ดนิ ใหเ้ กดิ ประโยชน์
สูงสุดประกอบอาชีพอยู่กินตามอัตภาพซ่ึงราษฎรได้ยึดถือปฏิบัติเป็นผลดีอยู่ใน
ปัจจบุ นั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ไดพ้ ระราชทานโครงการนานัปการมากกว่า
3,000โครงการ ท้งั การแพทย์สาธารณสุข การเกษตร การชลประทาน การพัฒนา
ท่ีดนิ การศกึ ษา การพระศาสนา การสังคมวัฒนธรรม การคมนาคม ตลอดจนการ
เศรษฐกิจเพ่ือประโยชน์สุขของพสกนิกรในชนบท ท้ังยังทรงขจัด ปัญหาทุกข์ยาก
ของประชาชนในชุมชนเมือง เช่น ทรงแก้ปัญหาการจราจรอุทกภัยและปัญหาน้า
เน่าเสียในปัจจุบัน ได้ทรงริเร่ิมโครงการการช่วยสงเคราะห์ และอนุรักษ์ช้างของ
ไทยอกี ด้วย


ตลอดระยะเวลาหลายสิบปีที่ได้ทรงใกล้ชิดประชาชนทั่วทุกภูมิภาคของ
ประเทศ พระเจา้ อยหู่ ัวของปวงชนชาวไทยพระองค์นี้ ได้ทรงทราบถึงปัญหาความ
เดอื ดร้อนของประชาชนส่วนใหญ่ท่ีประกอบอาชีพเกษตรกรรม ซ่ึงต้องการน้าเป็น
ปัจจัยสาคัญเพ่ือการ เพาะปลูกและการดารงชีวิต เฉพาะอย่างย่ิงราษฎรผู้ต้อง
อาศัยอยู่ในท้องถ่ินชนบททุรกันดารที่ขาดแคลน แม้กระท่ังแหล่งน้ากินน้าใช้
โดยเฉพาะในชว่ งฤดแู ล้ง เป็นเหตใุ ห้เกิดปญั หาความยากจน ขาดเสถยี รภาพ ความ
ม่ันคงทางเศรษฐกิจ ซ่ึงเป็นรากฐานของความ ม่ันคงและม่ังค่ังของประเทศ และ
ขาดคุณภาพชีวิตที่สมบูรณ์ ด้วยเหตุน้ี ในการเสด็จฯ เยี่ยมเยียนราษฎรแต่ละ
ภมู ิภาค จึงมิใช่เพียง แตเ่ สดจ็ พระราชดาเนินเพื่อให้ราษฎรได้ชมพระบารมีเท่าน้ัน
แต่เพ่ือทรงรับทราบถึงสภาพชีวิตความเป็นอยู่ การประกอบอาชีพและ ความ
ต้องการของราษฎร ด้วยพระเนตรพระกรรณของพระองค์เอง ที่สาคัญก็คือ ทรง
มุ่งมั่นทจ่ี ะแก้ปญั หาเหลา่ นั้นให้บรรเทาลงหรอื หมดสิน้ ไป เพอ่ื คณุ ภาพชวี ติ ทด่ี แี ละ
ทัดเทยี มกนั ของประชาชนทงั้ ชาติ


ชีวิตไทย ก้าวไกล ทุกวันน้ี วนั ทม่ี ี สขุ ทัว่ ไทย แผไ่ พศาล

มกี นิ อยู่ เดินทางได้ สุขสาราญ ทง้ั การงาน หาทาได้ ไมย่ ากจน

ใครท่ีสร้าง แหลง่ นา้ ป่าใหญน่ ้อย ใครทีค่ อย แกป้ ญั หา ทกุ แห่งหน

ใครทเี่ หนื่อย กายใจให้ เพื่อปวงชน ใครท่ีคน ท้งั ชาติ ลว้ นภกั ดี

ใครคนนน้ั ทัง้ ชีวติ ทาเพื่อชาติ ช่วยรฐั ราษฎร์ สขุ สงบ สมศักดศ์ิ รี

ใครคนนั้น มอบกายใจ ทง้ั ชีวี พระบารมี มากลา้ เหลือราพัน

ใครคนนั้น องค์ภูมิพล นรบดี องค์จักรี สรา้ งผลงาน ไทยสุขสนั ต์

พระราชกิจ เก้อื กูลไทย อเนกอนนั ต์ เป็นมงิ่ ขวัญ นกิ รไทย ไปนริ นั ดร์

นายประสาร ธาราพรรค์ รอ้ ยกรอง


พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร
เสดจ็ มาทรงงานในพนื้ ทจ่ี งั หวดั จนั ทบรุ ี 6 ครง้ั ดงั นี้

ครั้งที่ 1 วนั เสาร์ที่ 17 พฤศจกิ ายน พ.ศ.2499 ในหลวง และพระราชนิ ี เสด็จ
พระราชดาเนินไปทรงประกอบพิธีเปิดอาคารผ่าตัด “ประชาธิปก” และทรงเปิด
ป้ายนาม “โรงพยาบาลพระปกเกล้า” ซ่ึงได้สร้าง และจัดต้ังเป็นอนุสรณ์แด่
พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจา้ อยหู่ ัว


ครงั้ ที่ 2 วนั เสาร์ที่ 21 พฤศจกิ ายน พ.ศ.2513 ในหลวง และพระราชินี เสด็จ
พระราชดาเนินไปยังบ้านโป่งน้าร้อน ตาบลโป่งน้าร้อน อาเภอโป่งน้าร้อน จังหวัด
จันทบุรี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานถุงของขวัญแก่นาวิกโยธิน และ
ตารวจตระเวนชายแดน ส่ิงของ เคร่ืองอุปโภคแก่ราษฎร และเคร่ืองเรียนให้แก่
นกั เรียน แล้วเสดจ็ พระราชดาเนนิ ไปทรงเยีย่ มราษฎรที่มาฝา้ ทลู ละอองธลุ พี ระบาท
รับเสดจ็


คร้งั ที่ 3 วนั พฤหสั บดที ี่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ.2514 ในหลวง และพระราชินี
เสด็จพระราชดาเนินไปยังโรงเรียนบ้านตาเรอื ง ตาบลทรายขาว อาเภอโป่งน้าร้อน
จังหวัดจันทบุรี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องเขียน และเคร่ือง
แต่งกายนักเรียนชาย หญิง และเสด็จพระราชดาเนินไปทรงเย่ียมราษฎรท่ีมา
เฝา้ ทูลละอองธุลพี ระบาทรบั เสด็จ


คร้ังที่ 4 วันอาทิตย์ที่ 3 เมษายน พ.ศ.2520 ในหลวง และพระราชินี เสด็จ
พระราชดาเนินพรอ้ มด้วย สมเดจ็ พระเจ้าลกู เธอ เจา้ ฟา้ จุฬาภรณวลัยลกั ษณ์ อัครร่
ชกมุ ารี ไปทรงเททองหล่อพระประธาน วัดเขาสกุ มิ พระราชทานธงลกู เสือชาวบา้ น
และทรงเย่ียมราษฎร ณ วัดเขาสุกิม ตาบลเขาบายศรี อาเภอท่าใหม่ จังหวัด
จันทบรุ ี


