The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือทำแผนการจัดการเรียนรู้ 10.51.25 AM

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วรรณวิษา อารีวโรดม, 2022-05-07 02:49:22

คู่มือทำแผนการจัดการเรียนรู้ 10.51.25 AM

คู่มือทำแผนการจัดการเรียนรู้ 10.51.25 AM

กล่มุ นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต 2



คำนำ

คมู่ อื เลม่ น้ีจดั ทำขึน้ เพอ่ื เปน็ แนวทางในการจัดทำแผนการจัดการเรยี นรู้โดยกระบวนการ
เรียนรู้เชงิ รุก โดยมีจุดประสงค์เพือ่ ส่งเสริมให้ครูผู้สอนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการจัดการ
เรยี นรู้ การออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้ รวมไปถึงการวดั และประเมินผลการจดั การเรียนรเู้ ชิงรุก
(Active Learning) โดยปรบั บทบาทจาก “ครูผูส้ อน” เป็น “โคช้ ” หรือ “ผ้อู ำนวยการการเรยี นรู”้ สรา้ ง
เครือข่ายพัฒนาครูให้มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างกัน ร่วมการพฒั นาผเู้ รียนให้เกดิ ทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษท่ี 21 และสามารถนำไปใช้ประโยชนใ์ นการดำรงชีวติ ในปัจจบุ นั

ผจู้ ัดทำได้นำหัวขอ้ น้ีมาจดั ทำคูม่ ือ เนือ่ งมาจากเป็นเร่อื งทนี่ า่ สนใจ รวมทัง้ แสดงใหเ้ ห็นถึง
การบูรณาการการเรยี นการสอน 8 กลมุ่ สาระ ให้ครูผ้สู อนเข้าใจและตระหนักถึงการจัดกระบวนการเรียนรู้
ทีเ่ น้นใหผ้ ้เู รยี นไดล้ งมอื ทำ เกดิ ทกั ษะ เกิดสมรรนะ สามารถนำความรไู้ ปใช้ในชีวติ ประจำวนั เปน็ แนวทาง
ในการนำไปประกอบอาชีพในอนาคต

ผู้จัดทำต้องขอขอบคณุ ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบรุ ี
เขต 2 รองผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานนทบรุ เี ขต 2 ผูอ้ ำนวยการกลุ่มนิเทศ
ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา ท่ีให้การสนบั สนุน ให้คำแนะนำ กำกับ ดูแลและให้กำลังใจใน
การจดั ทำคู่มือเล่มน้ี รวมถงึ อำนวยความสะดวกในการจดั หาขอ้ มูลและเก็บขอ้ มูลท่เี ป็นประโยชน์

หวงั เปน็ อยา่ งยิง่ ว่าคมู่ ือเล่มนี้จะให้ความรู้ และเปน็ ประโยชน์แก่ผู้อ่านทุก ๆ ทา่ น หากมี
ข้อเสนอแนะ ประการใด ผูจ้ ัดทำขอรบั ไว้ดว้ ยความขอบพระคุณย่ิง

นางสาววรรณวิษา อารีวโรดม
ศกึ ษานเิ ทศก์ ชำนาญการ

กล่มุ นิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา
สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2

การเขียนแผนการจดั การเรียนรู้โดยกระบวนการเรยี นรู้เชงิ รกุ [Active Learning]



หน้า

ความหมายของการเรียนรู้เชิงรกุ 1
ความสำคัญของการจัดการเรยี นรู้เชงิ รกุ 2
ลกั ษณะการเรยี นรู้เชงิ รกุ 4
ลกั ษณะกิจกรรมทเ่ี ป็นการเรยี นรู้เชงิ รกุ 5
บทบาทของครูในการจดั การเรียนรเู้ ชิงรกุ 5
ข้อควรระวังในการจัดการเรยี นรเู้ ชิงรกุ 6
ตัวอย่างเทคนิคการจดั การเรยี นรูแ้ บบ Active Learning 7
การออกแบบการจัดการเรยี นรู้ 9
ความหมายของการออกแบบการจดั การเรยี นรู้ 10
แนวคิดในการออกแบบกิจกรรมการเรียนร้เู ชิงรกุ (Active Learning) 10
การออกแบบการจัดการเรยี นรู้เชิงรกุ 15
หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551และฉบบั ปรับปรงุ พุทธศกั ราช2560 19
หลกั สตู รฐานสมรรถนะ 21
การจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ 21
แนวทางการจัดการเรยี นรฐู้ านสมรรถนะ 22
การวดั และประเมินผลฐานสมรรถนะ 23
ขอ้ เสนอแนะทวั่ ไปในการจัดการเรียนรูฐ้ านสมรรถนะใหม้ คี ณุ ภาพและประสิทธิภาพ 24
ตัวอย่างแผนการจดั การเรยี นรู้เชงิ รกุ 27
40
แบบตรวจสอบการจดั ทำหน่วยการเรียนรู้เชิงรุก 41
แบบตรวจสอบแผนการจัดการเรียนร้เู ชิงรุก 42
บรรณานุกรม 43

เป็นกระบวนการเรียนรู้ แปลตามตัวก็คือ เป็นการปฏิบัติเรียนรู้

ผา่ นการลงมือทำ “ความรู้” ทีเ่ กิดขึน้ ก็เป็นความร้ทู ีไ่ ด้จากประสบการณ์ กระบวนการในการจัดกจิ กรรม
การเรยี นรทู้ ผี่ ู้เรยี นตอ้ งไดม้ ีโอกาสลงมือกระทำมากกวา่ การฟงั เพยี งอย่างเดยี วตอ้ งจัดกิจกรรมให้ผู้เรียน
ไดก้ ารเรียนร้โู ดยการอา่ น การเขียน การโต้ตอบ และการแกป้ ญั หาให้ผู้เรียนได้ใช้กระบวนการคิดข้ันสูง
อีกทง้ั ยงั ไดใ้ ช้กระบวนการการวเิ คราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมนิ คา่ ซง่ึ เป็นกระบวนการเรียนรู้
ท่ใี ห้ผูเ้ รยี นไดเ้ รยี นรอู้ ยา่ งมีความหมาย โดยการร่วมมือระหว่างผเู้ รียนดว้ ยกนั เอง ในการนี้ ครูต้องลด
บทบาทในการสอน และการให้ความรูแ้ ก่ผ้เู รยี นโดยตรง แตไ่ ปเพ่มิ กระบวนการ และกิจกรรมท่จี ะทำให้
ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในการที่จะทำกิจกรรมต่าง ๆ มากขึ้นและอย่างหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น
การแลกเปลยี่ นประสบการณ์ โดยการพดู การเขยี น การอภปิ รายกบั เพอื่ นๆ

การสอนแบบ Active Learning คือ กระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนทุกคนมีสว่ น

ร่วมในการลงมือกระทำและใช้กระบวนการคิด โดยผู้เรียนจะเปลี่ยนบทบาทจากผู้รับความรู้
(Receivers) ไปสู่การมีสว่ นร่วมในการสรา้ งความรู้ (Co -creators) ในศตวรรษที่ 21 เป็นยุคของข้อมูล
ข่าวสารและการเปลยี่ นแปลงด้วยความกา้ วหน้าของเทคโนโลยี สารสนเทศทำใหก้ ารส่อื สารไร้พรมแดน
การเข้าถึงแหล่งข้อมูลสามารถทำได้ทุกที่ ทุกเวลา ผลกระทบจากยุค โลกาภิวัตน์นี้ส่งผลให้ผู้เรียน
จำเป็นจะต้อง มคี วามสามารถในการเรยี นร้ไู ดด้ ว้ ยตนเองอย่าง
ต่อเนื่อง และเป็นผู้แสวงหาความรู้อยู่ตลอดเวลา ประกอบกบั
ปัจจุบันมี องค์ความรู้ใหม่เกิดขึ้นมากมายทุกวินาที ซึ่งการ
ส อ น แ บ บ เ ด ิ มด ้ ว ยกา รพ ูด บ อกเ ล ่า ไม ่ส า มา รถ จ ะพ ัฒนาใ ห้
ผูเ้ รยี นนำความรู้ ท่ีได้จากการเรียนในชนั้ เรยี นไปปฏิบัติได้ดีจึง
จำเป็นต้องปรับเปล่ยี นวิธกี ารจัดการเรียนรู้ ดังนน้ั การเรียนรู้ให้
สอดคล้องกับการเปลย่ี นแปลงของสงั คม เทคโนโลยีเรียนรู้ของผเู้ รยี น และจากผสู้ อน คอื ผู้สอนถ่ายทอด
ปรับเปลี่ยนบทบาทเป็นผู้ชี้แนะวิธีการค้นควา้ หาความรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถแสวงหาความรู้
และประยุกต์ใช้ทักษะต่าง ๆ สร้างความเข้าใจด้วยตนเอง จนเกิดเป็นการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
(ไพฑูรย์ ลารัตน์,2545,สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ และทัศนีย์ บุญเติม,2545, ทิศนา แขมมณี,2548,บัณฑติ
ทพิ ากร,2550)

Active Learning เป็นการจดั การเรียนรู้แบบเน้นพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริม

ให้ผเู้ รยี นประยกุ ตใ์ ช้ทักษะและเชือ่ มโยงองค์ความรนู้ ำไปปฏิบตั เิ พอ่ื แก้ไขปัญหา หรอื ประกอบอาชีพใน
อนาคตหลักการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning เป็นการนำเอาวิธีการสอน เทคนิคการสอนที่
หลากหลายมาใช้ออกแบบ แผนการสอนและกิจกรรมกระตนุ้ ให้ผูเ้ รยี นมีส่วนร่วมในช้นั เรียนปฏิสัมพันธ์
ระหว่างผเู้ รยี นกับผเู้ รียน

และผู้เรยี นกบั ผู้สอน Active Learning จึงถอื เป็นการจัดการเรยี นรู้ประเภทหนึง่ ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน
มีคุณลักษณะสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบัน อีกทั้งยังช่วยส่งเสริม student
engagement, enhance relevance, and improve motivation ของผเู้ รียน

การจัดการเรียนรู้เชิงรกุ ( Active Learning) หมายถึง การออกแบบการเรียนรู้ และ

การจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนปฏิบัติจริง สร้างองค์ความรู้ ผ่านการคิดขั้นสูง (Higher Order
Thinking) การได้ปฏิบัติงานสร้างสรรค์ และนำเสนองานด้วยตัวเอง การเรียนที่เน้นให้ผู้เรียนมี
ปฏิสัมพนั ธก์ บั การเรียนการสอน กระตุ้นใหผ้ เู้ รยี นเกดิ กระบวนคิดข้ันสูง (Higher Order Thinking) ด้วย
การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า ไม่เพียงแต่ผู้เรียนต้องเป็นผู้ฟัง อ่าน เขียน ตั้งคำถาม และ
อภปิ รายรว่ มกัน ผเู้ รียนยังตอ้ งลงมือปฏิบตั ิจริงโดยตอ้ งคำนึงถึงความร้เู ดิม และความต้องการของผ้เู รียน
เปน็ สำคัญ ทงั้ น้ีผเู้ รยี นจะถูกเปลี่ยนบทบาทจากผู้รับความร้ไู ปสู่ การมสี ่วนร่วมในการสร้างความรู้

ความสำคัญของการจัดการเรียนร้เู ชิงรุก

Active Learning สง่ เสริมการมีอสิ ระทางดา้ นความคดิ และการลงมือทำของผู้เรียน
การมีวิจารณญาณ และการคิดสร้างสรรค์ ผู้เรียนจะมีโอกาสใน
การปฏิบัติจริง และมีการใช้วิจารณญาณในการคดิ และตัดสินใจใน
การปฏิบัติกิจกรรมนั้น มุ่งสร้างให้ผู้เรียนเป็นผู้กำกับทิศทางการ
เรียนรู้ ค้นหาสไตล์การเรยี นรู้ของตนเองสูก่ ารเป็นผู้รู้คิด รู้ตัดสินใจ
ด้วยตนเอง(Active Learning Metacognition) เพราะฉะนน้ั จงึ เปน็
แนวทางการจัดการเรียนรู้ทีม่ ุ่งให้ผู้เรียนสามารถพฒั นาความคิดขนั้
สูง (Higher Order Thinking) ในการมีวิจารณญาณ การวิเคราะห์
การคดิ แก้ปัญหา การประเมนิ ตดั สนิ ใจ และการสรา้ งสรรค์

Active Leaning สนับสนุนส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือกัน
อย่างมีประสิท ธิภาพ ซึ่งในความ ร่วมมือกา รปฏิบัติงา นกล ุ่ ม จ ะ
นำไปสู่ความสำเรจ็ ในภาพรวม

Active Learning ทำให้ผู้เรียนทุ่มเทในการเรียน มีแรงจูงใจในการเรียน
และการแสดงออกถงึ ความรคู้ วามสามารถของผเู้ รยี น เมอื่ ผู้เรียนไดม้ ีสว่ นรว่ มในการปฏบิ ัติกิจกรรม
อย่างกระตือรือร้น โดยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวย ผ่านกิจกรรมที่ครูจัดเตรียมไว้ให้อย่าง
หลากหลาย ผเู้ รยี นเลอื กเรยี นรกู้ ิจกรรมตา่ ง ๆ ตามความสนใจและความถนัดของ ต น เ อ ง
เกดิ ความรับผดิ ชอบ และทุ่มเทเพื่อมงุ่ สู่ความสำเรจ็

Active Learning ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่
ก่อให้เกิดการพัฒนาเชิงบวกทั้งตัวผู้เรียน และผู้สอน ซึ่งเป็นการปรับการ
เรียนเปลี่ยนการสอน ผู้เรียนจะมีโอกาสได้เลือกใช้ความถนัด ความสนใจ
ความสามารถ ท่ีแตกตา่ ง
การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้โดยกระบวนการเรยี นรู้เชิงรกุ [Active Learning]

2

ระหว่างบุคคล (Individual Different) สอดรับกับแนวคิด พหุปัญญา (Multiple Intelligence)
เพื่อแสดงออกถึงตัวตน และศักยภาพของตัวเอง ส่วนครูผู้สอนต้องมีความตระหนักถึง แนวทางการ
นิเทศ เพื่อพัฒนาและส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก(Active Learning) ที่จะปรับเปลี่ยนบทบาท
แสวงหาวธิ ีการกิจกรรมท่ีหลากหลาย เพ่ือชว่ ยเสรมิ สร้างศกั ยภาพของผู้เรียนแต่ละคน ส่ิงเหล่านี้จะทำ
ให้ครูเกิดทักษะในการสอน และมีความเชี่ยวชาญในบทบาทหน้าที่ที่รับผิดชอบ เป็นการพัฒนาตน
พัฒนางาน และพฒั นาผ้เู รียนไปพรอ้ มกัน

Active Learning สามารถรักษาผลการเรียนรู้ให้อยู่คงทน และนานกว่า
กระบวนการเรียนรู้ Passive Learning เพราะกระบวนการเรียนรู้ Active Learning สอดคล้องกับ
การทำงานของสมองที่เกี่ยวขอ้ งกับความจำ โดยสามารถเก็บ และจดจำสิ่งที่ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีส่วน
รว่ มกบั เพื่อน ผู้สอน ส่ิงแวดล้อม การเรียนรไู้ ดผ้ า่ นการปฏบิ ตั ิจรงิ สามารถเก็บในระบบความจำระยะยาว
(Long Term Memory) ทำใหผ้ ลการเรียนรู้ ยงั คงอยู่ได้ในปริมาณทม่ี ากกว่า ระยะยาวกว่า ซึ่งอธิบาย
ไว้ดงั น้ี

กระบวนการเรียนรู้Passive Learning

• กระบวนการเรียนรู้โดยการอ่านท่องจำผเู้ รยี นจะจำได้ในสงิ่ ท่เี รียนได้เพียง 10%

• การเรียนรโู้ ดยการฟังบรรยายเพียงอย่างเดียวโดยท่ีผเู้ รียนไม่ไดม้ ีส่วนร่วมในการเรียนรู้
ด้วยกิจกรรมอ่ืนในขณะที่อาจารย์สอนเมื่อเวลา
ผ่านไปผู้เรียนจะได้เพียง 20% หากในการเรียน
การสอนผู้เรยี นมีโอกาสไดเ้ ห็นภาพประกอบด้วยก็
จะทำใหผ้ ลการเรยี นร้คู งอยไู่ ด้เพม่ิ ขึ้นเปน็ 30%

• กระบวนการเรียนรู้ที่ผู้สอนจัด
ประสบการณ์ให้กับผู้เรียนเพิ่มขึ้นการให้ดู
ภาพยนตร์ เช่น การสาธิต จดั นทิ รรศการให้ผู้เรียน
ไดด้ ู รวมท้งั การนำผู้เรยี นไปทัศนศึกษา หรือศึกษา
ดูงาน ก็ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เพิ่มขึ้นเป็น
50%

กระบวนการเรียนรู้Active Learning

• การให้ผูเ้ รยี นมีบทบาทในการแสวงหาความรแู้ ละเรียนรู้อยา่ งมปี ฏิสมั พนั ธ์จนเกิดความรู้
ความเข้าใจนำไปประยุกต์ใช้ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า เพื่อสร้างสรรคส์ ิ่งต่าง ๆ และ
พัฒนาตนเองเต็มความสามารถ รวมถึงการจัดประสบการณ์การเรียนรูได้มีโอกาสร่วมอภิปราย
ฝึกทกั ษะการสือ่ สารทำใหผ้ ลการเรียนรเู้ พ่มิ ขนึ้ 70%

• การนำเสนองานทางวิชาการ เรียนรู้ในสถานการณ์จำลอง ทั้งมีการฝึกปฏิบัติใน
สภาพจรงิ มีการเช่อื มโยงกบั สถานการณต์ ่าง ๆ ซงึ่ จะทำให้ผลการเรียนรเู้ กิดข้นึ ถงึ 90%

การเขียนแผนการจดั การเรียนร้โู ดยกระบวนการเรยี นรู้เชิงรกุ [Active Learning]

3

คุณลกั ษณะการเรยี นรเู้ ชิงรุก

1. เป็นการพัฒนาศกั ยภาพการคดิ การแก้ปญั หา และการนำความรไู้ ปประยกุ ต์ใช้
2. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดระบบการเรียนรู้ และสร้างองค์ความรู้โดยมปี ฏิสัมพันธ์ร่วมกัน
เกิดความร่วมมอื มากกวา่ การแขง่ ขนั

