The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรระดับท้องถิ่น แก้ไข 28 ม.ค

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วรรณวิษา อารีวโรดม, 2021-02-18 03:21:23

หลักสูตรกรอบท้องถิ่น

หลักสูตรระดับท้องถิ่น แก้ไข 28 ม.ค

กรอบหลักสูตรระดบั ทอ้ งถน่ิ
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551

ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560
สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต 2

เอกสารลาดบั
กลุ่มนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา
สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2

ประกาศสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2
เร่ือง ปรับปรงุ กรอบหลักสตู รระดับท้องถน่ิ สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบุรี เขต 2
-------------------------------------------------------------------------------------------------------

ด้วยกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช
2551 ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560 เพอื่ ใหส้ อดคล้องกับการจัดการศึกษาในยุค Thailand 4.0 โดยมีจดุ ม่งุ หมายและ
มาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมาย และกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพ
ชีวิตที่ดีและ มีความสามารถในการแข่งขันในเวทีระดับโลก พร้อมท้ังปรับกระบวนการพัฒนาหลักสูตร ให้มีความ
สอดคล้องกับเจตนารมณ์ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ. 2545 ซึ่งมุ่งเน้นกระจายอานาจทางการศึกษาให้สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา และสถานศึกษาได้มีบทบาท
และมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถ่ิน ให้เป็นไปตามแผนการ
ศึกษาชาติ พ.ศ.2560 – 2579 สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2 จึงปรับปรุงกรอบ
หลกั สตู รระดับท้องถนิ่ ให้เป็นไปที่กระทรวงศึกษาธิการ และสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานกาหนด
เพ่ือใช้เป็นกรอบในการสร้างหลักสูตรสถานศึกษาท่ีสอดคล้อง และสนองต่อความต้องการของท้องถ่ินทั้งน้ี
เพ่อื ปลกู ฝงั ให้ผ้เู รียนมีความรู้ความเขา้ ใจ เกี่ยวกับท้องถนิ่ เกดิ ความรักความผูกพัน มีเจตคตทิ ดี่ ีและภาคภูมิใจในถิ่น
กาเนิดของตน นาส่งิ ดีงามท่ีมใี นท้องถน่ิ มาใช้ในการ พัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง สังคม และดารงชีวิตอยรู่ ว่ มกัน
ในสังคมได้อย่างมีความสขุ

เพอื่ ใหก้ รอบหลักสูตรระดับท้องถนิ่ ของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษานนทบุรี เขต 2
เกิดประโยชน์ต่อสถานศึกษาและผู้เรียน จึงประกาศใช้กรอบหลักสูตรระดับท้องถน่ิ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศกึ ษานนทบุรี เขต 2 ตั้งแต่ปกี ารศกึ ษา 2563 เป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันท่ี 30 พฤศจกิ ายน พุทธศักราช 2563

(นางอรวรรณ แสงสวุ รรณ์)
ผู้อานวยการสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ีเขต 2

คานา

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560 เพ่ือใหสอดคล้องกับการจัดการศกึ ษาในยุค Thailand 4.0 โดยมีจดุ หมาย และมาตรฐาน
การเรียนรู้เป็นเป้าหมาย และกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี มปี ญั ญา มีคุณภาพชีวติ ทดี่ ีและ
มีความสามารถในการแข่งขนั ในเวทีระดับโลก พร้อมทั้งปรับกระบวนการพัฒนาหลักสูตร ให้มีความสอดคล้องกับ
เจตนารมณ์ แห่งพระราชบัญญัตการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545
ซึ่งมุ่งเน้นกระจายอานาจทางการศึกษาใหส้ านกงานเขตพื้นท่ีการศึกษา และสถานศึกษาได้มีบทบาทและมีสว่ นร่วม
ในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถ่ิน ให้เป็นไปตามแผนการศึกษาชาติ
พ.ศ. 2560 – 2579 สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2 จึงปรับปรุงกรอบหลักสูตรระดับ
ท้องถ่ิน ให้เป็นไปท่ีกระทรวงศึกษาธิการ และสานกงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกาหนด เพื่อใช้เป็น
กรอบในการสร้างหลักสตู รสถานศึกษาที่สอดคลอ้ ง และสนองต่อความต้องการของท้องถน่ิ

เอกสารหลักสูตรระดับท้องถน่ิ ฉบับปรับปรุง 2560 นี้ จัดทาขน้ึ สาหรับสถานศึกษาได้นาไปใช้เป็น
กรอบและทิศทางในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา และจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาเด็กและเยาวชนไทย
ทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้มีคุณภาพด้านความรู้และทักษะท่ีจาเป็นสาหรับการดารงชีวิตในสังคมที่มี
การเปลย่ี นแปลง และแสวงหาความรู้เพ่ือพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงได้มกี ารพัฒนาเพิ่มเติมในสาระภูมศิ าสตร์
ประวัติศาสตร์ในท้องถ่ิน สภาพปัญหาในชุมชน สังคม วัฒนธรรมและประเพณี เศรษฐกิจ การงานอาชีพ
ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม แนวโน้มการพัฒนาท้องถิ่นนนทบุรี 4.0 การรองรับ
สถานการณ์สภาวะวิกฤตเปน็ ต้น

ขอขอบคุณ คณะกรรมการขับเคล่ือนการพัฒนาวิชาการ ของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษานนทบุรี เขต 2 คณะทางานและผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกท่านทที่มีส่วนเกี่ยวข้องท้ังในหน่วยงานและ
จากหน่วยงานอ่ืนท่ีให้ความร่วมมือในการจัดทากรอบหลักสูตรระดับท้องถ่ินฉบับน้ี มีความสมบูรณ์และเหมาะสม
สาหรับการจัดการศึกษา หากสถานศึกษา หรือผู้มีส่วนเก่ียวข้องพบข้อบกพร่อง หรือต้องการให้ข้อเสนอแนะเพ่ือ
การปรับปรุง ใหห้ ลกั สตู รระดับท้องถนิ่ ฉบับนี้มีความสมบรู ณ์ย่งิ ขนึ้ ทางคณะผู้จัดทาจกั ขอขอบคุณท่านเป็นอย่างย่ิง

สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบุรี เขต 2

กรอบหลักสตู รระดบั ท้องถน่ิ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560



สารบัญ หนา้

คานา ก
สว่ นท่ี 1
ความเปน็ มา 1
แนวทางการดาเนินงานจัดทาสาระการเรียนรู้ทอ้ งถนิ่ 3
4
แนวทางการดาเนินงานระดับเขตพื้นท่ีการศกึ ษา 6
การดาเนินงานของสถานศึกษา 6
องค์ประกอบสาคญของกรอบสาระการเรียนรู้ระดับท้องถน่ิ 7
ท่มี าสาระการเรียนรู้ทอ้ งถนิ่ สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานนทบรุ ีเขต 2 8
คาขวญั จังหวัดนนทบุรี 8
วสิ ัยทศั น์สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานนทบรุ ี เขต 2
สว่ นที่ 2 9
เป้าหมายและจุดเน้น 10
การกาหนดเป้าหมาย/จุดเน้นเพ่ือพฒั นาผเู้ รียนในระดับท้องถนิ่ 10
10
วสิ ยั ทศั น์ 10
หลกั การ 11
เน้ือหาองค์ประกอบสาคัญของกรอบหลักสตู รระดับท้องถนิ่ 11
เป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนระดับทอ้ งถนิ่ 11
จุดเน้นในการพัฒนาผเู้ รียนระดับท้องถน่ิ
นิยามและความหมาย 13
สว่ นท3่ี
สาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ 15
สว่ นที่ 4 15
การประเมินคุณภาพผู้เรยี นระดับท้องถนิ่ 15
หลกั การ 16
จดุ หมาย 16
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 17
18
คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 19

แนวทางการวัดและประเมนิ ผล

รูปแบบการประเมินคุณภาพ
วิธกี ารวดั และประเมินผล

สารบัญ หนา้

การประเมินโดยหน่วยงานต้นสงั กัด (สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน) 20
บรรณานุกรม 21

ส่วนที่ 1

ความเป็นมา

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 จัดทาขนึ้ สาหรับท้องถน่ิ และสถานศึกษา ได้
นาไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา และจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชน
ไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีคุณภาพด้านความรู้และทักษะท่ีจาเป็นสาหรับการดารงชีวิตในสังคมท่ีมี
การเปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดที่
กาหนดไว้จะช่วยทาใหห้ น่วยงานที่เกย่ี วขอ้ งในทุกระดับเหน็ ผลท่ีคาดหวัง ท่ีต้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน
ท่ชี ัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถช่วยให้หน่วยงานที่เกย่ี วข้อง ในระดับท้องถนิ่ และสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสูตร
ได้อย่างม่ันใจ ทาให้การจัดทาหลักสูตรในระดับสถานศึกษามีคุณภาพและมีความเป็นเอกภาพย่ิงข้ึน อีกทั้งยังช่วยให้
เกิดความชัดเจนเรื่องการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และช่วยแก้ปญั หาการเทียบโอนระหว่างสถานศึกษา ดังน้ันใน
การพัฒนาหลักสูตร ในทุกระดับตั้งแต่ระดับชาติจนกระท้ังถึงสถานศึกษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการ
เรียนรู้และตัวชว้ี ัดท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน รวมทง้ั เป็นกรอบทิศทางในการจัดการศึกษา
ทกุ รูปแบบ และครอบคลุมผเู้ รียนทุกกลุ่มเปา้ หมายในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การจดั หลักสตู รการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
จะประสบความสาเร็จตามเป้าหมายท่ีคาดหวังได้ ทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้องท้ังระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้อง
ร่วมรับผดิ ชอบ โดยร่วมกันทางานอย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง ในการวางแผนดาเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ
ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาเยาวชนของชาติไปสู่คณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกาหนดไว้

จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนสู่ศตวรรษท21 ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขนั้ พ้ืนฐานพุทธศกั ราช2551 การบริหารจัดการหลกั สูตรในยุคปจั จุบันซึ่งมีการกระจายอานาจสู่ทอ้ งถน่ิ และสถานศึกษา
ให้มีส่วนร่วมคิด ร่วมตัดสินใจในการพัฒนาหลักสูตรของตนเองครอบคลุมหลายมิติเกี่ยวข้องกับบุคคลหลายฝ่ายใน
ทอ้ งถน่ิ และต้องอาศัยองค์ประกอบปัจจัยเกื้อหนุนต่างๆ มากมายเพ่ือการปรับปรุงพัฒนา การเรียนการสอนให้ได้ผลดี
และมีประสิทธิภาพสูงสุด การกาหนดกรอบหลักสูตรท้องถิ่นเป็นสาระสาคัญ ประการหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้บริหาร
สถานศึกษาครูผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนเห็นแนวทางในการดาเนินงานในการจัดทาหลักสูตร
สถานศึกษาการจัดการเรียนการสอนรวมทั้งการส่งเสริมและดูแลด้านคุณภาพ สอดคลอ้ งกับสภาพ และความต้องการ
ของชุมชนท้องถน่ิ โดยมีการกาหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็น เป้าหมายและเกณฑ์ในการพัฒนาสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
และสามารถตรวจสอบคุณภาพของผู้เรียนในระดับท้องถิ่น เพื่อกาหนดกรอบทิศทางในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือ
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ อันเป็นพื้นฐานจาเป็นในท้องถิ่นและโลกปัจจุบัน กรอบเป้าหมาย จุดเน้นที่
กาหนดสาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน ต้องมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ บนพ้ืนฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองได้เต็มตามศกั ยภาพ ผู้เรียนมีโอกาสเรียนรู้เร่ืองราวของชุมชนท้องถน่ิ ซ่ึงเป็นสภาพแวดล้อมในชีวตจริงของตนทา
ใหเ้ กดิ ความตระหน้ก เห็นคุณค่า สานึกรักผกู พันกับท้องถนิ่ มีความภาคภูมิใจในบรรพบุรษุ ถนิ่ ฐาน เป็นสมาชิกทด่ี ีของ
ชุมชน ตลอดจนสามารถแก้ปัญหา พัฒนาชีวิต อาชีพ ครอบครัวและสังคมของตนเองได้ตามควรแก่ฐานะ และเป็น
บุคคลท่ีมีความรอบรู้เกี่ยวกับท้องถ่ินในแง่มุมต่างๆ ท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ฯลฯ อย่างชัดเจนใน
กระบวนการจัดทาหรือพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เพ่ือใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้บรรลุเป้าหมายตามมาตรฐานการ
เรียนรู้และตัวชี้วัดที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกาหนดน้ัน สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามีส่วนเกี่ยวขอ้ ง

ในการจัดการศึกษา จงึ ได้จดั ทากรอบหลักสูตรระดับท้องถนิ่ เพอ่ื เปน็ กรอบทิศทางใหส้ ถานศึกษาได้นาไปประกอบการ
พิจารณาจัดทาหรือเพิ่มเติมในส่วนที่จะสามารถตอบสนองต่อความแตกต่างกันของท้องถิ่น ภายใต้บริบทของ
สถานศึกษาตามหลักการจัดการศึกษาโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญใน แนวการบริหารจัดการหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาหนดให้หน่วยงานระดับท้องถิ่น ซึ่งหมายถึงจังหวัด สานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษา และหรือองค์กร หน่วยงานอื่น ๆ ท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง กับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ควรศึกษายุทธศาสตร์
การพัฒนาประเทศโดยรวม ยุทธศาสตร์การพัฒนา กลุ่ม จังหวัด และยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ตลอดจน
แผนพัฒนาการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษาควบคู่กับ มาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน เพ่ือพิจารณากาหนดกรอบเป้าหมาย และจุดเน้นในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในวัยเรียนให้มีความสัมพันธ์
สอดคลอ้ งกัน เพ่ือเปน็ มนุษยท่ีมีความสมดุล ทง้ั ด้านร่างกาย ความรู้คณุ ธรรม มีจติ สานกึ ในความเป็นพลเมอื งไทยและ
เป็นพลโลก

ด้ ว ย เ ห ตุ น้ี ก ร อ บ ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ท้ อ ง ถ่ิ น จึ ง ถื อ เ ป็ น ห นึ่ ง ใ น ก ล ไ ก ส า คั ญ ท่ี จ ะ ต อ บ ส น อ ง น โ ย บ า ย
พระราชบัญญัติทางการศึกษา กฎหมายและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษา
กลา่ วคือ

1) รัฐธรรมนญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 81 ระบุไว้ว่ารัฐต้องจัดการศึกษา
อบรมและสนับสนุนใหเ้ อกชนจัดการศึกษาอบรม ให้เกดิ ความรู้คคุ่ ุณธรรม จดั ใหม้ ีกฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาแห่งชาติ
ปรบั ปรุงการศึกษาใหส้ อดคลอ้ งกับความเปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม สร้างเสริมความรู้และ ปลูกฝงั จิตสานึกท่ี
ถูกต้อง เกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สนับสนุนการ
ค้นคว้าวิจัยในศิลปะวิทยาการต่างๆ เร่งรัดพฒั นาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยเพ่ือการพัฒนาประเทศ พัฒนาวิชาชีพครู
และส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถน่ิ ศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ

2) พระราชบัญญัตการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี2) พ.ศ.2545
มาตรา 7 ระบุว่า กระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสานึกที่ถูกต้องเก่ียวกับการเมืองการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รู้รักษาและส่งเสริมสิทธิหน้าที่เสรีภาพ ความเคารพ กฎหมาย
ความเสมอภาค และศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทยรู้จักรักษาผลประโยชน์ ส่วนรวม
และของประเทศชาติ รวมทงั้ ส่งเสริมศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรมของชาติ การกีฬา ภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ ภูมปิ ญั ญาไทย และ
ความรู้อันเป็นสากล ตลอดจนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ความสามารถในการประกอบอาชีพ
รู้จกั พ่ึงตนเอง มีความคดิ ริเรมิ่ สร้างสรรค์ ใฝ่รู้และใฝ่เรียนด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง

3) มาตรา 27 ใหคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน กาหนดหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
เพ่ือความเปน็ ไทย ความเป็นพลเมืองท่ดี ีของชาติการดารงชีวิต และการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพื่อการศึกษาต่อ ให้
สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีหน้าท่ีจัดทาสาระของหลักสูตรในส่วนท่ีเกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญา
ทอ้ งถน่ิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงคเ์ พ่ือเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ

4) มาตรา 39 ให้กระทรวงกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษา ท้ังด้านวิชาการ
งบประมาณการบริหารงานบุคคล การบริหารงานทั่วไป ไปยังคณะกรรมการและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และ
สถานศึกษาในเขตพื้นท่ีการศกึ ษาโดยตรง

กรอบหลกั สูตรระดบั ท้องถิ่น ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560

2

5) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 มาตรา35 ระบุไว้ว่า
สถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเฉพาะที่เป็นโรงเรียน มีฐานะเป็นนติ ิบุคคล และมาตรา 37 ให้มีสานักงานเขต
พ้ืนท่ีการศึกษา เพ่ือทาหน้าท่ีในการดาเนินการให้เป็นไปตามอานาจหน้าท่ีของคณะกรรมการฯ และให้มีอานาจ
หน้าที่เกย่ี วกับการศึกษาตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายน้ี หรือกฎหมายอื่น และมีอานาจหน้าท่ี ดงั นี้

(1) อานาจหน้าท่ีในการบริหารและจัดการศึกษาและพัฒนาสาระของหลักสูตรการศึกษาให้
สอดคลอ้ ง กับหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

(2) อานาจหน้าท่ีในการพัฒนางานด้านวิชาการและจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา ร่วมกันกับสถานศึกษา

ระเบียบกระทรวงศึกษาธการ ว่าด้วยคณะกรรมการการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการ
สถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน พ. ศ.2544 ขอ้ 5 ระบวุ ่าให้มีคณะกรรมการคณะหน่ึงเรียกว่า“คณะกรรมการบริหารหลักสตู ร
และงานวิชาการสถานศึกษา” อยู่ภายใต้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและข้อ 6 ให้คณะกรรมการมีหน้าท่ี
ดงั ต่อไปนี้

วางแผนดาเนินงานวิชาการ กาหนดสาระรายละเอียดของหลักสูตรระดับสถานศึกษาและแนวการ
จัดสดั สว่ นสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
สภาพเศรษฐกิจ สังคม ศิลปวฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญาของท้องถนิ่

แนวทางการดาเนินงานจดั ทาสาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่ิน
การกาหนดเนื้อหาสาระการเรียนรู้ทอ้ งถนิ่ เพ่ือใหส้ ถานศึกษานาไปใช้จัดประสบการณ์ให้ผเู้ รียนได้

เรียนรู้เกี่ยวกับท้องถ่ินของตนเอง ทั้งในด้านความสาคัญ ประวัติความเป็นมา สภาพภูมศาสตร์ สภาพเศรษฐกิจ
สงั คม การดารงชีวติ การประกอบอาชีพ ศิลปะ วัฒนธรรมประเพณี ภูมิปัญญา ฯลฯ ตลอดจนสภาพปัญหาในชุมชน
และสังคมนั้นๆ อันจะทาให้ผู้เรียนเกิดความรัก ความผูกพัน มีความภาคภูมิใจ ในท้องถิ่นของตน ยินดีท่ีจะร่วมสืบ
สานพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาของท้องถนิ่ นั้นมีขอ้ เสนอแนะแนวทางการดาเนินงานท่ีสาคญั ดังน้ี