คร้งั ท่ี 5 วนั จนั ทรท์ ี่ 28 ธนั วาคม พ.ศ.2524 ในหลวง และพระราชนิ ี เสดจ็
พระราชดาเนนิ พรอ้ มดว้ ยสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรง
เปดิ พระบรมราชานสุ าวรยี ส์ มเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช ณ สวนสาธารณะทงุ่ นา
เชย อาเภอเมอื ง จงั หวดั จนั ทบรุ ี และทรงเยย่ี มราษฎรจงั หวดั จนั ทบรุ ี


ครงั้ ท่ี 6 วนั องั คารที่ 21 มิถุนายน พ.ศ.2531 ในหลวงรัชกาลท่ี 9 ทรงเสด็จ
พระราชดาเนินพร้อมด้วย สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ และสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสดุ าฯ ทรงเปดิ เขอ่ื นและโรงไฟฟ้าพลังนา้ “ครี ธี าร”


พระราชกรณยี กจิ ดา้ นการเกษตรและการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ

“การเกษตรน้ันถือได้ว่าเป็นทั้งรากฐานและชีวิตสาหรับประเทศของเรา
เพราะคนไทยเราส่วนใหญ่เป็นผู้มีอาชีพทางเกษตรกรรม ข้าพเจ้าจึงมีความเห็น
เสมอมาว่า วธิ กี ารพัฒนาที่เหมาะสมแกป่ ระเทศเราอย่างย่ิง ก็คือจะต้องทานุบารุง
เกษตรกรรมทุกสาขาให้พัฒนาก้าวหน้า เพื่อยกระดับฐานะความเป็นอยู่ของ
เกษตรกรทุกระดับให้สูงข้ึน” พระราชดารัสในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ อาคารจักรพันธ์เพ็ญศิริ วันพฤหัสบดี ที่ 23
กรกฎาคม 2541

ในด้านการเกษตร จะทรงเน้นในเร่ืองของการค้นคว้า ทดลอง และวิจัยหา
พันธุ์พืชใหม่ ๆ ท้ังพืชเศรษฐกิจ พืชสมุนไพร รวมถึงการศึกษาเกี่ยวกับแมลง
ศัตรพู ชื และพันธสุ์ ัตวต์ ่าง ๆ ท่เี หมาะสมกับสภาพท้องถิ่นนั้น ๆ ซ่ึงแต่ละโครงการ
จะเน้นให้สามารถนาไปปฏิบัติได้จริง มีราคาถูก ใช้เทคโนโลยีง่าย ไม่สลับซับซ้อน
เกษตรกรสามารถดาเนินการเองได้ นอกจากนี้ ยังทรงพยายามไม่ให้เกษตรกรยึด
ติดกับพืชผลทางการเกษตรเพียงอย่างเดียว เพราะอาจเกิดปัญหาอันเนื่องมาจาก


ความแปรปรวนของสภาพดินฟ้าอากาศ หรือความแปรปรวนทางการตลาด แต่
เกษตรกรควรจะมีรายได้จากด้านอ่ืนนอกเหนือไปจากการเกษตรเพ่ิมข้ึนด้วย เพ่ือ
จะได้พึง่ ตนเองไดใ้ นระดับหนึง่
ทรพั ยากรนา้

การพัฒนาแหล่งนา้ เพอื่ การเพาะปลกู หรือการชลประทาน นับวา่ เปน็ งานที่มี
ความสาคญั และมปี ระโยชน์อย่างยิง่ สาหรบั ประชาชนสว่ นใหญข่ องประเทศ เพราะ
เกษตรกรจะสามารถทาการเพาะปลูกได้อย่างสมบูรณ์ตลอดปี เน่ืองจากพ้ืนท่ี
เพาะปลูกในปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นพ้ืนท่ีนอกเขตชลประทาน ซึ่งต้องอาศัยเพียง
นา้ ฝนและน้าจากแหล่งนา้ ธรรมชาติเปน็ หลกั ทาให้พชื ได้รบั นา้ ไมส่ ม่าเสมอ และไม่
เพยี งพอ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ทรงให้ความสนพระราชหฤทัยเก่ียวกับการ
พัฒนาแหลง่ นา้ เพราะทรัพยากรนา้ เป็นปัจจัยท่ีสาคัญยง่ิ ต่อการอุปโภคบรโิ ภคและ
การเกษตร พระราชดารสั ท่ีพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลย
เดช บรมนาถบพิตร เคยพระราชทานแก่ คณะผู้อานวยการสานักงาน
คณะกรรมการพเิ ศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ

เขอื่ นปา่ สกั ชลสทิ ธ์ิ โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ


โครงการตามพระราชดาริของพระองค์ มีท้ังการแก้ปัญหาภัยแล้ง ปัญหา
อุทกภัย รวมไปถึงการบาบัดน้าเสีย โครงการพัฒนาแหล่งน้ามีท้ังโครงการขนาด
ใหญ่สามารถช่วยแก้ไขปัญหาทั้งภัยแล้งและน้าท่วมได้ เช่น เข่ือนป่าสักชล
สทิ ธ์ิ เข่อื นดนิ ท่ีใหญ่ทส่ี ุดในประเทศไทย ที่จังหวดั ลพบรุ ี จนถงึ โครงการขนาดกลาง
และเลก็ จาพวก ฝาย อ่างเก็บน้า โดยพระองคท์ รงคานึงถึงลกั ษณะของภมู ปิ ระเทศ
สภาพแหล่งน้า ความเหมาะสมด้านเศรษฐกิจ ประชาชนท่ีได้รับประโยชน์และ
ผลกระทบจากโครงการ มาเป็นหลักในการพิจารณา พระองค์ได้ทรงวิจัยและริเร่ิม
โครงการฝนหลวง เพือ่ ช่วยบรรเทาภัยแล้งสาหรับพ้ืนทน่ี อกเขตชลประทาน

ในเขตกรุงเทพและปรมิ ณฑลที่ประสบปัญหานา้ ทว่ ม และนา้ เนา่ เสยี ในคคู ลอง
มีพระราชดาริเรื่องแก้มลิง ควบคุมการระบายน้าจากแม่น้าเจ้าพระยา แม่น้าท่า
จนี ลาคลองตา่ ง ๆ ลงสู่อ่าวไทยตามจงั หวะการข้ึนลงของระดับนา้ ทะเล ท้ังยังเป็น
การใช้น้าดีไล่น้าเสียออกจากคลองได้อีกด้วย เคร่ืองกลเติมอากาศ กังหันชัย
พัฒนา ในการปรบั ปรงุ คณุ ภาพน้าโดยการเพ่ิมออกซิเจน เป็นสิ่งประดิษฐ์หน่ึงของ
พระองคท์ ่ีไดร้ บั สิทธบิ ัตรจาก กรมทรัพยส์ ินทางปญั ญา กระทรวงพาณชิ ย์ เมอื่ วนั ที่
2 กรกฎาคม พ.ศ. 2536

ทรพั ยากรดนิ
การแกลง้ ดนิ


แกลง้ ดนิ เป็นแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหา
ภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร เกยี่ วกบั การแกป้ ญั หาดินเปรี้ยว หรือดินเป็นกรด
โดยมกี ารขงั นา้ ไว้ในพ้ืนท่จี นกระทั่งเกิดปฏิกิริยาเคมีทาให้ดินเปรี้ยวจัด จนถึงท่ีสุด
แล้วจึงระบายน้าออกและปรับสภาพฟ้ืนฟูดินด้วยปูนขาว จนกระท่ังดินมีสภาพดี
พอท่จี ะใชใ้ นการเพาะปลกู ได้

หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรม
นาถบพิตรฯ เสด็จฯ เย่ียมราษฎรในเขตจังหวัดนราธิวาส เมื่อปี พ.ศ. 2524 ทรง
พบวา่ ดนิ ในพน้ื ทพ่ี รทุ ่ีมีการชกั น้าออก เพอ่ื จะนาทีด่ ินมาใช้ทาการเกษตรน้ัน แปร
สภาพเป็นดินเปร้ียวจัด ทาให้เพาะปลูกไม่ได้ผล จึงมีพระราชดาริให้ส่วนราชการ
ต่าง ๆ พิจารณาหาแนวทางในการปรับปรุงพ้ืนท่ีพรุที่มีน้าแช่ขังตลอดปีให้เกิด
ประโยชน์ในทางการเกษตรมากท่ีสุด และให้คานึงถึงผลกระทบต่อระบบนิเวศน์
ด้วย การแปรสภาพเป็นดินเปร้ียวจัด เนื่องจากดินมีลักษณะเป็นเศษอินทรียวัตถุ
หรอื ซากพืชเนา่ เปอื่ ยอยู่ข้างบน และมีระดบั ความลึก 1 - 2 เมตร เป็นดินเลนสีเทา
ปนน้าเงิน ซึ่งมีสารประกอบกามะถัน ท่ีเรียกว่า สารประกอบไพไรท์ (Pyrite :
FeS2) อยมู่ าก ดงั นั้น เมอ่ื ดินแห้ง สารไพไรทจ์ ะทาปฏกิ ริ ยิ ากับอากาศ ปลดปล่อย
กรดกามะถันออกมา ทาให้ดินแปรสภาพเป็นดินกรดจัดหรือเปรี้ยวจัด ศูนย์ศึกษา
การพัฒนาพิกลุ ทองอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ จงึ ไดด้ าเนนิ การสนองพระราชดาริ
โครงการ " แกล้งดิน " เพ่ือศึกษาการเปลี่ยนแปลงความเป็นกรดของดิน เริ่มจาก
วิธีการ " แกล้งดินให้เปรี้ยว " คือทาให้ดินแห้งและเปียกสลับกันไป เพ่ือเร่ง
ปฏกิ ิรยิ าทางเคมีของดนิ ซง่ึ จะไปกระตุ้นให้สารไพไรท์ทาปฏิกิริยากับออกซิเจนใน
อากาศ ปลดปล่อยกรดกามะถันออกมา ทาให้ดินเป็นกรดจัดจนถึงขั้น " แกล้งดิน
ให้เปร้ียวสุดขีด " จนกระท่ังถึงจุดที่พืชไม่สามารถเจริญงอกงามได้ จากนั้นจึงหา
วิธีการปรับปรุงดินดังกล่าวให้สามารถปลูกพืชได้ วิธีการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวจัด
ตามแนวพระราชดาริ คือควบคุมระดับน้าใต้ดิน เพ่ือป้องกันการเกิดกรดกามะถัน
จึงต้องควบคมุ น้าใตด้ นิ ให้อยู่เหนือชั้นดินเลนท่ีมีสารไพไรท์อยู่ เพื่อมิให้สารไพไรท์
ทาปฏกิ ริ ยิ ากับออกซิเจนหรอื ถูกออกซไิ ดซ์


จากการทดลอง ทาให้พบว่า วิธีการปรับปรุงดินตามสภาพของดินและความ
เหมาะสม มอี ยู่ 3 วิธีการด้วยกัน คือ

- ใช้น้าชะล้างความเป็นกรด เพราะเม่ือดินหายเปร้ียว จะมีค่า pH เพิ่มขึ้น
หากใชป้ ยุ๋ ไนโตรเจนและฟอสเฟต ก็จะทาใหพ้ ชื ให้ผลผลติ ได้

- ใช้ปนู มาร์ลผสมคลุกเคล้ากับหนา้ ดนิ หรอื ใชท้ ัง้ สองวธิ ขี ้างตน้ ผสมกันได้

- การปลูกหญ้าแฝกพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงศึกษาเรื่องการใช้
หญ้าแฝกในการอนุรักษ์ดินและน้าจากเอกสารของธนาคารโลก ซึ่ง นาย Richard
Grimshaw ไดท้ ลู เกล้าฯ ถวาย และได้พระราชทานพระราชดาริเกย่ี วกับหญ้าแฝก
เป็นครงั้ แรก เม่อื วันที่ 22 มถิ นุ ายน 2534 สรุปความว่า ใหศ้ ึกษา ทดลองปลกู หญา้
แฝกเพื่อป้องกันการพังทลายของดิน ในพ้ืนท่ีศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอัน
เน่ืองมาจากพระราชดาริ และศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเน่ืองมาจาก
พระราชดาริ ตลอดจนพน้ื ท่อี ืน่ ๆ โดยให้พิจารณาการปลูกตามความเหมาะสมของ
ภูมิประเทศ และควรเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผลการศึกษา ทดลอง ให้
ครอบคลมุ ทุกด้านด้วย


ฝนหลวง

ฝนหลวงเปน็ โครงการท่ีก่อกาเนดิ จากพระมหากรณุ าธคิ ณุ ของพระบาทสมเดจ็
พระเจ้าอยู่หัวท่ีทรงห่วงใยในความทุกข์ยากของพสกนิกรในท้องถ่ินทุรกันดาร ซึ่ง
ตอ้ งประสบปญั หาขาดแคลนน้า เพอื่ อปุ โภคบริโภค และใชใ้ นการเกษตรกรรม อัน
เน่ืองมาจากภาวะแห้งแล้ง ท่ีมีสาเหตุจากความผันแปร และคลาดเคลื่อนของ
ฤดูกาลตามธรรมชาติ กล่าวคือ ฤดูฝนเร่ิมต้นล่าช้าเกินไป หรือหมดเร็วกว่าปกติ
หรอื ฝนท้งิ ชว่ งยาวในชว่ งฤดฝู น

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เสด็จ
พระราชดาเนินเยี่ยมเยียนพสกนิกร เมื่อวันท่ี 14 พฤศจิกายน 2498 ในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ทรงรับทราบถึง ความเดือดร้อนทุกข์ยากของราษฎรและ
เกษตรกรท่ีขาดแคลนนา้ อุปโภคบรโิ ภคและการเกษตร จึงได้มีพระมหากรุณาธิคุณ
พระราชทานโครงการพระราชดาริ "ฝนหลวง"(Artificial rain) ให้กับ ม.ร.ว.เทพ


ฤทธิ์ เทวกุล ไปดาเนินการ ซึ่งต่อมาได้เกิดเป็นโครงการค้นคว้าทดลองปฏิบัติการ
ฝนเทียมหรือฝนหลวงข้ึน ในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์

