The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระประวัติ สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 16

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ประสาร ธาราพรรค์, 2021-03-26 05:45:04

พระประวัติ สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 16

พระประวัติ สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 16

พระประวัติ สมเดจ็ พระสงั ฆราชองคท์ ี่ 16
สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปรณิ ายก (จวน ศริ สิ ม)

ผเู้ รยี บเรยี ง ประสาร ธาราพรรค์

สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก (จวน ศริ สิ ม)
สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (จวน ศิริสม) พระองค์ท่ี 16 แห่งกรุง
รัตนโกสนิ ทร์ สถิต ณ วดั มกุฏกษัตริยารามราชวรวหิ าร ทรงดารงตาแหน่งเม่อื ปี พ.ศ. 2508
ในรัชสมัยรัชกาลท่ี 9
ทรงชานาญในอักษรขอม อักษรพม่า อักษรมอญ และอักษรโรมัน ท้ังพระองค์ยังมี
ความสามารถในการประพันธต์ ่าง ๆ มโี คลง ฉนั ท์ เป็นตน้
การส้นิ พระชนมข์ องพระองค์เปน็ เรื่องเหนือความคาดหมาย รถยนตพ์ ระประเทยี บที่
ประทับ ถกู รถยนต์สว่ นบคุ คลขับสวนทางมา พุ่งเข้าชนตกถนน ส้ินพระชนม์ทันทีทันใด ใน
ทอ้ งท่ีอาเภอบางพลี จงั หวัดสมทุ รปราการ เม่ือวนั ที่ 18 ธันวาคม 2514 เวลา 10:05 น.

พระประวตั ิ

สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก (จวน ศริ สิ ม)
สมเดจ็ พระอริยวงศาคตญาณ มีพระนามเดิมวา่ ลาจวน ศิริสม ภายหลังเปล่ียนพระ
นามเป็น จวน พระนามฉายาวา่ “อุฏฐายี ประสูติเมื่อวันท่ี 16 มกราคม 2440 ตรงกับวัน
อาทิตย์ แรม 10 ค่า เดือนยี่ ปีระกา นพศก จุลศักราช 1259 (ร.ศ.116) ที่บ้านโป่ง
อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี

นายหงส์ ศิริสม

บิดามีนามว่า “หงส์ ศิริสม” เป็นชาวโพธาราม ส่วนท่านบิดา ภายหลังได้
อุปสมบทเป็นภิกษุมาอยู่ท่ี วัดมกุฏกษัตริยาราม จนถึงมรณภาพ เม่ืออายุ 84 ปี
ส่วนโยมมารดามีนามว่า “จีน” นามสกุลเดิมว่า “ประเสริฐศิลป์”ภูมิลาเนาเดิมอยู่
บ้านฉาง อาเภอเมือง จงั หวัดเพชรบุรี ท่านปู่สบื เชอ้ื สายมาจากจนี แซต่ ัน ทา่ นยา่ สบื เชอ้ื สาย
มาจากชาวเวยี งจันทน์ ทรงเป็นบุตรหัวปีในจานวนบุตรธิดาทั้งหมด 7 คน

ประถมวยั และประถมศกึ ษา

วัดคฤบดี

พ.ศ. 2449 พระชนมายุ 9 พรรษา ไดเ้ ขา้ ศกึ ษาหนงั สอื ไทยทโ่ี รงเรยี นวดั คฤบดี
ตาบลบา้ นปนู อาเภอบางพลดั จงั หวดั ธนบรุ ี จนจบชน้ั ปที ่ี 3 เมอื่ ปี พ.ศ. 2451 แลว้ ลาออก
จากโรงเรยี น กลบั ไปอยภู่ มู ลิ าเนาเดมิ ถงึ ปี พ.ศ. 2451

พ.ศ. 2452 พระชนมายุ 13 พรรษา เมอ่ื เรยี นจบประถมศกึ ษาแลว้ ไดส้ มคั รเขา้ เรยี น
ตอ่ ที่ โรงเรยี นนายรอ้ ยทหารบก (โรงเรยี นนายรอ้ ย จ.ป.ร.) แตป่ ว่ ยเปน็ โรคเหนบ็ ชาเสยี จงึ
ตอ้ งกลบั ออกไปรกั ษาตวั ทภ่ี มู ลิ าเนาเดมิ และไมไ่ ดก้ ลบั เขา้ มาเรยี นตอ่ อกี

สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก (จวน ศริ สิ ม) ก่อนบรรพชา

พ.ศ. 2453 พระชนมายุ 14 พรรษา ท่านบิดามารดา ต้องการให้เรียนทางพระ

ศาสนา จึงนาไปฝากใหอ้ ยู่กบั พระมหาสมณวงศ์ (แท่น โสมทตตฺ ) เจา้ อาวาสวัดมหาสมณา

ราม (วัดเขาวัง) จังหวัดเพชรบุรี ผู้เป็นพ่ีของตา พระวัดเขาวังเล่ากันต่อมาว่า ท่านเจ้าคุณ

มหาสมณวงศ์ เคยออกปากทานายท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯ ไว้ว่า “ลักษณะอย่างน้ี ต่อไป

จ ะ ไ ด้ ดี ” นั ย ว่ า ท่ า น ห ม า ย ถึ ง พ ร ะ เ ศี ย ร ท่ี มี ลั ก ษ ณ ะ ค ล้ า ย ก ร ะ พ อ ง ช้ า ง

พ.ศ. 2454 พระชนมายุ 15 พรรษา พระศาสนโศภน (แจ่ม จตฺตสลฺโล ป.ธ. 7) เมื่อ

ครง้ั ยงั เป็น พระอริยมนุ ี ไดอ้ อกเดนิ ธุดงค์ไปพักท่ถี ้าเขายอ้ ยอยู่อสมควรแล้ว เดินทางต่อไป

เย่ียมพระมหาสมณวงศ์ ท่ีวัดมหาสมณาราม ในฐานะท่ีเป็นพระเถระผู้ใหญ่ในคณะ และ

เก่ียวข้องกันทางญาติสัมพันธ์ พระมหาสมณวงศ์จึงขอฝากท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯ กับ

พ ร ะ อ ริ ย มุ นี ใ ห้ ม า อ ยู่ ศึ ก ษ า ป ริ ยั ติ ธ ร ร ม ท่ี วั ด กุ ฏ ก ษั ต ริ ย า ร า ม

พ.ศ. 2455 พระชนมายุ 16 พรรษา ในราวเดอื นเมษายน พระองคไ์ ดเ้ ดนิ ทางเขา้ มา

อยู่กับ พระศาสนโศภน (แจ่ม) เมื่อครั้งยังดารงสมณศักดิ์ท่ี พระอริยมุนี ที่คณะนอก

วัดมกุฏกษัตริยาราม โดยมีนายเขียน ประเสริฐศิลป์ ผู้เป็น น้านามาส่ง

และ ทรงเร่ิมศึกษาบาลไี วยากรณก์ บั ทา่ นเจ้าคุณอาจารย์บ้าง กบั พระมหาจิณ จณิ ฺณาจาโร

ป.ธ. 4 บ้าง และศึกษาตอ่ กบั พระมหาสุข สขุ ทายี ป.ธ. 5 ใน พ.ศ. 2456

ทรงบรรพชาและการศกึ ษา

สามเณรจวน ศริ สิ ม

ทรงบรรพชาเปน็ สามเณร เมอ่ื วนั ท่ี 2 กรกฏาคม พ.ศ. 2457 ณ พระอโุ บสถ วดั
มกฏุ กษตั รยิ าราม โดย มี พระธรรมปาโมกข์ (ถม วราสโย ป.ธ. 7) เปน็ พระอปุ ชั ฌาย์
และ พระอรยิ มนุ ี (แจม่ จตตฺ สลโฺ ล ป.ธ. 7) เปน็ พระสรณคมนาจารย์ แลว้ ทรงศกึ ษาธรรม
วนิ ยั ในสานกั พระอรยิ มนุ ี (แจม่ ) ถงึ เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ ปเี ดยี วกนั ทรงสอบไลอ่ งคน์ กั ธรรมชนั้
ตรภี มู ขิ องสามเณรได้ ระหวา่ งดารงสมณเพศไดท้ รงแสดงพระปรชี าสามารถในทางวชิ าการ
โดยเปน็ บรรณาธกิ ารหนงั สอื วารสารรายปกั ษส์ ยามวดั ทาใหพ้ ระองคม์ คี วามสามารถในการ
ประพนั ธต์ า่ ง ๆ มโี คลง ฉนั ท์ เปน็ ตน้