3. เปดิ โอกาสให้ผเู้ รียนมสี ่วนร่วมในกระบวนการเรยี นรูส้ ูงสุด
4. เปน็ กจิ กรรมทใ่ี ห้ผู้เรียนบรู ณาการขอ้ มูล ข่าวสาร สารสนเทศ

สู่ทกั ษะการคดิ วเิ คราะหแ์ ละการประเมนิ คา่
5. ผเู้ รียนได้เรียนรู้ความมวี นิ ัยในการทำงานร่วมกบั ผอู้ น่ื
6. ความรเู้ กดิ จากประสบการณ์ และการสรปุ ของผ้เู รยี น
7. ผู้สอนเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้
ผู้เรยี นเป็นผู้ปฏิบัติดว้ ยตนเอง

ลักษณะของการจัดกระบวนการเรยี นรู้

1. จดั การเรียนร้ทู พ่ี ฒั นาศักยภาพทางสมอง ไดแ้ ก่ การคดิ หา และการนำความรไู้ ปประยุกต์ใช้
การแก้ปัญหา

2. จัดการเรียนร้ทู ่เี ปดิ โอกาสให้ผู้เรียนมสี ่วนร่วมในกระบวนการเรยี นรสู้ งู สุด
3. จดั ใหผ้ เู้ รยี นสร้างองคค์ วามรู้และจัดกระบวนการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง
4. จัดให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรยี นรู้ ทั้งในด้านการสร้างองค์ความรู้ การสร้างปฏิสัมพันธ์
รว่ มกนั สรา้ งความรว่ มมือกนั มากกว่าการแขง่ ขนั
5. จัดให้ผูเ้ รียนเรยี นรู้เรือ่ งความรับผดิ ชอบร่วมกัน การมีวนิ ยั ในการทำงานและการแบ่งหน้าท่ี
ความรับผิดชอบในภารกิจต่าง ๆ
6. จัดกระบวนการเรยี นทส่ี ร้างสถานการณ์ให้ผเู้ รยี นอา่ นคดิ อย่างลมุ่ ลึก ทักษะการพูด การฟัง
ผเู้ รียนจะเปน็ ผู้จดั ระบบการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง
7. จดั กิจกรรมการจดั การเรยี นรู้ที่เนน้ ทกั ษะการคดิ ขั้นสงู
8. จัดกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูล ข่าวสารและหลักการความคิดหรือ
สารสนเทศรวบยอด
9. ผู้สอนจะเป็น “ผู้อำนวยความสะดวก” ในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติ

ดว้ ยตนเอง
10. จัดกระบวนการสร้างความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ การสร้างองค์ความรู้และการสรุป
ทบทวนของผู้เรยี น

การเขยี นแผนการจัดการเรียนร้โู ดยกระบวนการเรียนรูเ้ ชิงรกุ [Active Learning]

4

ลกั ษณะกิจกรรมทเ่ี ปน็ การเรียนรเู้ ชงิ รุก

1. กระบวนการเรียนร้ทู ี่ลดบทบาทการสอน และการใหค้ วามรู้โดยตรงของครู แต่เปิดโอกาสให้

ผเู้ รียนมีสว่ นร่วมสรา้ งองคค์ วามรู้ และจดั ระบบการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง

2. กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนให้นำความรู้ ความเข้าใจไปประยุกต์ใช้ สามารถ

วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ประเมินคา่ คิดสร้างสรรคส์ ิ่งตา่ ง ๆ พัฒนาทักษะกระบวนการคิดไปสรู่ ะดับที่สงู ขนึ้

3. กิจกรรมเช่อื มโยงกบั นกั เรียน กบั สภาพแวดลอ้ มใกลต้ ัว ปัญหาของชมุ ชน สังคม หรอื

ประเทศชาติ

4. กิจกรรมเป็นการนำความรูท้ ีไ่ ดไ้ ปใช้แก้ปญั หาใหม่ หรือใช้ในสถานการณ์ใหม่

5. กิจกรรมเน้นใหผ้ เู้ รียนได้ใชค้ วามคดิ ของตนเองอย่างมีเหตมุ ผี ล อภิปรายมโี อกาสรว่ มและ

นำเสนอผลงาน

6. กจิ กรรมเนน้ การมีปฏิสมั พนั ธก์ นั ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรยี น และปฏสิ มั พันธก์ ันระหวา่ ง

ผู้เรียนกบั ผู้สอน

ทีม่ าของภาพ : http://www.ocsb.go.th/upload/contents/20/attachfiles/F6523_250708.pdf

บทบาทของครใู นการจัดการเรียนรูเ้ ชิงรกุ

1. จัดให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรยี นรู้ กิจกรรมต้องสะท้อนความต้องการในการพัฒนา
ผเู้ รยี นและเน้นการนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ิตจรงิ ของผู้เรยี น

2. สร้างบรรยากาศของการมีส่วนร่วม และการเจรจาโตต้ อบทสี่ ่งเสริมให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพนั ธ์ที่ดี
กบั ผสู้ อน และเพอ่ื นในช้นั เรยี น

3. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เป็นพลวัต ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในทุกกิจกรรมรวมทั้ง
กระตุน้ ใหผ้ เู้ รยี นประสบความสำเรจ็ ในการเรยี นรู้

4. จัดสภาพการเรยี นรแู้ บบร่วมมือ ส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ การรว่ มมอื ในกลุ่มผเู้ รียน
5. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ท้าทาย และให้โอกาสผู้เรียนได้รับวิธีการสอนที่หลากหลาย
วางแผนเกยี่ วกบั เวลาในจดั การเรยี นการสอนอยา่ งชดั เจน ทั้งในส่วนของเน้ือหา และกจิ กรรม ครูผู้สอน
ตอ้ งใจกวา้ ง ยอมรับในความสามารถในการแสดงออก และความคดิ เห็นของผูเ้ รยี น ครูมีการจดั ทำหน่วย

การเขยี นแผนการจดั การเรยี นรูโ้ ดยกระบวนการเรียนรู้เชงิ รกุ [Active Learning]

5

และแผนการจัดการเรียนรู้และนำไปใช้ในกาารเรยี นร้ทู เ่ี น้นให้ผเู้ รียนปฏิบัติ และแนวทางการนิเทศโดย
ใช้พ้ืนที่เป็นฐานเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาส่กู ารนเิ ทศภายในโรงเรยี น เพื่อพัฒนาคณุ ภาพของผ้เู รียน

6. ครูมีการบนั ทกึ ผลหลังการจัดการเรยี นรู้ และนำผลไปใช้ในการแกป้ ญั หาและพฒั นานักเรียน
ประกอบการวจิ ยั ในช้นั เรียน

7. นกั เรยี นมีทักษะการคิดวิเคราะหร์ ะดับสูง สร้างองค์ความรไู้ ด้ด้วยตนเอง
8. นกั เรยี นมที กั ษะวิชาการ ทกั ษะวิชาชีพ และทักษะชวี ิตในการเรียนรตู้ ามระดับชว่ งวัย

ข้อควรระวังในการจดั การเรยี นร้เู ชิงรกุ

1. การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning มีรากฐานมาจากแนวคิดทางการศึกษาที่เน้น
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ (Constructivist) โดยผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้จากข้อมูลที่ได้รับมาใหม่
ประกอบกับประสบการณแ์ ละความรเู้ ดิมท่ีผา่ นมา จงึ มมี ิตขิ องกจิ กรรมท่เี กีย่ วข้องอยู่ 2 มิติ

1.1 กิจกรรมด้านการรคู้ ดิ (Cognitive Activity)
1.2 กิจกรรมดา้ นพฤติกรรม (Behavioral Activity)
ผู้นำไปใช้อาจเข้าใจคลาดเคลื่อน ว่าการเรียนรู้แบบนี้เน้นความตื่นตัวในกิจกรรม
ดา้ นพฤติกรรม (Behavioral Active) เปน็ รปู แบบท่ีเข้าใจว่าความตืน่ ตวั ในกิจกรรมดา้ นพฤติกรรมจะทำ
ให้เกิดความต่ืนตัวในกิจกรรมไปเอง จึงเป็นที่มาของการประยุกต์ใช้ผิดๆ ว่าให้ผู้สอนลดบทบาทความ
เปน็ ผใู้ หค้ วามรู้ลง เป็นเพียงผอู้ ำนวยความสะดวก และบรหิ ารจดั การหลักสูตร โดยปล่อยใหผ้ ้เู รยี นได้ทำ
กจิ กรรมอยา่ งอิสระ และแลกเปลีย่ นประสบการณ์กบั ผ้เู รียนด้วยกันเอง “ตามยถากรรม” โดย ผู้เรียน
ไม่ไดเ้ รียนรู้ พัฒนามติ ดิ า้ นการรู้คิด (Cognitively Active)
2. ความตื่นตัวในกิจกรรมด้านพฤตกิ รรมอาจไม่กอ่ ให้เกิดความตนื่ ตัวในกิจกรรมด้านการรู้คิด
การที่ผู้สอนให้ความสำคัญกับกิจกรรมด้านพฤติกรรมเพียงอย่างเดียว เช่น การฝึกปฏิบัติและ
การอภิปรายในกลุ่มของผู้เรียนเอง โดยไม่ให้ความสำคัญกับกิจกรรม ด้านการรู้คิดเช่น การลำดับ
ความคดิ และการจัดองคค์ วามรู้ จะทำใหป้ ระสิทธิผลของการเรียนรลู้ ดลง
3. กรณีการนำรูปแบบการจัดการเรยี นรูแ้ บบที่ให้ผู้เรียนทำกิจกรรมเรียนรู้ด้วยตัวเอง และ
ค้นหาด้วยตนเองน้ี พบว่า ใช้กับการพัฒนาการเรียนรู้ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ ด้านพุทธิพิสัย
(Cognitive Domain) จะเหมาะกับ การพัฒนาในขัน้ การทำความเขา้ ใจ การนำไปประยุกต์ใช้ และ
การวเิ คราะห์ขน้ึ ไปสง่ เสริมได้มากกว่าขั้นใหข้ ้อมูลความรู้ เพราะเปน็ การเสยี เวลามาก และไมบ่ รรลุผล
เท่าทีค่ วร

การเขยี นแผนการจัดการเรยี นรู้โดยกระบวนการเรยี นรเู้ ชิงรกุ [Active Learning]

6

สรปุ การจัดการเรยี นรทู้ ่เี นน้ บทบาท และการมสี ว่ นรว่ มของผู้เรียน โดยการนำเอาวิธีการสอน

ท่ีหลากหลายมาใช้ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้และกิจกรรม กระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการ
ส่งเสรมิ ปฏสิ ัมพนั ธ์ระหวา่ งผู้เรียนกบั ผู้เรียน และผู้เรยี นกบั ผู้สอน เป็นการจดั การเรียนรู้ท่ีมุ่งเน้นพัฒนา
กระบวนการเรยี นรู้ ส่งเสริมให้ผู้เรียนประยกุ ต์ใช้ทกั ษะและเชื่อมโยงองค์ความรู้นำไปปฏบิ ัติเพือ่ แก้ไข
ปัญหา หรือประกอบอาชีพในอนาคต และถือเป็นการจัดการเรียนรูป้ ระเภทหนึ่งท่ีสง่ เสริมให้ผ้เู รียนมี
คณุ ลักษณะสอดคลอ้ งกบั การเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจบุ ัน

ตวั อย่างเทคนิคการจดั การเรยี นรู้แบบ Active Learning

การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning สามารถสร้างให้เกิดขึ้นได้ทั้งในห้องเรียนและ

นอกห้องเรียนรวมทั้งสามารถใช้ได้กบั นักเรียนทุกระดับ ทั้งการเรียนรู้เป็นรายบุคคลการเรียนรู้แบบ
กลุ่มเลก็ และการเรยี นรู้แบบกลุ่มใหญ่ McKinney (2008) ได้เสนอตัวอยา่ งรูปแบบหรือเทคนิคการจัด
กจิ กรรมการเรยี นรู้ทจ่ี ะช่วยให้ผู้เรยี นเกิดการเรยี นรูแ้ บบ Active Learning ไดด้ ี ไดแ้ ก่

1. การเรียนรูแ้ บบแลกเปลี่ยนความคดิ (Think-Pair-Share) คือ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทใี่ หผ้ ้เู รยี นคิดเก่ยี วกบั ประเด็นทก่ี ำหนดแตล่ ะคน
ประมาณ 2-3 นาที (Think) จากนั้นให้แลกเปลี่ยนความคิดกับเพื่อนอีก
คน 3-5 นาที (Pair) และนำเสนอความคดิ เห็นตอ่ ผู้เรยี นทงั้ หมด (Share)

2. ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ ร ่ ว ม ม ื อ ( Collaborative learning
group) คอื การจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ี่ให้ผู้เรียนไดท้ ำงานร่วมกับผู้อ่ืน โดย
จดั เปน็ กลุ่ม ๆ ละ 3-6 คน

3. การเรียนรู้แบบทบทวนโดยผู้เรียน (Student-led review sessions) คือการจัด
กิจกรรมการเรยี นรู้ท่ีเปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนได้ทบทวนความรู้และพจิ ารณาข้อสงสัยต่าง ๆ ในการปฏิบัติ
กจิ กรรมการเรียนร้โู ดยครจู ะคอยช่วยเหลอื กรณีทีม่ ปี ัญหา

4. การเรียนรู้แบบใช้เกม (Games) คือ การจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ที่ผูส้ อนนำเกมเข้าบูรณาการในการเรยี นการสอน ซึ่ง
ใชไ้ ด้ทงั้ ในข้นั การนำเข้าสู่บทเรียน การสอน การมอบหมายงาน
และ/หรอื ขน้ั การประเมนิ ผล

5. การเรียนรู้แบบวิเคราะห์วิ ดีโอ (Analysis or
reactions to videos) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้
ผู้เรียนได้ดูวิดีโอ 5-20 นาที แล้วให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น
หรือสะทอ้ นความคดิ เกยี่ วกับสงิ่ ทีไ่ ดด้ ู อาจโดยวิธกี ารพูดโต้ตอบ
กัน การเขียน หรือ การรว่ มกนั สรุปเป็นรายกล่มุ

การเขียนแผนการจัดการเรียนรโู้ ดยกระบวนการเรยี นรู้เชงิ รกุ [Active Learning]

7

6. การเรียนรู้แบบโต้วาที (Student debates) คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่จัดให้
ผเู้ รียนได้นำเสนอข้อมลู ที่ไดจ้ ากประสบการณ์และการเรยี นรู้ เพื่อยนื ยันแนวคิดของตนเองหรอื กลุม่

7. การเรียนรู้แบบผู้เรียนสร้างแบบทดสอบ (Student
generated exam questions) คือ การจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ ท่ใี ห้ผูเ้ รยี นสร้างแบบทดสอบจากสง่ิ ทีไ่ ด้เรยี นรู้มาแล้ว
8. การเรียนรู้แบบกระบวนการวิจัย (Mini-research
proposals or project) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ที่อิงกระบวนการวิจัย โดยให้ผู้เรียนกำหนดหัวข้อที่ต้องการ
เรยี นรู้ วางแผนการเรยี น เรยี นรู้ตามแผน สรุปความรู้หรือสร้าง
ผลงาน และสะทอ้ นความคิดในสิ่งทไ่ี ด้เรียนรู้ หรืออาจเรียกวา่ การสอนแบบโครงงาน (project-based
learning) หรือ การสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (problem-based learning)
9. การเรียนรู้แบบกรณีศึกษา (Analyze case studies) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรูท้ ี่ให้
ผ้เู รยี นได้อา่ นกรณตี ัวอย่างทตี่ อ้ งการศึกษา จากนั้นใหผ้ ้เู รียนวเิ คราะหแ์ ละแลกเปล่ียนความคิดเห็นหรือ
แนวทางแก้ปญั หาภายในกล่มุ แล้วนำเสนอความคิดเหน็ ตอ่ ผ้เู รียนท้งั หมด
10. การเรียนรูแ้ บบบนั ทกึ (Keeping journals or logs) คอื การจดั กิจกรรมการเรยี นร้ทู ี่
ผูเ้ รยี นจดบนั ทกึ เร่อื งราวตา่ ง ๆ ที่ไดพ้ บเห็น หรือเหตกุ ารณ์ทเ่ี กดิ ข้ึนในแต่
ละวนั รวมทงั้ เสนอความคดิ เพม่ิ เติมเก่ียวกับบนั ทกึ ที่เขียน
11. การเรียนรแู้ บบการเขียนจดหมายข่าว (Write and
produce a newsletter) คอื การจัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ีให้ผู้เรยี น
รว่ มกันผลิตจดหมายขา่ ว อันประกอบด้วย บทความ ขอ้ มลู สารสนเทศ
ขา่ วสาร และเหตุการณท์ เี่ กดิ ขึ้น แล้วแจกจา่ ยไปยังบุคคลอน่ื ๆ
12. การเรยี นรูแ้ บบแผนผังความคดิ (Concept mapping) คอื
การจดั กิจกรรมการเรยี นรทู้ ใ่ี หผ้ ูเ้ รยี นออกแบบแผนผงั ความคิด เพ่ือ
นำเสนอความคิดรวบยอด และความเชอื่ มโยงกันของกรอบความคิด โดยการใช้เสน้ เปน็ ตวั เชื่อมโยง
อาจจดั ทำเป็นรายบคุ คลหรอื งานกล่มุ แลว้ นำเสนอผลงานต่อผู้เรยี นอ่นื ๆ จากน้ันเปิดโอกาสให้ผ้เู รยี น
คนอน่ื ได้ซกั ถามและแสดงความคิดเหน็ เพิ่มเติม

การเขียนแผนการจัดการเรยี นรโู้ ดยกระบวนการเรยี นรู้เชงิ รกุ [Active Learning]

8

การออกแบบการจดั การเรยี นรู้

การออกแบบเป็นการถ่ายทอดจากรปู แบบความคิด ออกมาเป็นผลงานที่ผอู้ น่ื สามารถมองเห็น
รับรู้หรือสัมผัสได้ การออกแบบต้องใช้ทัง้ ศาสตร์แห่งความคิด และศิลป์สร้างสรรค์สิ่งใหม่ เพื่อพัฒนา
หรือปรบั ปรุงส่งิ เดมิ ใหด้ ีขนึ้

