The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระประวัติ สังฆราชองค์ที่ 17

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ประสาร ธาราพรรค์, 2021-04-12 09:12:48

พระประวัติ สังฆราชองค์ที่ 17

พระประวัติ สังฆราชองค์ที่ 17

พระประวัติ สงั ฆราชองคท์ ่ี 17

สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก (ปนุ่ ปณุ ณฺ สริ ิ)
ประสาร ธาราพรรค์ เรยี บเรยี ง

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ) สมเด็จ
พระสังฆราชพระองค์ที่ 17 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
ราชวรมหาวิหาร(วัดโพธ์ิ) เป็นสมเด็จพระสังฆราชที่ทรงพระปรีชาญาณ เฉลียวฉลาด
สามารถแก้ปัญหาต่างๆ ได้เป็นอย่างดี สังฆราชที่บรรพชิตและคฤหัสถ์เรียกพระองค์ท่าน
ด้วยความเคารพว่าสมเดจ็ ปา๋ อีกหนึ่งพระปรีชาสามารถที่โดดเด่นคือ ความสามารถด้าน
การประพันธ์ งานประพันธ์ของพระองค์ท่าน แม้จะผ่านห้วงเวลาที่ยาวนาน ยังมีความ
ทันสมัย มีหลักคาสอน คาเทศนาที่ทันต่อเหตุการณ์ มีสาระประโยชน์แก่ญาติโยม
สามารถนาไปปฏิบัติในชีวิตประจาวันได้เป็นอย่างดี

กาเนิด

สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ สมเดจ็ พระสงั ฆราช (ปนุ่ ปณุ ณฺ สริ )ิ
สมเดจ็ พระอริยวงศาคตญาณ สมเดจ็ พระสงั ฆราช (ป่นุ ปุณฺณสิริ) มีพระนามเดิมว่า
ปนุ่ สุขเจรญิ มีพระฉายา ปุณณสิริ ประสตู ิเม่อื วนั องั คาร แรม 13 ค่า เดือน 4 ปีวอก จ.ศ.
1258 ร.ศ. 115 เวลา 24 นาฬิกาเศษ ตรงกบั วนั ที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2439 ตรงกับรัชสมัย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว รัชกาลท่ี 5 ณ บ้านตาบลสองพ่นี ้อง อาเภอสอง
พนี่ อ้ ง จังหวัดสุพรรณบรุ ี

โยมมารดานางวนั สขุ เจรญิ

พระชนกชอื่ เนา้ สขุ เจริญ พระชนนีชือ่ วนั สุขเจริญ เป็นบุตรคนที่ 6 ในจานวนพน่ี ้อง
8 คน มีพ่เี ปน็ หญิง 4 คน ถงึ แตก่ รรมแต่เยาว์วัย พ่ีคนที่ 5 เป็นชายช่ือเหลือ น้องชายคนท่ี
7 ชื่อเป้ง สุขเจริญ และน้องชายคนที่ 8 ช่ือส่ิว นามสกุล สุขเจริญ เป็นศิษย์วัดสองพ่ีน้อง
เปน็ ญาติใกล้ชดิ กบั หลวงพ่อสด วดั ปากนา ภาษีเจรญิ

เมื่อพระชนม์ได้ 10 พรรษา (พระอาจารย์หอมได้พามาฝากใหเ้ ป็นศษิ ยพ์ ระอาจารย์
ป่วน) ไดม้ าอยทู่ ่ีวัดมหาธาตุ ฯ เมื่อพระชนมไ์ ด้ 16 พรรษา ไดย้ ้ายมาอยูก่ ับพระอาจารย์สด
(พระมงคลเทพมนุ ี วดั ปากนาภาษเี จริญ) ณ วัดพระเชตพุ นฯ

การศึกษาและบรรพชา

สามเณรปนุ่ สขุ เจรญิ
การศึกษาในเบืองตน้ พ.ศ. 2445 พระชันษา 6 ปี ศึกษา เรียนกับพระชนกของท่าน
จนอ่านออกเขียนได้ จนอ่านหนังสอื แบบเรียนเรว็ เล่ม 1 - 2 จบ พระชนกจึงส่งให้เข้าเรียน
ต่อในโรงเรียนเอกชน เป็นเวลาประมาณหนึ่งปีแล้วจึงไปเรียนภาษาบาลี อักษรขอม และ
มลู กจั จายน์ (กบั พระอาจารยห์ อม และอาจารย์จา่ ง) ท่วี ดั สองพีน่ อ้ ง จงั หวัดสุพรรณบุรี
พ.ศ. 2446 พระชนกนาไปฝากเปน็ ลกู ศษิ ยพ์ ระอาจารยห์ อม เกสโร (แสงจนิ ดา) ซง่ึ
เปน็ ญาตมิ ศี กั ดเิ์ ปน็ อา ณ วดั สองพน่ี อ้ ง ไดเ้ รม่ิ ศกึ ษาภาษาบาลดี ว้ ยอกั ษรขอม และมลู กจั
จายน์ (หนงั สอื ใหญ)่ กบั พระอาจารยห์ อม เกสโร และพระอาจารยจ์ า่ ง ปณุ ณฺ โชติ (พระครู
อภุ ยั ภาดารกั ษ์) เวลาเยน็ ตอ่ บทสวดมนตก์ บั พระอาจารยท์ เี่ รยี กวา่ ตอ่ หนงั สอื คา่

พ.ศ. 2454 พระชนั ษา 15 ปี พระอาจารยห์ อม วัดสองพนี่ อ้ ง นามาฝากพระภกิ ษุ
ปว่ น (ภายหลงั ยา้ ยมาอยวู่ ดั พระเชตพุ น และเปน็ พระครบู รหิ ารบรมธาตุ เจา้ อาวาสวดั นางชี
เขตภาษเี จรญิ ) ผเู้ ปน็ ญาตฝิ า่ ยโยมมารดา ณ วดั มหาธาตุ กรงุ เทพมหานคร ไดศ้ กึ ษาอกั ษร
ขอมเพมิ่ เตมิ กบั พระภกิ ษุปว่ น