กระทั่งในปี พ.ศ. 2512 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้จัดต้ังหน่วยบิน
ปราบศตั รพู ชื กรมการขา้ ว เพื่อให้การสนับสนุนในการสนองพระราชประสงค์ โดย
ในปีเดียวกันนั้นเอง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ทาการทดลอง
ปฏิบัติการจริงในท้องฟ้าเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 1 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2512 โดย
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์แต่งต้ังให้ ม.ร.ว.เทพฤทธ์ิ เทวกุล เป็นผู้อานวยการ
โครงการ และหัวหน้าคณะปฏบิ ตั กิ ารทดลองคนแรก และเลอื กพืน้ ทว่ี นอุทยานเขา
ใ ห ญ่ เ ป็ น พื้ น ท่ี ท ด ล อ ง แ ห่ ง แ ร ก

ต่อมา ได้มีปฏิบัติการโดยทดลองหยอดก้อนน้าแข็งแห้ง ขนาดไม่เกิน 1
ลูกบาศก์นิ้ว เข้าไปในยอดเมฆสูงไม่เกิน 10,000 ฟุต ที่ลอยกระจัดกระจายอยู่
เหนือพ้ืนท่ีทดลองในขณะน้ัน ทาให้กลุ่มเมฆทดลองเหล่านั้น มีการเปล่ียนแปลง
อย่างเห็นได้ชัด จนเกิดการกล่ันรวมตัวกันหนาแน่น และก่อยอดสูงขึ้นเป็นเมฆฝน
ขนาดใหญ่ในเวลาอันรวดเร็วแล้ว และจากการติดตามผลโดยการสารวจทาง
ภาคพื้นดิน ก็ได้รับรายงานยืนยันจากราษฎรว่า เกิดฝนตกลงสู่พื้นท่ีบริเวณวน
อุทยานเขาใหญ่ในที่สุด การทดลองดังกล่าวจึงเป็นนิมิตหมายท่ีดี ท่ีบ่งช้ีให้เห็นว่า
การบงั คับเมฆให้เกดิ ฝนเปน็ ส่ิงทีเ่ ปน็ ไปได้


วธิ กี ารทาฝนหลวง

การทาฝนหลวง เปน็ กรรมวธิ กี ารเหนย่ี วนานา้ จากฟา้ ซึ่งตอ้ งใชเ้ คร่ืองบินท่ี
มีอัตราการบรรทุกมาก ๆ บรรจุสารเคมีข้ึนไปโปรยในท้องฟ้า โดยดูจากความชื้น
ของจานวนเมฆ และสภาพของทิศทางลมประกอบกัน ปัจจัยสาคัญที่ทาให้เกิดฝน
คือ ความร้อนชื้นปะทะความเย็น และมีแกนกล่ันตัวที่มีประสิทธิภาพในปริมาณที่
เหมาะสม นั่นคือ เม่ือมวลอากาศ ร้อนช้ืนท่ีระดับผิวพ้ืนข้ึนสู่อากาศเบื้องบน
อณุ หภูมิของมวลอากาศจะลดต่าลงจนถึงความสูงที่ระดับหน่ึง อุณหภูมิที่ลดต่าลง
น้ันมากพอจะทาให้ไอน้าในมวลอากาศอิ่มตัว จนเกิดขบวนการกล่ันตัวเองของไอ
น้าข้ึนบนแกนกล่ันตัวจนกลายเป็นฝนตกลงมาฉะน้ัน สารเคมีดังกล่าว จึง
ประกอบด้วยสูตรรอ้ น เพอ่ื ใชก้ ระตุ้น กลไกการหมุนเวยี นของ บรรยากาศสูตรเย็น
ใช้เพ่ือกระตุน้ กลไกการรวมตัวของละอองเมฆให้โตขน้ึ เปน็ เมด็ ฝน และสตู รทใ่ี ชเ้ ป็น
แกนดูดซับความชื้น เพ่อื กระตนุ้ กลไกระบบการกล่ันตวั ให้มปี ระสิทธภิ าพท่สี งู ขน้ึ มี
ขน้ั ตอนดงั น้ี


ขน้ั ตอนทหี่ นงึ่ : กอ่ กวน
การก่อกวน เป็นขั้นตอนที่เมฆธรรมชาติเร่ิมก่อตัวทางแนวต้ัง การ

ปฏิบัติการฝนหลวงในข้ันตอนนี้ จะมุ่งใช้สารเคมีไปกระตุ้น ให้มวลอากาศเกิดการ
ลอยตัวข้นึ สเู่ บื้องบน เพ่ือให้เกดิ กระบวนการชกั นาไอน้า หรอื ความช้นื เข้าสู่ระบบ
การเกิดเมฆ ระยะเวลาทีจ่ ะปฏบิ ตั ิการในขัน้ ตอนนี้ ไม่ควรเกนิ 10.00 น. ของแตล่ ะ
วนั โดยการใช้สารเคมีที่สามารถดูดซับไอน้าจากมวลอากาศได้ แม้จะมีเปอร์เซ็นต์
ความชนื้ สมั พทั ธต์ ่า เพ่ือกระตุ้นกลไกของกระบวนการกล่ันตัวไอน้าในมวลอากาศ
ทางด้านเหนอื ลมของพ้นื ทีเ่ ป้าหมาย เมอื่ เมฆเรมิ่ เกดิ มกี ารกอ่ ตวั และเจรญิ เตบิ โตใน
แนวตั้ง จึงใชส้ ารเคมีที่ใหป้ ฏิกิรยิ าคายความร้อน โปรยเปน็ วงกลม หรอื เป็นแนวถดั
มาทางใต้ลมเป็นระยะทางส้ัน ๆ เข้าสู่ก้อนเมฆ เพื่อกระตุ้นให้เกิดกลุ่มแกนร่วมใน
บริเวณปฏิบตั ิการสาหรับใชเ้ ป็นศนู ย์กลางท่ีจะสร้างกลุ่มเมฆฝนในขนั้ ตอนตอ่ ไป

ข้ันตอนทส่ี อง : เลย้ี งใหอ้ ้วน


การเล้ียงใหอ้ ว้ น เปน็ ขั้นตอนที่เมฆกาลงั กอ่ ตวั เจริญเติบโตซึง่ เปน็ ระยะที่
สาคัญมากในการปฏิบัติการฝนหลวง เพราะจะต้องไปเพิ่มพลังงานให้กับการ
ลอยตัวของก้อนเมฆให้ยาวนานออกไป โดยต้องใช้เทคโนโลยีและประสบการณ์
หรอื ศิลปะแหง่ การทาฝนควบคไู่ ปพรอ้ ม ๆ กนั เพอื่ ตดั สินใจ โปรยสารเคมฝี นหลวง
ชนิดใด ณ ท่ีใดของกลุ่มก้อนเมฆ และในอัตราใดจึงเหมาะสม เพราะ ต้องให้
กระบวนการเกิดละอองเมฆสมดุลกับการลอยตัวของเมฆ มิฉะนั้นจะทาใหเ้ มฆ
สลาย

ขั้นตอนท่ีสาม : โจมตี
การโจมตี ถือเป็นข้ันตอนสุดท้ายของกรรมวิธีปฏิบัติการฝนหลวง โดย

