The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระราชประวัติ รัชกาลที่ 9

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ประสาร ธาราพรรค์, 2021-11-28 07:52:43

พระราชประวัติ รัชกาลที่ 9

พระราชประวัติ รัชกาลที่ 9

วดั ญาณสงั วรารามวรมหาวหิ าร

นอกจากน้ี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงให้การอุปถัมภ์แก่คณะสงฆ์
ไม่เคยขาด เช่น การพระราชทานสมณศักด์ิแก่คณะสงฆ์ ดังจะเห็นปรากฎอยู่ใน
พระราชพิธีต่างๆ เช่น พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา เป็นต้น พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวยังทรงให้การทานุบารุงและบูรณะวัดต่างๆ เร่ือยมา ทรงพระกรุณา
โปรดเกลา้ ฯ ยกวดั ราษฎรใ์ หเ้ ปน็ พระอารามหลวง ทรงพระราชทานพระราชทรพั ย์
ส่วนพระองค์จานวนหนึ่ง เพื่อนาไปสร้างวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร จังหวัด
ชลบุรี และวัดพระราม 9 กาญจนาภิเษก กรุงเทพมหานคร พร้อมกับทรงรับไว้ใน
พระบรมราชปู ถมั ภ์

นอกจากนี้ทรงพระราชทานพระราชทรัพย์เพ่ือบูรณะปฏิสังขรณ์วัดวา
อารามต่างๆ ท่ีชารุดทรุดโทรม และพระราชกรณียกิจท่ีสาคัญเกี่ยวกับการทานุ
บารุงพระศาสนาอกี ประการ ในรัชกาลของพระองค์ คือ การสร้างพระพุทธมณฑล

โดยพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ทรงมพี ระราชดารจิ ะจดั สร้างขึ้น เพ่อื ฉลองมงคล
กาลสมัยท่พี ระพทุ ธศาสนามีอายคุ รบ 2500 ปี

ในวันวิสาขบูชา 13 พฤษภาคม 2500 ทางรัฐบาลมีมติเห็นชอบกับข้อเสนอ
ของคณะกรรมการจัดงานเฉลิมฉลอง 25 พุทธศตวรรษ ว่าควรมีการสร้างปูชนีย
สถานเป็นพุทธศูนย์กลางอุทยานทางพุทธศาสนา ดังนั้นจึงมีมติให้จัดสร้าง “พุทธ
มณฑล” ขนึ้ ซงึ่ มอี าณาเขตตดิ ตอ่ กันระหว่าง อาเภอสามพราน และอาเภอนครชัย
ศรี จังหวัดนครปฐม และได้ถวายบังคมทูลอัญเชิญพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เสด็จไปวางศิลาฤกษ์ในวันท่ี 29 กรกฎาคม 2498 และได้มีงานเฉลิมฉลองเนื่องใน
โอกาสท่ีพระพุทธศาสนาดารงมาครบ 25 ศตวรรษ ในระหว่างวันท่ี 12 - 18
พฤษภาคม 2500

การบาเพญ็ พระราชกศุ ล

ส า ห รับ ก า ร บา เ พ็ญ พ ร ะ ร า ช กุ ศ ล ใ น วั น ส า คัญ ท า ง ศ า ส น า น้ั น
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็ทรงปฏิบัติอยู่เป็นนิจ พระราชกรณียกิจที่ทรง
บาเพ็ญเปน็ ประจาทุกปี ในวันสาคญั ทางศาสนาคือ

1.วนั มาฆบชู า

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าหน้าที่กองพระราชพิธี สานักงานพระราชวังทา
เทียนรุ่ง (เทียนที่จุดได้ตลอดคืน) ไปตั้งถวาย ณ ที่ประทับเพื่อทรงเจิม โดย
พระราชทานให้แก่อารามหลวงใช้ในราชการบูชาพระรัตนตรัย เม่ือถึงวันมาฆบูชา
ในช่วงบ่าย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินีนาถจะเสด็จไปยังพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม หากไม่ได้
เสด็จด้วยพระองค์เองก็จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมวงศ์เธอ
พระองคใ์ ดพระองคห์ น่งึ เสด็จเปน็ ผู้แทนพระองคเ์ ปน็ ประจาเรอ่ื ยมา

2.พระราชพิธเี ปล่ียนเครอ่ื งทรง พระพุทธมหามณรี ตั นปฏิมากรประจาฤดู

พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวทรงเปลย่ี นเครอ่ื งทรงพระพทุ ธมหามณรี ตั นปฏมิ ากร
พระราชพธิ เี ปล่ยี นเครื่องทรงพระพทุ ธมหามณรี ตั นปฏิมากร ถอื เป็นพระราช

พิธที ี่สาคัญอีกพระราชพิธีหนึง่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะทรงเสด็จพระราช
ดาเนนิ ไปเปลยี่ นเครือ่ งทรงเองเป็นประจาทุกปี โดยเคร่อื งทรงแตล่ ะประเภทนัน้ จะ
เปลี่ยนในวันที่เปลี่ยนฤดู หากในคราใดที่ไม่ได้ทรงเสด็จไปด้วยพระองค์เอง ก็จะ
โปรดเกลา้ ฯ ใหพ้ ระเจา้ พระบรมวงศเ์ ธอพระองคใ์ ดพระองค์หนึ่งเสด็จไปแทน

3. วนั วสิ าขบูชา

วันวสิ าขบชู าเป็นวนั สาคญั อกั วนั หนงึ่ ของชาวพทุ ธเรายดึ ถอื กนั มาชา้ นาน
เพราะวันวิสาขบูชาน้ันเป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงประสูติ ตรัสรู้และปรินิพพาน
พุทธศาสนิกชนจึงพร้อมใจกันทาพิธีสักการบูชาในวันน้ี พระมหากษัตริย์ไทยเองก็
เช่นกัน ทรงบาเพ็ญพระราชกุศลในวนั วสิ าขบูชามาต้ังแต่สมัยกรุงสุโขทัย และได้มี
พระราชพิธีน้ีเรือ่ ยมาจากอยธุ ยา กรุงธนบรุ ี จนถงึ สมัยรตั นโกสินทร์

พระร าชพิธีทรงบาเพ็ญ พระร าช กุศ ล เนื่องใน วันวิส าขบูช า
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้จดั เปน็ พระราชพธิ สี อง
วันติดต่อกันคือ เป็นงานวันต้ังเปรียญวันหน่ึง และเป็นส่งของงานพระราชพิธีวิ
สาขบูชาอีกวันหนึ่ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเริ่มเสด็จพระราชดาเนินใน
พระราชพธิ ีวิสาขบูชา ณ พระอุโบสถวดั พระศรรี ตั นศาสดารามดว้ ยพระองคเ์ องเปน็
คร้ังแรก เมื่อพุทธศกั ราช 2493

ในบางปีที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเสด็จแปรพระราชฐานไป
ประทับแรมนอกพระนคร ก็จะทรงบาเพญ็ พระราชกุศลในวันวิสาขบูชา ณ วัดใกล้

ทปี่ ระทับแรม สว่ นในพระอโุ บสถวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม ได้ทรงพระกรุณาโปรด
เกลา้ ฯ ใหพ้ ระราชวงศท์ รงปฏบิ ัตริ าชภารกิจแทนพระองค์ ตงั้ แตพ่ ทุ ธศกั ราช 2505
เป็นต้นม า พระ บาทสม เด็จพร ะเจ้าอ ยู่หัวแล ะสมเด็จพระน างเจ้า ฯ
พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จพระราชดาเนินไปบาเพ็ญพระราชกุศลตามสถานท่ี
ต่างๆ เช่น พระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม วัดพระมหาธาตุ จั งหวัด
นครศรีธรรมราช วัดโสธรวรมหาวิหาร จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นต้น นับแต่ พ.ศ.
2526 เป็นต้นมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะทรงเสด็จพระราชดาเนินไปยัง
สถานทส่ี าคญั ๆ ทางศาสนา เพอ่ื บาเพญ็ พระราชกศุ ลเนอื่ งในวนั วิสาขบชู าเป็นสว่ น
พระองคเ์ ร่ือยมา โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
เสด็จแทนพระองค์ เพื่อประกอบพระราชพิธีวิสาขบูชา ณ พระอุโบสถวัดพระศรี
รตั นศาสดาราม

4. พระราชพธิ วี ันถวายพระเพลิงพระพุทธเจ้า
พระราชพิธีอัฎฐมีบูชา หรือพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระพุทธเจ้า จะมี

ข้ึนในวันแรม 8 ค่า เดือน 6 หรือนับต่อเน่ืองไปจากวันวิสาขบูชาอีก 8 วัน ซ่ึงเป็น
วันคล้ายวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ พระราชพิธีน้ีเป็นพระราชศรัทธาของ
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัวรชั กาลปจั จุบนั โดยเฉพาะ โดยทรงกาหนดให้เป็นพิธี
หลวง และไดม้ ีพระราชอุทิศเทียนรุ่งเพ่ือบชู าพระรตั นตรยั ใหแ้ ก่อาราม 7 แห่ง

5. พระราชพิธีทรงบาเพ็ญพระราชกุศลเน่ืองในวันอาสาฬหบูชาและพระราชพิธี
เขา้ พรรษา

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจเน่ืองในพระ
ราชพิธีเข้าพรรษามาตั้งแต่เสด็จข้ึนครองราชย์ จวบจนกระทั่งปัจจุบัน โดยจะ
พระราชทานเทียนพรรษาให้แก่วดั ต่างๆ ทั่วประเทศ ทั้งในกรุงเทพฯ และหัวเมือง
รวมถึง 64 วดั นอกจากน้ยี ังทรงพระราชทานพมุ่ เทยี นให้แก่พระสงฆ์ โดยพระสงฆ์
ท่ีได้รับพระราชทานพุ่มเทียน จะเป็นสมเด็จพระสังฆราช สมเด็จพระราชาคณะ

รองสมเดจ็ พระราชาคณะ พระราชาคณะ พระเปรียญธรรม 9 ประโยค และพระครู
สัญญาบัตรต้ังแต่เจ้าอาวาสอารามหลวงชนั้ ตรีขน้ึ ไปกับพระนาคหลวง
6.พระราชพิธีทรงบาเพ็ญพระราชกศุ ลถวายพระกฐนิ

พระราชกรณียกิจท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงบาเพ็ญมาเป็นประจา
ทุกปี เพ่ือทรงพระอนุเคราะห์ให้หมู่สงฆ์ได้รับประโยชน์ในทางพระวินัย การถวาย
กฐนิ ในปัจจบุ ันแบ่งออกเปน็ 3 ประเภท ตามฐานะของวัดท่ไี ดร้ ับพระราชทาน

1. พระกฐินหลวง ได้แก่กฐินทเ่ี สด็จไปถวายดว้ ยพระองค์เอง หรอื ทรงพระ
กรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้พระราชวงศ์ หรือองคมนตรีนาไปถวายใหแ้ ก่อารามหลวง

2. กฐนิ พระราชทาน ได้แก่กฐนิ ทพ่ี ระราชทานใหแ้ กก่ ระทรวง ทบวง กรม
องค์กร สมาคมหรือเอกชนนาไปทอดถวายพระสงฆ์ แก่พระอารามหลวงท่ัว
ราชอาณาจักร นอกเหนือจากอารามหลวงดังกลา่ วในขอ้ 1.