หลวงพอ่ สด (พระมงคลเทพมนุ ี)
พ.ศ. 2455 อายุ 16 ปี ย้ายไปอยกู่ ับหลวงอาคอื หลวงพอ่ สด (พระมงคลเทพมุนี) ซง่ึ
มศี ักด์เิ ปน็ อา ตอนนันอย่วู ดั พระเชตพุ นฯ แต่อยไู่ ดร้ ะยะหน่งึ กล็ าสกิ ขามาชว่ ยโยมแมท่ านา
เพราะโยมพอ่ ป่วย อายุ 18 ปี จงึ บรรพชาใหม่กลับมาอยวู่ ดั พระเชตุพนฯ

อปุ สมบท

พระรปู เมอ่ื ครงั ยงั ทรงเปน็ พระเปรยี ญ 6 ประโยค
27 เมษายน 2460 ตรงกับวันศุกร์ ขึน 7 ค่า เดือน 6 ปีมะเส็ง พระชนมายุ 22
พรรษา ทรงกลับอุปสมบท ณ วัดสองพี่น้อง อันเป็นภูมิลาเนาเดิม พระครูวินยานุโยค
(เหนี่ยง อินฺทโชโต) เจ้าอาวาสวัดสองพี่น้อง เจ้าคณะอาเภอสองพี่น้อง เป็นพระอุปัชฌาย์
พระอาจารยโ์ หน่ง วัดสองพ่นี ้อง (ต่อมาย้ายไปเปน็ เจ้าอาวาสวดั อัมพวัน ตาบลดอนมะดัน)
เปน็ พระกรรมวาจาจารย์ พระศากยปุตติยวงศ์ (เผื่อน ตสิ สฺ ทตโฺ ต สุดทา้ ยได้รบั สถาปนาเป็น
สมเด็จพระวนั รตั ) วัดพระเชตพุ น เปน็ พระอนสุ าวนาจารย์

ศกึ ษาปรยิ ตั ธิ รรม

วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามราชวรมหาวหิ าร (วดั โพธ)์ิ
พ.ศ. 2455 ศึกษาภาษาบาลี และนักธรรมในสานักเรียนวัดพระเชตุพนฯ กับพระ
ศากยบตุ ตยิ วงศ์ (เผอ่ื น ติสฺสทตโฺ ต) และพระมหาปี วสตุ ฺตโม
พ.ศ. 2456 สอบได้นกั ธรรมชันตรี

พ.ศ. 2458 พระชนั ษา 20 ปี สอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค ขณะเป็นสามเณร และ
ไ ด้ เ ข้ า รั บ พ ร ะ ร า ช ท า น ป ร ะ ก า ศ นี ย บั ต ร แ ล ะ พั ด ใ บ ต า ล ใ จ ก ล า ง พื น แ พ ร เ ขี ย ว จ า ก
พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยพ.ศ. 2462 สอบได้
นกั ธรรมชนั โท

พ.ศ. 2463 สอบได้เปรยี ญธรรม 4 ประโยค
พ.ศ. 2467 สอบได้เปรยี ญธรรม 5 ประโยค
พ.ศ. 2470 สอบได้เปรยี ญธรรม 6 ประโยค
พระสมณศกั ดแ์ิ ละตาแหนง่ หนา้ ทใี่ นการคณะสงฆ์

สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ สมเดจ็ พระสงั ฆราช (ปนุ่ ปณุ ณฺ สริ )ิ

เจา้ พระคณุ สมเดจ็ ฯ ทรงรบั ภาระหนา้ ทท่ี างการคณะสงฆม์ าแตท่ รงเปน็ พระเปรยี ญ
เรม่ิ แตห่ นา้ ทภ่ี ายในพระอารามไปจนถงึ หนา้ ทใ่ี นการปกครองคณะสงฆ์ ดังนี

สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ สมเดจ็ พระสงั ฆราช (ปนุ่ ปณุ ณฺ สริ )ิ
พ.ศ. 2463 เมื่อทรงเป็นเปรียญ 4 ประโยค ทรงเป็นครูสอนพระปริยัติธรรมแผนก
บาลี ชนั ไวยากรณ์
พ.ศ. 2467 เมือ่ ทรงเป็นเปรยี ญ 5 ประโยคแล้ว ทรงเป็นครูสอนพระปริยัติธรรมชัน
ประโยค 3 ทรงทาหน้าท่เี ป็นครูในสานักเรียนวัดพระเชตุพนอยู่นานถงึ 25 ปี
พ.ศ. 2483 เม่ือยงั ทรงเปน็ พระเปรียญเป็นกรรมการแปลพระไตรปฎิ กเปน็ ภาษาไทย
แผนก พระวินยั

สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ สมเดจ็ พระสงั ฆราช (ปนุ่ ปณุ ณฺ สริ )ิ

พ.ศ. 2484 เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระเชตุพน เป็นพระคณาจารย์เอกทางเทศนา
และในวนั ที่ 1 มีนาคม 2484 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะสามัญท่ีพระ
อมรเวที

พ.ศ. 2486 เป็นเจ้าคณะตรวจการภาคบูรพา (สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี
นครนายก ปราจนี บุรี ระยอง จนั ทบรุ ี ตราด)เปน็ เจา้ คณะตรวจการภาค 2 อยุธยา อ่างทอง
สระบุรี ลพบรุ ี สงิ ห์บรุ ี อุทยั ธานี นครสวรรค์ พจิ ิตร กาแพงเพชร สุพรรณบรุ ี) เปน็ กรรมการ
สงั คายนาพระธรรมวนิ ยั