การออกแบบการเรียนรู้ เป็นกระบวนการวางแผนการสอนอย่างมีระบบ โดยมีการวิเคราะห์
องคป์ ระกอบการเรยี นรู้ ทฤษฎีการเรียนการสอน สอื่ กิจกรรมการเรยี นร้ถู ึงการประเมนิ ผลรวม เพื่อให้
ผู้สอนสามารถถ่ายทอดความรู้สู่ผู้เรียน และให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ การ
ออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ดีจะช่วยผู้สอนวางแผนการสอนอย่างมีระบบ บรรลุจุดมุ่งหมายโดยมี
หลกั การออกแบบการเรียนรู้ ดงั นี้

1. การออกแบบและพัฒนาการเรียนรู้นั้น เพื่อใคร ใครเป็นผู้เรียนหรือใครเป็น
กลมุ่ เป้าหมายผอู้ อกแบบควรมีความเข้าใจ และรู้จักกล่มุ ผเู้ รียนทเี่ ปน็ เปา้ หมาย

2. ต้องการให้ผู้เรียนเรียนรู้อะไร มีความรู้ความเข้าใจ อะไรคือความสามารถผู้สอน
ต้องกำหนดจุดมงุ่ หมายของการเรยี นรใู้ ห้ชดั เจน

3. ผูเ้ รยี นจะเรยี นรูเ้ น้อื หาในรายวิชานั้น ๆ ได้ดีทีส่ ุดอยา่ งไร วธิ ีการและกิจกรรมควร
ใช้การเรยี นร้อู ะไรท่จี ะช่วยใหผ้ ู้เรียนเรยี นรไู้ ด้อยา่ งเหมาะสม และมีปัจจยั สง่ิ ใดทตี่ ้องคำนึงถงึ บ้าง

4. เมื่อผู้เรียนเข้าสู่กระบวนการเรียนรู้ ผู้สอนจะทราบได้อย่างไรว่าผู้เรียนเกิดการ
เรยี นรู้ และประสบผลสำเร็จในการเรียนรู้ และจะใช้วิธกี ารใดในการประเมินผลการเรยี นรูข้ องผเู้ รยี น

สรุป การออกแบบการเรียนรู้ ครูผู้สอนควรมีการวางแผน วิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลว่ามี

ลักษณะพ้นื ฐาน อยา่ งไร มีการกำหนดจดุ มุ่งหมายในการสอนแต่ละครงั้ อยา่ งไร การเรียนการสอนจะใช้
วธิ กี ารจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ และวธิ กี ารประเมนิ ผลการเรียนอยา่ งไร ท่จี ะสามารถทำให้การเรียนรู้น้ัน
บรรลุเป้าหมาย นั้นคือ หลังจากการเข้าร่วมการเรียนรู้ ผู้เรียนมีความเข้าใจ จดจำ นำไปใช้ ทำได้
สร้างสรรค์สิ่งใหม่ สิ่งที่ใช้ในการพิจารณาในการออกแบบการเรียนรู้ ได้แก่ ตัวผู้เรียน จุดมุ่งหมาย
วิธกี ารจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ การวดั ผลและการประเมนิ ผล เปน็ ตน้

วธิ กี ารสอน คอื ข้นั ตอนทผี่ ้สู อนดำเนนิ การให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ ด้วยวิธีท่ี
แตกต่างไปตามองคป์ ระกอบ และขั้นตอนสำคัญ อนั เปน็ ลกั ษณะเฉพาะหรอื ลกั ษณะเดน่ ที่ขาดไม่ได้ ของ
วธิ ีนั้น ๆ (ทิศนา แขมมณี,2551หนา้ 323)

เทคนิคการสอน หมายถึง กลวิธีต่าง ๆ ที่ใช้เสริมกระบวนการสอน หรือการกระทำต่าง ๆ ใน
การสอนใหม้ คี ณุ ภาพ และประสทิ ธภิ าพเพิม่ ขน้ึ (ทศิ นา,2551 แขมมณีหน้า386)

จากความหมาย และนิยามดังกล่าวข้างต้น จึงสรุปไดว้ า่ วธิ ีการสอน เปน็ ข้นั ตอนการสอนท่ีทำให้
บรรลุวัตถุประสงค์

“เทคนิคการสอน” เป็นวธิ กี ารเสริมทจี่ ะชว่ ยใหว้ ธิ ีการสอนเกดิ ประสิทธิภาพมากข้ึน

การเขยี นแผนการจดั การเรียนรโู้ ดยกระบวนการเรียนรู้เชงิ รกุ [Active Learning]

9

“กลยุทธ์การสอน” เป็นวธิ ีการสอนท่ใี ชเ้ ทคนคิ วิธีการต่าง ๆ ในการสอนท่ีมาช่วยในการจัดการ
เรยี นให้ เกดิ ประสทิ ธภิ าพ วธิ ีการสอนทีม่ ีประสทิ ธิภาพ จะต้องเปน็ การสอนที่มขี นั้ ตอน ที่ทำให้ผเู้ รียน
บรรลุวัตถุประสงค์ โดยวิธีการส่งเสริมการสอนให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด มีเทคนิคการสอนที่
หลากหลาย

คำว่า “การออกแบบ” และ “การจัดการเรียนรู้” เมื่อนำมารวมกันเป็น.
“การออกแบบการจัดการเรียนรู้” (Instructional design) แล้วนั้น มีนักการศึกษาด้าน

การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้ความหมายไว้ว่า การออกแบบการเรียนรู้ เป็นกระบวนการที่เป็น
ระบบ ท่ีผู้เรียนมีความต้องการของผเู้ รยี นและนำมาใช้ในการแก้ปัญหาการเรียนรู้ เพื่อแสวงหาแนวทาง
ที่จะช่วยแกป้ ัญหาการจัดการเรียนรู้ เป็นการปรับปรงุ สง่ิ ทม่ี อี ยู่ หรือสร้างสิง่ ใหม่ โดยนำหลักการเรียนรู้
และเป้าหมายของการออกแบบการจดั การนำมาใช้เรียนรู้ คอื การพัฒนาการเรียนรขู้ องผเู้ รยี น

แนวคิดในการออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้เชิงรุก (Active Learning)

การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) มีเป้าหมายเพื่อให้ผู้สอน
จดั กจิ กรรมการเรียนรทู้ เ่ี น้นใหผ้ เู้ รียนลงมอื ปฏบิ ัตเิ รยี นรู้ด้วยตนเอง โดยมีแนวคดิ ทฤษฎที เ่ี กี่ยวข้อง ดงั น้ี

1. แนวคดิ ของ บลูม Bloom’s (Taxonomy)
2. ส่ีเสาหลักทางการศึกษา Four ( Pillars of Education)
3. หลกั การพัฒนาทักษะ H 4 (Head, Heart, Hand, Health)
4. พระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาของสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั มหาวชิราลงกรณ

บดินทรเทพยวรางกูร

แนวคดิ ของ บลมู Bloom’s( Taxonomy)

บลูม (Benjamin S. Bloom.1976) นกั การศกึ ษาชาวอเมริกัน เชือ่ ว่า การเรียนการสอนที่จะ
ประสบความสำเร็จและมปี ระสทิ ธิภาพนัน้ ผู้สอนจะต้อง
กำหนดจุดมงุ่ หมายใหช้ ดั เจน เพื่อใหผ้ ู้สอนกำหนด และจัด
กจิ กรรมการเรียน รวมทงั้ วดั ประเมนิ ผลไดถ้ ูกต้อง โดยได้

จำแนกจดุ มุ่งหมายทางการศกึ ษาท่ี เรยี กว่า Taxonomy
of Educational Objectives

(อติญาณ์ ศรเกษตริน. 2543: 742 -; อา้ งอิงจาก บญุ ชม
ศรสี ะอาด.2537 ;Bloom. 1976 :18) แบง่ ออกเป็น 3 ด้าน
คอื ด้านพทุ ธพิ สิ ัย ด้านจิตพิสยั และด้านทกั ษะพสิ ัย

การเขยี นแผนการจัดการเรียนรู้โดยกระบวนการเรียนรู้เชงิ รกุ [Active Learning]

10

ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) หมายถึง การเรียนรู้ทางด้านความรู้ ความคิด

การแก้ปัญหาจดั เป็นพฤติกรรมด้านสมองเกยี่ วกับสติปัญญา ความคดิ ความสามารถในการคิดเร่ืองราว
ต่าง ๆ ท่ีมีประสิทธิภาพ โดยแอนเดอร์สัน และแครทโวทล์ (Anderson & Krathwohl) ได้จำแนก
จุดมุ่งหมายทางการศึกษาตามแนวคิดของ บลูม ขึ้นใหม่ โดยมีการปรับเปลี่ยนระดับพฤติกรรม เป็น
6 ระดับ

1. จำ (Remember) หมายถึง ความสามารถในการดึงเอาความรู้ที่มีอยู่ใน
หน่วยความจำระยะยาวออกมา แบ่งประเภทย่อยได้ 2 ลักษณะคือ จำได้ (Recognizing) ระลึกได้
(Recalling)

2. เขา้ ใจ (Understand) หมายถงึ ความสามารถในการกำหนดความหมายของคำพูด
ตัวอกั ษรและการสอื่ สารจากสอื่ ต่าง ๆ ท่ีเป็นผลมาจากการสอนแบ่งลกั ษณะได้ 7 ลกั ษณะ คอื 1.ตีความ
( Interpreting) 2. ย ก ต ั ว อ ย ่ า ง ( Exemplifying) 3. จ ำ แ น ก ป ร ะ เ ภ ท ( Classifying) 4. ส รุ ป
(Summarizing) 5. อนุมาน (Inferring) 6. เปรยี บเทียบ (Comparing) 7. อธบิ าย (Explaining)

3. ประยุกต์ใช้ (Apply) หมายถึง ความสามารถในการดำเนินการ หรือใช้ระเบียบ
วิธีการภายใต้สถานการณ์ท่ีกำหนดให้ แบ่งลักษณะได้ 2 ลักษณะ คือ 1. ดำเนินงาน (Executing)
2. ใช้เปน็ เคร่ืองมอื (Implementing)

4. วิเคราะห์ (Analyze) หมายถึง ความสามารถในการแยกสว่ นประกอบของสงิ่ ต่าง ๆ
และคน้ หาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งส่วนประกอบ ความสัมพันธ์ระหว่างของสว่ นประกอบกับโครงสร้างรวม
หรือส่วนประกอบเฉพาะ แบ่งลักษณะได้ 3 ลักษณะคือ 1. บอกความแตกต่าง (Differentiating)
2. จัดโครงสร้าง (Organizing) 3. ระบุคณุ ลกั ษณะ (Attributing)

5. ประเมินค่า (Evaluate) หมายถึง ความสามารถในการตัดสินใจโดยอาศัยเกณฑ์
หรือ มาตรฐาน แบ่งลกั ษณะได้ 2 ลักษณะคอื 1. ตรวจสอบ (Checking) 2. วิพากษว์ จิ ารณ์ (Critiquing)

6. สร้างสรรค์ (Create) หมายถึง ความสามารถในการรวมส่วนประกอบต่าง ๆ เข้า
ด้วยกันด้วยรูปแบบใหม่ ๆ ที่มีความเชื่อมโยงกันอยา่ งมีเหตุผล หรือผลิตภัณฑ์ท่ีเป็นตน้ แบบทำให้ได้
แบง่ ลกั ษณะได้ 3 ลักษณะคือ 1. สร้าง (Generating) 2.วางแผน (Planning) 3.ผลติ (Producing)

ด ้ า น จ ิ ต พ ิ ส ั ย ( Affective Domain)

พฤตกิ รรมด้านจติ พสิ ยั เป็นค่านิยม ความรสู้ ึก ความซาบซ้ึง
ทัศนคติ ความเชื่อ ความสนใจ และคุณธรรม พฤติกรรม
ด้านนอี้ าจไม่เกิดข้ึนทันที ดังนนั้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ดว้ ยการจดั สภาพแวดลอ้ มทเี่ หมาะสม และสอดแทรกสิ่งท่ี
ดีงามตลอดเวลา จะทำให้พฤติกรรมของผู้เรียนเปลี่ยนไป
ในแนวทางท่ี พึงประสงค์ได้ จิตพิสัยประกอบด้วย
พฤตกิ รรม 5 ระดับ ไดแ้ ก่

การเขียนแผนการจดั การเรยี นรู้โดยกระบวนการเรียนรู้เชิงรกุ [Active Learning]

11

1. การรบั รู้ (Receiving/Attending) เป็นความรู้สึกทเี่ กิดข้นึ ตอ่ ปรากฏการณ์ หรือสง่ิ เร้า
อย่างใดอย่างหนึ่งซึ่งเป็นไปในลักษณะของการแปลความหมายของสิ่งเร้านั้นว่า คือ อะไร แล้วจะ
แสดงออกในรปู ของความรู้สึกทเี่ กิดขึน้

2. การตอบสนอง (Responding) เป็นการกระทำที่แสดงออกมาในรูปของความเต็มใจ
ยนิ ยอม และพอใจต่อส่งิ เรา้ นนั้ ซ่ึงเป็นการตอบสนองที่เกิดจากการเลือกสรรแลว้

3. การเกิดค่านิยม (Valuing) การเลือกปฏิบัติในสิ่งที่เป็นที่ยอมรับกันในสังคม
การยอมรับนับถือในคุณคา่ นั้น ๆ หรือปฏิบตั ติ ามในเร่ืองใดเรอ่ื งหน่ึงตามความเช่ือจนกลายเป็นทัศนคติ
ทดี่ ีในสง่ิ นน้ั

4. การจัดระบบ (Organizing) การสร้างแนวคิดจัดระบบของค่านิยมที่เกิดขึ้นโดยอาศัย
ความสัมพันธ์ ถ้าเข้ากนั ไดก้ ็จะยึดถือตอ่ ไป แต่ถ้าขัดกันอาจไมย่ อมรับ อาจจะยอมรบั ค่านิยมใหม่โดย
ยกเลิกค่านยิ มเก่า

5. บุคลิกภาพ (Characterizing) การนำค่านิยมที่ยึดถือมาแสดงพฤติกรรมที่เป็นนิสัย
ประจำตวั ใหป้ ระพฤตปิ ฏิบัตแิ ต่สงิ่ ทถ่ี กู ต้องดงี าม พฤติกรรมด้านนีจ้ ะเกย่ี วกับความรู้สกึ และจิตใจ ซ่ึงจะ

เริ่มจากการได้รับรู้จากสิ่งแวดล้อม แล้วจึงเกิดปฏิกิริยา
โตต้ อบเป็นความรูส้ ึกดา้ นต่าง ๆ จนกลายเป็นคา่ นิยม และ
ยังพัฒนาตอ่ ไปเปน็ ความคิด อดุ มคติ ซ่ึงจะเปน็ การควบคุม
ทิศทางพฤตกิ รรมของคน

ด้านทกั ษะพสิ ัย (Psychomotor Domain)

พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย เป็นพฤติกรรมที่บ่งบอกถึง
ความสามารถในการปฏิบตั งิ านไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคล่ว ชำนาญ
ซึ่งแสดงออกมาได้โดยตรงโดยมีเวลา และคุณภาพของงาน
เป็นตัวช้รี ะดับของทักษะประกอบดว้ ย 5 ขน้ั ดังนี้
1. การรับรู้ เลียนแบบ ทำตาม (Imitation) เป็นการให้ผู้เรียนได้รับรู้หลักการปฏิบัตทิ ่ีถูกต้อง
หรอื เป็นการเลอื กหาตัวแบบท่ีสนใจ
2. การทำเอง/การปรบั ให้เหมาะสม (Manipulation) เป็นพฤติกรรมทีผ่ ู้เรียนพยายามฝึกตาม
แบบที่ตนสนใจและพยายามทำซ้ำ เพื่อที่จะให้เกิดทักษะตามแบบที่ตนสนใจให้ได้สามารถปฏิบัติงาน
หรอื ไดต้ ามข้อแนะนำ
3. การหาความถูกต้อง (Precision) พฤติกรรมสามารถปฏิบัติได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องอาศัย
เครือ่ งช้ีแนะ เมอ่ื ได้กระทำซ้ำแลว้ กพ็ ยายามหาความถูกตอ้ งในการปฏบิ ตั ิ
4. การทำอยา่ งต่อเนอื่ ง (Articulation) หลังจากตดั สินใจเลอื กรูปแบบทเ่ี ปน็ ของตัวเองจะ
กระทำตามรปู แบบนนั้ อยา่ งต่อเนอ่ื ง จนปฏิบัตงิ านทยี่ งุ่ ยากซับซ้อนไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ถกู ต้อง คล่องแคล่ว
การทีผ่ เู้ รียนเกิดทักษะได้ ต้องอาศัยการฝกึ ฝน และกระทำอย่างสม่ำเสมอ

การเขยี นแผนการจัดการเรยี นรโู้ ดยกระบวนการเรียนรเู้ ชิงรกุ [Active Learning]

12

5. การทำได้อย่างเป็นธรรมชาติ (Naturalization) พฤติกรรมที่ได้จากการฝึกอย่าง
ต่อเน่อื งจนสามารถปฏิบตั ิ ไดค้ ลอ่ งแคล่วว่องไว โดยอัตโนมตั ิเปน็ ธรรมชาติ ซง่ึ ถอื เป็นความสามารถของ
การปฏบิ ตั ใิ นระดับสงู

สี่เสาหลักทางการศึกษา (Four Pillars of Education)

อ ง ค ์ ก า ร ก า ร ศ ึ ก ษ า ว ิ ท ย า ศ า ส ต ร ์ แ ล ะ ว ั ฒ น ธ ร ร ม แ ห่ ง
สหประชาชาติ หรือยูเนสโก ได้ศึกษาแนวทางการจัด
การศึกษาทเ่ี หมาะสมในศตวรรษท่ี 21 โดยเสนอส่เี สาหลกั ของ
การศึกษา ( Four Pillars of Education)ประกอบด้วยการ
เรียนรู้ 4 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่