3. กฐินต้นหรือกฐินส่วนพระองค์ คือพระกฐินที่เสด็จโดยพระองค์เองไป
ถวายแกว่ ดั ราษฎร์เปน็ สว่ นพระองค์เอง

นอกจากจะทรงเป็นพุทธมามกะแล้วยังทรงเป็นองค์อัครศาสนูปถัมภกอีก
ด้วยทรงอุปถัมภ์ศาสนาทุกศาสนา ภายใต้พระบรมโพธิสมภารของพระองค์ ดังจะ
เห็นได้จากการ ท่ีพระองค์เสด็จพระราชดาเนินทรงเป็นองค์ประธานในงานฉลอง
ครบรอบ 500 ปี แหง่ ศาสนาซกิ ซ์ ตามคา อัญเชิญของสมาคมศรีคุรุสิงห์สภา และ
ในงานเมาลิดกลางของอสิ ลามกิ ชน
องคอ์ ัครศาสนูปถมั ภก
ศาสนาอิสลาม

ทรงสนับสนุนให้มีการแปลพระคัมภีร์อัลกุรอานมาเป็นภาษาไทย เม่ือปี
2505 เอกอัครราชทูตซาอุดิอารเบียทูลเกล้าฯ ถวายพระคัมภีร์อัลกุรอานฉบับ
ภาษาอังกฤษให้แก่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทรงมีพระราชดาริแปลเป็นภาษไทย เพื่อพี่น้องชาวไทยมุสลิมจะได้เรียนรู้ และ
เข้าใจความหมายที่แท้จริงของคัมภีร์อัลกุรอาน พร้อมทั้งสามารถนาไปประพฤติ
ปฏิบตั ไิ ดอ้ ยา่ งถกู ต้อง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมพี ระราชกระแสรบั สั่งกับ
จุฬาราชมนตรีว่า อัลกุรอานฉบับแปลจากภาษาอังกฤษมีเยอะแล้ว ทรงอยากให้

จัดทาฉบับจากต้นฉบับเดิมข้ึน จุฬาราชมนตรี จึงสนองพระราชกระแสรับส่ังไป
จัดทาจนแล้วเสร็จ โดยได้คานึงถึงพระราชกระแสรับส่ังของพระบาทสมเด็จพระ
เจา้ อยู่หวั สองประการ

1. การแปลพระคมั ภรี ์อลั กรุ อานเป็นภาษาไทย ขอให้แปลอย่างถกู ตอ้ ง
2. ขอใหใ้ ชส้ านวนเปน็ ภาษาไทยที่สามญั ชนท่วั ไปอา่ นเขา้ ใจได้
เสด็จพระราชดาเนินงานเมาลดิ กลาง งานเมาลดิ คือ งานเฉลมิ ฉลองเนอ่ื งใน
วโรกาสคล้ายวันพระราชสมภพของพระบรมศาสดานบีมูฮัมหมัด ซ่ึงชาวมุสลิมทั่ว
โลกจะจัดงานท่ีระลึกข้ึน ในประเทศไทยก็จะมีการจัดขึ้นตามจังหวัดต่างๆ ที่มีพี่
น้องชาวมุสลิมอาศัยอยู่หนาแน่น ในส่วนกลางจัดขึ้นที่กรุงเทพมหานคร มีชาว
มุสลิมเดินทางมาร่วมงานจานวนมาก ทรงมีพระราชดาริให้มีการสนับสนุนการ
จัดสร้างมัสยิดกลางประจาจังหวัดขึ้น โดยให้รัฐบาลจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน
สาหรับจัดสร้าง ขณะนี้ได้สร้างเสร็จเรียบร้อยแล้วใน 4 จังหวัดภาคใต้ ซึ่ง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดาเนินไปเป็นองค์ประธานในพิธีด้วย
พระองคเ์ อง
ศาสนาคริสต์

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวทรงใหก้ ารตอ้ นรบั
สมเดจ็ พระสนั ตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงให้ความสาคัญกับศาสนาคริสต์ ให้การ
ต้อนรบั ผู้นาศาสนาครสิ ต์ทุกนิกายอยา่ งเป็นกันเองและอบอ่นุ ทรงใหก้ ารสนบั สนนุ
กิจการของคริสต์ศาสนาตลอดพระชนม์ชีพ อาทิเสด็จฯ ทอดพระเนตรภาพยนตร์
การกุศลท่ีโรงพยาบาลแมคคอร์มิก จังหวัดเชียงใหม่ โรงพยาบาลแห่งน้ี
พระบาทสมเด็จมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชนก ทรงเคยปฏิบัติ
หน้าท่ีเป็นแพทย์ นอกจากนี้ยังเสด็จเย่ียมโรงเรียน โรงพยาบาลต่างๆ ท่ีเป็นของ
ศาสนาครสิ ต์อีกด้วย
พระอจั ฉรยิ ภาพ
พระอจั ฉรยิ ภาพดา้ นคอมพิวเตอร์

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร
พระอัจฉริยภาพด้านการใช้เครื่องมือเทคโนโลยีโดยเฉพาะคอมพิวเตอร์ ทรงใช้
คอมพวิ เตอร์เพอื่ บันทึกพระราชกรณยี กิจต่างๆ ทรงประดิษฐ์อักขระ และในปีใหม่
ของทุกๆ ปี เราคนไทยจะได้รับ ส.ค.ส ที่ทรงประดิษฐ์ด้วยคอมพิวเตอร์ เผยแพร่

ผา่ นสอื่ มวลชนเพื่อทรงอวยพรปวงชนชาวไทย สงิ่ เหล่านล้ี ้วนเปน็ เพียงแค่สว่ นหนึ่ง
ของพระอจั ฉริยภาพดา้ นเทคโนโลยีเท่านั้น และเน่อื งดว้ ยวันที่ 19 ตุลาคมของทุกปี
เป็นวันเทคโนโลยีของไทย รัฐบาลได้ตระหนักถึงพระปรีชาสามารถในทางเทคนิค
จึงมีมติคณะรัฐมนตรี ถวายพระเกียรติให้ทรงเป็น "พระบิดาแห่งเทคโนโลยี
ไทย" ด้วยทรงมีพระอัจฉริยภาพและทรงสนพระทัยในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ได้ทาให้พระองค์ทรงมุ่งม่ันในการพัฒนาด้านการสื่อสารด้านต่างๆ ทรงนา
เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในโครงการพัฒนาต่างๆ เพ่ือประโยชน์ในการพัฒนา
ประเทศทง้ั ด้านเศรษฐกจิ และสงั คม

ความเปน็ มาของพระอัจฉริยภาพด้านคอมพิวเตอร์น้ันเกิดขึ้นเมื่อประมาณปี
พ.ศ. 2529 ขณะน้ัน ม.ล.อัศนี ปราโมช ได้ซื้อคอมพิวเตอร์ยี่ห้อ Macintosh
SE ขึน้ ทลู เกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช
บรมนาถบพิตร เป็นเครื่องที่ทันสมัยท่ีสุดในยุคนั้น เพราะสามารถเก็บและพิมพ์
โน้ตเพลงได้ การเรียนรู้และใช้งานก็ไม่ยาก ซึ่งพระองค์ไม่เพียงแต่ทรงงานด้วย
คอมพวิ เตอร์เทา่ นน้ั หากแต่ยงั ทรงประดิษฐ์และสรา้ งสรรคง์ านต่างๆ มากมายด้วย
คอมพิวเตอร์ อาทิประดิษฐ์ตัวอักษรบนคอมพิวเตอร์ พระองค์ได้ทรงประดิษฐ์
อกั ษรไทยหลายแบบ ซงึ่ เปน็ สง่ิ ที่ทรงสนพระทัยเปน็ พเิ ศษ เช่น แบบจติ รลดา แบบ
ภูพิงค์ ฯลฯ และเมื่อประมาณเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2530 ได้ทรงทดลองใช้
โปรแกรม "Fontastic" สร้างตัวอักษรภาษาไทยและภาษาอังกฤษรูปแบบต่างๆ
และขนาดต่างๆ ในการสร้างรูปแบบตัวอักษร (Font) ตามวิธีการท่ัวๆ ไปคือ
กาหนดเป็นจุดๆ มาต่อกันเป็นตัวอักษร ซึ่งต้องใช้ความอดทนและความประณีต
มาก พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร
ทรงใช้เวลาที่ทรงว่างจากพระราชกรณียกิจต่างๆ เพื่อสร้างตัวอักษรด้วย
คอมพิวเตอร์ ในเวลาต่อมาได้มีผู้ทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องคอมพิวเตอร์ IBM PC
Compatible และทรงสนพระทัยศึกษาในการพัฒนา Software ต่างๆ และได้
สร้างโปรแกรมใหม่ๆ ขึ้นมา ทรงแก้ซอฟต์แวร์ในเครื่อง เช่น โปรแกรมภาษาไทย
CU WRITER ใหเ้ ปน็ ไปตามพระราชประสงค์

โปรแกรมคอมพวิ เตอร์อกั ษรเทวนาครี

อกั ษรเทวนาครจี ากโปรแกรมพระองคท์ รงประดษิ ฐ์
พระองค์ทรงสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอรส์ าหรบั พมิ พต์ วั อกั ษรเทวนาครี หรอื
ท่ีพระองค์ท่าน ทรงเรียกว่า "ภาษาแขก" เร่ิมเม่ือประมาณเดือนพฤษภาคม พ.ศ.
2530 ได้ทรงศึกษาตัวอักษรเทวนาครีด้วยพระองค์เอง จากพจนานุกรมและตารา
ภาษาสันสกฤต และทรงสอบถามจากผู้เช่ียวชาญด้านภาษาบาลีสันสกฤต เช่น
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และทา่ นองคมนตรี ม.ล. จริ ายุ
นพวงศ์ ซ่ึงจะต้องตรวจสอบตัวอักษรท่ีทรงสร้างขึ้น ซ่ึงจัดทาได้ยากกว่าตัวอักษร
ภาษาไทย เพราะตัวอักษรเทวนาครีนั้นรูปแบบไม่คงที่ พระองค์นาโปรแกรมออก
แสดงเปน็ ครง้ั แรกเม่ือวนั ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530
เม่ือหลังจากเสด็จพระราชดาเนินทอดพระเนตรงานจุฬาวิชาการ '30 บน
ศาลาพระเก้ียวแล้ว พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช
บรมนาถบพติ ร ได้เสด็จฯ มาท่ีที่มหาวิทยาลัยจัดไว้ ทรงนาโปรแกรมที่บรรจุอยู่ใน
แผ่นจานแม่เหล็ก (diskette) ซึ่งทรงใช้ชื่อรหัสว่า Devwrit Test และ Devwrit

Temp ทรงพระกรุณาแสดงการพิมพ์ตัวอักษรต่างๆ ด้วยคอมพิวเตอร์ เริ่มด้วย
Chulalongkorn University โดยทรงประดิษฐ์ให้ตัวอักษรมีขนาดต่างๆ ลดหลั่น
ตามขนาดของรูปแบบตัวอักษร (Font) พร้อมท้ังพระราชทานคาอธิบายต่อจาก
Chulalongkorn University ทรงพิมพ์ช่ือมหาวิทยาลัยเป็นภาษาสันสกฤตด้วย
ตัวอักษรเทวนาครี หลังจากนั้นทรงพิมพ์พระนามสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกมุ ารี ดว้ ยตวั อักษรเทวนาครี ตามด้วยอักษรโรมัน ซึง่ ออกเสียงแบบ
สันสกฤตและอกั ษรไทยตามลาดับ หลังจากน้ันทรงใช้อกั ษรเทวนาครีพิมพช์ อ่ื "จริ า
ยุ นพวงศ์" และ "สมชาย" (รองศาสตราจารยส์ มชาย ทยานยง)
พระไตรปิฎกฉบับคอมพิวเตอร์

พระไตรปิฎกฉบับคอมพิวเตอร์ เป็นหนึ่งในโครงการพระราชดาริท่ี
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ไดท้ รง
พระกรุณาโปรดเกล้าฯ บริจาคทรัพย์ส่วนพระองค์ จานวน 1,472,900 บาท ใน
เดือนพฤษภาคม 2534 ให้มหาวิทยาลัยมหิดลจัดทาโครงการพัฒนาระบบ

คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาพระไตรปิฎกและอรรถกถา ทาให้การศึกษา
พระไตรปิฎกและชุดอรรถกถาเป็นไปได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยา อีก
ทั้งรวบรวมเนื้อหาไว้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ สาหรับโครงการพัฒนาระบบ
คอมพิวเตอร์ เพื่อการศึกษาพระไตรปิฎกและอรรถกถาตามพระราชดารินี้ ได้
พัฒนาแลว้ เสรจ็ ในเดอื นพฤศจกิ ายน 2534 ได้รบั การพัฒนาทงั้ หมด 4 รุน่ จนมาถึง
รุ่นท่ี 4 ช่ือ BUDSIR IV (บุดเซอร์ รุ่น 4) มาจากคาว่า Buddhist Scriptures
Information Retrieval ทัง้ นมี้ หาวิทยาลัยมหิดลได้บันทึกพระไตรปิฎกและอรรถ
กถา ลงบนแผ่น CD-ROM แล้วเสร็จในเดือนกรกฎาคม 2537 ปัจจุบันได้มีการ
พั ฒ น า ท า ใ ห้ ส า ม า ร ถ เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ ผ่ า น ร ะ บ บ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ไ ด้
ที่ http://budsir.mahidol.ac.th/ (ผู้ใช้ใหม่จะต้องลงทะเบียนก่อน) นับเป็น
พระไตรปฎิ กและอรรถกถา ฉบบั คอมพิวเตอร์ทส่ี มบูรณท์ ส่ี ุดในปัจจบุ นั
ส.ค.ส. พระราชทานดว้ ยคอมพิวเตอร์

ส.ค.ส. อวยพรปีใหมพ่ ระราชทานถงึ คนไทย

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร
จะทรงพระราชทาน ส.ค.ส. อวยพรปีใหม่ พระราชทานฉบับแรกส่งถึงคนไทยในปี
พ.ศ. 2530 โดยทรงปลีกเวลาจากพระราชกรณียกิจมาปรุแถบเทเล็กซ์หรือโทร
พิมพ์ เราจึงเห็นข้อความตามท้าย ส.ค.ส. ว่า “กส. 9 ปรุ” เป็นรหัสเรียกขานวิทยุ
แทนพระองค์เป็นผู้ปรุข้ึน ส่วนตัวเลขที่ตามหลังคือวันที่และเวลาท่ีทรงสร้าง ใน
รูปแบบ วว ชช นน ดด ปปปป. ในส.ค.ส. พระราชทานฉบับแรกจึงหมายถึงเวลา
14.30 น. วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2529 ส.ค.ส. ฝีพระหัตถ์ล้วนเป็นสีขาว-ดา ซ่ึงเร่ืองน้ี
ดร.สุเมธ ได้แสดงทรรศนะว่า “เป็นส่ิงที่พระองค์ทรงต้องการสะท้อนให้ลูกหลาน
ไทยได้เห็นถงึ ตวั อยา่ งของความประหยดั มธั ยัสถ์ สิง่ ของหลาย ๆ สิ่งแม้จะไม่มสี สี นั
ดึงดดู ตา แตก่ ็มากมายดว้ ยความหมาย พระองคพ์ ยายามทาทกุ ส่ิงให้เกดิ ประโยชน์
ตลอดเวลา ทรงรักความเรียบง่าย ยึดม่ันในความหมาย และคุณค่า ของสรรพสิ่ง
เปน็ ท่ตี ้งั มากกว่าจะมองกนั ทคี่ วามสวยงาม ฟุ้งเฟ้อ”

ทรงใชแ้ ผนท่แี สดงสภาวะอากาศผ่านอินเทอร์เนต็ ติดตามใต้ฝนุ่ แองเจลา

เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2538 ได้เกิดไต้ฝุ่นแองเจลา (Angela) ทาความ
เสียหายให้แก่ประเทศฟิลิปปินส์ และจะเข้าสู่ประเทศไทยในเวลาต่อมา ทางกรม
อุตุนิยมวิทยาได้แจ้งเตือนประชาชนชาวไทยให้เตรียมระวังอันตรายที่จะเกิดข้ึน
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตรทรง
ติดตามความเคล่ือนไหวของไต้ฝุ่นนี้ผ่านทางอินเทอร์เน็ต และได้พระราชทาน
ความเห็นว่าไม่ควรตระหนกแต่อย่างใดเนื่องจากไต้ฝุ่นได้อ่อนกาลังลงเม่ือเคลื่อน
เข้าสู่ประเทศเวียดนาม และได้แปรสภาพเป็นความกดอากาศขนาดย่อมแล้ว นับ
แตน่ ั้นทางกรมอุตอนยิ มวทิ ยากไ็ ด้พฒั นาตามเบอื้ งพระยุคลบาทตอ่ ไป

พระอจั ฉรยิ ภาพดา้ นจติ รกรรม

ตวั อยา่ งภาพจติ รกรรมฝพี ระหัตถพ์ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ 9
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถ
บพิตร ทรงพระปรีชามาสารถทางด้านจิตรกรรมมาก แม้จะไม่ได้ทรงเริ่มฝึกหัด
ตั้งแตย่ ังเยาวว์ ัย ทรงเริม่ จากการวาดภาพแบบเสมือนจริง (realistic) มาเรื่อยๆ จน
ทรงพัฒนารูปแบบภาพวาดฝีพระหัตถ์ในรูปแบบของพระองค์เองมาเป็นแนว

นามธรรม (abstract) และรูปแบบ expressionism ได้พระราชทานภาพจติ รกรรม
ฝพี ระหตั ถร์ ว่ มแสดงในงานศลิ ปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 14 เป็นการแสดงนิทรรศการ
ภาพฝีพระหัตถ์คร้ังแรกของพระองค์ และต่อมาได้ทรงพระกรณุ าพระราชทานพระ
บรมราชานุญาตให้เชิญภาพจิตรกรรมฝีพระหัตถ์จานวน 47 องค์ ไปจัดแสดง ณ
พพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ
พระอัจฉรยิ ภาพดา้ นประตมิ ากรรม

ผลงานประตมิ ากรรมฝพี ระหตั ถ์

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถ
บพิตร ทรงมีความสนพระราชหฤทัยย่ิงในด้านประติมากรรม พระองค์ทรงศึกษา
ค้นคว้าเทคนิควิธีการต่างๆ ด้วยพระองค์เอง ท้ังการป้ันการหล่อ และการทา
แมพ่ มิ พ์ โดยผลงานประตมิ ากรรมฝพี ระหตั ถช์ ิ้นสาคญั ก็คือ ประตมิ ากรรมลอยตัว
สมเดจ็ พระนางเจ้าฯ พระบรมมราชินนี าถ ครึง่ พระองค์ สูง 12 นิว้ ทง้ั ยังโปรดเกลา้
ฯ ใหส้ รา้ งพระพุทธรูปและพระพิมพ์ในโอกาสต่างๆ และทรงแกะแบบแม่พิมพ์ของ
พระพิมพ์ท่ีเรียกกันว่า สมเด็จจิตรลดา หรือพระกาลังแผ่นดิน ทรงบรรจุผง
ศกั ดิส์ ทิ ธ์ิต่างๆ ดว้ ยพระองค์เอง และโปรดเกล้าฯ พระราชทานผู้ใกล้ชิดเบื้องพระ
ยุคลบาท

สมเดจ็ พระภทั รมหาราช พระจอมปราชญ์ คมุ้ ไผท ไทยทวั่ หลา้

ธ สรา้ งสรรค์ งานดา้ นศลิ ป์ เพอ่ื ประชา เหลา่ ไพรฟ่ า้ ลว้ นสขุ สนั ต์ ไทยยนื ยง

ธ ปกราษฎร์ ปอ้ งภยั ไทยทง้ั ผอง ธ ทรงครอง คณุ ธรรม อนั สงู สง่

ธ สถติ ในจติ ใจ ไทยมน่ั คง ขอพระองค์ คมุ้ เกลา้ ไทย ไวน้ ริ นั ดร์

นายประสาร ธาราพรรค์ ร้อยกรอง

พระอัจฉรยิ ภาพดา้ นการดนตรี

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร
ทรงเริ่มเรียนดนตรีเมื่อมีพระชนมายุ 13 พรรษา ขณะประทับท่ีประเทศ
สวิตเซอร์แลนด์ โดยทรงเรียนกับนายเวย์เบรชท์ (Weybrecht) ชาวอัลซาส
(Alsace) เร่ืองการเป่าแซกโซโฟน วิชาการดนตรี การเขียนโน้ต และการบรรเลง
ดนตรีสากลต่างๆ ในแนวดนตรีคลาสสิกเป็นเบื้องต้น ต่อมาจึงเริ่มฝึกดนตรีแจ๊ส

โดยทรงหัดเปา่ แซกโซโฟนจนชานาญ ทรงเคร่ืองดนตรีได้ดีหลายชนิด ท้ังประเภท
เครื่องลม เช่น แซกโซโฟน, คลาริเนต และประเภทเคร่ืองทองเหลืองเช่นทรัมเป็ต
รวมท้ังเปียโนและกีตาร์ที่ทรงฝึกเพิ่มเติมในภายหลังเพ่ือประกอบการพระราช
นิพนธเ์ พลงและเพ่อื ทรงดนตรีร่วมกบั วงดนตรีสว่ นพระองค์

แนวดนตรีท่ีพระองค์โปรดคือแจ๊สด๊ิกซีแลนด์ (Dixieland Jazz) ซ่ึงมีที่มา
จากชื่อวงดนตรีแจ๊สนักดนตรีผิวขาว The Original Dixieland Jazz Band เป็น
สไตล์ของวงดนตรีจากเมืองนิวออร์ลีนส์ เป็นแจ๊สท่ีมีจังหวะและความสนุกเร้าใจ
ตื่นเต้น ครกึ ครื้น สนกุ สนานเรา้ ใจ The Preservation Hall Jazz Band วงดนตรี
แจส๊ จากนิวออร์ลีนส์คือวงโปรดของพระองค์ ซ่ึงเล่นดนตรีกันสดๆ ไม่มีโน้ต ทาให้
นักดนตรีต้องใชค้ วามสามารถมาก

เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรม
นาถบพิตรเสดจ็ นิวัตประเทศไทย ได้ทรงรวบรวมพระประยรู ญาตทิ เี่ ปน็ นกั ดนตรมี า
จัดต้ังวงดนตรีลายคราม เป็นวงดนตรีส่วนพระองค์ ร่วมเล่นดนตรี ณ พระที่น่ัง
อัมพรสถาน ทุกเย็นวันศุกร์ กระท่ังในปี พ.ศ. 2495 กรมประชาสัมพันธ์ได้น้อม
เกล้าฯ ถวายเคร่ืองสง่ วทิ ยกุ าลังสง่ 100 วตั ต์ พระองคจ์ งึ ทรงจัดตง้ั สถานีวทิ ยุ อ.ส.
ขึ้น เพือ่ เปน็ สอื่ กลางใหค้ วามบันเทงิ และสาระประโยชน์ ตลอดจนขา่ วสารตา่ งๆ แก่
ประชาชน โดยวงดนตรีลายครามได้มีโอกาสบรรเลงเพลงผ่านทางสถานีวิทยุ อ.ส.
วนั ศกุ ร์ หรืออมั พรสถานวันศุกร์

ขณะมพี ระชนมายไุ ด้ 18 พรรษา ทรงเร่มิ พระราชนิพนธเ์ พลง และในปี พ.ศ.
2489 ทรงพระราชนพิ นธ์ทานองเพลง “แสงเทยี น” เป็นเพลงพระราชนิพนธ์เพลง
แรก จนถึงปัจจบุ นั มเี พลงพระราชนพิ นธ์ทง้ั สิ้น 48 เพลง แตล่ ะเพลงมที ่วงทานองที่
ไพเราะประทับใจผู้ฟงั สอดคล้องกับเนอ้ื หาเพลงซ่งึ มคี วามหมายดีงาม ทงั้ ในแงข่ อง
ภาษาและการสื่อถึงเรือ่ งราวตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งลึกซงึ้ พระองคท์ รงประพันธ์ทานองเอง
ท้ังหมด แต่ละเพลงล้วนมีความไพเราะอย่างน่าทึ่ง ท้ังยังมีเอกลักษณ์ในการ

ประพันธ์ทานองของพระองค์เอง เวลาท่ีศิลปินแต่งเพลง เรามักจะรู้สึกได้ว่าเขามี
แรงบันดาลใจจากใคร อาจเปน็ ศิลปนิ ไทยดว้ ยกนั หรือศิลปนิ ตา่ งประเทศ