การดาเนินงานของส่วนกลาง กระทรวงศึกษาธิการ โดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พ้ืนฐานเป็นหน่วยงานในส่วนกลาง มีภารกิจสาคัญในการจัดและส่งเสริมการศึกษาข้ันพื้นฐานโดยมีหน้าที่ในการ
จัดทานโยบายและจัดทาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ซึ่งได้กาหนดจุดหมายของหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 เพ่ือใหผ้ ู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับท้องถนิ่ โดยกาหนด คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้
ผู้เรียน รักประเทศชาติ รักท้องถิ่น มุ่งทาประโยชน์ สร้างส่ิงงดงามให้สังคม มีจิตสานึกในการอนุรักษ์ภาษาไทย
ศิลปวฒั นธรรม ประเพณี กีฬา ภูมปิ ญั ญาไทย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซ่ึงสานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา
สถานศึกษา หน่วยงานที่เกยี่ วข้อง จะต้องนาหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ไปใช้จดั การศึกษา
ขนั้ พ้ืนฐานให้บรรลตุ ามจุดหมายและมาตรฐาน การเรียนรู้ท่กี าหนดไว้

การดาเนินงานระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา พระราชบัญญัตระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 กาหนดให้สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามีหน้าท่ีในการบริหารจัดการศึกษาและ
พฒั นาสาระของหลักสูตรการศกึ ษาใหส้ อดคลอ้ งกับหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน รวมทั้งมหี น้าที่ในการ

กรอบหลกั สตู รระดับท้องถนิ่ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560

3

พัฒนางานด้านวิชาการร่วมกับสถานศึกษา สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาควรจัดทา “กรอบสาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่ิน”
ในระดับเขตพ้ืนท่ี เพอื่ ใหส้ ถานศึกษานาไปจัดทารายละเอียดของเนื้อหาองค์ความรู้ที่เก่ียวกับท้องถนิ่ ใหเ้ หมาะสมกับ
สภาพของสถานศึกษาและนาไปสู่การปฏบิ ตั ิจริง โดยได้ดาเนินการ ดังน้ี
แนวทางการดาเนนิ งานระดบั เขตพ้ืนที่การศกึ ษา

1. ดาเนินงานในรูปคณะกรรมการ องค์ประกอบของคณะกรรมการ ประกอบด้วยศึกษานิเทศก์ ครู
ผู้บริหารการศึกษา ผู้นาชุมชน ผู้ทรงคุณวุฒิทมี่ ีความรู้ประสบการณ์หลากหลายสาขา เช่น มีความรู้เกยี่ วกับ วิสยั ทัศน์
มีความเข้าใจเก่ียวกับท้องถิ่น ภูมิปัญญา ปัญหาชุมชน มีวิสัยทัศน์กว้างไกล มุ่งมั่น และเห็นความสาคัญของการจัด
การศกึ ษา มีความรู้ดา้ นจิตวิทยาและพัฒนาการเด็ก มคี วามรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับ หลกั สูตร การเรียนการสอน การ
วัดและประเมินผล ฯลฯ และได้ร่วมกันกาหนดกรอบสาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน ให้เหมาะสม ทันสมัย เป็นประโยชน์ต่อ
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของผู้เรียนในเขตพื้นที่สอดคล้องกับ มาตรฐานการเรียนรู้การศึกษาขั้นพื้นฐานอย่าง
แท้จริง

2. ศึกษา/วิเคราะห์หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน คณะกรรมการจัดทากรอบสาระการเรียนรู้
ท้องถ่ิน ได้ทาการศึกษา/วิเคราะห์หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ซ่ึงครอบคลุมทั้งมาตรฐานการเรียนรู้การศึกษาขั้น
พื้นฐานมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงช้ัน และสาระการเรียนรู้ชั้นปขี องกลุ่มสาระการเรียนรู้ตา่ งๆ ตามหลักสตู รการศึกษาขั้น
พื้นฐาน เพื่อจะได้ทราบถึงขอบขา่ ยของการกาหนดกรอบสาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ

3. ศึกษา/วิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศของท้องถ่ิน ซ่ึงคณะกรรมการได้ศึกษาวิเคราะห์/สังเคราะห์
ข้อมูลสารสนเทศของท้องถ่ิน ครอบคลุมท้ังวิสัยทัศน์ ความสาคัญ ประวัติความเป็นมา สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ
สภาพเศรษฐกิจ สังคม วิถีการดารงชีวิต ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถ่ิน สภาพปัญหาในชุมชนและ
สังคมนั้นๆ รวมท้ังศึกษาวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลจุดเน้นหรือข้อมูล ประเด็นท่ีสถานศึกษาในเขตพื้นที่ให้
ความสาคญั แล้วนาขอ้ มลู ท่ีได้มาทั้งหมดใช้เปน็ ขอ้ มูลพ้ืนฐานในการจัดทากรอบสาระการเรียนรู้ทอ้ งถน่ิ

4. กาหนดกรอบสาระเรียนรู้ท้องถิ่น เม่ือคณะกรรมการได้วิเคราะห์/สังเคราะห์และทราบถึง
ขอบข่าย ของการกาหนดกรอบสาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน จากหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน รวมทั้งข้อมูลสารสนเทศ
ของท้องถ่ินและสถานศึกษาแล้ว จึงร่วมกันกาหนดกรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นให้เหมาะสม ซ่ึงมีความยืดหยุ่น
สถานศึกษาสามารถนาไปกาหนดรายละเอียดของเนื้อหาองค์ความรู้ ที่เกยี่ วกับทัองถนิ่ ได้ง่ายและสอดคล้องกับจุดเน้น
ของสถานศึกษา

5. สอบถามและรับฟังความคิดเห็นจากผู้เก่ียวข้อง เมื่อจัดทากรอบสาระเรียนรู้ท้องถ่ินเสร็จแล้ว
นาไปรับฟังความคิดเห็นจากบุคคลที่เกี่ยวข้องในท้องถิ่น เช่น ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหาร สถานศึกษา
ครู อาจารย์ ศึกษานิเทศก์ ผู้ปกครอง นักเรียน ผู้นาชุมชน ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องต่าง ๆ เพื่อตรวจสอบความสมบูรณ์
ก่อนที่จะนาไปปรับปรุงและใหส้ ถานศึกษานาไปจัดทารายละเอยี ดสาระการเรียนรู้ท้องถนิ่ ของสถานศึกษาต่อไป

6. เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ กรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นหลังจากปรับปรุงกรอบสาระการ
เรียนรู้ ทอ้ งถน่ิ ใหส้ มบรู ณ์แล้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจะเผยแพร่ประชาสัมพันธ์กรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
ให้สถานศึกษาทุกแห่งในเขตพ้ืนที่ได้ทราบและนาไปเป็นกรอบจัดทารายละเอียดของเนื้อหาการเรียนรู้ท้องถิ่นของ
สถานศึกษาอยา่ งเหมาะสม

กรอบหลกั สตู รระดบั ท้องถ่ิน ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560

4

7. นิเทศ กากับ ติดตามและประเมินผล หลังจากสถานศึกษาได้นากรอบสาระการเรียนรู้ท้องถนิ่
ไปจดั ทารายละเอียดของเน้ือหาองค์ความรู้ที่เกย่ี วกับทอ้ งถน่ิ และจัดประสบการณ์การเรียนรู้ใหเ้ กดิ ขน้ึ กับผเู้ รยี นแล้ว
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาจะดาเนินการนิเทศ ติดตาม กากับ และประเมินผลการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
เกี่ยวกับท้องถ่ินของสถานศึกษารวมทั้งติดตาม ประเมินผลคุณภาพของผู้เรียนว่าเป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้
หรือไม่ และนาผลการประเมนิ มาใช้ในการวางแผนปรบั ปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไป

กรอบสาระการเรียนรู้ท้องถ่ินของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จะได้มีการทบทวนและปรับปรุง
พัฒนาทุกระยะ 3–5 ปี หรือตามระยะเวลาท่ีคณะกรรมการฯเห็นสมควรเพ่ือให้มีความทันสมัยเหมาะสมกับ สภาวะ
แวดลอ้ มและสภาวะของสังคม วัฒนธรรมที่มกี ารเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา

แผนภูมแิ นวทางการดาเนินงานระดบั เขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา

ศึกษาวิเคราะหน์ โยบาย/ข้อมลู สารสนเทศของท้องถิน่ / ศกึ ษาวเิ คราะห์หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
ปญั หาและสง่ิ ที่ควรพฒั นา พุทธศักราช 2551

แต่งตงั้ คณะกรรมการจดั ทากรอบสาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน
ประชมุ วางแผน/แลกเปล่ียนความคดิ เหน็

เผยแพร่ประชาสมั พนั ธ์กรอบหลักสตู รระดับท้องถิ่น

นิเทศ/ กากับ/ ตดิ ตาม/ ระเมนิ ผล
การจดั การเรยี นรสู้ าระการเรียนรูท้ ้องถ่ิน

แลกเปลีย่ นเรยี นรู้

กาหนดกรอบหลักสูตรระดบั ท้องถ่นิ

กรอบหลกั สตู รระดับทอ้ งถ่ิน ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560

5

การดาเนินงานของสถานศกึ ษา

สถานศึกษาเปน็ หน่วยงานระดับปฏบิ ัติการท่ีจะต้องนากรอบสาระการเรียนรู้ทอ้ งถนิ่ ทสี่ านกั งานเขต
พ้ืนท่ีการศึกษาเป็นผู้จัดทานาไปสู่การปฏิบัติให้เป็นรูปธรรม เพ่ือให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เก่ียวกับท้องถ่ินของตนเอง
เกิดความรัก ความผูกพัน และมึความภาคภูมใิ จในท้องถิ่น สถานศึกษาจึงต้องนากรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นมา
จดั ทารายละเอียดของเนื้อหาองค์ความรู้ทเ่ี ก่ียวกับท้องถนิ่ ให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาและสภาพชุมชน
นั้น ๆ
แนวทางการดาเนินงานของสถานศกึ ษา

1. แต่งตั้งคณะกรรมการ/ คณะทางานคณะกรรมการชุดนี้ควรประกอบด้วยผู้อานวยการเขตพ้ืนที่
การศกึ ษา/ ผบู้ ริหารสถานศึกษาในท้องถนิ่

2. วิเคราะห์/ สังเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารและแหล่งข้อมูลต่างๆ อาทิหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช2551 รวมท้ังศึกษาสภาพแนวโน้มการเปล่ียนแปลงบริบทสภาพปัญหาความ
ตอ้ งการของท้องถนิ่ ชุมชนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรยี นในพ้ืนที่ เป็นต้น

3. ดาเนินการจัดทากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นในการดาเนินการจัดทากรอบหลักสูตรระดับ
ท้องถิ่น ให้มีคุณภาพจะต้องมีการวางแผนงานท่ีชัดเจนเพ่ือให้เห็นภาพการทางานตลอดแนวด้วยกระบวนการ
ทางานแบบมสี ่วนร่วม

4. รับฟังความคิดเห็นจากผู้เก่ียวข้องอาทิ ครูผู้สอน ผู้ปกครอง ปราชญ์ในชุมชนและหน่วยงาน
ธรุ กิจ ฯลฯ เพ่ือนาขอ้ คดิ เหน็ จากฝ่ายตา่ งๆ มาปรับปรุงกรอบหลักสตู รให้มีความเหมาะสมชัดเจนยงิ่ ขนึ้

5. เสนอคณะกรรมการเขตพื้นท่ีการศึกษา

องคป์ ระกอบสาคญของกรอบสาระการเรียนรรู้ ะดบั ท้องถิ่น ประกอบด้วย

1. เปา้ หมาย/จดุ เน้น ของเขตพื้นที่การศึกษา/ หน่วยงานระดับทอ้ งถนิ่ เป็นหน่วยงานสาคัญที่จะ
ช่วยขับเคลื่อนการจัดการศึกษาของสถานศึกษาภายในเขต/ ท้องถิ่นเพื่อให้สามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุคณุ ภาพ
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลาง และผู้เรียนได้มีโอกาสเรียนรู้ในเร่ืองเกี่ยวกับชุมชนท้องถิ่นใน
การจัดการศึกษาให้บรรลุผลดังกล่าว เขตพื้นท่ีการศึกษาอาจกาหนดเป้าหมาย/ จุดเน้นท่ีต้องการให้เด่นชัดเป็น
การเฉพาะเพ่ือให้สถานศึกษาได้เล็งเห็นทิศทางในการพัฒนาการศึกษาในท้องถิ่นเช่นการพัฒนาด้านการคิด
วเิ คราะหเ์ ป็นต้นเป้าหมาย/จุดเน้นนั้นควรกาหนดเป็นคุณภาพท่ีต้องการใหเ้ กิดขน้ึ ในตัวผู้เรียนมี ควรกาหนดในสง่ิ ที่
กอ่ ใหเ้ กดิ ข้อจากัดตอ่ การจดั การเรียนการสอนในระดับสถานศึกษา

2. สาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน เป็นส่วนท่ีให้ขอ้ มูลเก่ียวกับหวั ขอ้ /ประเด็นสาคัญที่ผู้เรียนในท้องถน่ิ
ควรเรียนรู้ หรือได้รับการปลูกฝังในฐานะท่ีเป็นสมาชิกของชุมชนน้ัน เพื่อให้เกิดความรักความภาคภูมิใจและ
ต้องการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สภาพแวดล้อมภูมิปญั ญาท้องถิ่นสภาพแวดล้อมในท้องถ่ิน การกาหนดสาระการ
เรียนรู้ท้องถ่ินควรกาหนดในขอบเขตประเด็นสาคัญพร้อมทั้งมีคาอธิบายประกอบในแต่ละประเด็นพอสังเขปเพ่ือ
ครูผู้สอนใช้เป็นแนวทางในการจัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในเรื่องเกี่ยวกับท้องถิ่นเช่น ประวัตความเป็นมาของท้องถ่ิน
สภาพเศรษฐกิจ สังคม วิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรมประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น สภาพปัญหาและเหตุการณ์สาคัญใน
ชุมชน และสงั คมน้ันๆ รวมทง้ั ขอ้ มลู แนวโน้มการพัฒนาท้องถนิ่ เปน็ ต้น

การจัดทาสาระการเรียนรู้ท้องถ่ินอาจได้จากการวิเคราะห์ รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ เช่น

กรอบหลกั สตู รระดบั ทอ้ งถน่ิ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560

6

วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวัดของกลุ่มสาระการเรียนรู้ท้ัง 8กลุ่มสาระตามหลักสูตรแกนกลางใน
สว่ นท่ีเกย่ี วข้องกับชมุ ชนและท้องถนิ่ รวมทงั้ ขอ้ มลู จากการศึกษาสารวจสภาพปัญหาการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ท่ี
เกดิ ขน้ึ ในสังคม/ ชุมชน เพอ่ื นามาสังเคราะห์จดั เป็นหมวดหมู่ เพื่อสถานศึกษาใช้เปน็ แนวทางในการจัดการ เรียนรู้
ต่อไป การจัดทาหลกั สตู รโดยเฉพาะในส่วนท่ีเกยี่ วกับทอ้ งถน่ิ นั้นสิ่งท่ีควรทาความเขา้ ใจให้ตรงกัน

1. หลกั สตู รท่ีใช้ในการจัดการเรียนการสอนในระดับสถานศึกษาคือ “หลักสูตรสถานศกึ ษา”
2. สิ่งที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้เกี่ยวกับท้องถิ่นสามารถสอดแทรกเข้าไปในรายวิชาพื้นฐานท้ัง 8 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ได้ หรือหากสถานศึกษาเห็นว่ามีสิ่งสาคัญท่ีต้องการจะเน้นและแยกสอนเป็นการเฉพาะเช่น
“การสอนป้นั หมอ้ จากดินเผา” เพอื่ อนุรักษ์ภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ ก็สามารถเปิดเป็นรายวิชาเพ่ิมเติมได้ แต่ไม่ว่าจะเป็น
ลักษณะใดก็อยู่ในหลักสูตรสถานศึกษาท้ังสิ้นมิใช่แยกเป็นหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรท้องถ่ินจากกัน
เพราะการกระจายอานาจให้โรงเรียนจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาก็เพ่ือให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของ
ท้องถนิ่ ซ่ึงมีลกั ษณะแตกตา่ งกันไป
3. กรอบสาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ ท่ีเขตพ้ืนที่การศกึ ษา หรือหน่วยงานที่รบั ผิดชอบในระดับทอ้ งถิ่น
จัดทาน้ันเป็นกรอบแนวทางกว้างๆ ที่ระบุเป้าหมาย/จุดเน้นของท้องถ่ินสาระการเรียนรู้ หรือเร่ืองต่างๆเกี่ยวกับ
ทอ้ งถน่ิ และแนวทางการประเมินคุณภาพผู้เรียนในท้องถน่ิ สถานศึกษาสามารถนาไปเป็นแนวทางจัดการเรียนการ
สอนเพ่ือให้ผู้เรียนได้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องเหล่านั้นในฐานะที่เป็นสมาชิกในสังคมนั้นๆ ในเอกสารกรอบสาระ
การเรียนรู้ท้องถิ่น นาเสนอเป็นเพียงแนวทางและตัวอย่างของรายวิชาเพ่ิมเติมเกี่ยวกับท้องถิ่นได้มิใช่ส่ิงท่ี
กาหนดให้โรงเรียนต้องสอน

ที่มาสาระการเรียนรู้ทอ้ งถนิ่ สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานนทบรุ เี ขต 2

ท้องถิ่น หมายถึง บริเวณสถานท่ีรวมทั้งสภาพแวดล้อมและสังคม วัฒนธรรมที่ผู้เรียนส่วนมาก
เกย่ี วขอ้ งคนุ้ เคย มีขอบขา่ ยครอบคลุมท้ังหมบู่ ้าน ตาบล อาเภอ จังหวัด กลมุ่ จังหวัดและภูมิภาคของท้องถนิ่

กรอบสาระการเรียนรู้ทอ้ งถน่ิ หมายถึง ขอบขา่ ยเนื้อหาการเรียนรู้ที่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษานนทบุรี เขต 2 วิเคราะห์และกาหนดขึ้น เพื่อให้สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการจัดให้ผู้เรียนได้
เรยี นรู้ ตามสภาพความพร้อม ความต้องการของสถานศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้

1. เพ่ือใหม้ โี อกาสเรียนรู้เรอ่ื งราวของชุมชน ท้องถน่ิ ซ่ึงเป็นสภาพแวดล้อมในชีวิตจริงของตนเอง
2. เพ่ือใหเ้ กดิ ความรักผกู พันกับท้องถนิ่
3. เพ่ือใหม้ คี วามภาคภูมิใจในบา้ นเกิดเมอื งนอน
4. เพื่อใหส้ ามารถแก้ปญั หา พัฒนาชีวิตตนเอง พัฒนาอาชีพ ครอบครัว และสังคมของตนเอง
ผู้เรียนควรได้เรียนรู้ในประเด็น สภาพภูมิศาสตร์ ประวัตศาสตร์ของท้องถิ่น สภาพปัญหาชุมชน
สังคม วัฒนธรรมและประเพณี เศรษฐกิจและอาชีพ การงานอาชีพและภูมิปัญญาท้องถิ่น ทรัพยากรและ
สง่ิ แวดล้อม แนวโนม้ การพัฒนานนทบรุ ี 4.0 และการรองรับสถานการณ์สภาวะวกิ ฤต/เหตกุ ารณ์ฉกุ เฉิน

กรอบหลักสตู รระดบั ทอ้ งถิ่น ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560

7

คาขวญั จังหวัดนนทบรุ ี

ทุเรยี นเหนอื ชน้ั เครอื่ งปั้นดินเผา
เมอื งเก่าวดั งาม ตลาดน้านา่ ชม รื่นรมย์สวนสมเดจ็ เกาะเกรด็ งามตา

พฤกษานานาพันธ์ุ บา้ นจัดสรรเป็นเลิศ

วิสัยทศั นส์ านักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2

สพป.นนทบุรี เขต 2 จัดการศึกษา สรา้ งคนคณุ ภาพ

กรอบหลกั สตู รระดบั ทอ้ งถิน่ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560

8

ส่วนท่ี 2

เปา้ หมายและจุดเน้น

นโยบายจุดเน้นการขับเคลื่อนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 2551 และการปฏิรูป
การศกึ ษาทักษะในศตวรรษที่ 21 หลกั สตู รฐานสมรรถนะ ใหป้ ระสบผลสาเร็จตามจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน โดยให้