1. Learning to know หมายถึง การเรียนเพื่อรู้
ทกุ สง่ิ ทุกอยา่ ง อันจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ไป ไดแ้ ก่ การแสวงหา
ให้ได้มาซึ่งความรู้ที่ต้องการ การต่อยอดความรู้ที่มีอยู่ การ
สร้างความรู้ขึน้ ใหม่ เปน็ การจัดการเรียนรู้ท่ีมุ่งพฒั นากระบวนการคดิ กระบวนการเรยี นรู้ การแสวงหา
ความรู้ และวธิ กี ารเรียนรู้ของผู้สามารถเรียนรู้ และพฒั นาตนเองได้ตลอดชีวิต กระบวนการเรียนรู้เน้น
การฝกึ สติ สมาธิ ความจำ ความคิด ผสมผสานกับสภาพจรงิ และประสบการณ์ในการปฏบิ ตั ิ

2. Learning to do หมายถงึ การเรียนเพื่อการปฏบิ ัติ หรอื ลงมือทำมุ่งพัฒนาความสามารถ
และความชำนาญ อีกทั้งสมรรถนะทางด้านวชิ าชีพ สามารถทำงานเป็นหมคู่ ณะปรบั ประยกุ ตอ์ งคค์ วามรู้
ไปสู่การปฏิบัตงิ านและอาชีพ กระบวนการเรียนรู้เนน้ บรู ณาการระหวา่ งความรู้ภาคทฤษฎี และการฝึก
ปฏบิ ัตงิ านทเี่ นน้ ประสบการณ์ต่าง ๆ ทางสังคม ซงึ่ อาจนำไปสู่การประกอบอาชีพจากความรู้ท่ีได้ศึกษา
มารวมทัง้ การปฏิบัตยิ ังสร้างประโยชน์ใหส้ ังคม และสามารถทำงานไดห้ ลายอย่าง

3. Learning to live together หมายถึง การเรียนรู้เพอ่ื การดำเนินชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้
อย่างมีความสุข ทั้งการดำเนินชีวิตในการเรียน ครอบครัว สังคมทำงาน และการดำรงชีวิตอย่างมี
คณุ ภาพ ดว้ ยการสร้างสรรค์ประโยชน์ใหส้ ังคม การจัดการเรียนรมู้ งุ่ ให้ผู้เรียนดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่น
ในสังคมพหุวัฒนธรรมได้อย่างมีความสุข มีความตระหนักในการพึ่งพาอาศัยซึ่งการแก้ปัญหาการ
จัดการความขัดแย้งด้วยสนั ติวิธี มีความเคารพสิทธิ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เข้าใจความแตกต่าง
และหลากหลายด้านวัฒนธรรม ประเพณี ความเชอื่ ของแตล่ ะบคุ คลในสังคม

4. Learning to be หมายถึง การเรียนรู้เพื่อให้รู้จักตัวเองอย่างถ่องแท้ รู้ถึงศักยภาพ
ความถนัด ความสนใจของตนเอง สามารถใช้ความรู้ ความสามารถของตนเองใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อสังคม
เลอื กแนวทางการ พัฒนาตนเองตามศักยภาพ วางแผนการเรียนต่อ การประกอบอาชพี ทสี่ อดคล้องกับ
ศกั ยภาพตนเองได้ การจัดการเรียนรูม้ ุ่งพัฒนาผ้เู รยี นทกุ ด้านทง้ั จิตใจ และรา่ งกาย ให้ความสำคัญกับสติ
ปัญญา กับจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ภาษา และวัฒนธรรม เพื่อพัฒนาความเป็นมนุษย์ท่ี
สมบรู ณม์ ีความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม ส่งิ แวดล้อม ศลี ธรรม สามารถปรบั ตัว และปรับปรงุ บคุ ลิกภาพของ
ตน เขา้ ใจตนเองและผอู้ ่นื

การเขียนแผนการจัดการเรยี นรโู้ ดยกระบวนการเรยี นร้เู ชิงรกุ [Active Learning]

13

หลกั 4 H (Head Heart Hand และ Health)

เปน็ การมุง่ เนน้ พัฒนาทกั ษะของผ้เู รียน ให้เกดิ การเรยี นร้ผู ่านการลงมือปฏบิ ัตจิ ริง คดิ วิเคราะห์
ทำงานเปน็ ทมี และเรียนรูด้ ้วยตนเองอยา่ งมคี วามสุขจากกิจกรรมสร้างสรรค์ทีห่ ลากหลาย

กิจกรรมพัฒนาสมอง (Head) หมายถึง กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาทักษะการคิด เพื่อให้
ผูเ้ รยี นมี ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สงั เคราะห์ ประเมนิ ค่า ตัดสนิ ใจ แก้ปญั หาอย่างสรา้ งสรรค์

กิจกรรมพัฒนาจิตใจ (Heart) หมายถงึ กิจกรรมส่งเสรมิ พัฒนา
และปลูกฝังค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม การทำประโยชน์เพือ่ สังคม เพื่อให้
ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์จนเป็นลักษณะนิสัย และมีจิตสำนึกทีด่ ี
ต่อตนเองและส่วนรวม

กิจกรรมพัฒนาทักษะการปฏิบัติ (Hand) หมายถึง กิจกรรม
สรา้ งเสริมทักษะการทำงาน ทกั ษะทาง อาชพี ท่ีหลากหลาย เพอ่ื ให้ผู้เรียนค้นพบ
ความสามารถ ความถนดั และศกั ยภาพของตนเอง
กิจกรรมพัฒนาสขุ ภาพ (Health) หมายถงึ กจิ กรรมสรา้ งเสรมิ สุขภาวะเพือ่ ให้ผ้เู รียนมี
สมรรถนะทางกายทส่ี มบรู ณ์ แขง็ แรง มเี จตคตทิ ีด่ ีต่อการดแู ลสุขภาพ และมีทกั ษะปฏบิ ตั ดิ า้ นสขุ ภาพ

พระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาของสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว
มหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีกระแสพระราชดำรัส
กับประธานองคมนตรี คณะองคมนตรี ให้ร่วมกันสร้างคน
ดีใหแ้ ก่บา้ นเมอื ง โดยจดั การศึกษาเพ่ือม่งุ เน้นสร้างพน้ื ฐาน
ให้แก่ผู้เรียน 4 ดา้ นดังนี้

1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง หมายถึง
การจัดการศึกษาต้องมุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจดี
ต่อชาติบ้านเมือง ยึดมั่นในศาสนา มั่นคงในสถาบัน
พระมหากษตั รยิ ์ มีความเอ้ืออาทรตอ่ ครอบครัว และชุมชน
ของตน

2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง คุณธรรม หมายถึง
การจดั การศกึ ษาต้องมุ่งให้ผ้เู รียน รู้จกั แยกแยะสิ่งที่ผิด-ท่ี
ถกู ส่งิ ชัว่ -สิง่ ดี เพ่อื ปฏบิ ัตแิ ต่ส่งิ ท่ชี อบท่ีดีงาม ปฏิเสธสิง่ ท่ผี ดิ ท่ชี ั่ว

3. มีงานทำ มีอาชีพ หมายถึง การจัดการศึกษาต้องมุ่งให้ผู้เรียน เป็นเด็กรักงานทำงาน
จนสำเร็จ ส้งู าน อบรมใหเ้ รียนรูก้ ารทำงาน ใหส้ ามารถเลี้ยงตัวและเลีย้ งครอบครัวได้

การเขียนแผนการจัดการเรยี นรโู้ ดยกระบวนการเรียนรเู้ ชิงรกุ [Active Learning]

14

4. เป็นพลเมืองดี หมายถึง การจัดการศึกษาต้องมุ่งให้ผู้เรียนมีหน้าที่เป็นพลเมืองดี
สถานศึกษา สถานประกอบการต้องส่งเสริมให้ทุกคนมีโอกาสทำหน้าที่พลเมืองดี การเป็นพลเมืองดี

หมายถึง การมีน้ำใจ มีความเอื้ออาทร อาสาสมัคร การบำเพ็ญประโยชน์ “เห็นอะไรที่จะทำเพื่อ
บ้านเมืองไดก้ ต็ ้องทำ”

การออกแบบการจัดการเรียนร้เู ชิงรุก

การออกแบบการเรียนรู้ (Instructional Design) ภารกิจสำคัญของครูตามเกณฑ์สมรรถนะ
ประจำสายงาน คือ การออกแบบการเรยี นรูไ้ ปสูเ่ ปา้ หมายการเรยี นรู้ทตี่ อ้ งการรวมทงั้ ออกแบบเครอ่ื งมอื
วัดและประเมินผล เพ่อื ยืนยันว่าผู้เรียนบรรลุเปา้ หมายตามมาตรฐานการเรยี นรทู้ ่ีเทยี บเคียง เปน็ วิธกี าร
หน่งึ ทีม่ ุ่งเน้นใหผ้ ู้สอนเปน็ นักออกแบบหลกั สูตรการเรยี นการสอน การวัดและประเมินผล โดยเร่ิมจาก
วนิ จิ ฉัย ปัญหา และความต้องการของผู้เรยี น เพ่ือออกแบบการจดั ประสบการณ์เรียนรู้ให้เหมาะสมกับ
สภาพผเู้ รียน และเมอื่ ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายท่ีกำหนดไว้ จะต้องมหี ลักฐานการเรยี นรทู้ ่สี ามารถสะท้อน
ผลว่าผู้เรยี นไดเ้ กิด ความรู้ความเขา้ ใจในระดับทีพ่ ึงประสงคไ์ ว้จริง ผู้สอนจึงต้องกำหนดเปา้ หมายการ
เรยี นรู้ และหลกั ฐานการเรียนร้ใู ห้ชัดเจนเสยี กอ่ น จงึ คอ่ ยดำเนินการออกแบบกจิ กรรมการเรียนการสอน
ให้สอดคล้องกับเปา้ หมายที่พงึ ประสงค์ วิธกี ารนส้ี รา้ งความมัน่ ใจไดว้ ่า ผู้เรียนมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียน
และมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในหลักสูตรอยา่ งแทจ้ ริง

การออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ เป็นภาพรวมของการวางแผนการจัดกิจกรรมอย่างกวา้ งๆ ซึ่ง
อาจเป็นหนว่ ยการเรยี นเล็ก ๆ ทีจ่ ดั กิจกรรมการเรียนร้เู สรจ็ ภายใน 1 สัปดาห์ เรียน 1เดอื น หรอื 1ภาค
ปีการศกึ ษา ทง้ั น้ี ข้ึนอยูก่ ับขอบเขตของเรอื่ งท่ีกำหนด และความสนใจของผู้เรยี น

กระบวนการจดั ทำหน่วยการเรียนร้แู บบอิงมาตรฐานมคี วามยดื หยุ่นสามารถปรบั ลำดับโดยเริ่ม
จากจุดใดก่อน - หลังได้ตามความเหมาะสม เช่น อาจเริ่มจากการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ และ
ตัวช้ีวดั และวเิ คราะหค์ วามสำคัญในมาตรฐานและตัวช้ีวดั เพือ่ กำหนดสาระหลักหรอื กิจกรรม หรืออาจ
เริ่มจากประเด็นปัญหาสำคัญในท้องถิ่น หรือสิ่งที่นักเรียนสนใจ แล้วจึงพิจารณาว่าประเด็นปัญหา
ดงั กล่าวเชอื่ มโยงกับมาตรฐานขอ้ ใด

แนวทางการจัดการเรยี นรทู้ ี่จะนำเสนอต่อไปน้ีเปน็ เพียงตัวอย่างแนวทาง โดยมี 2รูปแบบ คือ
แบบที่เริ่มจากการกำหนดและวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ และแบบที่เริ่มจากประเด็นปัญหาใน
ทอ้ งถิ่น หรอื ประเด็นท่ี อยูใ่ นความสนใจของนักเรียน ดงั แผนภาพ ต่อไปน้ี

การเขียนแผนการจดั การเรียนรู้โดยกระบวนการเรียนรเู้ ชิงรกุ [Active Learning]

15

รปู แบบที่ 1
แนวทางการจัดทำหนว่ ยการเรียนรู้ เรม่ิ จากการกำหนดมาตรฐานการเรยี นรู้

และตวั ชี้วดั

มาตรฐาน กาหนด ช้ินงาน/ กาหนด กจิ กรรม กาหนด กาหนด
การเรียน้รู สาระ ภาระงาน เกณ้ฑ การเรยี น้รู ชอ่ื ห้นวย เวลาเรยี น
การเรียน้รู
และ สาคัญ การ
ตัวชว้ี ัด ประเมนิ

รูปแบบท่ี 2
แนวทางการจัดทำหน่วยการเรยี นรูเ้ รม่ิ จากการกำหนดปัญหาสำคญั ในทอ้ งถ่นิ

หรือสิ่งที่ผู้เรียนสนใจ

กาหนด กาหนด ระบุ กาหนด กาหนด กิจกรรม กาหนด กาหนด
ประเดน็ สาระ มาตรฐาน ช้นิ งาน/ เกณ้ฑ การ ชอื่
้ปญหา/ การเรียน้รู ภาระ เรยี น้รู ห้นวย เวลา
สงิ่ ที่ สาคัญ ตัวชี้วัด งานที่ การ การ เรียน
้ผูเรยี น ้ผเู รยี น ประเมนิ เรียน้รู
สนใจ ปฏบิ ตั ิ

ขน้ั ตอนท่ีนำเสนอเป็นแนวทางทั้ง 2 รูปแบบขา้ งต้น เป็นขั้นตอนคดิ ในการออกแบบหน่วยการ
เรยี นรซู้ ่ึงแสดงให้เหน็ วา่ การออกแบบหนว่ ยการเรียนร้แู บบอิงมาตรฐานมคี วามยดื หยนุ่ ไม่จำเป็นวา่ ต้อง
เรม่ิ จากมาตรฐานก่อนเสมอ และในกระบวนการแต่ละขั้นน้ันอาจไม่จำเป็นตอ้ งเรยี งลำดับตามท่ีเห็นใน
แผนผงั ครสู ามารถปรบั เปลี่ยนนำขัน้ ใดขึน้ กอ่ นก็ได้ตามความถนัดและความเหมาะสมของแต่ละเรื่องท่ี
จะสอน แต่ต้องสามารถบอกไดว้ ่า เมื่อเรียนจบหน่วยการเรียนรู้นั้นแล้วนักเรียนบรรลุมาตรฐาน และ
ตวั ชว้ี ดั ใด หลังจากกระบวนการคิดออกแบบหน่วยการเรียนรู้เสร็จเรียบร้อยแล้วเขยี นหน่วยการเรียนรู้
น้ันเป็นเอกสาร เมื่อครูจะเขยี นก็อาจจัดลำดบั หัวข้อตามรูปแบบที่คุ้นเคยซ่ึงเราพบกนั ท่วั ๆ ไปเพื่อความ
สะดวกในการนำไปใช้ในการจัดการเรียนการรู้ คือ เริ่มจากชื่อหน่วยการเรียนรู้ เวลาเรียน ประเด็น
ปัญหา/ส่งิ ที่นักเรยี นสนใจ การเรยี นรู้ทก่ี ำหนด สาระที่สำคญั ชน้ิ งาน เกณฑก์ ารประเมนิ และกิจกรรม
การเรยี นรู้

การเขียนแผนการจดั การเรยี นรโู้ ดยกระบวนการเรยี นร้เู ชิงรกุ [Active Learning]

16

ช่อื เวลา ประเด็น มาตรฐา สาระสา ชิ้นงาน/ เกณ้ฑ กิจกรรม
ห้นวย เรยี น ้ปญหา/ นการ คญั ภาระ การ การ
การ เรียน้รู/ งานท้ใ่ี ห ประเมิน เรยี น้รู
เรียน้รู ส่ิงท่ี ตัวชีว้ ดั นักเรยี น
นักเรยี น ปฏบิ ัติ
สนใจ

การออกแบบหน่วยการเรียนรอู้ ิงมาตรฐาน เปน็ ขน้ั ตอนท่สี ำคญั ที่สุดในการจัดทำหลักสูตร
สถานศกึ ษาเพราะเป็นส่วนทีน่ ำมาตรฐานการเรียนรู้ไปสูก่ ารปฏิบตั ิการเรียนการสอนอย่างแทจ้ ริง
ผเู้ รยี นจะบรรลมุ าตรฐานหรือไม่ อยา่ งไร ก็อยู่ท่ีข้นั ตอนนี้

ดังนั้น การพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพได้มาตรฐานอย่างแท้จริง ทุกองค์ประกอบของหน่วย
การเรียนรู้ต้องเชื่อมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปี โดยผู้สอนต้องเข้าใจ และสามารถ
วิเคราะห์ได้ว่าส่ิงที่ตอ้ งการให้ผู้เรียนรู้และปฏิบัตไิ ด้ในมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวช้ีวัดชั้นปีน้ันคืออะไร
การออกแบบหนว่ ย

การเรียนรู้ เปา้ หมายของหน่วยการเรยี นรคู้ อื มาตรฐานการเรยี นรู้/ ตวั ช้ีวดั ซึ่งแต่ละหนว่ ยการ
เรียนรู้ อาจระบุมากกว่าหนึ่งมาตรฐาน/ตัวชี้วัด แต่ไม่ควรมากเกินไป และควรมีมาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ทีห่ ลากหลายลกั ษณะ เชน่ มาตรฐานที่เปน็ เนื้อหา มาตรฐานท่ีเป็นกระบวนการ เพอื่ การจดั กจิ กรรมการ
เรยี นรู้มีลักษณะต่อผูเ้ รียน สามารถสร้างเป็นแก่นความร้ไู ดช้ ดั เจนขึน้ และนำไปใชใ้ นสถานการณ์จริงได้
มขี ั้นตอนในการออกแบบดังต่อไปน้ี

1. กำหนดชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ เพ่ือสะท้อนใหเ้ ห็นถึงสาระสำคญั แตล่ ะหนว่ ย
2. กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เพื่อระบุมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชี้วัดที่
เปน็ เป้าหมาย การพฒั นานกั เรียนของหน่วยน้นั
3. กำหนดสาระสำคัญของหนว่ ยการเรียนรู้ สาระหลัก ทักษะกระบวนการผู้เรียนต้องรู้
และปฏบิ ตั อิ ะไรได้
4. กระบวนการเรยี นรู้ เปน็ หัวใจสำคญั ท่ีช่วยให้ผูเ้ รยี นเกดิ การพฒั นามีความรู้และทักษะ
ตาม มาตรฐานท่ีกำหนดไว้ แต่ละหน่วย รวมท้งั การปลูกฝงั คุณธรรมจริยธรรม และคา่ นิยม