นอกจากพระอจั ฉริยภาพในการประพนั ธท์ านองและเรียบเรียงเพลงแล้ว ใน
บทเพลงพระราชนิพนธ์ก็มีเพลงที่ทรงประพันธ์คาร้องภาษาอังกฤษในเพลง “Still
on My Mind”, “Old-Fashioned Melody”, “No Moon”, “Dream Island”,
“ECHO” ซ่ึงล้วนแล้วแต่มีภาษางดงามดั่งกวี นอกจากนั้นบทเพลงพระราชนิพนธ์
ยงั ได้รบั การอัญเชญิ จากศลิ ปินชอื่ ดังและวงออรเ์ คสตราระดบั โลกไปบรรเลงในงาน
คอนเสิรต์ ซึง่ จัดข้นึ ในวาระสาคัญต่างๆ ท้งั พระองคท์ า่ นไดท้ รงดนตรีกับนักดนตรีที่
มีชื่อเสียงระดับโลกมากมาย อาทิ Benny Goodman, Louis Armstrong, Jack
Teagarden, Stan Getz นักดนตรีระดับโลกเหล่าน้ีต่างให้การยกย่อง
ด้วยพระอัจฉริยภาพอันสูงส่งด้านดนตรีของพระองค์นั้น สถาบันการดนตรีและ
ศิลปะแห่งกรุงเวียนนา (Academy for Music and Performing Arts) จึงได้
ทูลเกล้าฯ ถวายประกาศนียบัตรเกียรติคุณช้ันสูงแด่พระบาทสมเด็จพระบรมชน
กาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ให้ทรงดารงตาแหน่งสมาชิก
กิตติมศักด์ิ ลาดับท่ี 23 พร้อมท้ังจารึกพระปรมาภิไธยลงบนแผ่นศิลาของสถาบัน
ทรงเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ท่ีมีอายุน้อยท่ีสุดและเป็นชาวเอเชียเพียงผู้เดียวท่ีได้รับ
เกียรติอันสูงสดุ น้ี

ทงั้ หมดนเี้ ปน็ เพยี งมุมหนงึ่ ในพระอจั ฉรยิ ภาพดา้ นดนตรใี นพระบาทสมเดจ็
พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ดนตรเี ปน็ สว่ นหนง่ึ
ของพระองคท์ า่ น และเชอื่ วา่ ทกุ คนยอ่ มมดี นตรีในหัวใจไมม่ ากกน็ อ้ ย ดงั พระราช
ดารสั แกน่ กั ขา่ วอเมรกิ นั ในรายการเสยี งแหง่ วทิ ยอุ เมรกิ า เมอ่ื วนั ท่ี 21 มถิ นุ ายน
พ.ศ. 2503 ความตอนหนง่ึ วา่

“ดนตรเี ปน็ สว่ นหน่ึงของขา้ พเจา้ จะเปน็ แจส๊ หรือไมใ่ ชแ่ จ๊สกต็ าม ดนตรี
ล้วนอยใู่ นตวั ทกุ คน เป็นสว่ นทย่ี งิ่ ใหญใ่ นชวี ติ คนเรา สาหรับขา้ พเจา้ ดนตรคี อื ส่ิง
ประณตี งดงามและทกุ คนควรนิยมในคุณคา่ ของดนตรที กุ ประเภท เพราะวา่ ดนตรี
แตล่ ะประเภทตา่ งกม็ คี วามเหมาะสมตามแต่โอกาสและอารมณท์ ต่ี า่ งกนั ออกไป”
องค์บรมราชปู ถมั ภกดา้ นดนตรี

นอกจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะทรงเป็นศิลปินผู้เพียบพร้อมด้วย
พระปรีชาสามารถในการสร้างสรรค์ศิลปะด้านดนตรีแล้ว ยังทรงเป็นองค์บรม
ราชูปถัมภกทางดนตรีอีกด้วย ทรงส่งเสริมทั้งดนตรีไทยและสากล และมีพระมหา
กรุณาธคิ ุณแก่ศลิ ปินดนตรีอย่างทวั่ หน้า

ทางดา้ นดนตรีไทย

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯทรงเหน็ ว่าวิชาดนตรีไทยเป็นศิลปะท่ีสาคัญ
ของชาติ สมควรทจี่ ะได้รวบรวมเพลงไทยเดมิ ต่าง ๆ ไวม้ ใิ ห้เสื่อมสญู และผันแปรไป
จากหลักเดิม โดยมีการบันทึกโน้ตเพลงให้ถูกต้องและจัดพิมพ์ข้ึนไว้เป็นหลักฐาน
เพราะในการบันทึกแนวเพลงเป็นโน้ตสากลแต่เดิมนั้น ยังมิได้มีการบันทึกไว้อย่าง
ครบถ้วนและจัดพิมพ์ให้เป็นการสมบูรณ์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กรม
ศิลปากรรับเรื่องน้ีไปดาเนินการ ทรงสละพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ในการ
จัดพมิ พโ์ น้ตเพลงไทยชุดน้ี เป็นการรักษาศลิ ปะดนตรอี นั สาคญั ของไทยไวม้ ใิ หเ้ สอื่ ม
สูญ และยังเป็นการเผยแพร่วิชาดนตรีของไทยออกไปในหมู่ประชาชนผู้สนใจ ให้
เป็นที่รู้จักแพร่หลายย่ิงข้ึนอีกด้วย นอกจากนั้นยังทรงริเร่ิมให้มีการวิจัยเก่ียวกับ
ดนตรีไทยในดา้ นบันไดเสยี งของเคร่อื งดนตรีไทยประเภทตา่ ง ๆ เชน่ ความแตกตา่ ง
ระหว่างบันไดเสียงของเคร่ืองสาย และบันไดเสียงของระนาด ฯลฯ เป็นต้น ซ่ึง
ผเู้ ชี่ยวชาญทางดนตรกี าลังดาเนนิ การอยูใ่ นขณะน้ี

นอกจากน้ียังทรงริเริ่มให้มีการบรรเลงเพลงไทยท่ีเรียบเรียงข้ึ นจากเพลง
สากล โดยโปรดเกล้าฯ ให้ นายเทวาประสิทธ์ิ พาทยโกศล นาทานอง "มหา
จุฬาลงกรณ์" มาแต่งให้เป็นแนวไทย นายเทวาประสิทธิ์ ได้อัญเชิญบทเพลงพระ
ราชนิพนธ์น้ีมาดัดแปลงเพ่ือใช้บรรเลงด้วยวงป่ีพาทย์ถึง 2 ครั้ง ภายหลังจึง
ปรบั ปรงุ เปน็ เพลงโหมโรงในการบรรเลงดนตรีไทยของชมรมดนตรไี ทย สโมสรนสิ ติ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นับว่าเป็นเพลงไทยเพลงแรกท่ีประดิษฐ์ข้ึนมาจากเพลง
ไทยสากล ตามพระราชดาริในการสร้างสรรค์และส่งเสริมดนตรีไทยและเป็นการ
แสดงว่าดนตรีไทยสามารถวิวัฒนาการไปตามกาลเวลาอยา่ งไม่หยดุ ยั้ง

เพลงพระราชนพิ นธใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ 9

1. แสงเทยี น (Candlelight Blues)
2. ยามเยน็ (Love at Sundown)
3. สายฝน (Falling Rain)
4. ใกลร้ งุ่ (Near Dawn)
5. ชะตาชีวติ (H.M. Blues)
6. ดวงใจกบั ความรกั (Never Mind the Hungry Men's Blues)

7. มารช์ ราชวลั ลภ (Royal Guards March) (เพลงที่ 49 ชอื่ เพลงราชวลั ลภ
เปน็ อกี เพลงทที่ รงพระราชนพิ นธ์ แตกตา่ งจากเพลง มารช์ ราชวลั ลภ)

8. อาทติ ยอ์ ับแสง (Blue Day)
9. เทวาพาคฝู่ นั (Dream of Love Dream of You)
10. คาหวาน (Sweet Words)
11. มหาจฬุ าลงกรณ์ (Maha Chulalongkorn)
12. แก้วตาขวญั ใจ (Lovelight in My Heart)
13. พรปใี หม่
14. รกั คนื เรอื น (Love Over Again)
15. ยามคา่ (Twilight)
16. ยมิ้ สู้ (Smiles)
17. มารช์ ธงไชยเฉลมิ พล (The Colours March)
18. เมอ่ื โสมสอ่ ง (I Never Dream)
19. ลมหนาว (Love in Spring)
20. ศกุ รส์ ญั ลกั ษณ์ (Friday Night Rag)
21. Oh I say
22. Can't You Ever See
23. Lay Kram Goes Dixie
24. คา่ แลว้ (Lullaby)
25. สายลม (I Think of You)
26. ไกลกงั วล (When), เกดิ เปน็ ไทยตายเพ่อื ไทย
27. แสงเดอื น (Magic Beams)
28. ฝนั (Somewhere Somehow), เพลนิ ภพู งิ ค์
29. มารช์ ราชนาวกิ โยธนิ (Royal Marines March)
30. ภริ มยร์ กั (A Love Story)

31. Nature Waltz
32. The Hunter
33. Kinari Waltz
34. แผน่ ดนิ ของเรา (Alexandra)
35. พระมหามงคล
36. ยงู ทอง (ธรรมศาสตร)์
37. ในดวงใจนริ นั ดร์ (Still on My Mind)
38. เตอื นใจ (Old-Fashioned Melody)
39. ไรเ้ ดอื น (No Moon), ไรจ้ นั ทร์
40. เกาะในฝนั (Dream Island)
41. แว่ว (Echo)
42. เกษตรศาสตร์
43. ความฝนั อนั สงู สดุ (The Impossible Dream)
44. เราสู้
45. เรา-เหล่าราบ 21 (We-Infantry Regiment 21)
46. Blues for Uthit
47. รกั
48. เมนไู ข่
49. ราชวลั ลภ

พระอัจฉรยิ ภาพดา้ นการกฬี า

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯโปรดทรงกีฬาต่างๆ ทั้ง เรือใบ แบดมินตัน
สกีนา้ สกหี ิมะ ฮอกกน้ี า้ แข็ง ยิงปนื กอล์ฟเลก็ การแขง่ ขันรถเลก็ เทนนสิ และการ
ออกกาลังพระวรกายด้วยการว่ายน้า

เรอื ใบเปน็ กีฬาที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดุลยเดช
บรมนาถบพิตรโปรดเป็นพิเศษ พระองค์ทรงเป็นตัวแทนของประเทศไทยลงแข่ง
เรือใบในกีฬาแหลมทองครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 9-16 ธันวาคม พ.ศ. 2510 ท่ี
ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ โดยทรงเข้าค่ายฝึกซ้อมตามโปรแกรมการฝึกซ้อม และ
ทรงได้รบั เบ้ยี เลี้ยงในฐานะนกั กีฬา เช่นเดยี วกับนักกฬี าคนอื่น ๆ ในที่สุด ด้วยพระ
ปรีชาสามารถ พระองค์ทรงชนะเลศิ เหรยี ญทอง และทรงไดร้ ับการทูลเกล้าฯ ถวาย
รางวัลเหรียญทอง จากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เมื่อวันท่ี 16

ธันวาคม พ.ศ. 2510 ทา่ มกลางความปลม้ื ปีตขิ องพสกนิกรชาวไทยทั้งประเทศ และ
เป็นท่ีประจักษ์แก่ชนทั่วโลก ทาให้พระอัจฉริยภาพทางกีฬาเรือใบของพระองค์ที่
ยอมรับกันท่ัวโลก พระองค์ยังได้ทรงออกแบบและประดิษฐ์เรือใบยามว่างออกมา
หลายรุ่น พระองค์พระราชทานนามเรือใบประเภทม็อธ (Moth) ที่ทรงสร้างข้ึน
ว่า เรือใบมด เรือใบซูเปอร์มด และ เรือใบไมโครมด ถึงแม้ว่าเรือใบลาสุดท้ายที่
พระองค์ทรงต่อคือ เรือโม้ค (Moke) เมื่อ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2510 เรือใบ
ซูเปอร์มดยังถูกใช้แข่งขันในระดับนานาชาติที่จัดในประเทศไทยหลายคร้ัง คร้ัง
สดุ ท้ายคอื เม่อื พ.ศ. 2528 ในกีฬาซเี กมส์คร้งั ที่ 13