เมฆ หรือ กลุ่มเมฆฝน ต้องมีความหนาแน่นมากพอท่ีจะสามารถตกเป็นฝนได้
ภายในกลมุ่ เมฆจะมีเมด็ น้าขนาดใหญ่มากมาย หากเคร่ืองบินบินเข้าไปในกลุ่มเมฆ
ฝนน้ี จะมีเม็ดน้าเกาะตามปีก และกระจังหน้าของเครื่องบิน ซึ่งในจะต้อง
ปฏิบัติการเพ่ือลดความรุนแรงในการลอยตัวของก้อนเมฆ หรือทาให้อายุการ
ลอยตวั น้นั หมดไป สาหรบั การปฏบิ ัติการในขัน้ ตอนนี้ จะต้องพิจารณาจุดมุ่งหมาย
ของการทาฝนหลวง ซ่งึ มอี ยู่ 2 ประเด็น คอื เพอื่ เพ่มิ ปรมิ าณฝนตก และเพือ่ ให้เกิด
การกระจายการตกของฝน

ด้วยความสาคัญ และปริมาณความต้องการให้มีปฏิบัติการฝนหลวง
ชว่ ยเหลือทวีจานวนมากขึ้น ฉะนัน้ เพอ่ื ช่วยเหลอื ทวแี ห้งแลง้ จานวนมากน้นั เพือ่ ให้
งานปฏิบัติการฝนหลวงสามารถปฏิบัติการช่วยเหลือเกษตรกรได้กว้างขวาง และ
ได้ผลดีย่ิงข้ึน รัฐบาลจึงได้ตราพระราชกฤษฎีกาก่อต้ัง สานักงานปฏิบัติการฝน
หลวง ในสงั กัดสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อวันที่ 21 กันยายน
พ.ศ. 2518 เพื่อเปน็ หนว่ ยงานรองรบั โครงการพระราชดารฝิ นหลวงตอ่ ไป กระท่ังมี
การปรบั ปรงุ และพัฒนาปฏบิ ตั กิ ารฝนหลวงมาจนถงึ ปจั จุบัน


การดาเนนิ งาน

เนอื่ งจากการทาฝนเป็นเทคโนโลยที ่ียังใหมต่ อ่ การรับรู้ของบคุ คลท่วั ไป และ
ในประเทศไทยยังไม่มีนักวิชาการ หรือผู้เช่ียวชาญด้านน้ีในระยะแรกเริ่มของ
โครงการฯ ดังน้ัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงทรงเป็นกาลังสาคัญ และทรง
ร่วมในการพัฒนากจิ กรรมน้ี ท้ังโดยทางตรงและทางอ้อม ทรงวางแผนการทดลอง
ปฏิบัติการการติดตามและ ประเมินผลปฏิบัติการทุกคร้ังอย่างใกล้ชิดและรวดเร็ว
ชนิดวันตอ่ วัน

นอกจากนน้ั ยงั ทรงปฏบิ ัติใหเ้ ปน็ แบบอย่างในการประสานงาน ขอความ
ร่วมมือจากผู้เช่ียวชาญ และองค์กรต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องเพ่ือสนับสนุนกิจกรรม อาทิ
เช่น กรมอุตุนิยมวิทยา กรมชลประทาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
กองบินตารวจ กองการส่ือสารกรมตารวจ และกองทัพอากาศ ในรูปของศูนย์
อานวยการฝนหลวงพิเศษสวนจิตรลดา และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรูป
ของคณะกรรมการดาเนินการทาฝนหลวง ซ่ึงการท่ีพระองค์ติดตามโครงการ
ดงั กลา่ วอย่างใกล้มาตลอด และไดใ้ ห้แนวทางในการปฏบิ ัตอิ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม จงึ ทา
ให้โครงการฝนหลวง พัฒนาก้าวหน้าอย่างรวดเร็วเม่ือเทียบกับประเทศอื่น ๆ


วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการฝนหลวง

จากความเป็นมาของโครงการฝนหลวงน้ันจะเห็นได้ว่า วัตถุประสงค์หลัก
ของโครงการดังกล่าวเกิดขึ้นเพื่อบรรเทาความทุกข์ยากของประชาชนในประเทศ
โดยเฉพาะการท่ีท้องถิ่นหลายแห่งท่ีประสบปัญหาพ้ืนดินแห้งแล้ง หรือการขาด
แคลนนา้ เพ่อื การอปุ โภค บริโภค และทาการเกษตร นอกจากน้ภี าวะความตอ้ งการ
ใช้น้าของประเทศ ที่นับวันจะทวีปริมาณความต้องการสูงขึ้น เพราะการขยายตัว
เจริญเตบิ โตทางดา้ นอุตสาหกรรม เกษตรกรรม น่นั เอง


ประโยชนข์ องโครงการฝนหลวง

สืบเน่ืองจากเดิมที โครงการฝนหลวง มีขึ้นเพื่อรับภาระหน้าท่ีในการ
บาบัดทุกข์บารุงสุขแก่ประชาชน ดังน้ัน นอกจากการบรรเทาปัญหาภัยแล้งแล้ว
เมือ่ หน่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งได้รบั การรอ้ งเพอ่ื ขอใหข้ ยายการบรรเทาความเดอื ดรอ้ นท่ี
สบื เนอื่ งมาจากการพฒั นาอุตสาหกรรม และภาวะส่งิ แวดลอ้ มที่เป็นพิษ การทาฝน
หลวงจึงมปี ระโยชนใ์ นดา้ นอื่น ๆ ที่น่าสนใจ โดยเฉพาะการมีส่วนช่วยเหลือในการ
พัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศไทย ดงั นี้

ด้านการเกษตร : มีการร้องขอฝนหลวงเพ่ือแก้ไขปัญหาขาดแคลนน้า
ในช่วงท่ีเกิดภาวะฝนแล้ง หรือฝนท้ิงช่วงยาวนาน ซ่ึงมีผลกระทบต่อแหล่งผลิต
ทางการเกษตรท่ีกาลงั ใหผ้ ลผลติ ในพน้ื ท่ตี า่ ง ๆ

ด้านการอุปโภค บริโภค : การทาฝนหลวงได้ช่วยตอบสนองภาวะความ
ต้องการ นา้ กนิ นา้ ใช้ ท่ีทวีความรุนแรงมากในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ เนอื่ งจาก
คุณสมบัติของดินในภูมิภาคน้ีเป็นดินร่วนปนทรายไม่สามารถอุ้มซับน้าได้ จึงไม่
สามารถเกบ็ กกั นา้ ไดด้ ีเท่าท่ีควร

ด้านการแก้ไขปัญหาคุณภาพน้า : เน่ืองจากใต้พื้นดินของภาคอีสานมี
แหล่งหินเกลือเป็นจานวนมากและครอบคลุมพื้นท่ีกว้างขวาง หากยามใดอ่างเก็บ


น้าขนาดเล็กและขนาดกลางเกิดมีปริมาณน้าเหลือน้อย ย่อมส่งผลให้น้าเกิดน้า
กร่อยหรือเค็มได้ ดังน้ัน การทาฝนหลวงมีความจาเป็นมากในการช่วยบรรเทา
ปญั หาดงั กล่าว

ดา้ นการเสรมิ สร้างเส้นทางคมนาคมทางนา้ : เมือ่ ปรมิ าณน้าในแม่น้าลด
ต่าลง จนไม่สามารถสัญจรไปมาทางเรือได้ จึงต้องมีการทาฝนหลวงเพื่อเพิ่ม
ปริมาณน้าให้กับบริเวณดังกล่าว เพราะการขนส่งสินค้าทางน้าเสียค่าใช้จ่ายน้อย
กว่าทางอ่ืน และการจราจรทางน้ายังเป็นอีกช่องทางหน่ึง สาหรับผู้ที่ต้องการ
หลีกเ ลี่ย งปัญห าก าร จร าจ รท าง บก ที่นับ วัน ยิ่ง ทวีคว าม รุน แร งม า ก