4.1 กจิ กรรมนำเข้าสู่บทเรยี น กระตุ้นความสนใจของนักเรยี น
4.2 กิจกรรมการเรยี นรู้ ชว่ ยพฒั นาผเู้ รียนให้เกิดความรู้ และทักษะ
4.3 กจิ กรรมรวบยอด เพ่ือแสดงว่านกั เรียนได้เรียนรู้ และพฒั นามาตรฐานทีก่ ำหนดไว้
กจิ กรรมการเรียนรู้ ควรเขยี นให้เห็นข้ันตอนต่าง ๆ และเลอื กกิจกรรมทส่ี นองตอ่ ความสนใจความถนัด
ของผ้เู รยี น และเน้นให้ผูเ้ รยี นมคี ณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงคต์ ามความตอ้ งการของหลักสูตร เช่น

การเขยี นแผนการจัดการเรียนรู้โดยกระบวนการเรียนร้เู ชิงรกุ [Active Learning]

17

1) การใชบ้ ทบาทสมมต/ิ การเรียนรจู้ ากสถานการณ์จำลอง
2) เรียนรู้จากแหลง่ เรียนร้ใู นชมุ ชน และแหล่งขอ้ มลู ทห่ี ลากหลาย
3) การลงมอื ปฏบิ ัตจิ รงิ /การเรยี นรูโ้ ดยโครงงาน
4) การเรียนรูโ้ ดยกรณีศึกษา/การเรียนร้จู ากภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ิน ฯลฯ
5) การเรียนรู้กระบวนการแกป้ ัญหา/กระบวนการกลุม่
6) การเรียนรแู้ บบมีสว่ นรว่ ม/การเรยี นอยา่ งร่วมมอื
7) การสร้างความรู้ดว้ ยตนเอง/การสืบเสาะแสวงหาความรู้
5. ชน้ิ งาน/ภาระงาน ครูและนักเรยี นรว่ มกันกำหนดข้ึนแสดงใหท้ ราบถึง การพฒั นาการ
เรียนรขู้ องนักเรียนบอกร่องรอยว่ามีความรู้ และทักษะตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้วี ัด ชน้ิ งานหรือ
ภาระงานเปน็ หลักฐาน รอ่ งรอย ว่านักเรยี นบรรลุมาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชวี้ ัดในหน่วยการเรียนรูน้ ัน้ ๆ
อาจเกิดจากผู้สอนกำหนดให้ หรอื อาจใหผ้ ู้เรยี นร่วมกนั กำหนดข้ึนจากการวิเคราะห์ตัวช้ีวัดในหน่วยการ
เรยี นรู้ หลกั การกำหนดช้ินหรือภาระงาน มดี งั นี้
1. ดจู ากมาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชีว้ ัดในหน่วยการเรียนรู้ ระบุไว้ชดั เจนหรือไม่
2. ภาระงานหรือชิ้นงานครอบคลุมตัวชี้วัดที่ระบุไว้หรือไม่อาจระดมความคิดจาก
เพ่ือนครู หรอื ผู้เรียน หรอื อาจปรบั เพ่มิ กิจกรรมใหเ้ กดิ ชิ้นงานหรอื ภาระงานทคี่ รอบคลุม
3. ชิ้นงานชิ้นหนึ่ง หรือภาระงาน 1 อย่าง อาจเชื่อมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู้
เดียวกัน หรือตวั ช้ีวัดตา่ งมาตรฐานการเรียนรกู้ ันได้
4. ควรเลือกตัวชี้วัดท่ีจะให้เกิดงานทีจ่ ะส่งเสริมให้ผูเ้ รียนได้พัฒนาสติปัญญาหลายๆ
ดา้ นไป พรอ้ มกนั เชน่ การแสดงละคร บทบาทสมมติ เคลอื่ นไหวรา่ งกาย ดนตรี เป็นต้น
5. เลอื กงานที่ผเู้ รียนมโี อกาสเรียนรู้ และทำงานท่ีชอบใชว้ ธิ ที ำท่ีหลากหลาย
6. เป็นงานที่ให้ทางเลือกในการประเมินผลที่หลากหลาย โดยบุคคลต่าง ๆ เช่น
ผปู้ กครอง ผ้สู อน หรือตนเอง เป็นตน้
7. ลักษณะของชิ้นงานหรือภาระงาน
7.1 ช้นิ งาน. ได้แก่

1) งานเขียน เชน่ เรยี งความ จดหมาย โคลง กลอน การบรรยาย การเขยี น
การตอบ ฯลฯ

2) ภาพ/แผนภูมิ เชน่ แผนผัง แผนภมู ิ ภาพวาด กราฟ ตาราง ฯลฯ
3) สิ่งประดิษฐ์ เชน่ งานประดษิ ฐ์ งานแสดงนิทรรศการ หุ่นจำลอง ฯลฯ
7.2 ภาระงาน ได้แก่ การพูด/รายงานปากเปล่า เช่น การอ่านรายงาน
กลา่ วโตว้ าที ร้องเพลง สมั ภาษณ์ บทบาทสมมติ เลน่ ดนตรี การเคลื่อนไหวร่างกาย ฯลฯ

การเขียนแผนการจดั การเรียนรโู้ ดยกระบวนการเรยี นร้เู ชงิ รกุ [Active Learning]

18

7.3 งานที่มีลักษณะผสมผสานกันระหว่างชิ้นงาน/ภาระงาน ได้แก่ การทดลอง
สาธิต ละคร วิดิทัศน์ ฯลฯ ชิ้นงานหรือภาระงานที่แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการของผู้เรียนที่ได้รับการ
พัฒนาการเรียนรู้ของแต่ละเรือ่ ง หรือแต่ละขั้นตอนของการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้าสูก่ ารประเมินเพอ่ื
ปรับปรงุ เพิ่มพนู คุณภาพผู้เรยี น/วิธีสอนสงู ขึน้ อยา่ งต่อเนื่อง

6. การประเมินผล การประเมินผลจะประเมินจากชิ้นงานหรือภาระงาน โดยใช้เกณฑ์การ
ประเมินที่ครูและนักเรียนร่วมกันกำหนด การประเมนิ โดยใช้รบู ิค (Rubric) ช่วยในการสื่อสารอีกทาง
หนง่ึ ให้ผู้เรยี น มองเห็นเปา้ หมายของการทำชิ้นงานหรือภาระงานของตนเอง ได้รบั ความยุตธิ รรมในการ
ให้คะแนนของผ้สู อน ตามคุณภาพของงาน อยา่ งไรก็ตามการประเมนิ ช้ินงานหรอื ภาระงานอาจใชว้ ิธีการ
อื่นได้ตามความ เหมาะสมกับธรรมชาติของชิ้นงานหรือภาระงาน เช่น การทำแบบ checklist การ
ทดสอบ เป็นต้น

7. กำหนดเวลาเรยี น ระบเุ วลาทใ่ี ช้ตามจรงิ ในหนว่ ยนนั้ ๆ

หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
และฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560

การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จัดเป็น
หลักสูตรแบบอิงมาตรฐาน กล่าวคือหลักสูตรที่มีมาตรฐาน
การเรียนรู้เป็นเป้าหมาย หรือเป็นกรอบทิศทางใน
การกำหนดเนื้อหา ทักษะหรือกระบวนการ การจัดกิจกรรม
การเรียนการสอน และการประเมินผล เพือ่ พฒั นาผเู้ รียนให้
มคี วามรู้ความสามารถบรรลุมาตรฐานท่ีกำหนด โดยมกี รอบ
แนวคิดที่สำคญั คือเปา้ หมายการจัดการเรียนรู้ซง่ึ องคก์ ารศกึ ษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรม (UNESCO)
ได้กำหนดไว้ดงั นี้
Learn to know หมายถึง การเรียนเพื่อรู้ทุกสิ่งทุกอย่างอันจะเป็นประโยชน์ต่อไป ได้แก่
การแสวงหาความรู้ให้ไดม้ าซ่ึงความรูท้ ่ีต้องการ ต่อยอดความรูท้ ี่มีอยู่ และรวมทั้งการสร้างความรู้ขึ้น
ใหม่
Learn to do หมายถึง การลงมือทำหรือการประกอบอาชีพจากความรูท้ ี่ได้รับจากการศกึ ษา
มา รวมทงั้ เพื่อประกอบอาชีพในการสร้างประโยชนใ์ ห้สงั คม
Learn to be หมายถึง การรู้จักตัวเองอย่างถ่องแท้ เป็นตัวของตัวเองและ พัฒนาให้เต็ม
ศกั ยภาพ หรอื พฒั นาตนให้เปน็ มนุษยท์ ส่ี มบูรณ์เพราะทกุ คนยังสามารถทจ่ี ะดงึ เอาความรคู้ วามสามารถ
ไปใช้ประโยชนไ์ ด้อีกถ้าได้รับการสง่ เสริมกระตนุ้ เพียงพอ
Learn to live together หมายถึงการดำเนนิ ชีวิตร่วมกบั คนอืน่ ได้อย่างมีความสุข ทั้งในการ
ดำเนินชวี ติ ในชีวติ ครอบครัว และชวี ติ การทำงาน

การเขยี นแผนการจดั การเรยี นรโู้ ดยกระบวนการเรียนรู้เชงิ รกุ [Active Learning]

19

มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 (สำนักงาน
เลขาธิการสภาการศึกษา,2561: 4-7) ได้กำหนด คุณธรรม
ทักษะ และความรทู้ ่ีจำเปน็ บนฐานค่านยิ มร่วม สู่กรอบผลลัพธ์ท่ีพึง
ประสงค์ของการศึกษาได้ดังน้ี คือ การจัดการศึกษาจะต้องทำให้
เกิดผลลัพธ์ที่พึงประสงคข์ องผู้เรียนซึ่งเป็นคณุ ลักษณอันเป็นผลที่
เกิดจากการจดั การศึกษาตัง้ แตร่ ะดับปฐมวัย การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
การอาชีวจนถึง การอุดมศึกษา ทั้งนี้ สถานศึกษามีอิสระในการกำหนดแนวคิด ปรัชญา และวิสัยทัศน์
ของการจัดการศึกษาให้เป็นอัตลักษณ์ และสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาและความถนัดของ
ผเู้ รียน

ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education : Doe Thailand)
หมายถึง คุณลักษณะของคนไทย 4.0 ที่ตอบสนองวิสัยทัศน์การพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง
ยง่ั ยนื โดยคนจะตอ้ งธำรงความเป็นไทยและแขง่ ขนั ได้ในเวทีโลก น่นั คือเปน็ คนดี มีคุณธรรม ยึดคา่ นิยม
รว่ มกนั ของสังคมเป็นฐานในการพฒั นาตน ให้บุคคลมีคุณลกั ษณะ 3 ด้าน มคี ณุ ลักษณะ ดังต่อไปนี้

1. ผู้เรียน เป็นผู้มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ และมีทกั ษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อก้าวทนั โลกยุค
ดจิ ทิ ลั และโลกในอนาคต โดยมีสมรรถนะ (Competency) ท่เี กดิ จากความรู้ ความรอบรูด้ า้ นตา่ ง ๆ มี
สุนทรียะ และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย มีทักษะชีวิตเพื่อสร้างงานหรือสัมมาอาชีพ บนพื้นฐานของ
ความพอเพยี ง ความมั่นคงใน ชวี ติ และคุณภาพชีวิตทีด่ ีต่อตนเอง ครอบครัว และสงั คม

2. ผู้ร่วมสรา้ งสรรคน์ วัตกรรมเป็นผู้มีทักษะทางปัญญาทกั ษะศตวรรษที่ 21 ความฉลาดดิจิทลั
(digital intelligence) ทักษะการคิดสร้างสรรค์ ทักษะข้ามวัฒนธรรม สมรรถนะการบูรณาการข้าม
ศาสตร์ และ มีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการเพื่อร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรมทางเทคโนโลยี
สงั คม รวมถงึ การพฒั นาเพิม่ โอกาส เพิม่ มูลคา่ ให้กบั ตนเอง และสงั คม

3. พลเมืองทีเ่ ขม้ แข็ง เปน็ ผู้มคี วามรักชาติ รกั ทอ้ งถนิ่ รถู้ ูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมือง มีจติ อาสา
มอี ุดมการณ์ และมีสว่ นร่วมในการพัฒนาชาติ ประชาธปิ ไตยบนหลักการความยุติธรรมความเท่าเทียม
เสมอภาค เพื่อการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมทีย่ ่ังยนื และการอยูร่ ่วมกันในสังคมไทย
และประชาคมโลกอยา่ ง สนั ติ

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นการจัดทำหลักสูตรแบบ
หลกั สูตรอิง มาตรฐานเพื่อให้สอดคล้องกับเปา้ หมายในการจดั การเรยี นรู้ของผเู้ รยี น ตามมาตรฐานการ
เรียนรู้ที่กำหนดในหลักสูตร ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ จึงนำมาใช้เป็น หลักในการเทียบเคียงการ
จัดการสำหรับประเมนิ และเป็นตัวกลางบอก ให้รู้ความก้าวหน้าพัฒนาการของผู้เรียนการรายงานผล
การประเมินจึงควรจัดทำในรูปแบบของการรายงานความก้าวหน้าในการเรียนรู้ระดับสัมฤทธิ์ผลของ
ผ้เู รียนในลกั ษณะเปน็ คำอธบิ ายเชงิ คุณภาพท่ีเชื่อมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู้ทำใหร้ ้วู ่าผู้เรยี นมี

การเขียนแผนการจัดการเรียนรโู้ ดยกระบวนการเรียนรู้เชงิ รกุ [Active Learning]

20

ความก้าวหน้าในการเรียนรู้ซึ่งจะมีความสำเร็จเพียงใด ขึ้นอยู่กับเรียนรู้สิ่งใด ทำอะไร ได้วิธีการใด
ใช้เครื่องมือข้อมูลผลการประเมินที่ได้จะต้องนำมาใช้อธิบายภาพผลสัมฤทธิ์ที่เกิดแก่ผู้เรียนได้อย่าง
ถูกต้องนา่ เชื่อถอื การประเมนิ จeตอ้ งใชเ้ ครอ่ื งมอื และวิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมูล ด้วยวธิ ีการหลากหลาย
อาทิ ทักษะการประเมินการปฏิบัติ โครงงาน แฟ้มผลงาน แบบฝึกหัด ด้วยการ สังเกต สัมภาษณ์
ตรวจผลงาน ฯลฯ นอกเหนือจากการใช้แบบทดสอบข้อเขียนท่ีใช้กันอย่างกวา้ งขวางในขณะนี้ เพื่อให้
ผู้เรียนท่ีอาจใช้วธิ ีการเรียนรู้และ วิธีแสดงออกซ่ึงความสามารถซึ่งแตกตา่ งกันไดม้ ีโอกาสแสดงความรู้
ความสามารถในเรื่องนั้น ๆ จนส่งผลให้สามารถประเมินได้ตามศักยภาพความรู้ ความสามารถของ
ผู้เรียนไดแ้ ม่นยำ และครอบคลมุ ผลสัมฤทธิท์ เี่ กดิ ขนึ้ ทกุ ด้าน

คือ หลักสูตรที่เน้นการวัดผลแบบสมรรถนะแทนการท่องจำเนือ้ หา
เพยี งเพ่อื นำมาสอบ เดมิ วดั ผลจากการจำความรู้แตฐ่ านสมรรถนะ วัดผล
จากการนำความรู้มาใชง้ านทน่ี ำมาใช้แทนทีห่ ลกั สตู รในปจั จบุ ัน

ฐานคิดของหลกั สูตรการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
(หลักสตู รฐานสมรรถนะ)

1. ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนรายบุคคล (Personalization) การเป็นเจ้าของการ
เรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองอย่างตอ่ เน่อื ง

2. พัฒนาใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ สขุ ภาวะ (Well-being) ทงั้ ในด้านสุขภาพ ความฉลาดรู้ สังคมและอารมณ์
อย่างสมดลุ รอบดา้ นและเป็นองค์รวมโดยยึดหลักความเสมอภาค

3. พัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นเพื่อใช้ในการดำรงชีวิต การแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ
ในชวี ิตประจำวัน และการสรา้ งประโยชนต์ อ่ สงั คม

4. พัฒนาผู้เรียนให้รู้เท่าทันและสามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมและ
ความกา้ วหนา้ ทางวิทยาการ

การจดั การเรยี นรูฐ้ านสมรรถนะ

(การจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะเชิงรุก : สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา)
1. หลักการจดั การเรียนรฐู้ านสมรรถนะ
การจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เป็นการจัดการเรียนรู้ที่มีจุดประสงค์การเรียนรู้ฐาน

สมรรถนะเป็น เป้าหมาย คือ มุ่งเน้นการพัฒนาความสามารถของผู้เรียน ในการประยุกต์ใช้ความรู้
ทกั ษะ เจตคติ และคณุ ลักษณะตา่ ง ๆ อย่างเปน็ องค์รวมในการปฏบิ ตั ิงาน การแกป้ ญั หา และการใช้

การเขยี นแผนการจัดการเรยี นรโู้ ดยกระบวนการเรียนรเู้ ชงิ รกุ [Active Learning]

21

ชีวิต เป็นการเรียนการสอนที่เชือ่ มโยงกับชีวิตจริง เรียนรู้เพื่อให้สามารถใช้การได้จริงในสถานการณ์
ตา่ ง ๆ ในชวี ติ จริง เป็นการเรยี นเพือ่ ใช้ประโยชน์ ไมใ่ ชก่ ารเรียนเพอื่ ร้เู ทา่ นั้น

การจดั การเรียนรฐู้ านสมรรถนะเน้น “การปฏิบัติ” โดยมชี ุดของเน้อื หา ความรู้ ทกั ษะ เจตคติ
และคุณลักษณะทจ่ี ำเป็นต่อการนำไปสู่สมรรถนะทตี่ อ้ งการ จงึ ทำใหส้ ามารถลดเวลาเรยี นเนอื้ หาจำนวน
มากที่ไม่จำเป็น เอื้อให้ผู้เรียนมีเวลาในการเรียนรู้เนื้อหาท่ีจำเป็นในระดับที่ลึกซึ้งขึ้น และมีโอกาสได้
ฝึกฝนการใช้ความรู้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะในระดับชำนาญ หรือ
เชี่ยวชาญเป็นการเรียนการสอนที่มี การบูรณาการความรู้ข้ามศาสตร์ ความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานใดงานหนึ่ง จะได้รับการนำไปใช้เพื่อความสำเร็จของการปฏิบัติงาน
การเรยี นการสอนเป็นการบูรณาการมากขน้ึ