พ.ศ. 2458 ทรงเขา้ ศกึ ษาธรรมบทกับ พระพนิ ติ พนิ ัย (ชัน้ กมาธโิ ก) เมอ่ื ครง้ั ยงั เปน็
พระมหาชนั้ เปรยี ญ 5 ประโยคในโรงเรยี นบาลวี ดั มกฏุ กษัตรยิ ์
ทรงอุปสมบทและการศึกษา

พระภิกษุจวน ศริสม
พระชนมายคุ รบ 20 พรรษา ทรงอปุ สมบท ณ พระอโุ บสถวดั มกฏุ กษตั รยิ าราม เมอื่
วนั ที่ 26 มถิ นุ ายน2460 โดยมี พระธรรมปาโมกข์ (ถม วราสโย) เปน็ พระอปุ ชั ฌาย์ และ
พระศาสน โศภน (แจม่ จตั ตสลั โล) แตค่ รงั้ ดารงสมณศกั ดท์ พ่ี ระราชกวี เปน็ พระ
กรรมวาจาจารย์
พ.ศ. 2460 พรรษาที่ 1 ทรงศกึ ษาวนิ ยั บญั ญตั กิ บั พระราชกวี (แจม่ จตตสลโล ป.7)
และเขา้ สอบในสนามหลวงไดเ้ ปน็ นกั ธรรมช้ันตรี นวกภมู ิ สว่ นบาลปี ระโยค 3 กท็ รงศกึ ษา
ตอ่ ควบคไู่ ปดว้ ย และเขา้ สอบในสนามหลวงได้ ณ วนั ที่ 15 กมุ ภาพนั ธ์ ในปเี ดยี วกนั พ.ศ.
2461 พรรษาที่ 2 ทรงศกึ ษานักธรรมชนั้ โท มชั ฌมิ ภมู ิ และสอบได้ ณ วนั ท่ี 11 กมุ ภาพนั ธ์

พ.ศ. 2462 พรรษาที่ 3 ทรงศกึ ษาบาลปี ระโยค 4 (มงั คลตั ถทปี นี) กับพระมหาชนั้
กมาธโิ ก ป.5 และสอบได้ ณ วนั ที่ 24 กมุ ภาพนั ธ์

พระภกิ ษจุ วน ศริ สิ ม
พ.ศ. 2464 พรรษาท่ี 5 ทรงศกึ ษาบาลปี ระโยค 5 (บาลมี ตุ ตกวนิ จิ ฉยสงั คหะ) ดว้ ย
พระองคเ์ อง และสอบได้ ณ วนั ที่ 20 ธนั วาคม
พ.ศ. 2465 พรรษาที่ 6 พรรษาท่ี 6 ทรงศกึ ษาบาลปี ระโยค 6 (แปลธมั มปทฏั ฐกถา
พากยไ์ ทยเปน็ บาลแี ละเขยี นดว้ ยอกั ษรขอม) และสอบได้ ณ วนั ท่ี 10 ธนั วาคม
พ.ศ. 2466 พรรษาที่ 7 ทรงศกึ ษานกั ธรรมชัน้ เอก เถรภมู ิ และสอบได้ ณ วนั ท่ี 20
ธนั วาคม
พ.ศ. 2467 พรรษาท่ี 8 ทรงศกึ ษาบาลปี ระโยค 7 (แปลมงั คลตั ถปนพี ากยไ์ ทยเปน็
บาลแี ละเขยี นดว้ ยอกั ษรขอม กบั แปลปฐมสมนั ตปาสาทกิ าเปน็ ไทย) และสอบได้ ณ วนั ที่
17 ธนั วาคม