พระอัจฉรยิ ภาพทางดา้ นการถา่ ยภาพ

ภาพถา่ ยฝพี ระหัตถ์

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร
ทรงเช่ยี วชาญการถ่ายภาพทั้งกล้องธรรมดาและกล้องถ่ายภาพยนตร์ ทรงเร่ิมจาก
การถ่ายภาพด้วยกลอ้ งรุ่นเกา่ ทไ่ี ม่มที ่วี ดั แสงในตัว จึงต้องทรงคานวณความเรว็ ของ
แสงดว้ ยพระองค์เองจนชานาญและเช่ยี วชาญ ทรงสามารถใช้กล้องรนุ่ เก่าประเภท
นี้และทรงวัดแสงได้อย่างแม่นยา ทรงประดิษฐ์ Bicolocer Filter หรือแผ่นกรอง
แสงสาหรบั กลอ้ งข้ึนเอง และยังทรงเชี่ยวชาญในการล้างฟิล์มอัดขยายภาพขาวดา
และภาพสี

พระอจั ฉรยิ ภาพดา้ นการชา่ ง

เม่ือวันท่ี 2 มีนาคม พ.ศ. 2513 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหา
ภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ เสด็จ
พระราชดาเนินทรงเป็นประธานในพิธีเปิดงานแนะแนวอาชีพและแข่งขันฝีมือของ
สโมสรโรตารี กรุงเทพฯใต้ ณ ลุมพินีสถาน และมีพระราชดารัสเกี่ยวกับความเป็น
ช่างของคนไทยตอนหน่ึงว่า ''ช่างทุกประเภท เป็นกลไกสาคัญอย่างย่ิงในชีวิตของ
บ้านเมืองและของคนทุกคน เพราะตลอดชีวิตของคนเรา เราต้องอาศัยและใช้
บริการส่ิงต่างๆ ท่ีได้มาจากฝีมือของช่างอยู่ทุกวี่ทุกวัน ผู้เป็นช่างจึงสมควรได้รับ
ความเอาใจใส่สนับสนุนจากทุกๆ ฝ่ายยิ่งในสมัยปัจจุบัน วิทยาการทุกอย่าง
เจริญกา้ วหน้าย่ิงจาเป็นตอ้ งส่งเสริมมากเปน็ พเิ ศษเพอ่ื ใหไ้ ดช้ า่ งทม่ี คี วามสามารถสงู
ใหม้ ีส่ิงใช้สอยทม่ี ีคณุ คณุ ภาพดีและเพยี งพอกับความต้องการ''

พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ฯ ทรงมฝี ีพระหตั ถ์เปน็ เยย่ี มในดา้ นการชา่ ง ทงั้
ช่างไม้ ช่างโลหะ และช่างกล ซ่ึงเป็นงานพื้นฐานด้านวิศวกรรมศาสตร์ ทรงสร้าง
มอเตอร์ไฟฟ้าใช้เอง และทรงสร้างเคร่ืองรับวิทยุร่วมกับพระเชษฐาธิราช โดยซ้ือ
อุปกรณ์ราคาถูกมาประกอบเอง ทรงจาลองสิ่งของต่างๆ ได้หลายอย่างต้ังแต่ทรง
พระเยาว์ ทรงประดษิ ฐ์เคร่ืองรอ่ น ทรงจาลองเรอื รบหลวงของไทยช่อื “ศรีอยธุ ยา”
ซ่ึงยาวเพียงสองฟุต แต่มีทั้งสายเคเบ้ิล และปืนเรือครบครัน พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว ยังทรงต่อเรือใบ ตามมาตรฐานสากล อีกหลากหลายประเภท ในการ
สรา้ งเรอื ใบทรงรา่ งแบบ คดิ คานวณ เลอื่ ยไม้ ไสไม้ และทรงประกอบด้วยพระองค์
เองทกุ ขนั้ ตอน ทรงใชว้ ิธีการท่งี ่ายและประหยัดและทรงใช้วสั ดทุ ่หี าไดใ้ นประเทศ

พระราชอารมณ์ขนั

พระราชอารมณ์ขันของในหลวง เรือ่ งท่ี 1 “ยม้ิ ของฉัน”
เม่ือ พ.ศ. 2503 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จประพาสสหรัฐอเมริกา

เป็นคร้ังแรก เป็นที่สนใจต่อสื่อมวลชนของอเมริกาเป็นอย่างมาก จึงได้มี
พระราชทานสัมภาษณ์ นักข่าวหนุ่มคนหน่ึงได้ทูลถามว่า “ทาไมพระองค์จึงทรง
เคร่งขรึมนัก… ไม่ทรงย้ิมเลย?” ทรงหันพระพักตร์ไปทางสมเด็จพระนางเจ้าฯ
พลางรับส่งว่า“น่ันไง… ย้ิมของฉัน”แสดงให้เห็นถึงพระราชปฏิภาณ และพระราช
อารมณ์ขันอันล้าลึกของพระองค์ท่าน ทาให้เป็นท่ีรักของประชาชนอเมริกัน
โดยทั่วไป ในวันที่เสด็จฯ สภาคองเกรส เพื่อทรงมีพระราชดารัสต่อสภา จึงทรง
ได้รบั การถวายการปรบมอื อย่างกกึ กอ้ งและยาวนานหลายครง้ั

พระราชอารมณ์ขันของในหลวง เรอ่ื งที่ 2 “ช่อื เดยี วกนั ”
เรื่องการใช้ราชาศัพท์กับในหลวง ดูจะเป็นเรื่องใหญ่ท่ีใครต่อใครเกร็งกันทั้ง

แผ่นดิน เพราะเรียนมาต้ังแต่เล็กแต่ไม่เคยได้ใช้ เม่ือออกงานใหญ่จึงต่ืนเต้น
ประหม่า ซ่ึงเป็นธรรมดาของคนท่ัวไป และไม่เว้นแม้กระท่ังข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ท่ี
ได้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทถวายรายงาน หรือกราบบังคมทูลทราบฝ่าละออง
ธุลีพระบาทในพระราชานุกิจตา่ งๆ นานัปการ ท่านผ้หู ญงิ บุตรี วรี ะไวทยะ รองราช
เลขาธิการ เคยเล่าให้ฟังว่า ด้วยพระบุญญาธิการและพระบารมีในพระองค์นั้นมี
มากล้น จนบางคนถงึ กับไมอ่ าจระงับอาการกริ ยิ าประหมา่ ยามกราบบังคมทูลฯ จึง
มีผิดพลาดเสมอ แม้จะซักซ้อมมาเป็นอย่างดีก็ตาม คร้ังหนึ่งเมื่อหลายปีก่อน มี
ข้าราชการระดบั สูงผู้หน่ึงกราบบงั คมทลู รายงานว่า
“ขอเดชะ ฝา่ ละอองธุลพี ระบาท ปกเกล้าปกกระหมอ่ ม ขา้ พระพทุ ธเจา้ “พลตรภี ูมิ
พลอดลุ ยเดช” ขอพระราชทานพระบรมราชานญุ าตกราบบงั คมทลู รายงาน …. ”
เมือ่ คากราบบังคมทลู ในหลวงทรงแยม้ พระสรวลอย่างมีพระอารมณ์ดแี ละไมถ่ อื สา
ว่า “เออ ดี เราช่ือเดียวกัน...” ข่าวว่าวันน้ันผู้เข้าเฝ้าต้องซ่อนหัวเราะขาขันกันทั้ง
ศาลาดสุ ดิ าลัย เพราะผู้กราบบังคมทูลรายงานต่ืนเตน้ จนกระทงั่ จาชอื่ ตนเองไมไ่ ด้

พระราชอารมณ์ขันของในหลวง เร่ืองท่ี 3 หลานรัง [บทความ “พระมหากษัตริย์
นักปกครอง” โดย เฉลียว วชั รพกุ ก์ อดีตอธบิ ดีกรมทางหลวง]

คร้ังหนึ่งในภาคใต้ ข้าพเจ้าติดตามคุณหญิงเลอศักด์ิ สมบัติศิริ (ต่อมาเป็น
ท่านผู้หญิง) ซ่งึ ขณะนนั้ ดารงตาแหนง่ รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงคมนาคม ได้เข้าเฝ้า
ฯ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ที่
ค่ายทหารบ้านทอน จ.นราธิวาส พระองค์มีพระราชดารัสกับคุณหญิงหลายเร่ือง
ไดร้ บั สงั่ ถงึ สภาพทางหลวงหลายสายในภาคใต้ ซ่งึ คุณหญงิ ไดใ้ หข้ า้ พเจา้ เปน็ ผกู้ ราบ
บังคมทูลถวายรายงาน เม่ือทรงถามถึงสภาพทางสาย อ.รามัน – ดโละหะลอ –
อ.รือเสาะ ข้าพเจา้ กราบบังคมทูลว่า ยังมีสภาพทางเป็นทางก่อสร้าง และได้จัดให้
เข้าอยู่ในโครงการเงินกู้ธนาคารโลก ขณะน้ีได้ลงลูกรังไว้แล้ว รถยนต์ว่ิงผ่านได้

ตลอดปี พระองค์รบั ส่ังว่า.. “เห็นมีแตห่ ลานรงั ”ครง้ั แรกขา้ พเจ้ายังงงอยู่ นกึ ไมอ่ อก
วา่ คาวา่ หลานรงั คืออะไร แต่ก็คิดได้ทันทีน้ันว่า แม่รังหมายถึงลูกรังก้อนใหญ่ และ
ลกู รงั นั้นมขี นาดเล็กขนาดต่างๆ คละกัน ดังน้ัน คาว่าหลานรังคงหมายถึงลูกรังที่มี
ขนาดละเอียดมากน่ันเอง…ทางที่พระองค์ เสด็จพระราชดาเนินมา คงจะล่ืนมาก
หรอื ตดิ หล่มในเวลาฝนตก

พระราชอารมณข์ ันของในหลวง เร่ืองท่ี 4 “เพอื่ นเยอะ”
การเสด็จประพาสอเมริกาคร้ังนั้น ควรจะได้เล่าถึง “บ๊อบ โฮ้พ” ไว้ด้วย

เพราะทรงคุ้นเคยกับดาราผู้นี้ต้ังแต่ครั้งบ๊อบ โฮ้พ มาแวะกรุงเทพฯ เพ่ือจะไปเปิด
การแสดงกล่อมขวัญทหารอเมริกันในเวียดนาม ระหว่างแวะพักท่ีกรุงเทพฯ บ๊อบ
โฮ้พ ได้มีโอกาสเข้าเฝ้าฯ ที่วังสวนจิตรฯ โดยโปรดเกล้าฯ พระราชทานเลี้ยงดิน
เนอรด์ ้วย บ๊อบ โฮพ้ กราบบงั คมทลู วา่ “ข้าพระพทุ ธเจ้า ขอพาเพือ่ นไปดว้ ย”
“ไดเ้ ลย… ไม่ขัดขอ้ ง” รบั ส่ังตอบ “พาเพอ่ื นของคุณมาได้เลย”
“ต้องขอขอบพระทัยแทนเพอื่ นหกสิบสามคนของขา้ พระพทุ ธเจา้ ดว้ ย”
คืนนั้น บ๊อบ โฮ้พ ได้นาวงดนตรีของเขา เข้าไปเล่นถวายอยู่จนดึก จึงกราบกราบ
บังคมทูลเชิญเสด็จฯ ท่ีบ้านของเขา รับสั่งว่า “ยินดี… ฉันพาเพ่ือนหกสิบสามคน
ของฉนั ไปดว้ ยนะ”

พระราชอารมณข์ นั ของในหลวง เร่อื งที่ 5 “ไมข่ ้ึนเงนิ เดือน”
ด้วยความท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโปรดการถ่ายภาพ และทรง

ถ่ายภาพต่างๆอยู่เป็นประจา ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ไปปรากฏอยู่ในนิตยสาร
“สแตนดาร์ด” ของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร ทรงมีพระราชดารัส
ด้วยพระอารมณข์ ันแกผ่ ้ใู กล้ชดิ ผู้หนงึ่ ถึงการเป็นชา่ งภาพอาชพี ของพระองคว์ า่ …