ในการจัดการเรียนรูฐ้ านสมรรถนะน้นั ผ้เู รยี นสามารถใช้เวลาในการเรียนรู้ และมีความก้าวหน้า
ในการเรียนรู้ไปตามความถนัดและความสามารถของตนสามารถไปได้เร็ว หรือช้าแตกต่างกันได้โดย
ปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะประสบความสำเร็จ คือ การให้ข้อมูลป้อนกลับแก่
ผู้เรียนเพ่ือการปรบั ปรงุ พฒั นา

แนวทางการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ

ในการจัดการเรยี นรฐู้ านสมรรถนะเพ่ือพัฒนาผู้เรยี นในชั้นเรียนและในโรงเรียนทำได้หลายทาง
ในที่นี้ขอเสนอแนวทาง 6 แนวทางซ่ึงครสู ามารถเลือกใชต้ ามความพร้อมและบริบทโรงเรียนและความ
ถนัดของตน ดงั นี้

แนวทางที่ 1 : ใช้งานเดมิ เสริมสมรรถนะ เป็นการจัดการเรียนรทู้ ่ีสอดแทรกสมรรถนะ

ซึง่ ครเู หน็ ว่า สอดคล้องกับบทเรยี นนนั้ เขา้ ไป และคิดกจิ กรรมเสรมิ เพือ่ ให้ผูเ้ รียนได้พฒั นาสมรรถนะน้ัน
เพ่มิ ขนึ้ เป็นการชว่ ยเพิ่มการเรยี นรขู้ องผู้เรียนให้เขม้ ขน้ มคี วามหมายและเกดิ สมรรถนะทตี่ อ้ งการ

แนวทางท่ี 2 : ใช้งานเดิม ต่อเติมสมรรถนะ เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ต่อยอด เพิ่มเตมิ

จากงานเดมิ ให้ต่อเนอ่ื งไปถึงข้นั การฝึกฝนการนำความรู้ ทกั ษะ และเจตคตทิ ่ีไดเ้ รยี นรู้แล้วไปประยกุ ต์ใช้
ในสถานการณท์ หี่ ลากหลายเพอื่ พัฒนาผ้เู รียนให้มีสมรรถนะในเรือ่ งที่เรยี นรู้นนั้

แนวทางท่ี 3 : ใช้รปู แบบการเรียนรู้ สกู่ ารพัฒนาสมรรถนะ เปน็ การจดั การเรียนรูท้ ี่มี

การนำรูปแบบการเรียนรตู้ ่าง ๆ มาวเิ คราะหเ์ ช่อื มโยงกบั สมรรถนะที่สอดคลอ้ งกัน และเพิ่มเติมกจิ กรรม
ทส่ี ามารถช่วยพัฒนาสมรรถนะนัน้ ให้เพม่ิ ขึ้นอย่างชัดเจน อนั จะสง่ ผลใหก้ ารเรียนการสอนตามรูปแบบ
การเรียนรู้ทม่ี ีประสิทธภิ าพเพม่ิ ขนึ้ ด้วย

การเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้โดยกระบวนการเรยี นรูเ้ ชงิ รกุ [Active Learning]

22

แนวทางที่ 4 : สมรรถนะเปน็ ฐาน ผสานตัวชวี้ ดั เปน็ การจัดการเรยี นร้โู ดยนำสมรรถนะ

ที่ตอ้ งการพฒั นาเปน็ ตัวตั้ง และนำตัวชี้วัดที่สอดคล้องกันมาออกแบบการสอนร่วมกัน เพื่อให้ผู้เรียนได้
เรียนรู้ทั้งเนื้อหาสาระ และทักษะตามท่ีตัวชี้วัดกำหนดไปพร้อม ๆ กันกับการพัฒนาสมรรถนะหลักท่ี
ต้องการ

แนวทางท่ี 5 : บูรณาการผสานหลาย
สมรรถนะ เป็นการจดั การเรียนรู้โดยนำสมรรถนะ

หลักหลายสมรรถนะเปน็ ตัวต้ัง และวเิ คราะหต์ ัวช้ีวัด
ที่เกี่ยวข้อง แล้วออกแบบการสอนที่มีลักษณะเปน็
หน่วยบูรณาการทีช่ ่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างเป็น
องค์รวมโดยเห็นความสัมพันธ์ระหว่างวิชา /กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ ต่าง ๆ

แนวทางที่ 6 : สมรรถนะชีวิตใน
กิจวตั รประจำวนั เป็นการสอดแทรกสมรรถนะท่ี

ส่งเสริมในการทำกิจวัตรประจำวันต่าง ๆ ของ
ผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพ และคุณภาพมากขึ้นเป็นการใช้กิจกรรมในชีวิตประจำวันที่ทำอยู่แล้วเป็น
สถานการณ์ในการฝึกฝนสมรรถนะ ซงึ่ นอกจากจะชว่ ยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะท่ตี อ้ งการแล้วยังช่วยทำ
ใหก้ ารทำกิจวัตรประจำวันของผูเ้ รียนมี คณุ ภาพและประสทิ ธิภาพมากขึน้ ดว้ ย

การวัดและประเมนิ ผลฐานสมรรถนะ

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้จำเป็นต้องมีการปรับเปลีย่ นให้สอดคล้องกับหลักสตู ร และ
การจดั การเรยี นรฐู้ านสมรรถนะ โดยใหม้ ลี กั ษณะสำคัญดังนี้

มุ่งวัดสมรรถนะอันเป็นองค์รวมของความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณลักษณะต่าง ๆ
ไม่ใชเ้ วลา มากกบั การสอบวัดตามตัวชวี้ ดั จำนวนมาก

วัดจากพฤติกรรม /การกระทำ /การปฏิบัติ ที่แสดงออกถึงความสามารถในการใช้
ความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคณุ ลักษณะตา่ ง ๆ ตามเกณฑก์ ารปฏบิ ัติ (Performance Criteria) ทีก่ ำหนด
เป็นการวัดอิงเกณฑ์ มใิ ชอ่ ิงกลุ่ม และมหี ลกั ฐานการปฏิบัติ (Evidence) ใช้ตรวจสอบได้

ใช้การประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) จากสิ่งที่ผู้เรียนได้ปฏิบัติ
จริง และความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน เช่น การประเมินจากการปฏิบัติ (Performance
assessment) หรอื การประเมนิ โดยใชแ้ ฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio Assessment) รวมถึงการประเมิน
ตนเอง (Student Self-assessment) และการประเมนิ โดยเพือ่ น (Peer Assessment)

การเขียนแผนการจัดการเรยี นรู้โดยกระบวนการเรยี นรูเ้ ชงิ รกุ [Active Learning]

23

ใช้สถานการณ์เป็นฐาน เพื่อให้บริบทการวัดและประเมินเป็นสภาพจริงมากขึ้น เช่น
อาจเตรียมบริบทเป็นข้อความ รปู ภาพ ภาพเคล่ือนไหว สถานการณ์จำลอง หรอื สถานการณ์เสมอื นจริง
ในคอมพิวเตอร์ ซ่งึ สามารถประเมนิ ได้หลายประเด็นในสถานการณเ์ ดยี วกนั

ผู้เรียนได้รับการประเมนิ ไปตามลำดับขั้นของสมรรถนะที่กำหนด หากไม่ผ่านจะต้อง
ไดร้ บั การซ่อมเสริมจนกระท่งั ผ่านจงึ จะก้าวไปสลู่ ำดบั ขน้ั ต่อไป

การรายงานผลเปน็ การให้ข้อมูล พฒั นาการและความสามารถของผเู้ รียนตามลำดับข้ัน
ทีผ่ ูเ้ รยี น ทำได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด

ขอ้ เสนอแนะทั่วไปในการจดั การเรียนร้ฐู านสมรรถนะใหม้ คี ุณภาพและ ประสิทธิภาพ

เพื่อให้การปรับเปลี่ยนหลักสูตร และการเรียนรู้ฐานสมรรถนะมีคุณภาพและประสิทธิภาพ
มีข้อเสนอแนะที่เกีย่ วข้องดังน้ี

จดั สาระการเรียนรใู้ หเ้ ชื่อมโยงกับการใช้ประโยชนใ์ นชวี ิตจริง โดยเน้นการบรู ณาการ
เนอื้ หาจากศาสตรส์ าขาตา่ ง ๆ ท่ีเกยี่ วขอ้ ง

จัดการเรียนการสอนให้มงุ่ เนน้ การพัฒนาผู้เรียนใหเ้ กิดสมรรถนะ และคุณลักษณะที่
จำเป็น ตอ่ การใช้ชวี ิต และการทำงานในโลกท่ีมกี ารเปล่ยี นแปลงอย่างรวดเรว็ และสามารถตอบสนอง
ความแตกตา่ งที่ หลากหลายของผู้เรยี น บริบท และภมู สิ ังคม

ให้มีการจัดการเรียนรู้เชิงรุกที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนสร้างความรู้ ความเข้าใจจากการมี
สว่ นร่วมในกระบวนการคดิ การปฏบิ ตั ิ การนำความรู้ไปใช้ การถอดบทเรียน การสะท้อนคดิ รวมทั้งการ
ปฏิสัมพันธก์ ารทำงาน และการแลกเปลย่ี นเรียนเรยี นรูก้ ับผอู้ น่ื

จัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการเรียนรู้ วิธีคิด และวิธีประยุกต์ใช้
ความรู้ ทักษะ และเจตคตใิ นการปฏิบัตงิ าน รวมทง้ั ได้พฒั นาคุณลักษณะ และทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21
ที่จำเป็นต่อชีวิต และการทำงานยุคนี้จัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากบริบทรอบตัว โดยใช้หลักการวิจัยใน
ระบบ “ ผลเกดิ จากเหตุ” มาสรา้ งกระบวนการคน้ หาความรู้ โดยครูทำหน้าท่ีเปน็ ผชู้ แี้ นะ ตัง้ คำถามให้
ผเู้ รยี นคดิ หาคำตอบไดด้ ้วยตนเอง

จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่มุง่ สร้างอปุ นสิ ัย และคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ อีกทั้งช่วย
ฝึกฝนสมรรถนะต่าง ๆ ท่ีไดเ้ รียนรใู้ ห้เกิดความชำนาญ

มีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบในการติดตาม ดูแล และช่วยเหลือผู้เรียนในการ
แก้ปัญหาต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความอบอุ่นใจ ได้รับคำปรึกษา ชี้แนะ และความช่วยเหลืออย่าง
ทนั การณ์ ทันเวลา รวมทงั้ การชว่ ยดูแล อบรมบม่ นิสัย ส่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นประสบความสำเร็จในด้านที่มี
ความถนัด เกดิ ความภาคภูมใิ จในตนเอง และเปน็ คนดี มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม

การเขยี นแผนการจัดการเรยี นรู้โดยกระบวนการเรียนร้เู ชงิ รกุ [Active Learning]

24

มีการวัดและประเมินผลท่ีให้ความสำคัญกับการให้ และการใช้ข้อมูลย้อนกลับ เพื่อการ
ปรับปรุง และการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน และลดการประเมินในลักษณะตัดสิน หรือแข่งขันให้
น้อยลง

วัดและประเมินผลการเรียนรู้ โดยใช้วิธีการหลากหลาย ให้เป็นไปอย่างเหมาะสมตาม
หลักพฒั นาการเด็ก การประเมนิ เพอื่ ตัดสนิ ผลใหก้ ระทำด้วยความรอบคอบ โดยคำนึงถึงผลกระทบอาจ
เกิดขนึ้ แกผ่ ู้เรยี น

ให้มีการทดสอบระดบั ชาติ โดยมุ่งเน้นการทดสอบสมรรถนะ โดยการส่มุ ทดสอบ เพื่อให้
ได้ ขอ้ มลู และใช้ในการบริหารจัดการการศกึ ษาในการแข่งขนั

ให้ผเู้ รียนเข้าถงึ แหลง่ เรียนรทู้ ม่ี คี ุณภาพอย่างท่ัวถึง เท่าเทียมกันเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ
ทางการ ศกึ ษา และเพ่ิมศกั ยภาพในการแข่งขนั

ให้มีการพัฒนาทรัพยากรการเรียนรู้ ด้วยแพลตฟอร์มการเรียนรู้ เพื่อรวบรวม พัฒนา
ชดุ การเรยี นการสอน สื่อการเรยี นร้แู ละส่ือการสอน ตัวอย่างรายวชิ าเพิ่มเติม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ทไ่ี ด้รับการคัดกรองจากผ้เู ชีย่ วชาญแลว้ เพอ่ื ใหบ้ รกิ ารแกค่ รอู าจารย์

ให้สถานศกึ ษามีหนา้ ทีใ่ นการให้ความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั การพัฒนาเด็ก แก่พ่อ แม่
ผปู้ กครอง และร่วมมอื กนั ดแู ล ชว่ ยเหลือ และพฒั นาเดก็ อย่างสอดคล้องกนั

ให้รัฐสนบั สนนุ การพัฒนาครูในการจดั การเรยี นรู้เชิงรุก รวมทงั้ การพัฒนาความรู้ และ
สมรรถนะดา้ นเน้อื หาสาระท่ีสอน ด้านศาสตรก์ ารสอน ดา้ นการใชส้ ือ่ และเทคโนโลยีในการเรยี นรู้ และ
การสอน ด้านการพฒั นาทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 และด้านบทบาทใหมข่ องครูในยคุ ใหม่

ให้รัฐสนับสนุนสถานศึกษาให้มีการจัดระบบ และวิธีการพัฒนาครูในสถานศึกษา ให้มี
การเรยี นร้รู ว่ มกัน และมกี ารพัฒนาตนเองและวิชาชพี อยา่ งต่อเนื่อง

การเขยี นแผนการจัดการเรียนร้โู ดยกระบวนการเรยี นรูเ้ ชงิ รกุ [Active Learning]

25

ตวั อย่างการเขยี นแผนการจัดการเชงิ รกุ
Active Learning

กล่มุ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์
หนว่ ย กนิ ดี มสี ขุ

ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 3 ครูผสู้ อน............................................................................................
จำนวน..........10........สัปดาห์

วตั ถุประสงค์ :
ผู้เรยี นสามารถคำนวณ และอภิปรายเกย่ี วกบั คณุ คา่ ทางโภชนาการของอาหารร่างการควรได้รับ

สามารถใช้หน่วยการชั่งตวงได้อย่างถูกต้อง สามารถแปลงหน่วยการชั่งตวงได้ สามารถเปรียบเทียบ
ปริมาณอาหารท่รี ่างกายต้องการในแต่ละวัน สามารถจดบนั ทกึ ขนั้ ตอนการประกอบอาหาร ในแตล่ ะวัน
สามารถวิเคราะห์ และแยกแยะความเป็นจริงเกี่ยวกับโฆษณาอาหารเสริม สามารถประกอบอาหารได้
และคิดค้นเมนูใหม่ๆ ออกแบบการจัดจานอาหารให้น่ารับประทาน ดูแลอุปกรณ์เครื่องใช้ในครัว
ประเมนิ ความพึงพอใจของผู้บริโภคอาหารที่ตนทำ เพือ่ นำข้อมูลมาพฒั นาเมนอู าหาร สามารถออกแบบ
การจัดกิจกรรมให้รา่ งกายไดอ้ อกกำลงั กาย เพื่อให้มสี ุขภาพทแ่ี ขง็ แรงควบคกู่ ับการรบั ประทานอาหารท่ี
มีประโยชน์
ภมู หิ ลงั ของหนว่ ย :

ปัจจุบันการบริโภคอาหารของมนุษยม์ ีการคำนึงถงึ ประโยชน์ท่ีได้รับในแต่ละวันน้อยลง ทำให้
เกิดสขุ ภาวะทางโภชนาการท่ไี ม่ดี พบวา่ เด็กปว่ ยเปน็ โรคอ้วน และโรคเบาหวานมากขน้ึ นอกจากการ
รบั ประทานอาหารท่คี วรคำนงึ ถงึ คณุ ค่าตามหลักโภชนาการ ผูบ้ ริโภคควรคำนึงถงึ การออกกำลังกายที่
จะสามารถทำให้ร่างกายได้นำพลังงานจากอาหารไปใช้

ขอขอบคุณรูปแบบแผนการจดั การเรียนรู้ PBL ฐานสมรรถนะ ของโรงเรยี นลำปลายมาศพัฒนา

การเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้โดยกระบวนการเรยี นร้เู ชิงรกุ [Active Learning]

27

วเิ คราะห์เชิงระบบ หน่วย กนิ ดี มีสขุ ส่งิ ที่อยากให้เป็น

การเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้โดยกระบวนการเรยี นรู้เชงิ รกุ [Active Learning] สิ่งทีเ่ ปน็ อยู่ รับประทานอาหารทต่ี นเองชอบ กนิ เหมอื นเดิม รับประทานอาหารท่มี คี ุณค่าทาง
โภชนาการ คำนงึ ถึงความต้องการของร่างกาย
28 ไมจ่ ำเปน็ ต้องกนิ ผกั กไ็ ด้ ไม่ต้องคำนงึ ถงึ โภชนาการ
- เลอื กรับประทานอาหารทม่ี ีประโยชน์
และความต้องการของรา่ งกาย - รู้ว่าร่างกายมคี วามตอ้ งการพลงั งานและ
สารอาหารในแต่ละวัน
- ไมเ่ ข้าใจเรื่องการเลือกบริโภคอาหารที่มี ประโยชน์ต่อร่างการ EVENT
- กนิ ตามทอ่ี ยากกนิ แบบแผนพฤตกิ รรม - มรี ะบบ และแนวคิดในการคัดเลอื ก
อาหารในแตล่ ะมื้อ แตล่ ะวนั
• -ดา้ นเทคโนโลยี : การโฆษณาเกนิ จรงิ เพอื่ ขายสินค้า โครงสรา้ ง
• -ดา้ นสุขภาพ : ขาดการพจิ ารณาความตอ้ งการของร่างกาย
• -ดา้ นเศรษฐกจิ : ซอื้ อาหารบรโิ ภคสะดวก ไมเ่ สียเวลา
• -ดา้ นการศึกษา : ไม่ศกึ ษาขอ้ มูลการบริโภคที่เหมาะสมต่อวัน
ต่อหน่วยบริโภค