พ.ศ. 2470 พรรษาท่ี 11 ทรงศกึ ษาบาลปี ระโยค 8 (แตง่ ฉนั ทภ์ าษาบาลเี ป็นบพุ พ
ภาค แปลปฐมสมนั ตปาสาทกิ าพากยไ์ ทยเปน็ บาลี กับแปลวสิ ทุ ธมิ คั คปกรณเ์ ปน็ ไทย) และ
สอบได้ ณ วนั ท่ี 14 ธนั วาคม

พ.ศ. 2472 พรรษาที่ 13 ทรงศกึ ษาบาลปี ระโยค 9 (แตง่ บาลรี อ้ ยแกว้ เป็นบพุ พภาค
แปลวสิ ทุ ธมิ คั คปกรณพ์ ากยไ์ ทยเปน็ บาลกี บั แปลอภธิ มั มตั ถวภิ าวนิ เี ปน็ ไทย) และสอบได้ ณ
วนั ท่ี 23 มกราคม
พระสมณศกั ดิ์

สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก (จวน ศริ สิ ม)

สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก (จวน ศริ สิ ม)

พ.ศ. 2476 เป็นพระราชาคณะชั้นสามญั ท่ี พระกติ ติสารมนุ ี
พ.ศ. 2478 เป็นพระราชาคณะชั้นราชที่ พระราชเวที ตรีปิฎกภูษิต ธรรมบัณฑิต
ยตคิ ณิสสร บวรสงั ฆารามคามวาสี
พ.ศ. 2482 เปน็ พระราชาคณะช้ันเทพท่ี พระเทพเวที ตรีปิฎกคุณ สุนทรธรรมภูษิต
ยตคิ ณิศร บวรสงั ฆาราม คามวาสี
พ.ศ. 2488 เปน็ พระราชาคณะชัน้ ธรรมท่ี พระธรรมปาโมกข์ ยุตโยคญาณดลิ ก ไตร
ปิฎกธารี ธรรมวาที ยตคิ ณศิ ร บวรสังฆาราม คามวาสี

พ.ศ. 2490 เปน็ รองสมเด็จพระราชาคณะท่ี พระศาสนโศภน วิมลญาณอดุลย์สนุ ทร
นายก ตรปี ฎิ กธรรมาลังการภสู ติ ธรรมนติ ยสาทร อุดมคณฤศร บวรสงั ฆาราม คามวาสี

พ.ศ. 2499 เป็นสมเด็จพระราชาคณะท่ี สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ จาตุรงคประธาน
วิสสุต พุทธพจนมธุรสธรรมวาที คัมภีรญาณปริยัติกุสโลภาส ภูมิพลมหาราชหิโตปสัมปทา
จารย์ วสิ ารศีลาจารวัตร เวไนยบรษิ ทั ประสาทกร ธรรมยตุ ิกคณิสสรมหาสังฆนายก

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี 9 ทรงถวายพดั ยศและเครอ่ื งสมณศกั ด์ิ
แดส่ มเด็จฯ ในงานพระราชพธิ สี ถาปนา

สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ สมเดจ็ พระสงฆราช (จวน อฏุ ฐฺ าย)ี
สมเดจ็ พระสงั ฆราชพระองคท์ ่ี 16 แหง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์

ครั้นเมื่อถึงวันที่ 26 พฤศจิกายน 2508 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนา
สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (จวน อุฏฐายี) ขึ้นเป็นสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สุขุมธรรม
วิธานธารง สกลมหาสงฆปรนิ ายก ตรีปิฎกกลากุสโลภาส ภมู พิ ลมหาราชหิโตปสัมปทาจารย์

อุฏฐายีภธิ านสงั ฆวิสุต ปาวจนุตตมสาสนโสภณ วมิ ลศลี ขนั ธสมาจารวตั ร พทุ ธศาสนกิ บรษิ ทั
คารวสถาน วิจิตรปฏิภาณพัฒนคุณ อดุลคัมภีรญาณสุนทร บวรธรรมบพิตร สมเด็จ
พระสังฆราช นับเป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 16 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สืบต่อ
จากสมเด็จพระสังฆราช (อยู่ ญาโณทโย)
พระกรณยี กจิ

สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก (จวน ศริ สิ ม)
ดา้ นการปกครองคณะสงฆ์

พ.ศ. 2477 เปน็ กรรมการคณะธรรมยตุ
พ.ศ. 2485 เปน็ สมาชกิ สงั ฆสภา

พ.ศ. 2486 เปน็ ผรู้ กั ษาการ ในตาแหนง่ สงั ฆนายก แทนสมเดจ็ พระมหาวรี วงศ์ (อว้ น
ตสิ โฺ ส) วดั บรมนวิ าส

พ.ศ. 2489 เปน็ ผสู้ งั่ การในตาแหนง่ สงั ฆนายก แทนสมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย์
(เจรญิ ญาณวโร) วดั เทพศริ นิ ทราวาส

พ.ศ. 2493 เปน็ สงั ฆมนตรวี า่ การองคก์ ารเผยแผ่ ซงึ่ มสี มเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย์
(เจรญิ ญาณวโร) เปน็ สงั ฆนายกสมยั ท่ี 2

พ.ศ. 2494 เปน็ สงั ฆนายก สมยั ที่ 1และสงั ฆมนตรวี า่ การองคก์ ารเผยแผ่
พ.ศ. 2506 เปน็ กรรมการเถรสมาคมโดยตาแหนง่ ตาม พ.ร.บ.คณะสงฆ์ พ.ศ. 2505
พ.ศ. 2479 กรรมการพจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ. ลกั ษณะปกครองสงฆ์ ฉบบั ใหม่
พ.ศ. 2503 เปน็ สงั ฆนายก ครง้ั ที่ 2
พ.ศ. 2505 เปน็ ผบู้ ญั ชาการคณะสงฆแ์ ทนสมเดจ็ พระสงั ฆราช
ดา้ นการศกึ ษา

สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก (จวน ศริ สิ ม)

พ.ศ. 2470 เปน็ กรรมการตรวจบาลีไวยากรณ์ในสนามหลวง
พ.ศ. 2471 เป็นกรรมการตรวจนักธรรมชั้นโท-เอกในสนามหลวง เป็นกรรมการ
ตรวจบาลี ประโยค 4-5-6

สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก (จวน ศริ สิ ม)
พ.ศ.2475 ทรงเป็นอาจารย์ใหญ่ โรงเรียนบาลี สานักเรียนวัดมกุฏกษัตริยาราม
ทรงปฏิรูประเบียบแบบแผนการศึกษาบาลีให้ดีขึ้น และเป็นกรรมการวัดพร้อมด้วย
คณะอีก 4 รูป

อาคารมหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั (หลงั เกา่ )

พ.ศ. 2476 เป็นปีท่ีเร่ิมฟ้ืนฟูกิจการของมหามกุฏราชวิทยาลัยในยุคใหม่ ทรงรับ
หน้าที่เป็นกรรมการและอนุกรรมการหลายคณะ อาทิ ทรงเป็นกรรมการพิจารณาวาง
ระเบียบบารุงการศึกษาอบรมปริยัติธรรม และงบประมาณของมหามกุฏราชวิทยาลัย
พร้อมด้วยกรรมการอีก 5 รูปคือ อนุกรรมการตรวจชาระแบบเรียน เช่น นวโกวาท และ
พุทธศาสนสุภาษิต กรรมการอานวยการหนังสือธรรมจักษุ กรรมการ อุปนายกและนายก
กรรมการมหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย ตลอดมาจนสน้ิ พระชนม์

ดา้ นการเผยแผพ่ ระศาสนา

ทรงเปน็ ประธานเปดิ สานกั อบรมพระธรรมฑตู ไปตา่ งประเทศ
ณ พระอโุ บสถ วดั บวรนเิ วศวหิ าร กรงุ เทพมหานคร