“ฉันเป็นกษัตริย์ก็จริง แต่ฉันยังมีอาชีพเป็นช่างภาพของหนังสือพิมพ์สแตนดาร์ด
ได้เงินเดือนละ 100 บาท ต้ังหลายปีมาแล้วจนบัดนี้ก็ยังไม่เห็นเขาขึ้นเงินเดือนให้
สกั ที เขากค็ งถวายเดอื นละ 100 บาทอยูเ่ รื่อยมา”

พระราชอารมณ์ขันของในหลวง เรือ่ งที่ 6 “คล่องราชาศพั ท์”
อีกคร้ังหนึ่งที่ภาคอีสาน เมื่อเสด็จข้ึนไปทรงเย่ียมบนบ้านของราษฎรผู้หนึ่ง

คณะผตู้ ามเสด็จทัง้ หลายต่างก็แปลกใจในการกราบบังคมทูลที่คล่องแคล่ว และใช้
ราชาศพั ทไ์ ดด้ ีอย่างน่าฉงนของราษฎรผนู้ น้ั เมอื่ ในหลวงมพี ระราชปฏสิ นั ถารถงึ การ
ใช้ราชาศัพท์ได้ดีนี้ จึงมีคากราบทูลว่า “ข้าพระพุทธเจ้าเป็นโต้โผลิเกเก่า บัดนี้มี
อายมุ ากจึงเลิกรามาทานาทาสวน พระพุทธเจ้าข้า..”มาถึงตอนสาคัญท่ีทรงพบนก
ในกรงที่เล้ียงไว้ที่ชานเรือน ก็ทรงตรัสถามว่า เป็นนกอะไรและมีกี่ตัว.. พ่อลิเกเก่า
กราบบงั คมทูลว่า “มีทง้ั หมดสามตวั พระมเหสีมนั บินหนไี ป ท้งิ พระโอรสไว้สองตัว
ตวั หนึ่งทยี่ งั เลก็ ตรัสอ้อแออ้ ยเู่ ลย และท้ิงให้พระบิดาเลี้ยงดูแต่ผู้เดียว” เรือ่ งนี้ ดร.
สุเมธเลา่ ว่าเปน็ ท่ีตอ้ งสะกดกลั้นหวั เราะกนั ทั้งคณะ ไมย่ กเว้นแมแ้ ต่ในหลวง…

พระราชอารมณข์ ันของในหลวง เรือ่ งที่ 7 “เราจบั ไดแ้ ลว้ ”
….คร้ังหน่ึงในงานนิทรรศการ “ก้าวไกลไทยทา” วันท่ี 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

2538 “The BOI Fair 1995 commemorates the 50th Anniversary of His
Majesty King Bhumibol Adulyadej’s reign” (Board of Investment Fair
1995 BOI) หลังจากที่เสด็จพระราชดาเนิน พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินีนาถ ตามศาลาการแสดงต่างๆ ก็มาถึงศาลาโซน่ี (อิเล็กทรอนิกส์)
ภายในศาลาแต่งเป็น “พิภพใต้ทะเล” โดยใช้เทคนิคใหม่ล่าสุด “Magic Vision”
นา้ ลึก 20,000 league จะมชี ว่ งใหแ้ ลเหน็ สัตว์ทะเลว่ายผ่านไปมา ปลาตัวเล็กๆ สี
สวยจะว่ายเข้ามาอยู่ตรงหน้า ข้อสาคัญเขาเขียนป้ายไว้ว่า ถ้าใครจับปลาได้เขาจะ
ให้เครื่องรับโทรทัศน์ พวกเราไขว่คว้าเท่าไหร่ก็จับไ ม่ได้ เพราะเป็นเพียงแสง
เทา่ นั้น แต่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวมพี ระราชดารัสวา่ “เราจบั ไดแ้ ลว้ ” พรอ้ ม
ทั้งทรงยกกล้องถ่ายรูปชูให้ผู้บรรยายดู แล้วรับส่ังต่อ “อยู่ในน้ี” ต่อจากน้ันคงไม่
ต้องเลา่ เพราะเมอื่ อดั รูปออกมากจ็ ะเป็นภาพปลาและจบั ตอ้ งได้ บริษทั โซน่จี ึงต้อง
นอ้ มเกล้าฯ ถวายเครอ่ื งรับโทรทัศนต์ ามท่ีประกาศไว้…

พระราชอารมณข์ ันของในหลวง เร่ืองที่ 8 “เรียกนา้ ซิ ถึงจะถูก”
วันหน่งึ พระองค์ท่านเสด็จเยย่ี มเยยี นพสกนกิ รของทา่ นตามปกตทิ ตี่ า่ งจงั หวดั

ก็มีชาวบ้านมาต้อนรับในหลวงมากมายพระองค์ท่านเสด็จพระราชดาเนินมาตาม
ลาดพระบาทที่แถวหน้าก็มีหญิงชราแก่คนหน่ึงได้ก้มลงกราบแทบพระบาทแล้วก็
เอามอื ของแกมา จับ พระหัตถ์ของในหลวง แล้วก็พูดว่ายายดีใจเหลือเกินท่ีได้เจอ
ในหลวง แล้วกพ็ ูดวา่ ยายอยา่ งโน้น ยายอยา่ งน้ีอกี ต้งั มากมายแต่ในหลวงก็ทรงเฉย
ๆ มิได้ตรัสรับสั่งตอบว่ากระไร แต่พวกข้าราชบริภารก็มองหน้ากันใหญ่ กลัวว่า
พระองคจ์ ะทรงพอพระราชหฤหัยหรอื ไม่ แต่พอพวกเราไดย้ นิ พระองคร์ บั สงั่ ตอบวา่
กับหญงิ ชราคนนน้ั ก็ทาให้เราถึงกับกล้ันหัวเราะไว้ไม่ไหวเพราะ พระองค์ทรงตรัส
ว่า “เรียกวา่ ยายไดอ้ ย่างไร อายอุ ่อนกว่าแม่ฉันต้ังเยอะ ตอ้ งเรียกน้าซิ ถึงจะถูก”

พระราชอารมณข์ นั ของในหลวง เรื่องที่ 9 ซมุ้ สาหรบั ในหลวง
ระยะแรกราวปี พ.ศ.2498 เป็นต้นมา คราใดที่เสด็จพระราชดาเนินแปร

พระราชฐานไปประทบั ณ พระราชวังไกลกงั วลนน้ั จะทรงขบั รถยนตพ์ ระทนี่ งั่ ไปยงั
ท้องที่ห่างไกลทุรกันดารย่านหัวหิน หนองพลับ แก่งกระจาน ด้วยพระองค์เอง
ทานองเสดจ็ ประพาสต้นของรัชกาลท่ีห้า โดยที่ราษฎรไม่รู้ตัวล่วงหน้าว่าทรงมาถึง
แล้ววันหนึ่งทรงขับรถยนต์พระที่นั่งผ่านไปถึงยังบริเวณหมู่บ้านแห่งหนึ่ งย่าน
หมบู่ า้ นห้วยมงคล อาเภอหัวหนิ ซงึ่ ราษฎรกาลังชว่ ยกันตบแต่งประดับซุ้มรับเสด็จ
กันอย่างสนุกสนานครื้นเครง และไม่คาดคิดว่าเป็นรถยนต์พระที่นั่งส่วนพระองค์
จึงไม่ยอมให้รถผ่าน …ต้องให้ในหลวงเสด็จฯก่อนแล้วพรุ่งนี้ถึงจะลอดผ่านซุ้มได้…
วันนหี้ า้ มลอดผ่านซมุ้ นี้ เพราะขอให้ในหลวงผ่านก่อน พระองค์จึงทรงขับรถพระที่
นั่งเบ่ียงออกข้างทางไม่ลอดซุ้มดังกล่าว…. วันรุ่งขึ้นเมื่อทรงขับรถยนต์พระท่ีน่ัง
เสด็จพระราชดาเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรในหมู่บ้านน้ีอย่างเป็น ทางการพร้อมคณะ
ข้าราชบริพารผู้ติดตาม และทรงมีพระดารัสทักทายกับชายผู้น้ันที่เฝ้าอยู่หน้าซุ้ม
เมอื่ วันวานว่า “วันน้ฉี นั เปน็ ในหลวง..คงผา่ นซ้มุ น้ีไดแ้ ลว้ นะ..”

ทรงไดร้ ับการเทดิ พระเกยี รติถวายพระราชสมัญญา “มหาราช”

จากคาถวายอาศริ วาทราชสดุดี และถวายชยั มงคลของ ฯพณฯ พลเอกเปรม
ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรีขณะน้ัน เม่ืองานสโมสรสันนิบาต เน่ืองในวโรกาสวัน
ฉตั รมงคล วนั ที่ 5 พฤษภาคม พุทธศักราช 2530 ณ ทาเนยี บรฐั บาล ดังปรากฏใน
เอกสารดงั นี้

“....ในอภิลักขิตมหามงคลสมัยแห่ง “วันฉัตรมงคล” ในรอบปีที่ 37 ในวันน้ี
บรรดาอาณาประชาราษฎร์ท้ังปวงและรัฐบาล สานึกในพระมหากรุณาธิคุณล้น
เกล้าล้นกระหม่อมหาที่สุดมิได้ จึงขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต ประกาศ
ความสมานฉันท์พร้อมเพรียงกันเฉลิมพระเกียรติ และถวายพระราชสมัญญาเป็น
“มหาราช” ด้วยความจงรักภักดีมีในปวงข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมเกล้าฯ ต้ัง
สัตยาธิษฐานเดชะคุณพระศรีรัตนตรัย เป็นประธาน พร้อมด้วยส่ิงศักดิ์สิทธิ์โปรด
อภิบาลพระบรมราชจกั รีวงศใ์ ห้สถติ ธารง อยคู่ ดู่ นิ ฟา้ และโปรดประทานชยั มงคลแด่
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร
มหาราช ขอจงทรงพระเจรญิ สริ สิ วัสดใ์ิ นไอศรู ย์ ราชสมบตั แิ หง่ สยามรัฐสีมาขอพระ

มหาราชเจ้า เผยแผ่พระบรมกฤษฎาเดชานุภาพ คุ้มเกล้าคุ้มกระหม่อมเหล่าพสก
นกิ ร ตลอดในจิรัฐิตกิ าล เทอญ”

“...เมื่อประชาชนชาวไทยในปัจจุบันได้พิจารณาข้อความจารึกที่ฐานพระ
บรมราชานุสรณ์ ณ ลานพระราชวังดุสิต ถึงปัจจัยที่ประชาชนในกาล 80 ปีก่อน
โน้น น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายพระราชสมัญญา “มหาราช” แด่
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแล้ว ก็ประจักษ์ชัดว่าพระบรมราช
คุณูปการแหง่ พระมหาราชเจ้าพระองค์น้ัน มิไดผ้ ิดเพี้ยนไปจากพระมหากรณุ าธคิ ณุ
แหง่ ใตฝ้ า่ ละอองธลุ พี ระบาทแมแ้ ตน่ อ้ ย ดงั นน้ั อาณาประชาราษฎรแ์ หง่ ใตฝ้ า่ ละออง
ธุลีพระบาท ก็ย่ิงทวีความปิติปราโมทย์ มีสามัคคีสมานฉันท์เทิดทูนไว้เหนือเศียร
เกลา้ และภาคภูมใิ จนกั ทีไ่ ดม้ พี ระบรมธรรมิกราช ผทู้ รงยิง่ ดว้ ยพระขตั ติยวัตรธรรม
จงึ ขอ พระราชทานอ้ มเกล้าน้อมกระหม่อมถวายพระราชสมัญญา “มหาราช” แด่
ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท ในขณะยังทรงดารงพระชนมชีพอยู่ในไอศูรย์ราชสมบัติ
ทานองเดียวกับประชาราษฎร์ สมัยเม่ือ 80 ปี ที่ล่วงมาได้พร้อมใจกันน้อมเกล้า
น้อมกระหม่อมถวาย พระราชสมัญญาแก่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอย่หู วั