ทุกภาคสว่ นร่วมกันดาเนินการกระทรวงศึกษาธิการได้ กาหนดจุดเน้นการพัฒนาผู้เรยี น เพื่อการขบั เคลอ่ื นหลักสูตร
การจดั การเรียนรู้ การวัดและการประเมนิ ผลดังน้ี
ทักษะและความสามารถ คุณลักษณะ

มคี วามสามารถในการแสวงหา คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ตามหลักสูตรฯ 8 ประการ
ม.1 - 3 ความรู้ ด้วยตนเอง ความสามารถ
ค่านิยมหลกั พืน้ ฐาน 12 ประการ
ในการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการเรียนรู้
มีทักษะการคิดขนั้ สูง ทกั ษะชีวิต มกคารวคามดขสานสมพมารนรรฐถถาอนนาะนทหอกลอษกั กะ5ชเขวขยตอ้ นตแไาดลม้คะหทดลกเกั ษลสขะตู เกปราฯนรสมอทสกาษรอะ
ยาง สรางสรรคตามชวงวย
และทักษะการส่ือสารอย่าง
สร้างสรรค์ตามชว่ งวัย มความสามารถอานออก เขยนได้คด เลขเปน
มทกษทะักกษาะรใคนดศขตนวพรรนษฐทาน่ี 2ท1ก(3ษRะช8วCต) และ
ป.4 - 6 มีความสามารถอ่านคล่อง เขยี น ุจดเ ้นนตาม ่ชวง ัวย ทกษะการสอสารอยาง สรางสรรคตามชวงวย
ป.1 - 3 คลอ่ ง คดิ เลขคล่อง มีทกั ษะการ
คิดขน้ั พ้ืนฐาน ทักษะชวี ต และ ค่า
ทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ มความสามารถอานออก เขยนได้คด เลขเปน
มความสามตาารมถชอ่วางนวอัยอก เขยนได้ ทมกทษกะษกทาะักรกสษาอะรสคหาดลรขักอนสยพูตารนงฐฐสาารนนาสงทมสกรรรษรถคะนตชะาวมตชแวลงะวย
คด เลขเปน มทกษะการคดขนพน
ฐาน ทกษะชวต และทกษะการสอ
สารอยาง สรางสรรคตามชวงวย

มีความสามารถอ่านออก เขยี นได้
คดิ เลขเป็น มที กั ษะการคิดขน้ั
พื้นฐาน ทักษะชีวต และทักษะการ
สอ่ื สารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย

มความสามารถอานออก เขยนได้คด เลขเปน

มทกษะการคดขนพนฐาน ทกษะชวต และ
ทกษะการสอสารอยาง สรางสรรคตามชวงวย

มความสามารถอานออก เขยนได้
คด เลขเปน มทกษะการคดขนพน
ฐาน ทกษะชวต และทกษะการสอ
สารอยาง สรางสรรคตามชวงวย

การกาหนดเป้าหมาย/จดุ เน้นเพื่อพฒั นาผเู้ รียนในระดับทอ้ งถิ่น
ของ สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานนทบรุ ีเขต 2

1. การพัฒนาสาระการเรียนรู้ระดับทอ้ งถนิ่ เพื่อเผยแพร่ใหก้ ับสถานศึกษา
2. การประเมนิ คุณภาพผู้เรียนในระดับท้องถน่ิ เพ่ือตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนโดยรวมตาม
หลกั สตู ร และจุดเน้นในระดับท้องถน่ิ และนาส่กู ารเป็นฐานขอ้ มลู ในการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง
3. เพ่ิมพูนประสิทธิภาพการใช้หลักสูตรด้วยการวิจัยและพัฒนา การพัฒนาบุคลากร สนับสนุน
สง่ เสริม ตดิ ตามผล วิเคราะห์ และรายงานผลคุณภาพของผู้เรียน

วิสัยทศั น์

กรอบหลักสตู รระดับทอ้ งถนิ่ เป็นหลักสตู รท่ีชว่ ยในการพัฒนาผู้เรียน เป็นบคุ คลทีม่ ีคุณภาพ
สามารถนาความรไู้ ปใชใ้ นชวั ติ ประจาวัน สรา้ งสรรคใ์ หเ้ กดิ อาชพี

หลักการ

กรอบหลักสูตรระดับทอ้ งถนิ่ มีหลักการที่สาคญั ดังนี้
1. เปน็ หลักสูตรประกอบการจัดทาหลักสตู รสถานศึกษาของสถานศึกษาในสังกัด
2. เป็นหลักสูตรท่ีสนองต่อปญั หาความต้องการของท้องถน่ิ
3. เป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีสอดคลอ้ งกับวถิ ชี ุมชน
4. เป็นหลักสูตรท่ีสนองตอบความต้องการของผู้เรียนอย่างหลากหลาย
5. เป็นหลักสูตรท่ีเน้นการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงระหว่างโรงเรียนกับชมุ ชน

เป้าหมาย/ จุดเน้นหลักสตู รระดับทอ้ งถนิ่

1. จัดทาหลักสูตรท้องถนิ่ ใหต้ รงกับความตอ้ งการของชุมชน
2. สง่ เสริมและอนุรกั ษ์ภมู ิปญั ญาไทย
3. ปลูกฝงั จิตสานกึ ใหเ้ ยาวชนรักษา และมีความภาคภูมใิ จในท้องถนิ่ ของตน
4. ส่งเสริมพัฒนาการผู้เรียนสูงสุดตามมาตรฐานการศึกษาชาติ
5. สนองความพึงพอใจของผเู้ รียนและชุมชนต่อการจัดกิจกรรมหลักสตู รท้องถน่ิ

เนื้อหาองคป์ ระกอบสาคญั ของกรอบหลักสูตรระดับทอ้ งถน่ิ

1. เปา้ หมาย/จุดเน้นในการพัฒนาผู้เรยี น
2. กรอบสาระการเรียนรู้ระดับท้องถนิ่
3. การประเมนิ คุณภาพผู้เรียนระดับท้องถน่ิ
4. การพัฒนาหลักสตู รทอ้ งถนิ่

กรอบหลกั สตู รระดบั ทอ้ งถ่ิน ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560

10

เป้าหมายในการพัฒนาผเู้ รียนระดับท้องถนิ่
ของ สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานนทบุรเี ขต 2

เป็นบุคคลที่มีความรักและภาคภูมิใจในท้องถ่ินของตน สามารถนาความรู้ ความเข้าใจ ในเร่ือง
ของประวัตศาสตร์ของท้องถิ่น สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจชุมชน ทรัพยากรทางธรรมชาติ
การประกอบอาชีพ ศิลปวฒั นธรรมท้องถนิ่ แหล่งท่องเท่ียว แหล่งเรียนรู้ สถานที่สาคญั และสภาพปัญหาในชุมชน
การวางมาตราเพอื่ ปอ้ งกัน และรบั มอื กบั สภาวะวิกฤต สามารถวเิ คราะห์และนาการเรียนรูต้ า่ งๆ ไปใชใ้ นการดาเนนิ
ชีวติ ได้

จดุ เน้นในการพัฒนาผเู้ รียนระดับทอ้ งถน่ิ

1. รักและภูมิใจในท้องถนิ่
2. มจี ติ สาธารณะ รักธรรมชาติและอนุรักษ์สิง่ แวดล้อม
3. มวี ิสยั ทัศน์ในการทางาน ขยัน เสียสละ อดทน และอดออม
4. มที ักษะในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนตามหลักสูตรฯ และทักษะในศตวรรษท่ี 21

นยิ ามและความหมาย

“ทอ้ งถ่ิน” หมายถึง บริเวณสถานที่รวมทง้ั สภาพแวดล้อม และสังคม วฒั นธรรมที่ผ้เู รียนส่วนมาก
มวี ถิ ีชีวติ เกยี่ วข้อง คนุ้ เคยมาตง้ั แต่กาเนิด มีขอบขา่ ยครอบคลุมทั้งหมบู่ ้าน ตาบล อาเภอ จังหวัด

“สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิ่น” หมายถึง รายละเอียดของขอ้ มูลสารสนเทศรวมท้ังเนื้อหา องค์ความรู้
ที่เก่ียวกับท้องถิ่นในด้านต่างๆ เช่น สภาพภูมิศษสตร์ ทรัพยากร และส่ิงแวดล้อม ประวัติความเป็นมา
สภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และประเพณี การดาเนินชีวิต การประกอบอาชีพ ศิลปะ ภูมิปัญญาฯลฯ
ตลอดจนสภาพปัญหาแนวโน้มการพฒั นานนทบุรี 4.0 และการเตรียมความพร้อมรบั สถานการณ์สภาวะวิกฤต ใน
ชมุ ชนที่สถานศึกษากาหนด เพื่อจะนาไปใช้จดั ประสบการณ์ใหผ้ ู้เรียนได้เรียนรู้เกย่ี วกับท้องถนิ่ ของตนเอง

“สถานศึกษา” หมายถึง หน่วยงานที่มีหน้าที่นาสาระการเรียนรู้ท้องถ่ินไปจัดประสบการณ์ให้
ผู้เรยี น ได้เรียนรู้เกยี่ วกับทอ้ งถนิ่ ของตนเอง

“หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง” หมายถึง หน่วยงานท่ีมีหน้าที่จัดทากรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นซ่ึง
อาจจัดทากรอบสาระการเรียนรู้รว่ มกับสานักงานเขตพ้ืนที่ หรือร่วมกันในกลมุ่ เครือขา่ ยสถานศึกษา

“ข้อมูลสารสนเทศของท้องถิ่น” หมายถึง รายละเอียดของข้อมูลสารสนเทศในท้องถ่ิน
ซ่ึงครอบคลุม ท้ังข้อมูลด้านสภาพภูมิศาสตร์ ทรัพยากร และส่ิงแวดล้อม ประวัติความเป็นมา สภาพเศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และประเพณี การดาเนินชีวิต การประกอบอาชีพ ศิลปะ ภูมิปัญญาฯลฯ ตลอดจนสภาพปัญหา
แนวโน้มการพัฒนานนทบรุ ี 4.0 และการเตรยี มความพร้อมรับสถานการณ์สภาวะวิกฤตในชุมชน

“ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หมายถึง ส่ิงต่างฯ ที่อยู่รอบตัวท้ังท่ีเกิดขึ้นเองตาม
ธรรมชาติ เช่น ดิน น้า อากาศ แม่น้า ฯลฯ และส่ิงที่มนุษย์สร้างข้ึน เช่น คลอง ถนน อาคาร สถานท่ีต่างๆ ต้นไม้
ฯลฯ ความแปรเปลี่ยนของธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมจะส่งผลต่อระดับคุณภาพชีวิตของผู้ใกล้ชิด โดยเฉพาะ
ด้านลบ ถา้ ส่ิงเหล่าน้ีถกู ทาลาย หรือถกู กระทาใหเ้ สื่อมสภาพลง

กรอบหลักสตู รระดบั ทอ้ งถิ่น ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560

11

“ประวัตคิ วามเปน็ มา” หมายถงึ เร่อื งราว หรือเหตุการณ์สาคัญท่ีเกิดขนึ้ ในชุมชนต้ังแต่อดีตถึง
ปัจจุบัน ซ่ึงอาจจะมีการจดบันทึกเก็บไว้ หรือเล่าเป็นเร่ืองราวกันมา หรืออาจจะเป็นประสบการณ์จากผู้อาวุโส
หรือปราชญ์ชาวบ้านที่ถา่ ยทอดไว้

“สภาพเศรษฐกิจ” หมายถึง รายได้ของประชากรท่ีได้มาจากการประกอบอาชีพต่างๆ และมี
รายจ่ายในการซื้อสินค้า และบริการเพ่ือการดารงชีวิต ตลอดรวมท้ังการออม และความมั่งคง หนี้สิน และ
ความขาดแคลนของครัวเรือน และชุมชน

“การประกอบอาชีพ” หมายถงึ การทามาหากินที่เกิดจากกิจกรรม หรือบริการใดๆ ทกี่ ่อใหเ้ กดิ
ผลผลิต และรายได้ที่มีความสจุ ริต หรือไม่ผิดศีลธรรม สมาชิกในชุมชนอาจจะประกอบอาชีพเกษตรกรรม ค้าขาย
รับจา้ ง ใหบ้ ริการ พนักงานบริษัท/หา้ ง/ร้าน หรืออาชีพขา้ ราชการ เป็นต้น

“ศาสนสถานสาคัญ” หมายถึง สถานที่ที่คนนับถือศาสนาต่างๆ ใช้ประกอบพิธีกรรม หรือทา
กิจกรรมต่างๆ ตามความเช่ือถือศรัทธาของตน อันไดแก่ วัดสาหรับผู้ที่นับถือศาสนาพุทธ มัสยิดสาหรับผู้ท่ีนับถอื
ศาสนาอิสลาม หรือโบสถ์สาหรับผู้นับถือศาสนาคริสต์ เป็นต้น ศาสนสถานต่างๆ เป็นแหล่งรวบรวม สะสม และ
อนุรักษงานศิลปะในรูปแบบต่างๆ และยังเป็นสถานท่ีให้คนที่นับถือศาสนาต่างๆ ได้ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ
ขนบธรรมเนียมประเพณี หรือวัฒนธรรม

“ภูมิปัญญา” หมายถึง แบบแผน หรือวิถีการดาเนินชีวิตของประชาชนในชุมชนท้องถ่ินใด
ท้องถิ่นหนึ่งท่ีปฏิบัติสืบทอดต่อกันมา เรื่องราวเหล่าน้ีจะทาให้สมาชิกของชุมชนยึดโยง กลมเกลียวเป็นเอกภาพ
ก่อใหเ้ กดิ ความสงบ สันติและร่วมพัฒนาชุมชนใหเ้ จริญ

“สถานที่สาคัญ” หมายถึง สถานท่ี หรือส่ิงก่อสร้างในท้องถ่ินท่ีมีความสัมพันธ์เก่ียวข้องกับ
เหตกุ ารณ์ หรือเร่ืองราวต่างๆ ทางประวัติศาสตร์ ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม หรือการดารงชีวิตประจาวนั
อาจจะเป็นสถานที่ราชการ หรือเป็นสถานที่เอกชน

“บุคคลสาคัญ” หมายถงึ บคุ คลท่ีถือกาเนิดในท้องถน่ิ แล้วไปสร้างสรรค์ความเจริญรุ่งเรือง ให้แก่
ประเทศชาติในด้านต่างๆ หรืออาจเป็นบุคคลที่ถือกาเนิดจากท้องถ่ินอ่ืน แล้วมาสร้างสรรค์ความเจริญรุ่งเรือง
ให้กับท้องถิ่นที่สถานศึกษาตั้งอยู่ บุคคลสาคัญเหล่าน้ี ท้ังท่ีเสียชีวิตไปแล้ว หรือยังมีชีวิตอยู่ถือเป็นตัวอย่างให้
อนุชนรุ่นหลังได้ดาเนินรอยตาม และได้มีโอกาสร่วมแสดงความกตัญญูต่อท่าน

“เหตการณสาคัญ” หมายถึง เหตการณ์ที่เกิดข้ึนในท้องถ่ินมีความเก่ียวข้องกับสมาชิกของ
ชุมชน อาจเป็นความเจริญรุ่งเรือง หรือความล้มเหลว อันนามาซึ่งความเปลี่ยนแปลงต่อการดารงชีวิตของคนใน
ทอ้ งถนิ่ เป็นส่วนใหญ่

“คาขวัญ” หมายถึง ถ้อยคา หรือข้อความท่ีเกิดจากการสังเคราะห์เพ่ือแสดงความเป็นองค์รวม
เปน็ เอกลักษณ์ความโดดเดน่ เป็นอุดมคติ หรือเปา้ หมายของหน่วยงาน องค์กร หรือสถานท่ีใดทห่ี น่ึง

กรอบหลักสูตรระดบั ท้องถ่นิ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560

12

สว่ นท่ี3
สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถน่ิ

สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2 มีสถานศึกษาที่อยู่ในสังกัดครอบคลุม

พ้ืนท่ี 4 อาเภอ คือ อาเภอบางใหญ่ อาเภอบางบัวทอง อาเภอไทรน้อย และอาเภอปากเกรด็ ซึ่งมีความแตกต่างกัน

ของสังคม จึงกาหนดกรอบสาระการเรียนรู้ทอ้ งถน่ิ ที่วิเคราะห์ ใหส้ อดคลอ้ งกับสาระการเรียนรู้ 8 สาระ เชอื่ มโยง

กับทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 ( 3R 8C) กระบวนการการจดั การเรยี นรู้ สมรรถนะสาคัญ 5 ประการ และคณุ ลักษณะ

อันพึงประสงค์ 8 ประการ ดังตาราง

กรอบสาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่ิน สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบุรเี ขต 2

สาระการเรียนรู้ องค์ความรู้ กรอบหลกั สตู รระดับท้องถ่นิ
ทกั ษะ กระบวนการ คุณลักษะอนั พึงประสงค์

1. สภาพภูมิศาสตร์ - ท่ตี ั้งของจงั หวัด - 3R 8C - กระบวนการ - รักความเปน็ ไทย

และทอ้ งถิน่ - วิถีทาง สืบค้น - รกั ชาติ ศาสนา

- สภาพภมู ปิ ระเทศ ประวัตศิ าสตร์ พระมหากษตั ริย์

- ความเปน็ มาของ - ใฝ่เรยี นรู้

จังหวัดนนทบุรี

- ความเปน็ มาของ

ท้องถิ่น

2. เศรษฐกิจใน - การท่องเท่ยี ว - 3R 8C - สหกรณ์โรงเรียน - ซ่อื สัตย์

ทอ้ งถ่ิน - การค้าขาย - บรษิ ัทสรา้ งการดี - มวี นิ ยั

- โรงงาน - อยู่อย่างพอเพียง

อุตสาหกรรม - มุง่ มน่ั ในการทางาน

- เกษตรกรรม

- งานบรกิ าร

3. ภมู ปิ ญั ญา - เคร่ืองปั้นดินเผา - 3R 8C - กระบวนการ - ใฝ่เรียนรู้

ทอ้ งถ่นิ และการงาน - ไมด้ อกไมป้ ระดบั - สบื คน้ - อยู่อย่างพอเพียง

อาชีพ - ขนมหวาน -Active Learning - มุ่งมนั่ ในการทางาน

- พรรณไมท้ อ้ งถน่ิ - - รกั ความเป็นไทย

- อาหารท้องถิน่

- ศิลปะในทอ้ งถิ่น

กรอบหลักสตู รระดับทอ้ งถน่ิ

สาระการเรยี นรู้ องคค์ วามรู้ ทักษะ กระบวนการ คณุ ลกั ษะอนั พงึ
ประสงค์

4. ทรพั ยากรธรรมชาติ - ทรัพยากรใน - 3R 8C - กระบวนการการ - มีวินัย

และสงิ่ แวดล้อม ทอ้ งถนิ่ แกป้ ญั หา - มีจิตสาธารณะ

- การดูแลรักษา - กระบวนการ

สบื เสาะ

- การเรียนรูโ้ ดย

โครงงาน

5. การพัฒนาท้องถิน่ - Smart Farmmer - 3R 8C -Active Learning - ใฝ่เรียนรู้

นนทบรุ ี 4.0 - การพัฒนาการ - การเรียนรโู้ ดย - มงุ่ มั่นในการทางาน

เปลยี่ นแปลงทาง โครงงาน

เทคโนโลยี

- ธรุ กจิ ออนไลน์

6. สภาพปญั หาชุมชน - การเคลือ่ นย้าย - 3R 8C -กระบวนการ - วินยั

แรงงาน สืบคน้ - มีจติ สาธารณะ

- ผลกระทบจาก - กระบวนการ - มุง่ มั่นในการทางาน

ประชากรแฝง สืบเสาะ

7. วัฒนธรรม สังคม - ประเพณีท้องถิ่น - 3R 8C -กระบวนการ - รักชาติ ศาสนา

และประเพณี (ตักบาตร 108 สืบค้น พระมหากษัตริย์

อาเภอบางแมน่ าง) -กระบวนการ - รกั ความเปน็ ไทย

- ศาสนสถานสาคญั สบื เสาะ - ใฝเ่ รียนรู้

และสถนทสี่ าคญั

8. สภาวะวกิ ฤต - อุทกภยั - 3R 8C - การเรยี นรู้โดย - ใฝ่เรยี นรู้

- อัคคีภัย - โครงงาน - จติ สาธารณะ

- วาตภัย -การเรียนรโู้ ดยใช้ - มุ่งมน่ั ในการทางาน

- แผน่ ดินไหว ปญั หาเปน็ ฐาน -

- ชมุ นมุ ประทว้ ง/

จลาจล

- โรคระบาด

- ภัยจากการกอ่

การรา้ ย

กรอบหลกั สตู รระดบั ทอ้ งถิ่น ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560