- ซ้ือกินงา่ ยดี สะดวก ไมเ่ สยี เวลา ความเช่ือ คณุ ค่าคา่ นยิ ม - การประกอบอาหารเองปลอดภัย
- กนิ แลว้ คอ่ ยออกกำลงั กายกไ็ ด้ สามารถเลอื กวัสดุที่มปี ระโยชน์ได้
- นาน ๆ กนิ ทีไมเ่ ป็นอะไร ตามความตอ้ งการใชเ้ วลารว่ มกันในครอบครวั

ขอขอบคุณรปู แบบแผนการจัดการเรียนรู้ PBL ฐานสมรรถนะ ของโรงเรียนลำปลายมาศพฒั นา

การเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้โดยกระบวนการเรยี นรู้เชงิ รกุ [Active Learning] กรอบแนวคิดหลกั สูตรฐานสมรรถนะ(Competency-based Curriculum Framework)

29 Desired Outcome
of Education
ผูเ้ รยี นรู้
Learner person

ผรู้ ว่ มสร้างสรรค์นวัตกรรม
(Innovative Co-creator

พลเมอื งท่ีเขม้ แขง็
(Active Citizen)

ขอขอบคณุ รูปแบบแผนการจดั การเรยี นรู้ PBL ฐานสมรรถนะ ของโรงเรียนลำปลายมาศพฒั นา

สมรรถนะระดสับมรปรรถะนถะม ตัวช้ีวัด

1. มีความสามารถในการดำเนนิ ชวี ติ อยู่ใหไ้ ด้ เชน่ อยเู่ ปน็ ทำ

กินเปน็ (ทักษะชีวติ พ้ืนฐาน)

2. มีเปา้ หมาย มกี ารวางแผน มกี ารจัดการทรพัยากร

การจดั การตนเอง มีการลงมือทำ และกำกับตนเองให้ทำกิจกรรมนั้นได้บรรลุตาม

(Self Management) เป้าหมาย

3. มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง (Self-esteem) สามารถจัดการ

ตนเอง (Self-management) เพื่อพัฒนา self ให้สามารถนำตนเอง

รู้จกั ความถนดั ความสนใจของตนเองได้

1. ใชภ้ าษาถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ ความคดิ ความรสู้ กึ และ

ทศั นะของตนเองด้วยการพูดและการเขียน

การส่อื สาร 2. เลือกรับข้อมูลหรือสร้างข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์

(Communication) ต่อตนเองและคนอื่นผ่านช่องทางการส่อื สารท่หี ลากหลาย

3. เคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง สามารถสร้างการสื่อสาร.

เพือ่ ความเข้าใจรว่ มได้

การรวมพลังทาํ งานเปน็ ทมี มีความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น ทำงานตามบทบาท

(Collaboration for Teamwork ) หนา้ ที่ และเคารพในความคิดตา่ ง

1. มีความสามารถในการคิด (Thinking ability) ได้แก่ วิเคราะห์

สังเคราะห์ วิพากษ์ มโนทัศน์ และวิจารณญาณ เช่น สามารถช่ัง

การคดิ ข้นั สงู น้ำหนัก ข้อมูลเพื่อตัดสินใจเลือก และให้เหตุผลของการเลือกให้
(Higher Order Thinking) เหตผุ ลอยา่ งสมเหตุสมผลที่มากกวา่ ระดบั ตัวเอง ต่อส่งิ ที่เลือกได้

2. มคี วามสามารถในการคดิ รเิ ร่มิ (Creative thinking ) กล้าแสดง

ความคิดเห็นซงึ่ จะนำไปส่กู ารตัดสนิ ใจรว่ ม การคดิ ออกแบบนวตั กรรม

มคี วามยดื หยุน่ มีมมุ มองตอ่ การหาเสน้ ทางใหมใ่ นการแก้ปญั หา

1. มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ในฐานะผู้เรียน ในฐานะ

การเปน็ พลเมืองทเี่ ขม้ แขง็ สมาชกิ ของกลุม่ ของสังคม
(Active Citizen) 2. มีความสามารถในการรับผิดชอบ มีส่วนร่วมในการทำหน้าท่ี

ต่อการเรียนรู้ รับรู้ความเป็นไปของสังคม และสามารถช่วยเหลือ

สังคมไดต้ ามศกั ยภาพ เช่น ช่วยงานบา้ น

การเขยี นแผนการจัดการเรียนรโู้ ดยกระบวนการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ [Active Learning]

30

การเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้โดยกระบวนการเรยี นรู้เชงิ รกุ [Active Learning] Web เชื่อมโยงหนว่ ยการเรยี นรู้ หน่วย กินดี มสี ขุ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาไทย
1. บรรยายสงิ่ ท่ีจำเปน็ ต่อการดำรงชีวิต และ การเจริญเตบิ โตของ 1. ตง้ั คำถามและตอบคำถามเชิงเหตผุ ลเกย่ี วกบั คุณคา่ ทางโภชนาการ
31 คณิตศาสตร์ มนษุ ย์และสตั ว์ โดยใชข้ อ้ มูลที่ รวบรวมได้ /ตระหนักถึงประโยชนข์ อง 2. สรุปความมรู้ และข้อคิดจากเรอ่ื งที่ศึกษา และนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวัน
1. ใชก้ ารประมาณคา่ ในการคำนวณและแกป้ ญั หา อาหาร น้ำและอากาศ โดยการดูแลตนเอง และสตั ว์ใหไ้ ดร้ บั ส่งิ เหล่านี้ 3. อธบิ าย ความหมายของขอ้ มลู จากแผนภาพ และแผนภมู ิ
2. ข้าใจระบบจำนวนและนำสมบัติเกย่ี วกับจำนวนไปใช้ อย่างเหมาะสม 4. เขยี นบรรยายเกยี่ วกับสิ่งทศี่ กึ ษาไดอ้ ย่างชัดเจน บนั ทึกประจำวนั
3. บอกนำ้ หนกั เปน็ กิโลกรัม กรัม และขีด เลือกเคร่ืองชั่งทเี่ หมาะสม และ วทิ ยาการคำนวณ 5. แต่งประโยคง่ายๆ โดยใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ินได้เหมาะสม
เปรียบเทยี บน้ำหนัก 2. แสดงอัลกอริทมึ ในการทำงาน หรอื การ แก้ปญั หาอยา่ งงา่ ย โดยใช้ กับกาลเทศะ
4. แกป้ ัญหาเกย่ี วกับการวดั การชั่ง การตวง เงนิ และเวลา/อา่ นและเขียน ภาพ สญั ลักษณ์ หรือขอ้ ความ / ใชอ้ ินเทอร์เนต็ คน้ หาความรู้ / 6. ศึกษา และแสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกบั วรรณคดที ่ีเกี่ยวข้องกบั อาหาร
บนั ทึก รายรับ รายจา่ ย/อา่ นและเขียนบนั ทึกกจิ กรรมหรือ เหตกุ ารณ์ท่รี ะบุ รวบรวม ประมวลผล และนำเสนอข้อมูลโดยใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ
เวลา อย่างปลอดภยั ปฏิบตั ิตามข้อตกลงในการใช้อินเทอรเ์ น็ต ประวัติศาสตร์
5. รวบรวมและจำแนกขอ้ มลู เก่ยี วกับตนเอง และส่ิงแวดลอ้ มใกล้ตวั ท่ีพบ เขา้ ใจพัฒนาการบรโิ ภคอาหารของมนษุ ยชาตจิ ากอดีตจนถึง
เหน็ ในชวี ติ ประจำวนั /อา่ นขอ้ มูลจากแผนภมู ิ-รูปภาพและแผนภูมิแทง่ อยา่ งง่าย
6. ใช้วิธกี ารทางสถิตแิ ละความรู้เก่ยี วกับความนา่ จะเป็นในการคาดการณไ์ ด้ ปจั จบุ ัน ในดา้ นความสมั พันธ์และการ เปลย่ี นแปลงของเหตกุ ารณ์
อย่างสมเหตุสมผล อย่างตอ่ เนอื่ ง เชื้อชาติ ศาสนา ตระหนกั ถงึ ความสำคัญ และ
7. ใชค้ วามรเู้ กยี่ วกบั สถิตแิ ละความน่าจะเปน็ ช่วยในการตัดสนิ ใจและ สามารถวิเคราะหผ์ ลกระทบทเ่ี กิดข้ึนท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั อาหาร
แก้ปญั หา
8. สามารถแกป้ ญั หาการใหเ้ หตผุ ลการสื่อสารการสอ่ื ความหมาย ทาง สขุ ศึกษา-พลศกึ ษา
คณิตศาสตร์และการนำเสนอการเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทาง คณติ ศาสตร์ และ 1. เขา้ ใจธรรมชาตขิ องการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของมนุษย์
เชอื่ มโยงคณติ ศาสตร์กบั ศาสตร์อืน่ ๆ 2. เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสขุ ภาพ การดำรงสุขภาพ การปอ้ งกนั
โรคและการสร้างเสริมสมรรถภาพเพ่ือสุขภาพ
3. ป้องกันและหลีกเลย่ี งปจั จัยเสีย่ งพฤตกิ รรมเสย่ี งตอ่ สุขภาพ
4. ออกแบบการอาหาร และการออกกำลงั กายใหเ้ ขา้ กบั บริบท ของชมุ ชน

ภาษาองั กฤษ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ศิลปะ
1. ปฏบิ ัตติ ามคำสงั่ และคำขอรอ้ งทีฟ่ ังหรอื อา่ น/อ่านออก เสยี งคำ สะกด 1. เข้าใจและปฏิบตั ิตนตามหนา้ ทขี่ องการเป็นพลเมอื งดี มคี า่ นิยมที่ดีงาม และ 1. คิดสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณ์คุณคา่ งาน
คำอา่ นกลุ่มคำ ประโยค และบทพดู เข้าจงั หวะ (chant) ง่าย ๆ ถูกตอ้ ง ธำรงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทยดำรงชวี ิตอยู่ร่วมกนั ในสังคมไทยและ
ตามหลกั การอา่ น /เลือกระบภุ าพหรอื สญั ลกั ษณ์ตรงตาม ความหมายของ สงั คมโลกอยา่ งสนั ติสุข ทศั นศิลป์ ถ่ายทอด ความรู้สกึ ความคิดตอ่ งานศิลปะอยา่ ง
กลมุ่ คำและประโยคที่ฟัง 2. เขา้ ใจ และสามารถบริหารจัดการทรพั ยากรในการผลิต และการบรโิ ภค อสิ ระ ช่ืนชม และประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวัน
2. พูดโต้ตอบด้วยคำส้น ๆ ง่าย ๆ ในการสอื่ สารระหว่างบุคคลตามทฟ่ี ัง/ การใช ้ทรัพยากรที่มีอยจู่ ำกดั ได้ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและคุ้มค่ารวมทัง้ เขา้ ใจ 2. การออกแบบการจัดจานอาหาร การจดั โตะ๊ อาหาร
ใช้คำสัง่ และคำขอรอ้ งง่าย ๆ ของตนเอง หลกั การของเศรษฐกิจพอเพียงเพอื่ การดำรงชวี ติ อย่างมดี ุลยภาพ
3. ฟงั /พดู ในสถานการณง์ ่าย ๆ ที่เกิดขนึ้ ในหอ้ งเรียน 3. เขา้ ใจปฏสิ ัมพันธะหว่างมนษุ ย์กบั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพที่ก่อให้เกิด การงานอาชีพ
4. ใชภ้ าษาตา่ งประเทศเพ่ือรวบรวมคำศพั ท์ที่เกย่ี วขอ้ งใกลต้ วั การสรา้ งสรรคว์ ฒั นธรรม มีจิตสำนกึ และมีสว่ นร่วม ในการอนรุ กั ษ์ทรัพยากร อธิบายวธิ กี ารและประโยชน์การทำงานเพ่ือชว่ ยเหลือตนเอง
และส่งิ แวดล้อมเพือ่ การพัฒนาท่ยี ง่ั ยนื
ครอบครัว และสว่ นรวม/ใชว้ สั ดุอุปกรณ์ และเครื่องมอื ตรงกับ
ขอขอบคุณรปู แบบแผนการจดั การเรียนรู้ PBL ฐานสมรรถนะ ของโรงเรยี นลำปลายมาศพฒั นา ลกั ษณะงานทำงานอย่างเปน็ ข้ันตอนตามกระบวนการททำงาน
ดว้ ยความสะอาด ความรอบคอบ และอนุรักษ์สิ่งงแวดล้อม

ตารางวเิ คราะห์ K S A ของหนว่ ย กินดี มสี ุข

ทักษะชีวติ การเขยี นแผนการจัดการเรยี นรู้โดยกระบวนการเรียนร้เู ชงิ รกุ [Active Learning] Knowledga Skills Attribute
Specific Knowledge (ความรูเ้ ฉพาะหนว่ ย) ทักษะชวี ิต
- อยู่ได้ อยู่เป็น ทำเป็น ปฏิบัติตัวใหถ้ ูกสุขอนามัย เช่นล้างมือบ่อย ๆ - มี Attitude ตอ่ การเรียนรู้ และการเลือก
• หนว่ ยการชั่ง ตวง และการเปลย่ี นหน่วย ดูแลของใชส้ ว่ นตวั ดแู ลความสะอาดร่างกาย และทำงานบ้าน รับประทานอาหาร การออกกำลังกาย
• การคำนวณหาคา่ แคลอรี่ คา่ เฉลยี่ ค่ารอ้ ยละ - เลือก ตัดสินใจในการออกแบบวิธีการ การเลือกรับประทานอาหารที่ - มี Passion ตอ่ การเรยี นรู้ และการเลอื ก
• การเก็บรวบรวมข้อมลู และการจัดกระทำขอ้ มูล มีประโยชนต์ อ่ รา่ งกาย รับประทานอาหาร การออกกำลังกาย
ทักษะการคิดเชงิ ตรรกะ - มี Self Esteem เห็นคณุ ค่า ความสามารถ
ใหเ้ ป็นสารสนเทศ - คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์สิง่ ท่ีได้เรียนรูเ้ กีย่ วกบั การรับประทานอาหาร ความถนัดของตนเอง
Core - subject : สามารถเชื่อมโยงกบั ชวี ิตประจำวันของตนเองได้ - Effort พยายามตอ่ การเรยี นรู้ การทำงาน
สขุ ภาพ - คดิ วางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบเปน็ ขนั้ เป็นตอน -มีความกระตอื รือร้นใฝ่เรียนรู้
ทกั ษะการคดิ รเิ ริ่ม - มีความสามารถในการคิดใครค่ รวญในงานทท่ี ำ
- มองเหน็ และตระหนกั ตอ่ ความสำคญั ในการดูแล รกั ษา - คิดออกแบบและทำกิจกรรม สร้างทางเลอื กและตัดสนิ ใจ เชิงจรยิ ธรรมได้
สขุ ภาพของตนเอง เช่นการออกกำลังกาย การ กินอาหาร หมน่ั ลา้ ง ทกั ษะการแกป้ ัญหา - มีเปา้ หมายในการทำงานท่ีชดั เจน
มอื ดแู ลและทำความสะอาด จดั เกบ็ สง่ิ ของใช้ ทำงานบา้ น - แก้โจทย์การเรยี นรู้รว่ มกับเพ่อื นแต่ละในสัปดาหไ์ ด้ - มคี วามอดทน และรบั ผดิ ชอบงานท่ไี ดร้ บั
สิง่ แวดลอ้ ม ทักษะDigital มอบหมายจนสำเร็จ
- เขยี นสรปุ กระบวนการการประกอบอาหารและสรุปองคค์ วามรู้
32 - มองเหน็ และตระหนงั ถงึ คุณคา่ ของพืชผกั การไม่ ทำลาย ทกั ษะการส่ือสาร
สิ่งแวดล้อม - ใชภ้ าษาถา่ ยทอดความร้สู กึ ความคดิ ความเข้าใจและทศั นะของ ตนเอง
การเงิน การบรหิ ารจดั การ ด้วยการพูด การเขยี น ตามโจทย์ท่ีไดเ้ รียนรแู้ ตล่ ะสปั ดาห์
ทกั ษะการทำงานร่วมกัน
- การจัดการทรพยั ากรเก่ียวกบั การจดั หาวัสดอุ ุปกรณ์ ในการ - ทำงานร่วมกับผู้อื่นตามบทบาทหน้าที่ เคารพในความคิดเห็นที่
ประกอบอาหาร การหารายไดจ้ ากการขาย อาหาร การบนั ทกึ แตกตา่ ง และเป็นผูน้ ำหรอื ผูต้ าม ตามโจทย์หรอื บทบาทในแต่ละ สปั ดาห์
รายรับรายจ่ายผลกกำไร
ความเปน็ พลเมอื ง
- มีส่วนรว่ มในการดูแลสง่ิ ของเครื่องใช้ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ
สงิ่ แวดล้อม การทำงานรว่ มกัน

ขอขอบคณุ รปู แบบแผนการจัดการเรียนรู้ PBL ฐานสมรรถนะ ของโรงเรยี นลำปลายมาศพัฒนา

การเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้โดยกระบวนการเรียนรู้เชิงรุก [Active Learning]