พ.ศ. 2487 เปน็ พระอปุ ชั ฌาย์
พ.ศ. 2488 เปน็ สมาชิกสงั ฆสภา

พ.ศ. 2489 ไดร้ ับพระราชทานเลอ่ื นสมณศกั ดเ์ิ ปน็ พระราชาคณะชนั ราชท่ีพระราชสธุ ี
ธรรมปรชี าภมิ ณฑ์ ปรยิ ตั โิ กศล ยตคิ ณศิ ร บวรสงั ฆาราม คามวาสี

สมเดจ็ พระวนั รตั (เผอ่ื น ตสิ สฺ ทตโฺ ต)
พ.ศ. 2490 สมเด็จพระวันรัต (เผื่อน ติสฺสทตฺโต) เจ้าอาวาสวัดพระเชตุพน ถึง
มรณภาพ เจ้าพระคุณสมเด็จ ฯ ขณะทรงดารงสมณศักดิ์ท่ีพระราชสุธี จึงได้รับแต่งตังเป็น
ผู้รักษาการเจ้าอาวาสวัดพระเชตุพน เป็นกรรมการสภามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และ
ในคราวเดยี วกนั ได้รับพระราชทานเลอื่ นสมณศกั ดเิ์ ปน็ พระราชาคณะชนั เทพที่ พระเทพเวที
ตรปี ฎิ กคณุ สุนทรธรรมภูษติ ยตคิ ณิสร บวร
พ.ศ. 2491 เป็นสังฆมนตรี (สมัยท่ี 1 เป็นเจ้าอาวาสวัดพระเชตุพน เป็นกรรมการ
และเลขาธกิ าร ก.ส.พ. (กรรมการสงั ฆาณตั ิระเบยี บพระคณาธกิ าร) ไดร้ บั พระราชทานเลอื่ น
สมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชันธรรมท่ีพระธรรมดิลก พระธรรมดิลก ศากยปุตติยนายก
ตรปี ิฎกบัณฑิต ยตคิ ณสิ ร บวรสังฆาราม คามวาสี

พ.ศ. 2492 เปน็ เจา้ คณะตรวจการภาค 2 (สมทุ รปราการ สมทุ รสงคราม สมุทรสาคร
ฉะเชิงเทรา ชลบุรี นครนายก ปราจีนบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด) เป็นสภานายกสภาพระ
ธรรมกถึก

พ.ศ. 2493 เป็นสังฆมนตรี (สมัยท่ี 2)
พ.ศ. 2494 เป็นสังฆมนตรี (สมัยท่ี 3)เป็นสังฆมนตรีและสังฆมนตรีส่ังการแทนสังฆ
มนตรีว่าการองค์การเผยแผ่ (สมัยที่ 4) เป็นเจ้าคณะตรวจการภาค 7 (สมุทรสงคราม
สมุทรสาคร นครปฐม สุพรรณบุรี ราชบุรี กาญจนบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์) เป็น
ประธาน ก.จ.ภ. (กรรมการเจ้าคณะตรวจการภาค) เป็นอนุกรรมการอบรมศีลธรรมและ
วัฒนธรรมแกข่ า้ ราชการและประชาชน (ก.อ.ช.)

พ.ศ. 2496 เปน็ ประธานกรรมการสงฆแ์ หง่ โรงพยาบาลสงฆ์
พ.ศ. 2497 เปน็ ประธานทอดผา้ ปา่ วนั โรงพยาบาลสงฆ์ โดยทรงรเิ รม่ิ ในนามสภาพระ
ธรรมกถึก เปน็ กรรมการวทิ ยกุ ระจายเสยี งวนั ธรรมสวนะ
พ.ศ. 2498 เปน็ ท่ีปรกึ ษาคณะกรรมการทานุบารงุ โรงพยาบาลสงฆ์

พ.ศ. 2499 ไดร้ บั พระราชทานสถาปนาเปน็ พระราชาคณะเจ้าคณะรองท่ี พระธรรม
วโรดม ชันหิรัญบฏั ท่ี พระธรรมวโรดม บรมญาณอดลุ สุนทรนายก ตรปี ฎิ กคณุ าลงั การวภิ สู ติ
สุทธิกิจสาทร มหาคณิสร บวรสังฆาราม คามวาสีเป็นสังฆมนตรีว่าการองค์การ
สาธารณูปการ (สมัยท่ี 5)

พ.ศ. 2500 เปน็ กรรมการ ก.ส.พ. เปน็ กรรมการอปุ ถัมภ์กติ ตมิ ศักด์ิ มหาจุฬาลงกรณ
ราช วิทยาลัย

พ.ศ. 2501 เป็นประธานกรรมการปรบั ปรงุ ตลาดเฉลิมโลก

วดั ปากนา ภาษเี จรญิ
พ.ศ. 2502 - 2508 เปน็ ผรู้ กั ษาการเจา้ อาวาสวดั ปากนา ภาษเี จรญิ
พ.ศ. 2503 เปน็ สงั ฆมนตรวี า่ การองคก์ ารเผยแผ่ (สมยั ท่ี 6)
พ.ศ. 2504 ไดร้ ับพระราชทานสถาปนา เปน็ สมเด็จพระราชาคณะท่ี สมเดจ็ พระวนั
รตั ไดร้ ับสถาปนาเปน็ สมเดจ็ พระราชาคณะที่ สมเดจ็ พระวนั รตั ปรยิ ตั พิ พิ ฒั นพงศ์ วสิ ทุ ธิ

สงฆป์ รณิ ายก ตรปี ฎิ กโกศล วมิ ลคมั ภรี ญาณสนุ ทร มหาคณปธานาดศิ ร บวรสงั ฆาราม
คามวาสี อรญั ญวาสี เปน็ กรรมการพจิ ารณาหลกั สตู รการศกึ ษาปรยิ ตั ธิ รรม แผนกบาลี