14

ส่วนท่ี 4
การประเมินคณุ ภาพผเู้ รียนระดับทอ้ งถนิ่

การประเมินคุณภาพสาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน นับเป็นภารกิจสาคัญในการวัดและประเมินให้
สอดคล้อง และครอบคลุมกับตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ ( ด้านความรู้ทักษะ และคุณลักษณะ) และธรรมชาติของ
เนื้อหาสาระ เพื่อใหผ้ ลการประเมนิ ให้ชัดเจนมีความเป็นไปได้ และเหมาะสมกับศักยภาพผู้เรียนโดยเฉพาะวัดและ
ประเมนิ ควบคู่ไปกบั การจัดการเรียนรู้ตามสภาพจริงให้ทกุ ฝ่ายมีสว่ นร่วม และนาผลการประเมนิ มาวิเคราะห์ซ่อม
เสริม และพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยมีหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นแนวทาง
กาหนดกรอบการประเมินคุณภาพ
หลักการ

สิง่ ท่ีต้องคานึงถงึ ในการประเมินสาระการเรียนรู้ท้องถนิ่ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
ซึ่งมีหลักการท่ีสาคัญ ดัง้ีน

1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้เป็น
เป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความ เป็นไทย
ควบคกู่ ับความเปน็ สากล

2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือปวงชน ท่ีประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค
และ มคี ุณภาพ

3. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพและความต้องการของท้องถนิ่

4. เป็นหลักสตู รการศึกษาท่ีมีโครงสร้างยืดหยนุ่ ทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการเรียนรู้
5. เปน็ หลักสตู รการศึกษาท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคญั
6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุม
ทุกกลุ่มมเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้และประสบการณ์
จุดหมาย

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข
มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพ่ือให้เกิดกับผู้เรียนเมื่อจบการศึกษาขน้ั
พ้ืนฐาน ดังนี้

1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตน
ตามหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถอื ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2. มีความรู้ความสามารถในการส่ือสาร การคิด การแก้ปัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทักษะชีวติ
3. มสี ุขภาพกาย และสุขภาพจิตท่ีดี มีสุขนิสยั
4. มีความรักชาติมีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิต และ
การปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข
5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
มจี ติ สาธารณะ ที่มงุ่ ทาประโยชน์และสร้างสิ่งท่ีดงี ามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสขุ

สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน มุ่งใหผ้ เู้ รยี นเกิดสมรรถนะสาคญั 5 ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการส่ือสารเป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้

ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรอง เพื่อขจัดและลดปัญหา
ความขดั แยง้ ต่าง ๆ การเลือกรับ หรือไมรับขอ้ มลู ขา่ วสารด้วยหลักเหตุผล และความถกู ตอ้ ง ตลอดจน การเลือกใช้
วิธกี ารสอ่ื สาร ท่ีมีประสิทธิภาพโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบที่มีตอ่ ตนเองและสังคม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด
อย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้ หรือ
สารสนเทศ เพื่อการตดั สนิ ใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม

3.ความสามารถในการแก้ปญั หา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรค์ต่าง ๆ ที่เผชิญ
ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการ ป้องกันและแก้ไข
ปัญหาและมีการตดั สนิ ใจท่ีมปี ระสิทธิภาพโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบท่ีเกดิ ขนึ้ ต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน
การดาเนินชีวติ ประจาวนั การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งต่อเน่ือง การทางาน และการอยู่ร่วมกันใน สังคม
ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
การปรับตวั ใหท้ นั กับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลยี่ งพฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์
ทีส่ ่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น

5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีเป็นความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ
และมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การ่ืสอสาร การทางาน
การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ถูกตอ้ งเหมาะสม และมีคุณธรรม

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือให้
สามารถอยู่ร่วมกับผู้อนื่ ในสังคมได้อยา่ งมีความสขุ ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดังน้ี

1. รักชาตศิ าสน์กษัตริย์
2. ซื่อสตั ย์ สุจริต
3. มีวินยั
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อยา่ งพอเพียง
6. มุง่ มั่นในการทางาน
7. รักความเปน็ ไทย
8. มีจิตสาธารณะ

กรอบหลกั สูตรระดับท้องถ่ิน ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560

16

นอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถกาหนดคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์เพ่ิมเตมิ ให้สอดคล้องตามบริบท
และจุดเน้นของตนเอง

แนวทางการวัดและประเมินผล

1. การประเมินผลก่อนเรียน เป็นหน้าท่ีของครูผสู้ อนในแต่ละวิชาทุกกลุ่มสาระท่ีตอ้ งประเมนิ โดย
มจี ดุ มงุ่ หมาย เพ่ือตรวจสอบสารสนเทศของผู้เรยี นในเบ้ืองตน้ สาหรับการนาไปใช้จัดกระบวนการเรียนรู้

2. การประเมินระหว่างเรียน เป็นการประเมิน เพ่ือมุ่งตรวจสอบพัฒนาการของผู้เรียนว่าบรรลุ
ตามผลการเรียนรู้ที่ คาดหวังในการสอนตามแผนการสอนท่ีครูไว้วางแผนไว้หรือไม่ ทั้งนี้สารสนเทศที่ได้จากการ
ประเมิน นาไปสู่การปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องของผู้เรียน และส่งเสริมผู้เรียนที่มีความรู้ ความสามารถให้เกิด
พัฒนาการสูงสุดตามศกั ยภาพได้แก่

1. การประเมินดว้ ยการสอ่ื สารสว่ นบุคค ได้แก่
1.1 การถามตอบระหว่างทากิจกรรมการเรียนรู้
1.2 การสนทนาพบปะพูดคุยกับผเู้ รียน
1.3 การสนทนาพบปะพูดคุยกับผเู้ รียน และผเู้ กยี่ วข้อง
1.4 การสอบปากเปล่าเพื่อประเมนิ ความรู้
1.5 การอ่านบนั ทึกเหตกุ ารณ์ตา่ งๆ ของผู้เรียน
1.6 การตรวจแบบฝึกหดั และการบา้ นพร้อมใหข้ ้อมลู ย้อนกลบั แก่ผเู้ รียน

2. การประเมินจากการปฏิบติ (Performance Assessment) เป็นวิธกี ารประเมนิ ท่ีผู้สอน
มอบหมายงาน หรือกิจกรรมให้ผู้เรียนทาเพ่ือให้ได้ข้อมูลสารสนเทศว่า ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้มากน้อยเพียงใด
การประเมนิ การปฏิบัตผิ สู้ อนตอ้ งตระเตรียมสง่ิ สาคัญ 2 ประการ คือ

2.1 ภาระงาน หรือกิจกรรมท่ีจะใหผ้ เู้ รียนปฏิบัติ (Tasks)
2.2 เกณฑ์การใหค้ ะแนน (Rubrics)
3. การประเมินสภาพจริง (Authentic Assessment) การประเมินสภาพจริงเป็นการ
ประเมนิ จากการปฏิบตั ิอยา่ งหนึ่งเพียงแต่งาน หรือกิจกรรมท่ีผ้เู รียนได้ปฏิบัติจะเป็นงาน หรือสถานการณ์ทเ่ี ปน็ จริง
(Real life) หรือใก้ลเคียงกับชีวิตจริง ดังน้ันงาน หรือสถานการณ์จงึ มีสิ่งจาเป็นท่ีซับซ้อน (Complexity) และเป็น
องค์รวม (Holistic) มากกว่างานปฏิบตั ิท่วั ไป
วิธีการประเมินตามสภาพจริงไม่มีความแตกต่างจากการประเมินปฏิบัติ (Performance
Assessment) เพียงแต่อาจมีความยุ่งยากในการประเมินมากกว่า เน่ืองจากเป็นสถานการณ์จริง หรือต้องจัด
สถานการณ์ให้ใกล้จริง และเกิดประโยชน์ กับผู้เรียน ซึ่งจะทาให้ทราบความสามารถที่แท้จริงตามจุดเด่น และ
ขอ้ บกพร่องในเรื่องใด อันจะนาไปสู่การแก้ไขท่ีตรงประเด็นที่สดุ
4. การประเมินด้วยแฟ้มสะสมงาน (Portfolio Assessment) การประเมนิ ด้วยแฟ้มสะสม
งานเป็นวิธีการประเมินที่ช่วยส่งเสริมให้การประเมินตามสภาพจริงมี ความเป็นไปได้มากขึ้น โดยการให้ผู้เรียนได้
เก็บรวบรวม (Collect) ผลงานจากการปฎิบัติจริงมีความเป็นไปได้ มากขึ้นโดยการให้ผู้เรียน หรือในชีวิตจริงที่
เกยี่ วขอ้ งกับการเรียนรู้ตามสาระการเรียนรู้ตา่ งๆ มาจัดแสดงอย่าง เป็นระบบ (Organized) ท้ังน้ี โดยมีจดุ ประสงค์

กรอบหลกั สูตรระดบั ท้องถิ่น ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560

17

เพ่ือสะท้อนให้เห็น (Reflect) ความพยายาม เจตคติแรงจูงใจ พัฒนาการ และความสัมฤทธิผล (Achievement)
ของการเรียนรู้ตามสงิ่ ท่ีมงุ่ หวังจะให้แฟ้มสะสมงานน้ัน สะท้อนออกมาซ่ึงผู้สอนสามารถประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
แทนการประเมินจากการปฏิบติจริงก็ได้