๕ ธันวา วนั คลา้ ยวนั พระบรมราชสมภพ

ไทยนอ้ มนบ องคภ์ มู พิ ล ทว่ั สยาม
ปวงชาวไทย นอ้ มราลกึ ทกุ เขตคาม
มีพระนาม ในดวงใจ ไทยนริ นั ดร์
ทรงยอมสญู เสยี สนิ้ แมส้ งิ่ สขุ
ทรงดับทกุ ข์ เภทภยั ไทยสขุ สันต์
ทรงสรา้ งงาน สรา้ งโครงการ ไทยทว่ั กนั
ทรงสรา้ งสรรค์ ทวั่ ไทย ให้เปรมปรดี ิ์

ทรงสรา้ งเสรมิ เศรษฐกจิ ไทย ให้เรอื งรงุ่
ทรงผดงุ เอกลกั ษณไ์ ทย สมศกั ดศ์ิ รี
พสกนกิ ร ภาคภมู ิใจ องค์จกั รี
ภูบดี สรา้ งชาตไิ ทย ใหม้ น่ั คง

๕ ธนั วา วนั ชาติ วนั สาคญั

ร่วมสรา้ งสรรค์ เอกลกั ษณไ์ ทย สมประสงค์
สามคั คี รอู้ ภยั เจตจานง
สตั ยซ์ ่ือตรง ชาตมิ น่ั คง ทว่ั ธรณนิ

๕ ธนั วา วนั พอ่ แหง่ ชาติ วนั ยงิ่ ใหญ่

รวมหวั ใจ ทงั้ รฐั ราษฎร์ ทกุ ทอ้ งถน่ิ
รกั ศรทั ธา สดดุ ี องคภ์ ูมนิ ทร์
พอ่ แผน่ ดนิ ผกู สมั พนั ธ์ ไทยทกุ คน

๕ ธนั วา วนั ดนิ โลก โลกรบั รู้

รว่ มเชดิ ชู องคบ์ ดนิ ทร์ ทกุ แหง่ หน
สหประชาชาติ รว่ มเทดิ ไท้ สสู่ ากล
คณุ เหลอื ลน้ เกษตรกรไทย ลดรา้ วราน
๕ ธนั วา ปวงประชา ลว้ นสานกึ
นอ้ มราลกึ พระเกยี รตคิ ณุ แผไ่ พศาล
พระทรงธรรม์ ตรงึ หวั ใจ นริ นั ดรก์ าล
องค์นรบาล วางรากฐาน ไทยยนื ยง

...............................................

นอ้ มราลกึ ในพระมหากรุณาธคิ ุณอนั หาทสี่ ดุ มไิ ด้
ขา้ พระพทุ ธเจา้ นายประสาร ธาราพรรค์ ผปู้ ระพนั ธ์

เหตกุ ารณส์ าคญั ในรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร
มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร

พ.ศ. 2470
5 ธนั วาคม - เสดจ็ พระราชสมภพ ณ สหรฐั อเมรกิ า มพี ระนามเดมิ วา่

พระวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ ภูมิพลอดลุ ยเดช
พ.ศ. 2471

เสด็จนวิ ตั พิ ระนครครง้ั แรก พรอ้ มสมเด็จพระบรมราชชนก สมเดจ็ พระบรม
ราชชนนี สมเดจ็ พระโสทรเชษฐภคนิ ี และสมเดจ็ พระบรมเชษฐาธริ าช
พ.ศ. 2472

สมเดจ็ พระมหติ ลาธเิ บศร อดลุ ยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก ส้ินพระชนม์
พ.ศ. 2475

ทรงเขา้ ศกึ ษาทโี่ รงเรยี นมาแตรเ์ ดอี กรงุ เทพมหานคร
พ.ศ. 2476

เสดจ็ ไปประทบั ณ เมอื งโลซานน์ ประเทศสวติ เซอรแ์ ลนด์

พ.ศ. 2477
พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั สละราชสมบตั ริ ฐั บาลอญั เชญิ

พระวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจา้ อานนั ทมหดิ ล เสดจ็ ขน้ึ ครองราชย์ เป็น
พระมหากษตั รยิ ร์ ชั กาลที่ 8 แหง่ ราชวงศ์จกั รี ขณะมีพระชนมายุ 9 พรรษา เฉลมิ
พระนามาภไิ ธยวา่ สมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล
พ.ศ. 2478

ทรงไดร้ บั การสถาปนาพระอสิ รยิ ยศเป็น สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอ เจา้ ฟา้
ภมู พิ ลอดลุ ยเดช
พ.ศ. 2481

เสดจ็ นวิ ตั พระนครครง้ั ท่ี 2 ชว่ งปลายปี
พ.ศ. 2482

เกดิ สงครามโลกคร้งั ที่ 2 เสดจ็ กลบั ไปประทับทส่ี วติ เซอรแ์ ลนดอ์ กี ครงั้
พ.ศ. 2488

ทรงรบั ประกาศนยี บตั รจากโรงเรยี นยมิ นาส คลาสสกิ กงั โตนาล 5
ธนั วาคม - เสดจ็ นวิ ตั พระนครเปน็ ครงั้ ท่ี 3

พ.ศ. 2489
9 มถิ นุ ายน - สมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล เสดจ็ สวรรคต

รฐั บาลอญั เชญิ สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอ เจ้าฟา้ ภมู ิพลอดลุ ยเดช เสดจ็ ขนึ้
ครองราชย์ เปน็ พระมหากษตั รยิ ร์ ชั กาลที่ 9 แหง่ ราชวงศจ์ กั รี เฉลิมพระนามาภไิ ธย
ว่า สมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช

11 สงิ หาคม - ประกาศพระราชโองการเฉลิมพระปรมาภไิ ธย สมเด็จพระ
เจา้ อยหู่ วั อานนั ทมหดิ ล ขนึ้ เปน็ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล
อดลุ ยเดชวมิ ลรามาธบิ ดี จกั รนี ฤบดนิ ทร์ สยามนิ ทราธริ าช

19 สงิ หาคม - เสดจ็ กลบั ไปศกึ ษาตอ่ ที่มหาวทิ ยาลยั โลซานน์ ประเทศ
สวติ เซอรแ์ ลนด์ โดยทรงเปลย่ี นคณะ จากวิทยาศาสตร์เปน็ รฐั ศาสตร์
พ.ศ. 2491

ทรงประสบอบุ ตั เิ หตทุ างรถยนต์ ทป่ี ระเทศสวติ เซอรแ์ ลนด์
พ.ศ. 2492

ทรงหมน้ั กบั หมอ่ มราชวงศห์ ญงิ สริ กิ ติ ์ิ กติ ยิ ากร ทเ่ี มอื งโลซานน์
พ.ศ. 2493

24 มนี าคม - เสดจ็ นวิ ตั พระนคร พรอ้ มดว้ ย หมอ่ มราชวงศห์ ญงิ
สริ กิ ติ ิ์ กติ ยิ ากร พระค่หู มน้ั

29 มนี าคม - พระราชพธิ ถี วายพระเพลงิ พระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระ
ปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล

28 เมษายน - พระราชพธิ รี าชาภเิ ษกสมรส ณ วงั สระปทุม ในการนนั้
โปรดเกลา้ ฯ ประกาศสถาปนา หมอ่ มราชวงศ์หญงิ สริ กิ ติ ิ์ กติ ยิ ากร เปน็ สมเดจ็
พระราชนิ สี ิรกิ ติ ิ์

5 พฤษภาคม - พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก ตามโบราณราชประเพณี ใน
การน้ัน โปรดเกลา้ ฯ พระราชทานพระปฐมบรมราชโองการ เราจะครองแผน่ ดิน
โดยธรรม เพอ่ื ประโยชนส์ ุขแหง่ มหาชนชาวสยาม
สถาปนา สมเดจ็ พระราชนิ สี ริ กิ ติ ิ์ เปน็ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ ี

9 มถิ นุ ายน - เสดจ็ พระราชดาเนินพรอ้ มดว้ ยสมเด็จพระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์
พระบรมราชนิ ี เพอื่ รกั ษาพระองคท์ สี่ วติ เซอรแ์ ลนด์

พ.ศ. 2494
5 เมษายน - สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟา้ อุบลรตั นราชกญั ญา ประสตู ิ ณ

เมอื งโลซานน์ ประเทศสวติ เซอรแ์ ลนดพ์ ฤศจกิ ายน - เสดจ็ นิวตั พระนครเปน็ การ
ถาวร พรอ้ มสมเด็จพระบรมราชนิ ี และพระธดิ า
พ.ศ. 2495

28 กรกฎาคม - สมเดจ็ พระเจา้ ลกู ยาเธอ เจา้ ฟา้ วชริ าลงกรณ ประสตู ิ ณ
พระทนี่ ง่ั อัมพรสถาน พระราชวงั ดสุ ติ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ง้ั สถานี
วทิ ยกุ ระจายเสยี งขน้ึ ภายในพระทน่ี งั่ อมั พรสถาน พระราชทานนามว่า สถานวี ทิ ยุ
อ.ส. พระราชวงั ดสุ ติ
พ.ศ. 2497

พระราชทานพระราชทรพั ยแ์ ก่กระทรวงสาธารณสขุ เพอ่ื จดั ตง้ั หนว่ ย
แพทย์เคลอื่ นท่ีพระราชทาน เพอ่ื รกั ษาราษฎรตามชนบท

28 ธันวาคม เสด็จพระราชดาเนนิ ทรงวางพวงมาลา ถวายราชสกั การะ
พระบรมราชานสุ าวรยี ์ สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช ท่ีวงเวยี นใหญ่
พ.ศ. 2498

2 เมษายน - สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟา้ สริ นิ ธรเทพรตั นสดุ าฯ ประสตู ิ
ณ พระทน่ี ง่ั อมั พรสถาน พระราชวงั ดสุ ติ เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยย่ี มราษฎรในภาค

ตา่ งๆ โดยทรงเปน็ พระมหากษตั รยิ ไ์ ทยพระองคแ์ รก ทเ่ี สดจ็ เยย่ี มราษฎรในภาค
ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มแี นวพระราชดาริใหท้ าฝนเทยี ม เพอื่ ชว่ ยเหลอื ราษฎร
พระราชทานพระราชทรพั ย์ ในการจดั ตงั้ กองทนุ อานนั ทมหดิ ล (มูลนธิ อิ านนั ท
มหดิ ล ในปจั จบุ นั )

17 ธันวาคม - สมเดจ็ พระศรสี วรนิ ทริ าบรมราชเทวี พระพนั วสั สาอยั ยกิ า
เจา้ เสดจ็ สวรรคต
พ.ศ. 2499

22 ตลุ าคม - พระราชพธิ ที รงผนวช ทว่ี ดั บวรนเิ วศวหิ าร โดยโปรดเกลา้ ฯ
แตง่ ตงั้ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ ี เปน็ ผสู้ าเร็จราชการแทนพระองค์

5 ธนั วาคม - ประกาศสถาปนาพระอสิ รยิ ยศ 'สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์
พระบรมราชนิ ี เปน็ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ ีนาถหลงั ทรงศกึ ษาวา่
ทาไดจ้ รงิ แลว้ จงึ พระราชทานแนวพระราชดารเิ กย่ี วกับการทาฝนเทยี ม ให้ หมอ่ ม
ราชวงศเ์ ทพฤทธ์ิ เทวกลุ ไปศกึ ษาทดลอง
พ.ศ. 2500

พฤษภาคม - งานเฉลมิ ฉลองยสี่ บิ หา้ พทุ ธศตวรรษ : เรมิ่ ก่อสรา้ งพทุ ธ
มณฑล ทจี่ งั หวดั นครปฐม

4 กรกฎาคม - สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจ้าฟา้ จุฬาภรณวลยั ลกั ษณ์ อคั รราช
กมุ ารี ประสตู ิ ณ พระทน่ี งั่ อมั พรสถาน พระราชวงั ดสุ ติ
พ.ศ. 2501

เสดจ็ ฯ เยย่ี มราษฎรภาคเหนอื ทกุ จังหวดั
พ.ศ. 2502

เสดจ็ ฯ เยยี่ มราษฎรภาคใตท้ กุ จงั หวดั
เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นตา่ งประเทศอยา่ งเปน็ ทางการ โดยประเทศ
เวยี ดนามเปน็ ประเทศแรก
พ.ศ. 2503
โปรดเกลา้ ฯ ให้ฟนื้ ฟู พระราชพิธพี ชื มงคลจรดพระนังคลั แรกนาขวญั

เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นสหรฐั อเมรกิ า และประเทศในยุโรปรวม 14
ประเทศ ใชเ้ วลาทงั้ สน้ิ ประมาณ 7 เดอื น
พ.ศ. 2504

ทรงเรม่ิ โครงการแปลงนาสาธติ ภายในสวนจติ รลดา
พ.ศ. 2505

เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นออสเตรเลยี อยา่ งเปน็ ทางการเกดิ วาตภยั ครง้ั
รา้ ยแรงในภาคใต้ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ถานวี ทิ ยุ อ.ส.ประกาศชกั ชวน
ใหร้ าษฎรบรจิ าคทรพั ยแ์ ละสงิ่ ของ เพอ่ื ชว่ ยเหลอื

มผี นู้ อ้ มเกลา้ ฯ ถวายโคนม 6 ตวั จงึ พระราชทานพระราชทรพั ย์ สรา้ งโรง
โคนมสวนจติ รลดาข้นึ เพอื่ ศกึ ษาการเลยี้ งโคนม
พ.ศ. 2506

5 ธนั วาคม - พระราชพิธมี หามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษาครบ 3 รอบ 5
ธนั วาคม พทุ ธศกั ราช 2506โปรดเกลา้ ฯ ใหก้ ่อตงั้ มลู นิธริ าชประชานุเคราะห์ ใน
พระบรมราชปู ถมั ภ์

พ.ศ. 2507
สถาบนั ดนตรีและศลิ ปะการแสดง แหง่ กรงุ เวยี นนา ประเทศออสเตรยี

ทลู เกล้าฯ ถวายปรญิ ญา และตาแหนง่ สมาชกิ กติ ตมิ ศกั ดิ์ โดยทรงเปน็ สมาชกิ
กติ ตมิ ศกั ด์ิ ที่มอี ายนุ อ้ ยทสี่ ดุ และเปน็ ชาวเอเชยี คนแรก ทไี่ ดร้ บั เกยี รตนิ ้ี

ทรงมพี ระราชดาริใหจ้ ดั ตงั้ โครงการพัฒนาทดี่ นิ แหง่ แรก ขน้ึ ท่ี ตาบล
หุบกระพง อาเภอชะอา จงั หวดั เพชรบรุ ี

เจา้ ฟา้ อากฮิ ิโตะ มกฎุ ราชกมุ ารแหง่ ประเทศญป่ี นุ่ (สมเดจ็ จกั รพรรดอิ ะกิฮิ
โตะ สมเดจ็ พระจกั รพรรดแิ หง่ ญปี่ ุ่นองค์ปจั จุบนั ) นอ้ มเกลา้ ฯ ถวายพนั ธปุ์ ลาแด่
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว โดยพระราชทานชอ่ื วา่ ปลานลิ และโปรดเกลา้ ฯ ให้
เพาะเลยี้ ง และขยายพนั ธ์ุ ภายในสวนจติ รลดา ตอ่ มาจงึ โปรดเกลา้ ฯ ใหน้ าพนั ธุ์
ปลาดงั กลา่ ว แจกจ่ายแก่ประชาชนทว่ั ไป
พ.ศ. 2510

16 ธันวาคม - ทรงไดร้ บั รางวลั เหรยี ญทอง จากการแขง่ ขันเรอื ใบ ในกีฬา
แหลมทอง ครงั้ ท่ี 4

พ.ศ. 2511
ทรงมพี ระราชดาริ ใหจ้ ดั ทา สารานกุ รมไทยสาหรบั เยาวชน โดยพระราช

ประสงคใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั
พ.ศ. 2512

ทรงมพี ระราชดารใิ หต้ งั้ โครงการหลวงโดยจดุ มงุ่ หมายเพอ่ื ตอ่ ตา้ นการคา้
ยาเสพตดิ
พ.ศ. 2513

ทรงมพี ระบรมราชโองการ ประกาศเฉลิมพระนามาภไิ ธย สมเดจ็ พระราช
บิดา เจา้ ฟา้ มหดิ ลอดลุ ยเดช กรมหลวงสงขลานครนิ ทร์ ขน้ึ เปน็ สมเดจ็ พระ
มหติ ลาธเิ บศร อดลุ ยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก และเฉลมิ พระนามาภไิ ธย สมเด็จ
พระราชชนนีศรสี งั วาลย์ ขนึ้ เปน็ สมเด็จพระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี
พ.ศ. 2514

9 มถิ นุ ายน - พระราชพิธรี ชั ดาภเิ ษก พทุ ธศกั ราช 2514
พ.ศ. 2516

เหตกุ ารณ์ 14 ตลุ าคม : ทรงมีพระราชดารสั ทางสถานโี ทรทัศน์ เพอื่ ระงบั
เหตแุ หง่ ความรนุ แรง หลงั เหตกุ ารณ์ ทรงมพี ระมหากรุณาธคิ ุณ โปรดเกลา้ ฯ เสดจ็
ฯ พรอ้ มดว้ ยพระบรมวงศานวุ งศ์ ไปทรงเยย่ี มผไู้ ด้รบั บาดเจบ็ ตามโรงพยาบาล
ตา่ งๆ และสาหรับผเู้ สยี ชวี ติ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ เสดจ็ ฯ ทรงเปน็ องค์
ประธาน ในพิธพี ระราชทานเพลงิ ศพผูเ้ สยี ชวี ติ ณ บรเิ วณตอนเหนอื ของทอ้ ง
สนามหลวงด้วย ตลอดจนนาอฐั เิ หลา่ นน้ั ไปลอยองั คาร ดว้ ยเครอื่ งบนิ ของ
กองทพั อากาศ ทป่ี ากแมน่ า้ เจา้ พระยา อา่ วไทย
พ.ศ. 2525

เมษายน - สมโภชกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ 200 ปี พทุ ธศกั ราช 2525

พ.ศ. 2527
22 พฤษภาคม - สมเดจ็ พระนางเจา้ ราไพพรรณี พระบรมราชนิ ีในรชั กาลท่ี

7 เสดจ็ สวรรคต
พ.ศ. 2528

9 เมษายน - พระราชพิธถี วายพระเพลงิ พระบรมศพ สมเด็จพระนางเจา้
ราไพพรรณี พระบรมราชนิ ีในรชั กาลท่ี 7
พ.ศ. 2530

5 ธนั วาคม - พระราชพิธมี หามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 5 รอบ 5
ธันวาคม พทุ ธศกั ราช 2530
พ.ศ. 2531

2 กรกฎาคม - พระราชพธิ รี ชั มงั คลาภิเษก 2 กรกฎาคม พทุ ธศกั ราช
2531
พ.ศ. 2535

เหตกุ ารณพ์ ฤษภาทมฬิ : 20 พฤษภาคม - ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้
นายสญั ญา ธรรมศกั ด์ิ ประธานองคมนตรี และ พลเอก เปรม ตณิ สลู านนท์
องคมนตรแี ละรัฐบรุ ษุ นา พลเอก สจุ นิ ดา คราประยรู นายกรฐั มนตรใี นขณะนน้ั
และ พลตรี จาลอง ศรเี มอื ง เขา้ เฝา้ ทลู ละอองธลุ พี ระบาท โดยทรงมพี ระราชดารสั
ใหท้ งั้ สองฝ่ายหนั หนา้ เขา้ หากนั รว่ มกนั แกไ้ ขปญั หาความรนุ แรงในประเทศ

พ.ศ. 2536
17 ธันวาคม พ.ศ. 2536 - ดาวเทยี มดวงแรกของไทยถกู ยงิ ขน้ึ สวู่ งโคจร ณ

เมอื งครู ู ประเทศเฟรนซก์ ิอานา โดยมชี อื่ ดาวเทยี มในขณะนั้นวา่ ดาวเทยี มไทยคม 1
พ.ศ. 2538

6 พฤษภาคม - ทรงมพี ระบรมราชโองการดารสั ส่ัง ใหส้ ถาปนา สมเดจ็
พระเจา้ พนี่ างเธอ เจา้ ฟา้ กลั ยาณวิ ฒั นา ขน้ึ เปน็ เจา้ ฟา้ ตา่ งกรมฝา่ ยใน พระนามวา่
สมเดจ็ พระเจา้ พ่ีนางเธอ เจา้ ฟา้ กลั ยาณวิ ัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครนิ ทร์

18 กรกฎาคม - สมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี เสดจ็ สวรรคต
พ.ศ. 2539

10 มนี าคม - พระราชพธิ ถี วายพระเพลงิ พระบรมศพ สมเดจ็ พระศรนี คริน
ทราบรมราชชนนี

8 มถิ นุ ายน - ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ ม ถวายเพมิ่ พระนาม
พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล เปน็ พระปรมาภไิ ธยอนั วเิ ศษ ตาม
แบบแผนโบราณราชประเพณี โดยให้ขานพระปรมาภไิ ธยอยา่ งสงั เขปวา่
พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล พระอฐั มรามาธบิ ดนิ ทร

9 มถิ นุ ายน - พระราชพิธกี าญจนาภเิ ษก พทุ ธศกั ราช 2539

พ.ศ. 2540
4 ธนั วาคม - ทรงมพี ระราชดารสั แกค่ ณะบคุ คลตา่ งๆ ทม่ี าเฝา้ ฯ ถวายพระ

พรชยั มงคล เน่ืองในวโรกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา เกย่ี วกบั เศรษฐกจิ พอเพยี ง
และ ทฤษฎใี หม่
พ.ศ. 2542

5 ธนั วาคม - พระราชพธิ มี หามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 6 รอบ 5
ธันวาคม พทุ ธศกั ราช 2542
พ.ศ. 2548

29 เมษายน - พระเจ้าหลานเธอ พระองคเ์ จา้ ทีปงั กรรศั มโี ชติ ประสตู ิ ณ
โรงพยาบาลศริ ริ าช

16 มถิ นุ ายน - ทรงมพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ ประกาศสถาปนา
หมอ่ มศรรี ศั มิ์ มหดิ ล ณ อยธุ ยา ขนึ้ เปน็ พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ ศรรี ศั ม์ิ
พระวรชายาในสมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร
พ.ศ. 2549

9 มถิ นุ ายน - งานฉลองสริ ริ าชสมบัตคิ รบ 60 ปี พทุ ธศกั ราช 2549
19 กนั ยายน รฐั ประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 เปน็ รฐั ประหารใน
ประเทศไทย ซ่ึงเกดิ ขนึ้ ในคนื วนั ท่ี 19 กนั ยายน พ.ศ. 2549 นาโดย คณะปฏริ ปู การ
ปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข ซงึ่ มพี ลเอก
สนธิ บุญยรตั กลนิ เปน็ หวั หนา้ คณะ โดยโคน่ ลม้ รกั ษาการนายกรฐั มนตรี พ.ต.ท.
ทกั ษิณ ชนิ วตั ร ซง่ึ นบั เปน็ การกอ่ รฐั ประหารเป็นครง้ั แรกในรอบ 15 ปี รฐั ประหาร
ครง้ั นเี้ กดิ ขึน้ กอ่ นการเลือกตงั้ ทว่ั ไปในเดอื นตอ่ มา หลงั จากทก่ี ารเลอื กตงั้ เดอื น
เมษายนถกู ตดั สนิ ใหเ้ ปน็ โมฆะ นบั เปน็ จดุ เปลย่ี นสาคัญในวกิ ฤตการณท์ างการเมอื ง
ทด่ี าเนนิ มายาวนานนบั ตง้ั แตเ่ ดอื นกนั ยายน พ.ศ. 2548 คณะรฐั ประหารไดย้ กเลกิ
การเลอื กตง้ั ในเดอื นตลุ าคม ยกเลกิ รฐั ธรรมนูญ สง่ั ยบุ สภา สง่ั หา้ มการประทว้ งและ
กจิ กรรมทางการเมอื ง ยบั ยง้ั และเซน็ เซอรส์ อ่ื ประกาศใชก้ ฎอยั การศกึ และจบั กมุ
สมาชกิ คณะรฐั มนตรหี ลายคน


Click to View FlipBook Version