ด้านการปอ้ งกนั และบาบดั ภาวะมลพษิ ของสิง่ แวดลอ้ ม : หากนา้ ในแมน่ า้
เจ้าพระยาลดน้อยลงเมื่อใด น้าเค็มจากทะเลอ่าวไทยก็จะไหลหนุนเน่ืองเข้าไป
แทนที่ทาให้เกิดน้ากร่อย และสร้างความเสียหายแก่เกษตรกรเป็นจานวนมาก
ดังนั้นการทาฝนหลวง จึงช่วยบรรเทาภาวะดังกล่าว อีกท้ังการทาฝนหลวงยังช่วย
ในเรื่องของสิ่งแวดล้อมท่ีเป็นพิษอันเกิดจากการระบายน้าเสียทิ้งลงสู่แม่ น้า
เจ้าพระยา โดยปริมาณน้าจากฝนหลวงจะช่วยผลักส่ิงแวดล้อมที่เป็นพิษให้ออกสู่
ทอ้ งทะเล ทาให้ภาวะมลพษิ จากนา้ เสียเจือจางลง

ด้านการเพิ่มปริมาณน้าในเขื่อนภูมิพลและเข่ือนสิริกิติ์เพ่ือผลิต
กระแสไฟฟ้า : เนื่องจากบ้านเมืองเราเร่ิมประสบปัญหาการขาดแคลนพลังงาน
ไฟฟ้ามากขึ้น เน่ืองจากมีความต้องการใช้ไฟฟ้าในปริมาณท่ีสูงมาก ดังนั้นเมื่อเกิด
ภาวะวกิ ฤติ โดยระดบั นา้ เหนือเขอื่ นมรี ะดบั ตา่ มากจนไมเ่ พยี งพอตอ่ การใชพ้ ลงั งาน
น้าในการผลิตกระแสไฟฟ้า การทาฝนหลวงจึงมีความสาคัญในด้านดังกล่าวด้วย
เช่นกัน เปน็ ตน้

ท้ังนี้ จากประโยชน์นานัปการของโครงการฝนหลวง อันเกิดจากพระ
ปรีชาสามารถ และสายพระเนตรอันยาวไกลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ท่ี
ทรงคานึงถึงประโยชน์ทุกข์สุขของราษฎรชาวไทยเสมอมาน้ัน การขนานนาม
พระองค์ว่า พระบิดาแห่งฝนหลวง จึงเป็นการแสดงความราลึกในพระมหา
กรณุ าธิคุณอันยง่ิ ใหญ่ ทจ่ี ะคงอยูใ่ นใจของปวงชนชาวไทยตลอดไป


เคร่ืองมือและอุปกรณ์สาคัญที่ใช้ประกอบในการทาฝนหลวง

1. เครื่องมืออุตุนิยมวิทยา ใช้ในการตรวจวัดและศึกษาสภาพอากาศ
ประกอบการวางแผนปฏิบัติการ นอกเหนือจากแผนที่อากาศ ภาพถ่าย
ดาวเทียมที่ได้รับสนับสนนุ เปน็ ประจาวนั จากกรมอุตุนยิ มวิทยาทมี่ ีใช้ไดแ้ ก่
1. เครอื่ งวัดลมช้นั บน (pilot balloon) ใช้ตรวจวดั ทศิ ทางและความเร็วลม
ระดับสูงจากผวิ ดนิ ข้ึนไป
2. เครื่องวิทยุหย่ังอากาศ (radiosonde) เป็นเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์
ประกอบด้วยเครื่องส่งวิทยุ ซ่ึงจะติดไปกับบอลลูน และเครื่องรับ
สัญญาณวิทยุซึ่งจะบอกให้ทราบถึงข้อมูลอุณหภูมิความช้ืน ของ
บรรยากาศในระดบั ตา่ ง ๆ
3. เครื่องเรดาร์ตรวจอากาศ ท่ีมีใช้อยู่เป็นแบบติดรถยนต์ เคลื่อนท่ีได้มี
ประสิทธิภาพ สามารถบอกบรเิ วณทมี่ ฝี นตกและความแรง หรือปริมาณ
นา้ ฝนและการเคล่อื นทข่ี องกลมุ่ ฝนได้ในรศั มี 200-400 กม. ซงึ่ นอกจาก
จะใช้ประกอบการวางแผนปฏิบัติการแล้ว ยังใช้เป็นหลักฐานในการ
ประเมินผลปฏบิ ตั กิ ารฝนหลวงอกี ด้วย


4. เครื่องมือตรวจอากาศผิวพื้นต่าง ๆ เช่น เครื่องวัดอุณหภูมิ เคร่ืองวัด
ความเรว็ และทศิ ทางลม เครอื่ งวัดปริมาณน้าฝน เปน็ ต้น

2. เครื่องมือเตรียมสารเคมี ได้แก่เคร่ืองบดสารเคมีเคร่ืองผสมสารเคมี ทั้งแบบ
น้าและแบบผง ถังและกรวยโปรยสารเคมี เปน็ ต้น

3. เคร่ืองมือส่ือสาร ใช้ในการติดต่อส่ือสารและสั่งการระหว่างนักวิชาการบน
เครื่องบินกับฐานปฏิบัติการ หรือระหว่างฐานปฏิบัติการ 2 แห่ง หรือใช้
รายงานผลระหว่างฐานปฏบิ ัตงิ านสานักงานฯ ในส่วนกลางโดยอาศัยขา่ ยร่วม
ของวิทยุตารวจ ศูนย์ส่ือสารสานักงาน ปลัดกระทรวงมหาดไทย วิทยุเกษตร
และกรมไปรษณีย์โทรเลข เครื่องมือสื่อสารท่ีใช้ในปัจจุบัน ได้แก่วิทยุซิงเกิล
ไซด์แบนด์ วิทยุ FM.1, FM.5 เคร่อื งโทรพมิ พ์ เป็นต้น

4. เคร่ืองมือทางวิชาการอื่น ๆ เช่น อุปกรณ์ทางการวางแผนปฏิบัติการ เข็มทิศ
แผนที่ กล้องส่องทางไกล เครอื่ งมือตรวจสอบสารเคมี กล้องถา่ ยภาพ ฯลฯ

5. สถานีเรดาร์ฝนหลวง หรือ เรดาร์ดอปเปลอร์ (Doppler radar) ในบรรดา
เครื่องมืออุปกรณ์วิทยาศาสตร์ภายใต้โครงการวิจัยทรัพยากรบรรยากาศ
ประยุกต์จานวน 8 รายการน้ัน เรดาร์ดอปเปลอร์จัดเป็นเคร่ืองมือที่มีมูลค่า
สูงสุด เรดาร์นี้ใช้เพื่อวางแผนการทดลองและติดตาม ประเมินผลปฏิบัติการ
ฝนหลวงสาธิต เครื่องมือชนิดน้ีทางานโดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ (Microvax
3400) ควบคุมส่ังการ เก็บบันทึก รวบรวมข้อมูล สามารถนาข้อมูลกลับมา
แสดงใหม่จากเทปบันทึก ในรูปแบบการทางานของ IRIS (IRIS Software)
ผ่านโพรเซสเซอร์ (RUP-6) กล่าวคือ ขอ้ มูลจะถกู บันทกึ ไวใ้ นเทปบันทกึ ขอ้ มูล
ด้วยระบบคอมพิวเตอรท์ ่ีสามารถนามาใช้ได้ตลอด ซึ่งเชื่อมตอ่ กบั ระบบเรดาร์
การแสดงผล/ข้อมูล โดยจอภาพ สถานท่ีตั้งเรดาร์ดอปเปลอร์นี้อยู่ที่ ตาบล
ยางเปยี ง อาเภออมกอ๋ ย จงั หวดั เชยี งใหม่