พ.ศ. 2506 เปน็ กรรมการมหาเถรสมาคม ตามพระราชบญั ญตั คิ ณะสงฆ์ พ.ศ. 2505
ซงึ่ ประกาศใชแ้ ทน พระราชบญั ญตั คิ ณะสงฆ์ พ.ศ. 2484 เปน็ ผรู้ กั ษาการเจา้ อาวาสวดั โส
ธรวราราม จนถงึ พ.ศ. 2507

พ.ศ. 2508 เปน็ เจา้ คณะใหญห่ นกลาง และรกั ษาการในตาแหนง่ เจา้ คณะใหญห่ น
ตะวนั ออก หนเหนอื และหนใต้ เปน็ กรรมการมลู นธิ โิ รงพยาบาลสงฆ์

พ.ศ. 2509 เปน็ แมก่ องงานพระธรรมทตู

สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ (จวน อฏุ ฐฺ ายมี หาเถร)
พ.ศ. 2510 เปน็ ผูป้ ฏบิ ัตหิ น้าทแ่ี ทนสมเดจ็ พระสังฆราช ในระหว่างท่ี สมเด็จพระอริ
ยวงศาคตญาณ (จวน อุฏฐฺ ายมี หาเถร) สมเด็จพระสงั ฆราชเสดจ็ เยือนศรีลังกาเป็นทางการ
ระหวา่ งวันที่ 10 - 20 กมุ ภาพันธ์ 2510 เป็นประธานจิตตภาวนั วิทยาลัย

พ.ศ. 2515 เป็นเจา้ คณะนครหลวง กรุงเทพธนบรุ ี

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงถวายพดั ยศและเครอื่ งสมณศกั ดแ์ิ ดส่ มเดจ็ ฯ
ในงานพระราชพธิ สี ถาปนาสมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ สมเดจ็ พระสงั ฆราช (ปนุ่ ปณุ ณฺ สริ )ิ

สมเดจ็ พระสงั ฆราชพระองคท์ ี่ 17 แหง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์
21 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 พระชันษา 76 ปี พรรษา 55 ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จ
พระสังฆราชท่ี สมเด็จพระอรยิ วงศาคตญาณ สุขุมธรรมวิธานธารง สกลมหาสงฆปริณายก
ตรีปิฎกกลาสุโกสล วิมลคมั ภรี ญาณ ปณุ ณสิริภธิ านสงั ฆวิสุทธิ์ ปาวจนตุ ตมสกิ ขวโรปการ ศลี
ขันธสมาจารสุทธิปฏิบัติ พุทธบริษัทคารวสถาน วิจิตรปฏิภาณพัฒนคุณ อดุลธรรมวิสาร
สุนทร บวรธรรมบพิตร สมเด็จพระสังฆราช สืบต่อจาก สมเด็จพระสังฆราช (จวน อุฏฺฐายี
มหาเถร) สกลมหาสังฆปริณายกองค์ที่ 17 แหง่ กรงุ รตั นโกสินทร์

ดารงตาแหนง่ หนา้ ทใ่ี นคณะมหานกิ าย
พ.ศ. 2490 - เปน็ กรรมการสภามหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั
พ.ศ. 2494 - เปน็ ประธานกรรมการเจา้ คณะตรวจการภาค (ก.จ.ภ.)
พ.ศ. 2500 - เปน็ กรรมการอปุ ถมั ภก์ ติ ตมิ ศกั ดิ์ มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั
27 มนี าคม พ.ศ. 2516 - ตงั สมชั ชามหาคณสิ สร และเปน็ ประธานสมชั ชา

มหาคณสิ สร

การพระศาสนาต่างประเทศ
ในด้านการพระศาสนาตา่ งประเทศนัน เจ้าพระคณุ สมเด็จ ฯ กท็ รงรบั ภาระปฏบิ ตั มิ า

เปน็ ลาดับ เร่มิ แต่ครงั ทรงดารงสมณศักดท์ิ ่ี พระธรรมดิลก กลา่ วคอื
พ.ศ. 2497 ร่วมในคณะผ้แู ทนแห่งคณะสงฆไ์ ทยไปรว่ มในการประชมุ ฉัฏฐสังคายนา

ณ ประเทศพมา่ และในปเี ดยี วกันเดนิ ทางไปสังเกตการณพ์ ระศาสนา ณ ประเทศกัมพชู า

สงั เวชนยี สถาน ประเทศอนิ เดยี
พ.ศ. 2499 ไปร่วมฉลองพุทธชยันตี (ฉลอง 25 พุทธศตวรรษ) ณ ประเทศศรีลังกา
แล้วเดินทางไปนมัสการสังเวชนียสถาน ในประเทศอินเดีย และแวะสังเกตการณ์ พระ
ศาสนา ณ ประเทศสงิ คโปร์

พ.ศ. 2502 ไปรว่ มพธิ เี ปดิ วดั ไทย ณ พุทธคยา ประเทศอินเดยี
พ.ศ. 2506 ไปเยอื นวัดไทยในรัฐเคดาห์ ปินงั ประเทศมาเลเซยี และประเทศสงิ คโปร์
พ.ศ. 2509 ไปเป็นประธานในพิธีผูกพัทธสีมาวัดไทยพุทธคยา ประเทศอินเดีย
จากนนั ไปสงั เกตการณพ์ ระศาสนา ณ ประเทศเนปาล
พ.ศ. 2510 ไปเป็นประธานผูกพัทธสีมา วัดเชตวัน กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศ
มาเลเซยี
พ.ศ. 2511 ไปเยอื นวัดพุทธปทีป กรงุ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ และไปสงั เกตการณ์
พระศาสนา ณ ประเทศเนเธอร์แลนด์ ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม ลักเซมเบอร์ก เยอรมันนี
สวิสเซอรแ์ ลนด์ และอติ าลี