พ.ศ. 2476 ทรงรว่ มกบั คณะมติ รสหาย ตงั้ สมาคมพทุ ธศาสนาขน้ึ เปน็ ครง้ั แรก คอื พทุ ธ
สมาคม เพอ่ื เผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา และสง่ เสรมิ การศกึ ษา
พ.ศ. 2477 เปน็ พระคณาจารยเ์ อกทางเทศนา (ธรรมกถกึ )
พ.ศ. 2479 เปน็ กรรมการควบคมุ การแปลพระไตรปฎิ กภาษาบาลี และ
พ.ศ. 2497 เปน็ ประธานกรรมการจดั รายการแสดงธรรมทางวทิ ยใุ นวนั ธรรมสวนะ
ดา้ นการตา่ งประเทศ

สมเด็จพระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก (จวน ศริ ิสม)เสดจ็ ไปดูการพระศาสนาใน
ประเทศลาว มาเลเซีย สิงคโปร์ อินเดีย เนปาล ศรีลังกา ฮ่องกง ไต้หวัน เกาหลี ญี่ปุ่น
เวียดนาม ตามคาเชิญของพุทธบริษัทของประเทศน้ัน ๆ ทรงไปร่วมงานฉลอง 25 พุทธ
ศตวรรษ ที่ประเทศญี่ปุ่น เปน็ ผแู้ ทนสมเดจ็ พระสงั ฆราช (วดั เบญจมบพิตร) ไปร่วมประชุม
สังคายนาพระไตรปฎิ กท่ี ย่างกุ้ง ประเทศพม่า เมอ่ื ปี พ.ศ. 2504

พระกรณียกิจพเิ ศษ

รชั กาลท่ี 9 ทรงผนวช
พ.ศ.2499 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร เสด็จออกผนวชพระภิกษุ ณ พระอุโบสถวัดพระศรี รัตนศาสดาราม มี
สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ ทรงเปน็ พระราช อปุ ัธยาจารย์
เจ้าประคุณสมเด็จฯ ขณะทรงดารงสมณศักดิ์ท่ี พระสาสนโสภณ ทรงเป็น พระราช
กรรมวาจาจารย์ ในพระราชพธิ ีทรงผนวชครั้งน้ัน

พระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เมอ่ื ครง้ั ดารงพระอสิ รยิ ยศ
สมเดจ็ พระบรมโอรสา ธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร ปฏบิ ตั ริ าชกจิ ทางศาสนา

พ.ศ.2509 ทรงเป็นประธานสงฆ์ในพิธีแสดงพระองค์เป็นพุทธมาม กะของ
พระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกลา้ เจ้าอยูห่ ัว เม่ือคร้ัง ดารงพระอิสริยยศ สมเด็จพระบรมโอรสา
ธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ในโอกาสที่จะเสด็จฯไปทรงศึกษาท่ีต่างประเทศ เมื่อวันท่ี 3
มกราคม 2509

งานพระนพิ นธ์

งานพระนพิ นธส์ มเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก (จวน ศริ สิ ม)
พ.ศ. 2469 ทรงแปลตตยิ สมนั ตปาสาทกิ า อรรถกถาพระวนิ ยั เพอื่ ใชเ้ ป็นตารา
พ.ศ. 2482 ทรงแตง่ รตนตตฺ ยปปฺ ภาวสทิ ธฺ คิ าถาแทน รตนตตฺ ยปปฺ ภาวาภยิ าจนคาถา
และไดใ้ ชส้ วดในพระราชพธิ ตี อ่ มา
พระนพิ นธอ์ กี มากกวา่ 100 เรอ่ื ง เชน่ มงคลในพทุ ธศาสนา สาระในตวั คน วธิ ตี อ่ อายุ
ใหย้ นื การทาใจใหส้ ดชนื่ ผอ่ งใส และฉนั ไมโ่ กรธเปน็ ตน้ และมพี ระธรรมเทศนาอกี หลายรอ้ ย
เรอื่ ง ทสี่ าคญั คอื มงคลวเิ ศษคาถา ทแี่ สดงในพระราชพธิ เี ฉลมิ พระชนมพรรษา
ทรงเปน็ กรรมการออก “หนงั สอื ธรรมจกั ษุ”ซ่ึง สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวงวชิ
รญาณวงศ์ ทรงฟนื้ ฟขู นึ้ อกี ครง้ั หนงึ่ หลงั จากหยดุ ไปเปน็ เวลา 20 ปี และไดอ้ อกตอ่ เนอ่ื งมา
จนกระทง่ั ถงึ ทกุ วนั นี้