คณะรัฐมนตรีมีมติ เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2545 เฉลิมพระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชให้ทรง
เปน็ "พระบิดาแหง่ ฝนหลวง" พรอ้ มกันนี้ไดก้ าหนดใหว้ นั ท่ี 14 พฤศจิกายนของทุก
ปี เป็นวันพระบิดาแห่งฝนหลวง

14 พฤศจกิ า วันพระบิดา แห่งฝนหลวง
ไทยทัง้ ปวง นอ้ มระลึก พระทรงศร
พระราชดาริ โครงการฝนหลวง ชบุ ชีวี
นฤบดี แก้ภัยแล้ง เพ่ือปวงชน
14 พฤศจิกา เสดจ็ พระราชดาเนิน ภาคอสี าน
ธ ทรงงาน แกท้ ุกขย์ าก ทกุ แหง่ หน
ขาดแคลนนา้ การเกษตร ไทยทกุ ขท์ น
องค์ภวู ดล ทรงแกไ้ ข ใชฝ้ นเทยี ม
ทรงมอบหมาย ม.ร.ว.เทพฤทธ์ิ เทวกลุ
ใหเ้ ก้ือหนนุ รับผดิ ชอบ งานยอดเยยี่ ม


กอ่ เกดิ ฝน มแี หลง่ นา้ มากเตม็ เปี่ยม
ทรงตระเตรยี ม ทรงคน้ ควา้ สรา้ งผลงาน
ทาฝนเทยี ม เปน็ ครง้ั แรก ทเ่ี ขาใหญ่
มีผลให้ มฝี นตก เปน็ รากฐาน
การเกดิ ฝน ทสี่ าคญั ดาเนนิ การ
ตอ้ งเชยี่ วชาญ ใชร้ อ้ นชน้ื ปะทะเยน็
ในขนั้ ตอน ทาฝนเทยี ม หลายขน้ั ตอน
ตอ้ งทากอ่ น กอ่ กวน เปน็ เรอ่ื งเดน่
ใชส้ ารเคมี โปรยอากาศ เรอื่ งจาเปน็
ทต่ี อ้ งเนน้ มวลอากาศ ไม่ลอยตวั
ข้ันตอนสอง เลยี้ งใหอ้ ว้ น สรา้ งเมฆมาก
เรอื่ งยงุ่ ยาก เทคโนโลยี นา่ ปวดหวั
เกดิ ละออง ตอ้ งสมดลุ เมฆลอยทว่ั
สงิ่ ตอ้ งชวั ร์ เมฆมอี ยู่ ไม่หายไป
ข้ันตอนสาม การโจมตี ขนั้ สดุ ทา้ ย
จดุ มงุ่ หมาย เมฆมากมาย ฝนเมด็ ใหญ่
ใชเ้ ครอื่ งบนิ ร่วมสมั พนั ธ์ กนั ทนั ใด
โปรยสารให้ เกดิ ฝนได้ รว่ งหลน่ มา
ผลฝนเทยี ม พัฒนเ์ ศรษฐกจิ และสงั คม
นา่ ชนื่ ชม เพิม่ แหลง่ นา้ รว่ มรกั ษา
แก้ปญั หา ฝนทงิ้ ชว่ ง เตม็ อตั รา
ปวงประชา นอ้ มสานกึ องคภ์ ูมนิ ทร์
...................................................................

ประสาร ธาราพรรค์ รอ้ ยกรอง


การแปรรปู ผลผลติ ทางการเกษตร
การแปรรปู ผลผลติ ทางการเกษตร การผลติ เอทานอล แกส๊ โซฮอลแ์ ละไบโอ

ดเี ซล เปน็ ตน้
เกษตรทฤษฎีใหม่

เกษตรทฤษฎใี หม่ เปน็ แนวพระราชดาริของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิ
เบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เกี่ยวกับการจัดพื้นที่ดินเพ่ือการอยู่
อาศัยและมีชีวิตอย่างยัง่ ยนื โดยมแี บง่ พื้นท่เี ป็นสว่ น ๆ ไดแ้ ก่ พน้ื ที่นา้ พืน้ ท่ีดนิ เพื่อ
เปน็ ทน่ี าปลูกขา้ ว พน้ื ท่ีดนิ สาหรบั ปลกู พชื ไร่นานาพนั ธ์ุ และทส่ี าหรับอยู่อาศัยและ
เล้ียงสตั ว์ ในอัตราส่วน 3:3:3:1 เป็นหลักการในการบริหารการจดั การท่ีดินและน้า
เพอ่ื การเกษตรในที่ดินขนาดเล็กให้เกิดประสทิ ธิภาพสงู สุด ดงั น้ี

1. มกี ารบรหิ ารและจัดแบง่ ทด่ี นิ แปลงเลก็ ออกเป็นสดั สว่ นทชี่ ดั เจน เพอื่
ประโยชนส์ งู สดุ ของเกษตรกร ซง่ึ ไมเ่ คยมใี ครคดิ มากอ่ น


2. มีการคานวณโดยหลกั วชิ าการ เกย่ี วกบั ปรมิ าณนา้ ที่จะกกั เก็บใหพ้ อเพยี ง
ตอ่ การเพาะปลกู ไดต้ ลอดปี

3. มกี ารวางแผนทสี่ มบูรณแ์ บบ สาหรับเกษตรกรรายยอ่ ย 3 ข้ันตอน เพอื่ ให้
พอเพยี งสาหรบั เลยี้ งตนเองและเพอ่ื เป็นรายได้
พน้ื ทีโ่ ครงการตามแนวทฤษฎใี หม่
- โครงการพัฒนาพน้ื ทเ่ี กษตรนา้ ฝน บา้ นแดนสามคั คี ตาบลคมุ้ เกา่ อาเภอเขาวง
จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ
-โครงการทฤษฎีใหมป่ กั ธงชยั หรอื ทฤษฎใี หมบ่ า้ นฉตั รมงคล ตาบลปกั ธงชยั
เหนอื อาเภอปกั ธงชยั โครราช
-ทฤษฎใี หมห่ นองหมอ้ ตาบลหนองหม้อ อาเภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค์
เศรษฐกิจพอเพยี ง

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการดารงชีวิต ท่ีพระบาทสมเด็จ
พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตรมีพระราชดารัสแก่ชาว


ไทยนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 เป็นต้นมา และถูกพูดถึงอย่างชัดเจนในวันท่ี 4
ธันวาคม พ.ศ. 2540 เพ่ือเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ
ไทย ให้สามารถดารงอยู่ได้อย่างม่ันคงและย่ังยืนในกระแสโลกาภิวัตน์และความ
เปลีย่ นแปลงตา่ ง ๆ