เขา้ เฝา้ สมเดจ็ พระสนั ตะปาปา ปอลที่ 6 ณ นครรฐั วาติกนั
เมอ่ื วนั ท่ี 5 มถิ นุ ายน พ.ศ.2515 ขณะดารงสมณศกั ดท์ิ ่ี สมเดจ็ พระวนั รตั

พ.ศ. 2515 เสด็จเยือนประเทศสหรัฐอเมริกา ตามคาอาราธนาของรัฐบาล
สหรฐั อเมรกิ า และในโอกาสเดียวกนั ก็เสดจ็ เยือนสานักวาติกัน ณ กรุงโรม ประเทศอิตาลี
เยือนวัดพุทธปทีป กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เยือนเนเธอร์แลนด์ ฝร่ังเศส เยอรมนี
สวสิ เซอร์แลนด์ และสเปน
การกอ่ สร้างปฏสิ งั ขรณ์

ตงั แต่ทรงดารงตาแหนง่ เจ้าอาวาส เป็นตน้ มา การก่อสร้างปฏิสังขรณ์ในพระอาราม
สินเงนิ ประมาณ 20 ล้านบาท

สร้างพิพิธภณั ฑส์ มเดจ็ พระสังฆราช องคท์ ่ี 17 ณ วดั สุวรรณภมู ิ อาเภอเมอื ง จังหวดั
สุพรรณบรุ ี

สร้างโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 17 ณ อาเภอสองพ่ีน้อง จังหวัด
สพุ รรณบรุ ี สรา้ งตกึ สันติวัน โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ โดยทุนส่วนพระองค์ และผทู้ ถ่ี วายใน
คราวเสดจ็ เข้ารบั การผ่าตดั เมอ่ื พ.ศ. 2516 รวมเปน็ เงิน 408,200 บาท และยงั ทรงบริจาค

สมทบสร้างตึกศัลยกรรม โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ 50,000 บาท เคร่ืองทาความเย็นตึก
กายภาพบาบัด 50,000 บาท เป็นทุนค่าอาหาร 30,000 บาท ทุนตึกจงกลนีวัฒนวงศ์
20,000 บาท

สรา้ งโรงเรียนสมเด็จพระวนั รตั ตลาดสามชกุ อาเภอสามชุก จงั หวัดสุพรรณบรุ ี
สรา้ งหอสมเดจ็ วดั วมิ ลโภคาราม อาเภอสามชุก จังหวดั สพุ รรณบรุ ไี ดร้ บั พระกรณุ าโปรด ให้
เป็นประธานสรา้ งโรงเรยี นสงเคราะหเ์ ดก็ อนาถา วดั ศรจี นั ทรป์ ระดษิ ฐ์ จงั หวดั สมทุ รปราการ
และวดั ปา่ ไก่ จังหวัดราชบุรี

งานพระนิพนธ์ “สนั ติวนั ” “ศรีวนั ”

นอกจากทรงแตง่ และเรียบเรยี งพระธรรมเทศนาแลว้ โดยทท่ี รงสนใจในการประพนั ธ์
มาตงั แตย่ งั ทรงเป็นสามเณร โปรดการอา่ นหนงั สอื และสะสมหนงั สอื ตา่ งๆ ทงั เคยทรงเขยี น
บทความเก่ยี วกับวันสาคัญทางพระพทุ ธศาสนาลงพิมพ์ในหนงั สือพมิ พ์เดลเิ มล์ ในพระนาม
วา่ “ป.ปณุ ฺณสริ ิ” ยงั ทรงนิพนธห์ นงั สืออีก 20 กวา่ เรอ่ื ง
ประเภทวิชาการ

เมื่อทรงเป็นเลขาธิการ ก.ส.พ. ได้ทรงรวบรวมระเบียบข้อบังคับคณะสงฆ์พิมพ์เป็น
เลม่ ชือ่ ประมวลอาณตั คิ ณะสงฆ์
ประเภทสารคดี

บนั ทึกการเสด็จไปยังที่ต่างๆ คอื สเู่ มอื งอนัตตา พทุ ธชยันตี เดีย-ปาล สู่สานักวาติกัน
และนกิ สัน และพระนพิ นธ์เร่ืองสดุ ทา้ ย คือ บ่อเกิดแหง่ กศุ ลคอื โรงพยาบาล
ประเภทธรรมนยิ าย

ในพระนาม สันติวัน หรือ ศรีวัน ทรงนิพนธ์ อาทิ จดหมายสองพ่ีน้องสันติวัน
พรสวรรค์ หนีกรรมหนีเวร ไอ้ตี๋ ดงอารยะ เกียรติกานดา คุณนายชันเอก ความจริงที่
มองเห็น ความดีที่นา่ สรรเสรญิ อภินิหารอาจารย์แกว้ กรรมสมกรรม นอกจากนี ยังได้ทรง
เขยี นเป็นบทความต่างๆ อีกมาก

พระเกยี รตคิ ณุ พเิ ศษ
สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ สมเดจ็ พระสงั ฆราช (ปนุ่ ปณุ ณฺ สริ )ิ เจรญิ อยใู่ นพรหม

วหิ ารธรรม เปน็ ครฐุ านยี อภปิ ชู นยี บคุ คล เปน็ ทร่ี กั ทเี่ คารพบชู าสกั การะอยา่ งยง่ิ แหง่ ปวงชน
ทงั บรรพชติ และคฤหสั ถ์ ไดร้ ับยกยอ่ งพระเกยี รตคิ ณุ เปน็ อยา่ งสงู จงึ มพี ระนามเปน็ พเิ ศษวา่
“สมเดจ็ ปา๋ ” พระเครอ่ื งและเหรยี ญพระรปู ทส่ี รา้ งขนึ ในวาระตา่ ง ๆ หรอื ทมี่ ผี มู้ าขอ
อนญุ าตพมิ พเ์ ปน็ ทร่ี ะลกึ ในงานกศุ ล ปรากฏว่าเปน็ ทนี่ ยิ มกนั มาก ดงั นี