สนิ้ พระชนม์

โดยปกติ สมเดจ็ พระสงั ฆราช (จวน อฏุ ฐฺ าย)ี ทรงมพี ระพลานามยั ดตี ลอดมา ไม่
ประชวรถงึ กับลม้ หมอนนอนเสอื่ แตม่ พี ยาธเิ บยี ดเบยี นเปน็ ครงั้ คราว ตอ้ งเสดจ็ ไปรบั การ
ผา่ ตดั ในโรงพยาบาล 2 - 3 ครง้ั คอื ผา่ ตดั ไสเ้ ลอ่ื น 1 ครง้ั ผา่ ตดั โพรงจมกู ครง้ั 1 ผา่ ตดั
กระเพาะ เพอื่ ตรวจดวู า่ เปน็ มะเรง็ หรือไมอ่ กี ครงั้ 1 ภายหลงั การผา่ ตดั ครง้ั สดุ ทา้ ย กป็ รากฏ
วา่ พระสขุ ภาพเปน็ ปกติ แตท่ รงรบั สง่ั วา่ รสู้ กึ วา่ ความจาเลอื นไปบา้ ง และทรงปรารภ
วา่ “ไมร่ วู้ า่ ทากรรมอะไรไว้ จงึ ถกู ผา่ ตดั อยา่ งนี้”

รถยนตพ์ ระประเทยี บทปี่ ระทบั ถกู รถยนต์สว่ นบคุ คลขบั สวนทางมา พงุ่ เขา้ ชนตกถนน
สนิ้ พระชนมท์ นั ทที นั ใด ในทอ้ งทอี่ าเภอบางพลี จงั หวดั สมทุ รปราการ

พ.ศ. 2514 พรรษาที่ 55 สมเด็จพระอรยิ วงศาคตญาณ (จวน อุฏฐายีมหาเถร) โดย
รถยนต์พระประเทียบท่ีประทับ ถูกรถยนต์ส่วนบุคคลขับสวนทางมา พุ่งเข้าชนตกถนน
ส้ินพระชนมท์ ันทีทันใด ในท้องที่อาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ เมือ่ วันที่ 18 ธนั วาคม
พ.ศ. 2514 เวลา 10:05 น. สิริพระชันษา 74 ปี 336 วัน และดารงตาแหน่งสมเด็จ
พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก เปน็ เวลา 7 พรรษา (6 ปี กับ 22 วัน)

ได้รับพระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุ หน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพ
ศิรินทราวาส เมือ่ วันท่ี 17 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2515

……………………………………………………………..

แหลง่ ขอ้ มลู อา้ งองิ

ประวตั วิ ัดสาคญั เลม่ 1, พระธรรมวราจารย์ วดั บวรนเิ วศวหิ าร รวบรวมและเรยี บเรยี ง,
มลู นธิ สิ ริ นิ ธรราชวทิ ยาลยั ในพระราชปู ถมั ภ์, 2542

วดั มกฏุ กษตั รยิ าราม, สเุ ชาวน์ พลอยชมุ เรยี บเรยี ง, มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั , 2541.
19 สมเดจ็ พระสงั ฆราช กรงุ รตั นโกสนิ ทร์, โกวทิ ต้ังตรงจิตร, สวรี ยิ าศาสน์ จดั พมิ พ,์

2549.
หนงั สอื ชดุ พระเกยี รตคิ ณุ สมเดจ็ พระสงั ฆราชแห่งกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ : สมเด็จพระอรยิ

วงศาคตญาณ สมเดจ็ พระสงั ฆราช (จวน อฏุ ฐาย)ี

http://mbu.ac.th
http://mahamakuta.inet.co.th
https://th.wikipedia.org › wiki
https://www.baanjomyut.com
http://www.dharma-gateway.com
https://www.posttoday.com
https://www.khaosod.co.th
https://www.komchadluek.net
https://www.web-pra.com

ขอขอบคณุ ภาพและขอ้ มลู จากเวบ็ ไซตต์ า่ งๆ


Click to View FlipBook Version