Week Input Process Output Output

การเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้โดยกระบวนการเรยี นรู้เชงิ รกุ [Active Learning] Objective:สามารถรว่ มกันออกแบบวางแผนการเรียนรตู้ ลอด10สัปดาหแ์ ละนำไปใช้ได้ Com.
สามารถรว่ มกนั ออกแบบวางแผนทำปฏิทนิ
33 P0 สร้างฉนั ทะสร้างแรง บนั ดาลใจ ขั้นเตรียม Task(เพอ่ื ประเมนพิ ัฒนาและ การเรยี นรู้ ท่สี อดคล้องกนั ตลอด10สปั ดาห์
สามารถนำไปฏิบัตไิ ดจ้ ริง
- นกั เรียนจะตัง้ ชอื่ หนว่ ยการ เรียนรู้ ครแู จกภาพอาหารตา่ ง ๆ ให้ ผ้เู รยี น ตดั สิน) K.
น้วี า่ อะไร เพราะเหตใุ ด - นกั เรียน โดยแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน เลน่ เกม - ปฏิทินการเรียนรู้10 สัปดาห์ ชดุ ความรทู้ เ่ี ชอ่ื มกันอยู่ ของชุดความรูเ้ กีย่ วกบั
เขียนสงิ่ ทรี่ แู้ ล้ว ส่งิ ที่ อยากเรยี นรู้ใน แยกประเภท อาหาร เชน่ คาว- (อิงเกณฑ์ Rubric) อาหาร เชน่ ชนิด โครงสร้าง ปัจจัยการ
หน่วยนี้? หวาน/ อาหารจานเดียว-กับขา้ ว เจรญิ เติบโต การออกกาลงั กาย ปจั จัยการเกดิ
โรคภัย หรอื สารอาหาร เปน็ ตน้
P1 นักเรียนจะออกแบบ วางแผน อาหารเร่งดว่ น-อาหารจาน หลกั - สรุปบทเรยี นรายสัปดาหผ์ า่ น S.
ทำปฏทิ ินการเรียนรู้ ครถู าม “เพราะเหตุใดจึงแยก การ์ตนู ช่อง Short ทกั ษะการคดิ
ใหน้ า่ สนใจและเกดิ การเรียนรู้ ประเภทอาหารตามท่ีร่วมกนั note Web Mind Mapping คดิ Logical Thinking มีความสามารถในการคิด
รว่ มกนั อย่างไร วางแผน” เปน็ ระบบ คิดเชิงเชงิ ตรรกะ ออกแบบวางแผนทำ
หรือนทิ านประกอบภาพ กิจกรรมรว่ มกันได้
สือ่ : ขัน้ กิจกรรม คดิ Creative
1 - บรรยากาศภายในหอ้ งเรียน มคี วามคดิ รเิ ริม่ ในการออกแบบ สร้างสรรคป์ ฏิทนิ
- ผเู้ รียนแลกเปลี่ยน” “เพราะ เหตุ การ เรยี นรทู้ ี่นา่ สนใจ
ทักษะการสอ่ื สาร
(มมุ เมนูอาหาร) ใดจึงแยกประเภทอาหาร ตามที่ สามารถใช้ภาษาถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคิด
ความเข้าใจและทศั นะของตนเองด้วยการพดู
- ภาพอาหารชนดิ ตา่ ง ๆ ร่วมกันวางแผน” การเขยี นตามโจทยท์ ไ่ี ด้เรยี นรใู้ นสปั ดาหน์ ้ี

- ภาพโรคทีเ่ กยี่ วกับ สารอาหาร ” Share & Learn

- ผู้เรียนทำชน้ิ งาน วาดภาพ

เมนูอาหารท่ตี นเองช่นื ชอบ

(reflection)

ขั้นกจิ กรรม

- ครชู วนนักเรยี นเดินสำรวจ โรง

อาหาร

ขอขอบคุณรปู แบบแผนการจดั การเรียนรู้ PBL ฐานสมรรถนะ ของโรงเรยี นลำปลายมาศพัฒนา

การเขียนแผนการจดั การเรียนรโู้ ดยกระบวนการเรยี นรูเ้ ชิงรุก [Active Learning]

Week Input Process Output Output

การเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้โดยกระบวนการเรยี นรู้เชงิ รกุ [Active Learning] - ครตู ัง้ คำถาม “ผู้เรียนจะต้งั ช่ือ ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั
หน่วยการเรยี นรู้ น้อี ยา่ งไร เพราะ สามารถทำงานร่วมกับผอู้ ่ืนตามบทบาทหน้าท่ี
34 เหตุใดจงึ ใช้ช่อื นน้ั ” เคารพในความคิดเหน็ ทแี่ ตกตา่ ง และเปน็ ผู้นำ
- ผูเ้ รยี นตง้ั ช่อื หน่วยการเรยี นรู่ กนั หรอื ผ้ตู าม ตาม โจทย์หรอื บทบาทในสปั ดาห์นี้
รว่ มกนั ผา่ นเครือ่ งมอื Blackboard
Share ขนั้ กิจกรรม A.
- ครูถาม ผรู้ ียนอยากเรยี นรู้ เรอื่ ง
อะไรเกี่ยวกบั อาหาร - มี Attitude ทก่ี ระตือรือร้นตอ่ การเรียนรู้
- ผเู้ รยี นร่วมกนั สรุปและเขียน สงิ่ ท่ี - มี Passion ตอ่ การเรยี นรู้และการทำงาน
อยากเรยี นรู้ ผ่านชารต์ ความรู้ - มี Effort ต่อการเรยี นรกู้ ารทำงาน
(Feedback) - มีสตจิ ดจ่อ สามารถกำกบั ตนเองในการเรียนรู้
- ผ้เู รียนจะออกแบบางแผนทำ และทำกิจกรรม
ปฏิทินการเรยี นรใู้ ห้นา่ สนใจ และ
เกดิ การเรยี นรู้รว่ มกนั อยา่ งไร”
- ผเู้ รียน และครูนำเสนอ
แลกเปล่ยี นกิจกรรมและ รปู แบบ
ของการเรยี นรรู้ ว่ มกันผา่ นเครอ่ื งมอื
Show & Share - ผ้เู รยี นทำปฏทิ ิน
การเรียนรู้ ของห้องรว่ มกัน
(Feedback)
***Homework

ขอขอบคุณรูปแบบแผนการจัดการเรยี นรู้ PBL ฐานสมรรถนะ ของโรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา

การเขียนแผนการจดั การเรียนร้โู ดยกระบวนการเรียนรเู้ ชงิ รุก [Active Learning]

Week Input Process Output Output

การเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้โดยกระบวนการเรยี นรู้เชงิ รกุ [Active Learning] - ผูเ้ รียนเขียนสรุปองคค์ วามรู้ ก่อน
การเรยี นรู้ ผ่าน Mind Mapping
35 - ข้ันกิจกรรมครูใชค้ ำถามกระตุน้
การคิด
- ผู้เรยี นได้เรียนรอู้ ะไรใน สัปดาหน์ ้ี
มกี ระบวนการเรียนรอู้ ยา่ งไร
- ผูเ้ รยี นรู้สึกอยา่ งไรกับ กิจกรรมท่ี
ทำในสัปดาหน์ ี้
- ผู้เรยี นมีความรู้ความเข้าใจ ใหม่
ในสปั ดาหน์ มี้ อี ะไรบา้ ง
- ผู้เรียนเจอปญั หาอะไรและมี
วิธีการแก้ปัญหาอย่างไร
- ผูเ้ รยี นจะนำสิง่ ทีเ่ รียนรู้ ไปใช้ ใน
ชวี ติ ประจำวนั อย่างไร
- จะดีกวา่ น้ถี ้า...
- ผู้เรยี นสรปุ บทเรยี นราย สปั ดาห์
ผา่ น Web Mind Mapping Shot
note การ์ตนู ชอ่ ง หรอื นิทาน
ประกอบภาพ (Feedback)

ขอขอบคณุ รปู แบบแผนการจดั การเรียนรู้ PBL ฐานสมรรถนะ ของโรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา

ตวั อยา่ งเกณฑก์ ารประเมิน Rubric score

ขอขอบคุณรูปแบบแผนการจดั การเรยี นรู้ PBL ฐานสมรรถนะ ของโรงเรียนลำปลายมาศพฒั นา

การเขยี นแผนการจัดการเรยี นร้โู ดยกระบวนการเรียนรู้เชงิ รกุ [Active Learning]

36

ขอขอบคุณรปู แบบแผนการจัดการเรียนรู้ PBL ฐานสมรรถนะ ของโรงเรียนลำปลายมาศพฒั นา

การเขยี นแผนการจัดการเรียนรโู้ ดยกระบวนการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ [Active Learning]

37

ขอขอบคณุ รปู แบบแผนการจดั การเรียนรู้ PBL ฐานสมรรถนะ ของโรงเรยี นลำปลายมาศพฒั นา

การเขียนแผนการจัดการเรยี นร้โู ดยกระบวนการเรยี นรูเ้ ชิงรกุ [Active Learning]

38

ขอขอบคุณรปู แบบแผนการจัดการเรียนรู้ PBL ฐานสมรรถนะ ของโรงเรยี นลำปลายมาศพฒั นา

การเขียนแผนการจัดการเรียนรโู้ ดยกระบวนการเรียนรู้เชิงรกุ [Active Learning]

39

ขอขอบคุณรปู แบบการประเมนิ ผูเ้ รยี นแผนการจดั การเรียนรู้ PBL ฐานสมรรถนะ ของโรงเรยี นประเสริฐอิสลาม

การเขียนแผนการจัดการเรยี นรโู้ ดยกระบวนการเรียนรเู้ ชิงรกุ [Active Learning]

40

แบบตรวจสอบการจดั ทำหนว่ ยการเรียนรู้เชงิ รุก
คำช้แี จง : โปรดทำเคร่อื งหมาย / ลงในช่องทต่ี รงกับความคิดเหน็ ของท่าน
4 หมายถงึ ผลงานมคี ุณภาพในระดับ ดีมาก 3 หมายถงึ ผลงานมคี ุณภาพในระดบั ดี
2 หมายถึง ผลงานมีคุณภาพในระดับ พอใช้ 1 หมายถึง ผลงานมีคุณภาพในระดับ ปรบั ปรุง

ขอ้ ที่ รายการ ระดบั คุณภาพผลงาน
43 2 1
1 หน่วยการเรียนรู้ออกแบบได้ครอบคลมุ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ัด
2 ชื่อหนว่ ยการเรยี นรู้กะทดั รัด ชดั เจน ครอบคลมุ เนอ้ื หาสาระ
3 มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ชีว้ ัด/ผลการเรยี นร้มู ีการเชือ่ มโยง
4 ความสอดคลอ้ งของสาระสำคัญ กบั มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชวี้ ัดการ

เรยี นรู้
5 ความครอบคลมุ ของสาระสำคัญกับตัวชี้วดั /ผลการเรยี นรู้ท้ัง 8 กลมุ่ สาระ

การเรยี นรู้
6 ชนิ้ งาน/ภาระงานสอดคล้องกบั เปา้ หมายของหน่วยการเรยี นรู้
7 ความเหมาะสมของการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
8 ความเหมาะสมของส่ือ อปุ กรณ์ และแหลง่ เรียนรู้
9 กจิ กรรมการเรยี นรสู้ ามารถทำให้ผู้เรียนมีความรู้ ทกั ษะ/กระบวนการ

คณุ ลักษณะ และเน้นสมรรถนะสำคญั ท่ีหลักสตู รแกนกลางกำหนด
10 กจิ กรรมการเรยี นรู้ที่เปิดโอกาสใหผ้ ู้เรียนมีสว่ นรว่ มในการออกแบบองค์

ความรู้ การสรา้ งปฏิสัมพันธร์ ่วมกนั และร่วมมือกนั
11 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสรมิ การคดิ การแกป้ ัญหา การนำความรูไ้ ป

ประยกุ ตใ์ ช้เนน้ ทักษะการคดิ ขน้ั สูง
12 กจิ กรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ผู้เรียนมคี วามรบั ผิดชอบร่วมกัน
13 หนว่ ยการเรียนรจู้ ัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิธีการวดั และประเมินผลได้

ครอบคลุมเป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้
14 หนว่ ยการเรยี นรูจ้ ัดลำดับขน้ั ตอนการเรยี นรใู้ ห้บรรลเุ ปา้ หมาย
15 หนว่ ยการเรียนรู้สามารถนำไปจดั การเรียนร้ใู ห้กบั ผูเ้ รียนได้

รวมคะแนน/สรปุ ผลการตรวจสอบ
คะแนนเฉลีย่

การเขียนแผนการจัดการเรยี นรโู้ ดยกระบวนการเรียนรู้เชงิ รกุ [Active Learning]

41

แบบตรวจสอบแผนการจัดการเรยี นรเู้ ชิงรุก
คำช้แี จง : โปรดทำเครอื่ งหมาย / ลงในชอ่ งทต่ี รงกบั ความคดิ เหน็ ของท่าน
4 หมายถึง ผลงานมคี ณุ ภาพในระดับ ดมี าก 3 หมายถงึ ผลงานมคี ุณภาพในระดับ ดี
2 หมายถึง ผลงานมคี ณุ ภาพในระดับ พอใช้ 1 หมายถึง ผลงานมคี ณุ ภาพในระดับ ปรบั ปรุง

ขอ้ ที่ รายการ ระดบั คุณภาพผลงาน
43 2 1
1 แผนการจัดการเรียนรูส้ อดคลอ้ งสัมพันธ์กับหน่วยการเรียนรู้
2 แผนการจดั การเรยี นรู้มอี งคป์ ระกอบสำคัญครบถ้วนเชื่อมโยงกับหน่วยการ

เรยี นรู้
3 การเขยี นภูมหิ ลงั ของหนว่ ยน่าสนใจครอบคลุมเนื้อหา
4 ตัวชว้ี ดั /จดุ ประสงค์การเรียนรมู้ ีความชัดเจนครอบคลุมเนอื้ หา
5 การเรยี นรเู้ รียงลำดบั พฤตกิ รรมจากง่ายไปยาก
6 กิจกรรมการเรยี นรูส้ อดคลอ้ งกบั ตัวช้ีวัด/จดุ ประสงค์และเน้อื หา
7 กจิ กรรมการเรยี นร้มู คี วามหลากหลายและสามารถปฏิบัตไิ ด้จรงิ
8 กจิ กรรมการเรียนรเู้ ปน็ กิจกรรมท่ีสง่ เสริมกระบวนการคดิ ของผู้เรียน
9 กจิ กรรมเนน้ ใหผ้ ู้เรยี นเรียนร้จู ากการปฏิบตั จิ รงิ
10 กจิ กรรมการเรยี นรสู้ อดแทรกคุณธรรมและคา่ นิยมท่ีดี
11 กิจกรรมการเรียนรู้เปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนบูรณาการข้อมลู ข่าวสารสนเทศสู่

การสรา้ งความคิดรวบยอด
12 กิจกรรมการเรยี นรู้ให้ผู้เรยี นเปน็ ผู้ปฏิบตั ดิ ้วยตนเอง เช่ือมโยงประสบการณ์

เกิดการสร้างองคค์ วามรู้ และการสรปุ ทบทวนได้
13 กจิ กรรมการเรียนรสู้ ่งเสริมให้ได้ใช้ความรู้ ความคิด ในการสร้างชน้ิ งาน/

ภาระงาน
14 วัสดอุ ปุ กรณ์ สอ่ื และแหลง่ เรียนรูม้ คี วามหลากหลายเหมาะสม ผู้เรียนได้ใช้

สอ่ื และแหลง่ เรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง
15 มกี ารวัดและประเมินผลที่สอดคลอ้ งกับตัวช้วี ัด/ผลการเรียนรู้

รวมคะแนน/สรุปผลการตรวจสอบ
คะแนนเฉลี่ย

การเขียนแผนการจดั การเรียนร้โู ดยกระบวนการเรยี นร้เู ชงิ รกุ [Active Learning]

42

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช. 2551
หน่วยศกึ ษานเิ ทศก์

ทิศนา แขมมณี. (2561). สัมมนาอารมณ์ : เวทีแห่งเรอื่ งราวของการแก้ปญั หาและการพฒั นาตนเอง .
กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์แห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .

โรงเรียนลาปลายมาศพัฒนา. (2564). https://thepotential.org/knowledge/pbl-lamplaimat-
pattana-school/ ค้นหาเมือ่ วันท่ี 23 มกราคม 2564

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน. (2562). แนวทางการนิเทศเพอื่ พฒั นาและสง่ เสริมการ
จัดการเรียนร้เู ชงิ รกุ (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรยี นเพ่ิมเวลาร้.ู

_______.(2562).แนวทางการนเิ ทศบูรณาการโดยใชพ้ นื้ ที่เปนฐ็ านเพ่อื พฒั นาคุณภาพการศึกษาสู่.
การนิเทศ ภายในโรงเรียน โดยใช้หอ้ งเรยี นเปน็ ฐานเพ่ือพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน.

_______. (2562). หลักสตู รฝึกอบรมการนเิ ทศการจัดการเรียนร้เู ชิงรุก (Active Learning)
โดยกระบวนการ Coaching & Mentoring.

สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา.(2562). แนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรยี นระดับการศึกษา.
ข้นั พนื้ ฐาน: บริษทั 21 เซ็นจูรี่ จำกัด:พมิ พ์คร้งั ที่ 1 มถิ ุนายน 2562

Johnson, D.W. Johnson, R.T.& Holubec , E.J. ( 1994). The nuts and bolts of cooperative
learning .Edina, Minnesona : Interaction Book Company.

Joyce, B. & Weil , M. ( 1996). Model of teaching. (5 th ed.). London :

Michaelsen , L.K. , Arletta, B.K. & Dee , F. (2003). Team – based learning :
A transformative use of small group in collage teaching . Stering, VA. : Stylus
Publishing.

Michaelsen , S. & Michaelsen ,L.K. (2012). Team – based learning in the social science
and humanities : group work that works to generate critical thinking and
engagement. Stering, VA. : Stylus Publishing.

การเขยี นแผนการจดั การเรียนร้โู ดยกระบวนการเรยี นรู้เชิงรกุ [Active Learning]

43

นางสาววรรณวษิ า อารีวโรดม

ตำแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์ ชำนาญการ
สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษานนทบุรีเขต 2

ประวตั ิการศึกษา

• ระดบั ประถมศึกษาโรงเรยี นวดั ประดิษฐาราม
กรุงเทพมหานคร

• ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตัน โรงเรยี นวัดอนิ ทราราม กรุงเทพมหานคร
• ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นวัดอินทราราม กรุงเทพมหานคร

โปรแกรม วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
• ระดบั ปริญญาตรี คณะครุศาสตร์ เอกการศึกษาปฐมวยั ราชภฎั สวนดสุ ติ

กรงุ เทพมหานคร
• ระดับปรญิ ญาโท คณะครศุ าสตร์ เอกบรหิ ารการศกึ ษา

การเขยี นแผนการจัดการเรียนร้โู ดยกระบวนการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ [Active Learning]

44

การเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้โดยกระบวนการเรยี นร้เู ชิงรกุ [Active Learning]


Click to View FlipBook Version