สมเดจ็ แสน
พระเครอื่ ง "สมเดจ็ แสน" พมิ พพ์ ระองคเ์ องเปน็ ปฐมฤกษ์ มจี านวน 170,000 องค์
แจกในงานบาเพญ็ พระกศุ ลพระชนั ษา 72 ปี
พระกรง่ิ "สมเดจ็ ฟา้ ลนั่ " และ "สมเดจ็ ฟา้ แจง้ " (ธรรมจาร)ี เททองหลอ่ ในวนั คลา้ ยวนั
ประสตู ิ พ.ศ. 2515 - 2516 จานวน 1,700 องค์
เหรยี ญพระรปู "เหรยี ญ 60" "เหรยี ญ 72" "สมเดจ็ รอบโลก" "เหรยี ญทรงฉตั ร"
ทงั หมดพมิ พป์ ระมาณ 600,000 เหรยี ญ
วดั สว่ นราชการ องคก์ ารกศุ ล ทโี่ ปรดอนญุ าตใหพ้ มิ พเ์ หรยี ญพระรปู เทา่ ทร่ี วบรวมได้
55 แบบพมิ พ์ จานวนประมาณ 1,00,000 เหรยี ญ
เหรยี ญพระรปู เหรยี ญสดุ ทา้ ย "สมเดจ็ เพม่ิ บารม"ี เปน็ ทร่ี ะลกึ ในวนั ครบปสี ถาปนา
จานวน 100,000 เหรยี ญ

การประชวร
เมื่อ พ.ศ. 2492 ประชวรหนักเป็นโรคเกี่ยวกับลาไส้ วันที่ 29 มีนาคม 2499 ทรง

ประสบอุบตั ิเหตุรถยนตท์ ปี่ ระทับหลบรถโดยสารตกลงไปคา้ งทีค่ ลองขา้ งวดั ศรสี าราญ ถนน
เพชรเกษม ทรงบาดเจ็บเล็กน้อย ประทับรักษาพยาบาล ณ โรงพยาบาลสงฆ์ พ.ศ. 2502
เสด็จประทับรักษาพระองค์ ณ โรงพยาบาลสงฆ์ โดยปกติเมื่อประชวร พ.ท. นิตย์ เวชช
วิศิษฐเ์ ปน็ ผถู้ วายการรักษาเปน็ ประจา

แพทยห์ ญงิ คณุ หญงิ ศรจี ติ รา บนุ นาค
พ.ศ. 2510 แพทย์ตรวจพบว่าเป็นโรคเบาหวาน ทรงได้รับการรักษาจากนายแพทย์
ปราโมทย์ ศรศรีวิชัย แห่งเทศบาลกรุงเทพฯ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงทราบ จึง
ทรงกรุณาโปรดให้แพทย์หญิงคุณหญิงศรีจิตรา บุนนาค ผู้เชี่ยวชาญโรคเบาหวาน แห่ง
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และนายแพทยส์ ิโรตม์ บุนนาค เป็นแพทยถ์ วายการรกั ษาพยาบาล
ประจาพระองค์ ตังแต่วันที่ 6 ธันวาคม 2510 และได้เสด็จไปประทับ ณ ตึกจงกลนีวัฒน
วงศ์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เพื่อทรงรับการตรวจเป็นประจาทุก ๆ ปี เม่ือ พ.ศ. 2515
กอ่ นเสดจ็ ไปต่างประเทศ ก็ทรงไดร้ ับการตรวจพระอาการ ท่วั ไป

สมเดจ็ พระสงั ฆราช (ปนุ่ ปณุ ณฺ สริ ิ)

ต้นเดือนกันยายน พ.ศ. 2515 ได้เสด็จไปรับการตรวจพระอาการ เม่ือตรวจทาง
เอ็กซเรย์ ปรากฏว่าพระปับผาสะ (ปอด) ข้างซ้ายผิดปกติ จึงต้องเสด็จไปประทับ ณ ตึก
จงกลนี ฯ เพ่ือใหค้ ณะแพทยต์ รวจพระอาการโตยละเอยี ด คณะแพทย์พบว่า ปอดข้างซ้าย
เป็นเนืองอก (มะเร็ง) จาต้องรักษาโดยการผ่าตัดโดยด่วน เมื่อความได้ทราบฝ่าละอองธุลี
พระบาท ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้คณะแพทย์ถวายการรักษา ในทางทเ่ี หน็ วา่ ดแี ละ
ปลอดภัยมากทส่ี ุด

คณะแพทย์ไดถ้ วายการผ่าตดั เม่อื วันท่ี 2 ตลุ าคม 2515 หลังจากถวายการผา่ ตดั แล้ว
พระอาการดขี ึนโดยลาดับ จนเสดจ็ กลบั วัดไดเ้ ม่ือวนั ท่ี 11 พฤศจกิ ายน 2515 คณะแพทยไ์ ด้
ถวายคาแนะนาให้ทรงพกั รักษาพระองค์อีกสามเดือน ตลอดเวลาที่พักอยู่นัน โรงพยาบาล

จุฬาลงกรณ์ ได้จัดบุรุษพยาบาลและเจ้าหน้าที่กายภาพบาบัด มาเฝ้าปฏิบัติและถวายการ
รกั ษาเป็นประจา จนเสด็จประชุมมหาเถรสมาคมและเสดจ็ ไปกจิ นมิ นตไ์ ด้