3. การประเมินหลังเรียน
เป็นการประเมินเพื่อสรุปผลการเรียนเป็นการประเมินเพื่อมุ่งตรวจสอบความสาเร็จของผู้เรียน
เม่ือผ่านการเรียนรู้ในช่วงเวลาหนึ่ง เพ่ือตรวจสอบว่าผู้เรียนเกิด การเรียนรู้ตามผลการเรียนท่ีคาดหวังหรือไม่
เมื่อนาไปเปรียบเทียบกับผลการประเมินก่อนเรียนแล้วผู้เรียนเกิดพัฒนาการข้ึนมากน้อยเพียงใดทาให้สามารถ
ประเมินได้ว่าผู้เรียนมีศักยภาพในการเรียนรู้เพียงใดและกิจกรรมการเรียนรู้มีประสิทธิภาพในการพัฒนา ผู้เรียน
เพียงใดขอ้ มูลจากการประเมินภายหลังการเรียนสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้มากมาย ได้แก่

1) ปรับปรุงแก้ไขซ่อมเสริมผลการเรียนรู้ที่คาดหวังหรือจดุ ประสงค์ของการเรียน
2) ปรับปรุงแก้ไขวธิ ึการเรียนให้มีประสิทธิภาพย่ิงขนึ้
3) ปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียน การประเมินผลการเรียนสามารถใช้
วิธีการและเครื่องมือการประเมินได้อย่างหลากหลายให้ สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เนื้อหาสาระ
กิจกรรมและช่วงเวลาในการประเมินเพ่ือใหก้ ารประเมินผล การเรียนดังกล่าวมีสว่ นเกยี่ วข้องสัมพันธ์และสนับสนุน
การเรียนการสอน

รปู แบบการประเมินคณุ ภาพ

การประเมนิ ระดับสถานศกึ ษา
1.การประเมินในช้ันเรียน การประเมินคุณภาพนักเรียนตามสาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน และตาม
จุดเน้นคุณภาพผู้เรียนด้านสมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนทุกวิชา ทุกชั้นเรียน โดยใช้
วธิ กี าร /เคร่ืองมือวัดและประเมินผลอย่างหลากหลายควบคู่ไปกบั การเรียนการสอน
2.การประเมนิ ในระดับสถานศึกษา การประเมินคุณภาพผู้เรียนตามสาระการเรียนรู้ทอ้ งถน่ิ และ
ตามจดุ เน้นคุณภาพผู้เรียนด้านสมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน สถานศึกษาพิจารณาถึง
การประเมินในภาพรวม เพื่อตัดสินผลการพัฒนาผู้เรียนเมื่อจบภาคเรียน หรือปีการศึกษา โดยใช้เครื่องวัดและ
ประเมนิ ผลเป็นแบบทดสอบภาคความรู้หรือภาคปฏิบัติ ตามท่ีสถานศึกษากาหนด
การประเมนิ ระดับเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา
“การประเมนิ คุณภาพระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา เป็นการประเมนิ คุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพื่อใช้เป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นท่ีการศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดาเนินการโดยประเมิน
คณุ ภาพ ผลสัมฤทธิของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานที่จัดทาและดาเนินการ โดยเขตพ้ืนท่ีการศึกษา หรือดว้ ยความ
ร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัดในการจัดสอบ นอกจากนี้ยังได้จากการตรวจสอบทบทวนข้อมูลจากการประเมิน
ระดับสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา นอกจากน้ัน ภารกิจสาคญั ของเขตพื้นท่ีการศึกษา /ท้องถน่ิ ในการบริหาร
จัดการหลักสูตรระดับท้องถ่ิน ยังต้องกาหนดให้มีการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับท้องถิ่นและรายงานผล
คณุ ภาพของผู้เรียน

กรอบหลักสูตรระดบั ทอ้ งถิ่น ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560

18

การประเมนิ คุณภาพผู้เรียนระดับท้องถน่ิ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้
ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน รวมถึงเป้าหมาย/จุดเน้นของท้องถ่ินตามที่กาหนดไว้ในกรอบ
หลักสูตรระดับท้องถิ่น เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสามารถดาเนินการโดยการ
ประเมินผลสัมฤทธิของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐาน หรือเคร่ืองมือที่จัดทาและดาเนินการโดยเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
หรือดว้ ยความร่วมมือกับสถานศึกษาในการดาเนินการจัดสอบ ได้แก่

1. กาหนดแผนงาน การวางแผนงาน และกาหนดสิ่งท่ีต้องการประเมินรวมทั้งกลุ่มเป้าหมายท่ีจะ
ประเมินเครื่องมือท่ีใช้และช่วงระยะเวลาในการประเมินอย่างชัดเจนโดยกาหนดไว้ชัดเจนในกรอบหลักสูตรระดับ
ท้องถ่ิน เพ่ือแจ้งให้โรงเรียนภายในเขตพ้ืนที่ทราบข้อมูลดังกล่าวล่วงหน้า เพ่ือเตรียมพร้อมในการรับการประเมนิ
ตวั ชวี้ ัด/เปา้ หมาย/ จดุ เน้น /หัวขอ้ เรื่อง/ เนื้อหาสาระ
วธิ ีการวดั และประเมนิ ผล

เคร่ืองมอื การวัด และประเมนิ ผล
1. มีความรู้เกี่ยวกับประวัติ และเร่ืองราวของชุมชนท้องถ่ิน ซ่ึงเป็นสภาพแวดล้อมในชีวิต
จรงิ ของตนเอง ประวัตคิ วามเป็นมา คาขวัญ สถานท่ีตั้ง อาณาเขต
ทดสอบ – วดั ความรู้ ความเขา้ ใจ และวิเคราะห์ เขยี นเรียงความ
แบบทดสอบ

1. แบบปรนัย ชนิด 4 ตวั เลือก และ/หรือ เตมิ คา
2. แบบอตั นัย เขียนเรียงความ เร่ือง ชุมชนของฉัน หรืออื่นๆ
แบบตรวจเรียงความ
1. ตรวจดความเรียบร้อย ความถูกตอ้ งและครอบคลุมของเนื้อหา
2. ตรวจความถกู ตอ้ งของ ขนั้ ตอนการเขียนเรียงความ
3. ตรวจการอ้างอิงถงึ แหล่งท่ีมาของข้อมลู
2. รู้เรื่องราว สภาพสังคม และสิ่งแวดล้อมของชมุ ชนทอ้ งถน่ิ
1. สภาพ ภูมิอากาศ
2. สภาพภูมิ ประเทศ
3. สภาพสังคม – เชื้อชาติ - ศาสนา – อาชพี
ทดสอบ - วดั ความรู้ความเขา้ ใจ และการคิดวเิ คราะห์
1. อภิปรายและเขียน รายงานสรุปการอภิปราย - ค้นคว้า/สัมภาษณ์ แล้ววิเคราะห์จากน้ัน
นามาอภิปรายในช้ัน เรียนพร้อมทั้งเขียน รายงานสรุปผลการอภิปราย
แบบทดสอบ
1. แบบปรนัย ชนิด 4 ตวั เลือก และ/หรือเตมิ คา
2. แบบอตั นัยเขยี นเรียงความ เร่ือง คนในชุมชนบา้ นฉัน หรืออืน่ ๆ
แบบสังเกต
1. การมีส่วนร่วมในการอภิปราย
2. การอภิปรายในประเด็นท่ีกาหนด

กรอบหลกั สตู รระดบั ทอ้ งถิ่น ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560

19

3. มแี นวการคิดแบบคิดวิเคราะห์ คดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ
4. รวมอภิปรายอย่างมีวินัย และปฏิบัติตามหน้าท่ีใน การร่วมอภิปรายแบบตรวจ
การเขยี นรายงานสรุป
5. ตรวจความถกู ตอ้ งของ เนื้อหาและเนื้อความรู้ท่ีสรุป ตรวจวิธกี ารเขียน
2. พัฒนาคลังข้อสอบจัดทาคลังข้อสอบมาตรฐานเพื่อใช้ในการทดสอบซึ่งข้อสอบดังกล่าวควรมี
การวิจัยเพ่ือพัฒนาและปรับปรุงเป็นระยะเพื่อใหไ้ ด้ข้อสอบทม่ี ีคุณภาพเท่ียงตรงและเช่ือถอื ได้
3. ใช้ผลการประเมินในการพัฒนาผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนเป็นข้อมูลพ้ืนฐานที่สาคัญ
สาหรับกาหนดนโยบายวางแผนงานและกาหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นในเขตพ้ืนที่ข้อมูลดงั กล่าว
เป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการที่เขตพื้นที่จะวางแนวทางในการช่วยเหลือครู โดยเฉพาะอย่างย่ิงในโรงเรียนท่ีมี
ผลสมั ฤทธิทางการเรียน
การประเมนิ โดยหน่วยงานต้นสังกดั (สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน)
การประเมินคุณภาพผู้เรียนตามสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐานสามารถประเมินผู้เรียนชั้นอนุบาล -มัธยมศึกษาตอนต้น โดยใช้แบบทดสอบภาคความรู้และภาคปฏิบัติ
ทง้ั น้ี ประเมินตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ /เร่ืองตามท่ีส่วนกลางกาหนด /จุดเน้นตามนโยบาย ซึ่งเคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการ
ประเมนิ ได้แก่ แบบทดสอบ แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม แบบตรวจผลงาน / ช้ินงาน

กรอบหลักสูตรระดบั ท้องถน่ิ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560

20

บรรณานกุ รรม

กระทรวงศกึ ษาธิการ. หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
กระทรวงศกึ ษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง 2560
กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสตู รฐานสมรรถนะ
กระทรวงศึกษาธกิ าร. คู่มือการวดั และประเมนิ การจัดการศกึ ษาตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน

พทุ ธศกั ราช 2551 มาตรฐานการศกึ ษาชาติ

กรอบหลกั สตู รระดับท้องถิ่น ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560

21


Click to View FlipBook Version