เศรษฐกจิ พอเพยี งมีบทบาทต่อการกาหนดอดุ มการณก์ ารพฒั นาของประเทศ
โดยปัญญาชนในสังคมไทยหลายท่านได้ร่วมแสดงความคิดเห็น อย่างเช่น ศ.นพ.
ประเวศ วะสี,ศ.เสน่ห์ จามริก,ศ.อภิชัย พันธเสน, และศ.ฉัตรทิพย์ นาถสุภา โดย
เช่อื มโยงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับวัฒนธรรมชุมชน ซ่ึงเคยถูกเสนอมาก่อน
หนา้ โดยองคก์ รพัฒนาเอกชนจานวนหนง่ึ นับตงั้ แตพ่ ทุ ธทศวรรษ 2520 และไดช้ ว่ ย
ให้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี งเป็นท่ีรู้จักอย่างกวา้ งขวางในสงั คมไทย

สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้เชิญ
ผู้ทรงคณุ วฒุ ใิ นทางเศรษฐกิจและสาขาอ่นื ๆ มารว่ มกนั ประมวลและกลนั่ กรองพระ
ราชดารัสเร่ืองเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อบรรจุใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับท่ี 9 และได้จัดทาเป็นบทความเร่ือง “ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง” และได้นาความกราบบังคลทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมราช
วินิจฉัย เมื่อวันท่ี 22 ตุลาคม พ.ศ. 2542 โดยทรงพระกรุณาปรับปรุงแก้ไข
พระราชทานและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้
นาบทความท่ีทรงแก้ไขแล้วไปเผยแพร่ เพ่ือเป็นแนวทางปฏิบัติของสานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
ตลอดจนประชาชนโดยทัว่ ไป เมือ่ วนั ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ได้รับการเชิดชูเป็นอย่างสูงจาก องค์การ
สหประชาชาติ วา่ เปน็ ปรชั ญาทม่ี ปี ระโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ และ
สนับสนุนให้ประเทศสมาชิกยึดเป็นแนวทางสู่การพัฒนาแบบยั่งยืน โดยมี
นักวชิ าการและนักเศรษฐศาสตรห์ ลายคนเหน็ ดว้ ยกบั แนวทางเศรษฐกิจพอเพยี ง


แนวคดิ หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร
ได้พฒั นาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือท่ีจะให้พสกนิกรชาวไทยได้เข้าถึงทาง
สายกลางของชีวิตและเพื่อคงไว้ซึ่งทฤษฏีของการพัฒนาที่ยั่งยืน ทฤษฎีน้ีเป็น
พื้นฐานของการดารงชีวิตซ่ึงอยู่ระหว่าง สังคมระดับท้องถิ่นและตลอดระดับสากล
จุดเดน่ ของแนวปรชั ญาน้ีคือ แนวทางที่สมดุล โดยชาติสามารถทันสมัย และก้าวสู่
ความเปน็ สากลได้ โดยปราศจากการต่อตา้ นกระแสโลกาภวิ ฒั น์ และการอยรู่ วมกนั
ของทกุ คนในสังคม

หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งมีความสาคญั ในชว่ งปี พ.ศ. 2540 ซงึ่ เปน็ ชว่ ง
ท่ีประเทศไทย ต้องประสบปัญหาภาวะทางเศรษฐกิจ และ ต้องการรักษาความ
มั่นคงและเสถียรภาพ เพื่อท่ีจะยืนหยัดในการพึ่งพาผู้อ่ืน และ พัฒนานโยบายที่
สาคัญเพือ่ การฟ้ืนฟูเศรษฐกจิ ของประเทศ


พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดาริว่า มันไม่ได้มีความจาเป็นท่ีเรา
จะกลายเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ พระองค์ได้ทรงอธิบายว่า ความพอเพียง

และการพ่ึงตนเอง คือ ทางสายกลางที่จะป้องกันการเปลี่ยนแปลงความไม่มั่นคง
ของประเทศไดเ้ ศรษฐกจิ พอเพยี งเช่อื วา่ จะสามารถปรับเปลี่ยนโครงสรา้ งทางสงั คม
ของชมชนุ ใหด้ ขี น้ึ โดยมปี ัจจัย 2 อย่างคอื
1. การผลติ จะตอ้ งมคี วามสมั พนั ธก์ นั ระหวา่ ง ปรมิ าณผลผลติ และการบริโภค
2. ชมุ ชนจะตอ้ งมคี วามสามารถในการจดั การทรัพยากรของตนเอง
ผลทเี่ กดิ ขน้ึ คอื
- เศรษฐกจิ พอเพยี งสามารถทีจ่ ะคงไวซ้ ง่ึ ขนาดของประชากรทไี่ ดส้ ดั สว่ น
- ใชเ้ ทคโนโลยไี ดอ้ ยา่ งเหมาะสม
- รกั ษาสมดลุ ของระบบนเิ วศ และปราศจากการแทรกแซงจากปจั จยั ภายนอก

เศรษฐกจิ พอเพียงเป็นปรัชญาที่ยึดหลักทางสายกลาง ที่ช้ีแนวทางการดารง
อยู่และปฏิบัติของประชาชนในทุกระดับให้ดาเนินไปในทางสายกลาง มีความ
พอเพียง และมีความพร้อมท่ีจะจัดการต่อผลกระทบจากการเปล่ียนแปลง ซึ่ง
จะต้องอาศัยความรอบรู้ รอบคอบ และระมดั ระวัง ในการวางแผนและดาเนินการ
ทุกขั้นตอน ท้ังนี้ เศรษฐกิจพอเพียงเป็นการดาเนินชีวิตอย่างสมดุลและยั่งยืน
เพือ่ ใหส้ ามารถอย่ไู ด้แม้ในโลกโลกาภวิ ตั น์ทมี่ กี ารแขง่ ขนั สูง


ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งทท่ี รงปรบั ปรุงพระราชทานเปน็ ทมี่ าของนยิ าม
“3 ห่วง 2 เง่ือนไข” ที่คณะอนุกรรมการขับเคล่ือนเศรษฐกิจพอเพียงสานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นามาใช้ในการรณรงค์
เผยแพร่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผ่านช่องทางส่ือต่าง ๆ อยู่ในปัจจุบัน ซึ่ง
ประกอบด้วยความ “พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน” บนเง่ือนไข “ความรู้”
และ “คณุ ธรรม”

ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธานคณะอนุกรรมการขับเคล่ือน
เศรษฐกิจพอเพียง อธิบายถึงการพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ว่า เป็นการ
พัฒนาที่ตั้งอยู่บนพ้ืนฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคานึงถึง
ความพอประมาณ ความมเี หตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวตลอดจนการใช้
ความรู้ ความรอบคอบละคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการ
กระทาต่างๆ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ท่ีไม่มากและไม่น้อย
จนเกินไป ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อ่ืน เช่น การผลิตและการบริโภคที่
พอประมาณ ความมเี หตุผล หมายถึง การใช้หลักเหตุผลในการตัดสินใจเร่ืองต่างๆ
โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เก่ียวข้อง ตลอดจนผลท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนอย่าง


Click to View FlipBook Version