สมเดจ็ พระสงั ฆราช (ปนุ่ ปณุ ณฺ สริ ิ)
ครันเดือนสงิ หาคม 2516 ทรงมพี ระอาการผิดปกติ แพทยป์ ระจาพระองคไ์ ดม้ าถวาย
การตรวจและถวายยา วันท่ี 2 กันยายน 2516 ทรงร้สู กึ พระองค์ว่า ต่อไปคงจะเทศน์ไม่ได้
อีกแล้ว ความจาไม่ดี แพทย์ประจาพระองค์ได้กราบทูลอาราธนาให้เสด็จไปประทับ ณ
โรงพยาบาล เพอ่ื ตรวจพระอาการ ทรงกาหนดเสด็จไปวันท่ี 12 กันยายน 2516 วันขึน 15
ค่า เดือน 10 หลงั จากทรงทาอโุ บสถสังฆกรรมแลว้

คณะแพทยไ์ ดต้ รวจพระอาการ ปรากฏว่าโรคมะเร็งขึนสมองด้านซ้าย จึงทาให้พระ
วรกายทางซีกขวาอ่อน เคล่ือนไหวไม่ได้ ครันเมื่อถวายการรักษาทางยาและฉายรังสีโค
บอลท์ พระอาการดีขึนจนกระท่ังพระหตั ถข์ ้างขวาเคลือ่ นไหวได้และทรงอกั ษรไดบ้ า้ ง

วันท่ี 9 ตลุ าคม 2516 ประชวรพระวาโย ตอ้ งเชิญเสด็จประทบั หอ้ งฉกุ เฉิน ตังแต่นนั
มา พระอาการก็มีแต่ทรงกับทรุด วันท่ี 14 ตุลาคม 2516 มีพระโลหิตออกจากกระเพาะ
อาหาร คณะแพทย์ต้องถวายการผ่าตัด เม่ือเวลา23.00 น. หลังจากนันพระอาการดีขึน
เลก็ นอ้ ย

นายแพทยอ์ ดุ ม โปษะกฤษณะ
วันท่ี 16 พฤศจิกายน 2516 พระอาการน่าวิตก วันที่ 19 พฤศจิกายน เวลา 20.00
น. พระอาการทรดุ หนักลง ตอ่ แต่นนั มา พระอาการมแี ตท่ รุดลงเป็นลาดับ และสนิ พระชนม์
เม่ือวันที่ 7 ธนั วาคม 2516 เวลา 22.25 น. โดยมคี ณะแพทย์ พยาบาล และนายแพทย์อดุ ม
โปษะกฤษณะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข พร้อมด้วย พระเถรานุเถระ ศิษยานุ
ศิษย์ เฝ้าพระอาการอยตู่ ลอดเวลา

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระบรมราชูปถัมภ์ ในการ
รกั ษาพยาบาลตลอดมา และมีคณะแพทยก์ ราบบังคมทูลถวายรายงานการประชวรให้ทรง
ทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท ทุกระยะ ตังแต่ยังทรงสมณศักด์ิท่ี สมเด็จพระวันรัต ตราบ
จนกระท่ังสินพระชนม์ ในระหว่างประชวร สมเด็จพระนางเจ้า ฯพระบรมราชินีนาถ ได้
โปรดใหเ้ ชิญเคร่อื งเสวยมาถวายหลายครัง

ในการประชวรครังนี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้า ฯ
พระบรมราชินีนาถ ทรงห่วงใยเป็นอย่างยิ่ง แม้คณะแพทย์จะได้กราบบังคมทูลถวาย
รายงานให้ทรงทราบฝ่าละอองธุลพี ระบาททุกระยะแลว้ กด็ ี กย็ งั มพี ระราชหฤทยั กงั วลถงึ ได้
ทรงพระมหากรุณาเสดจ็ เยี่ยม ดงั นี

วันที่ 15 กันยายน 2516 เวลา 16.45 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระ
ราชดาเนินเยี่ยมประมาณ 25 นาที

วันที่ 3 ตุลาคม 2516 เวลา 17.20 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จ
พระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินนี าถ เสดจ็ พระราชดาเนินเยี่ยมประมาณ 5 นาที

วันท่ี 17 ตุลาคม 2516 เวลา 12.20 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระ
นางเจา้ พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จพระเจา้ ลูกเธอเจา้ ฟ้า ฯ ทงั สองพระองค์ เสด็จพระ
ราชดาเนนิ เยี่ยมประมาณ 1 ชั่วโมง

วันที่ 25 พฤศจิกายน 2516 เวลา 17.20 น. สมเด็จพระนางเจ้า ฯ
พระบรมราชินีนาถ เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยยี่ มประมาณ 40 นาที

สนิ พระชนม์
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าฯ

พระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราช
ดาเนินไปบาเพ็ญพระราชกุศลออกเมรพุ ระศพ สมเด็จพระอรยิ วงศาคตญาณ (ปนุ่ ปณุ ณฺ สริ ิ)
ณ หอประชุมสงฆ์ วัดพระเชตุพนวิมลมงั คลาราม

โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ ในอดตี
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ได้มีแถลงการณ์แจ้งข่าวพระอาการตลอดมาทุกระยะ
แถลงการณ์ในการสินพระชนม์ มีดังนี "สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช
สกลมหาสังฆปริณายก เสด็จเข้ารับการรักษา ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ตังแต่วันท่ี 12
กนั ยายน 2516 ดว้ ยพระอาการเวียนพระเศยี ร ความจาทรงเส่ือมลง พระวรกายทางซกี ขวา

อ่อนเคลอื่ นไหวไม่ได้ คณะแพทย์ลงความเห็นว่า พระอาการท่วั ไปทังหมด เนื่องมาจากการ
ทพ่ี ระองค์ทรงประชวรเปน็ เนอื งอกในปอดขา้ งซา้ ย ซงึ่ คณะแพทยไ์ ด้ถวายการรกั ษาดว้ ยรงั สี
โคบอลท์ พระอาการดีขึนบา้ ง

ต่อมาวันที่ 14 ตุลาคม 2516 มีพระโรคแทรก คือ พระโลหิตออกจากกระเพาะ
อาหาร คณะแพทย์ได้ถวายการผ่าตัดเพอ่ื ระงบั มใิ หส้ ญู เสยี พระโลหติ ทางลาไสอ้ กี และถวาย
การผ่าตัดเพ่ือมิให้มีพระอาการขึนอีก นับตังแต่วันที่ 18 ตุลาคม 2516 เป็นต้นมา พระ
อาการทางสมองมากขนึ จนครึง่ พระวรกายซกี ขวาเคลื่อนไหวไม่ได้ ทรงมีพระอาการไข้ขึน
สงู ตลอดมา ปอดบวม มีพระอาการท่ัวไปออ่ นเพลยี ลงตามลาดบั ในทส่ี ดุ สนิ พระชนมล์ งเมอื่

วนั ศุกร์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2516 เวลา 22.25 น. ดว้ ยพระอาการอนั สงบ
คณะแพทย์ได้พยายามเยียวยาถวายการรักษาพระองค์อย่างสุดความสามารถจนถึง
สนิ พระชนม์ ในตอนกลางคนื วันสินพระชนม์ มีพระสงฆเ์ ฝา้ เยี่ยมพระอาการประมาณ 300
รปู คฤหัสถ์ประมาณ 200 คน"

การพระศพ
ประชุมจารึกวัดพระเชตุพนฯ หน่ึงในหนังสือท่ีระลึกงานพระราชทานเพลิงพระศพ

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ) ณ พระเมรุวัดเทพ
ศิรนิ ทราวาส พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ
ให้จัดการพระศพตามโบราณราชประเพณีทุกประการ วันท่ี 8 ธันวาคม พ.ศ. 2516 เวลา
16.00 น. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินนี าถ เสดจ็ พระราชดาเนนิ มาถวายนาสรงพระศพ ณ ตกึ กวี เหวียนระวี แล้ว
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เชิญพระโกศประดิษฐานเหนือชันแว่นฟ้าประกอบพระลอง
กดุ ่ันใหญ่ แวดล้อมด้วยเครอ่ื งประดับพระเกียรตยิ ศ ณ หอประชมุ สงฆ์ วัดพระเชตุพน และ
ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้มีพระพธิ ีธรรมสวดพระอภิธรรมทังกลางวัน และกลางคนื รบั
พระราชทานฉนั เช้าวนั ละ 8 รปู เพลวันละ 4 รูป กาหนด 7 วนั ทังได้เสด็จพระราชดาเนิน
มาทรงบาเพ็ญพระราชกุศลทักษิณานุประทานถวาย เม่ือครบ 7 วัน 50 วันและ 100 วัน

พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กาหนดการพระราชกุศลออกพระเมรุ และพระราชทานเพลิง
วนั ท่ี 22, 23 และ 24 เมษายน พ.ศ. 2517 ในการบาเพ็ญกุศลถวายพระศพนี มหา
เถรสมาคม คณะสงฆ์ ทังในกรุงเทพมหานคร และจังหวัดต่าง ๆ ท่ัวทุกภาค คณะรัฐบาล
กระทรวง ทบวง กรม สมาคม พ่อคา้ ประชาชน ศิษยานุศิษย์ คณะสงฆ์จีน คณะสงฆ์ญวน
สมาคมคาทอลิกแห่งประเทศไทย สมาคมศรีคุรุสิงห์สภา สมาคมฮินดูสมาช สมาคมฮินดู
ธรรมสภา และในต่างประเทศ ก็มีพระภิกษุสงฆ์พร้อมด้วยพุทธบริษัทจากฮ่องกง สิงคโปร์
มาเลเซยี ไดโ้ ดยเสด็จพระราชกุศลมาจนถึงวนั พระราชทานเพลิงพระศพ

สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ ทรงดารงตาแหน่งเจ้าอาวาสวัดพระเชตพุ น องคท์ ่ี 11
เป็นเวลา 26 ปี 8 เดอื น 30 วัน ทรงดารงตาแหนง่ สมเดจ็ พระสังฆราช องคท์ ี่ 17 เป็นเวลา
1 ปี 4 เดอื น 18 วัน สริ พิ ระชนั ษา 77 ปี

พระเมรหุ นา้ พลบั พลาอศิ รยิ าภรณ์ วดั เทพศริ นิ ทราวาส
พระราชทานเพลงิ พระศพ ณ พระเมรหุ นา้ พลบั พลาอศิ รยิ าภรณ์ วดั เทพศริ นิ ทราวาส
เมือ่ วันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2517

.................................................................

ขอ้ มลู อา้ งองิ

โกวทิ ตงั ตรงจิตร. 19 สมเดจ็ พระสงั ฆราช กรงุ รตั นโกสนิ ทร์. กรงุ เทพ : สวุ รี ยิ าสาสน์ ,
2549.

สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ สมเดจ็ พระสงั ฆราช (ปนุ่ ปณุ ณฺ สริ )ิ . สเู่ มอื งอนตั ตา (พมิ พ์
ประกาศเกยี รตคิ ณุ วนั อดตี เจา้ อาวาสวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม).
กรุงเทพมหานคร : สหธรรมกิ , 2556.

สเุ ชาว์ พลอยชมุ , เรยี บเรยี ง. พระเกยี รตคิ ณุ สมเด็จพระสงั ฆราชแหง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ :
สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ สมเดจ็ พระสงั ฆราช (ปนุ่ ปณุ ณฺ สริ )ิ วดั พระเชตพุ น
วมิ ลมงั คลาราม. นครปฐม : โรงพมิ พม์ หามกฏุ ราชวทิ ยาลยั , 2541.

https://somdej17.moph.go.
https://th.wikipedia.org › wiki › สมเด็จพระอรยิ วงศาค...
http://www.dharma-gateway.com ›
https://www.posttoday.com › ธรรมะ
ขอขอบคณุ ขอ้ มลู และภาพจากเว็บไซตต์ า่ งๆ


Click to View FlipBook Version