ความรู้เก่ียวกบั ภาษอี ากร
ก
สารบัญ
เร่ือง หนา้
ความหมายของภาษีอากร ................................................................................................................................... 3
วตั ถปุ ระสงค์ในการเก็บภาษอี ากร ......................................................................................................................... 3
การจำแนกประเภทภาษีอากร............................................................................................................................... 3
ลักษณะภาษอี ากรทดี่ ี.......................................................................................................................................... 4
ภาษี ................................................................................................................................................................ 4
TAX (ภาษ)ี ........................................................................................................................................................ 5
VAT ................................................................................................................................................................. 5
ภาษที างตรง ..................................................................................................................................................... 5
ภาษที างอ้อม..................................................................................................................................................... 5
ประเภทภาษใี นประเทศไทย ................................................................................................................................. 5
1
ความหมายของภาษีอากร
ความหมายของภาษอี ากรแบ่งไดเ้ ปน็ 2 แนว คอื
แนวท่หี นง่ึ อธบิ ายว่า ภาษอี ากรคือสิ่งทีร่ ัฐบาลบงั คบั เก็บจากราษฏร และนำไปใช้เพื่อประโยชน์
สว่ นรวม โดยมิไดม้ ีส่งิ ตอบแทนโดยตรงแกผ่ ู้เสยี ภาษีอากร
แนวท่ีสอง อธิบายวา่ ภาษอี ากรคือเงินไดห้ รือทรพั ยากรทเี่ คล่ือนยา้ ยจากภาคเอกชนไปส่ภู าครฐั บาล
แต่ไม่รวมถงึ การกู้ยมื หรือขายสนิ ค้า หรือใหบ้ รกิ ารในราคาทุนโดยรัฐบาล
วตั ถุประสงค์ในการเก็บภาษีอากร
การเก็บภาษอี ากร นอกจากมวี ตั ถปุ ระสงค์ในการหารายไดเ้ พ่ือพอกบั คา่ ใช้จ่ายของรัฐบาลแลว้
ในปัจจบุ ันภาษีอากรยังเป็นเครอื่ งมือสำคัญของรฐั บาลในการกระจายรายได้ ส่งเสรมิ ความเจรญิ เตบิ โต
ธุรกจิ การค้า รกั ษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ช่วยควบคมุ การบริโภคของประชาชน หรอื เพ่ือสนองนโยบาย
บางประการของรฐั บาล (เช่น การศกึ ษา การสวัสดิการสังคม นโยบายประชากร) ดว้ ย
การจำแนกประเภทภาษีอากร
ภาษอี ากรซงึ่ เป็นแหล่งรายไดส้ ำคญั ของรฐั บาลนน้ั จำแนกได้หลายประเภท กฎหมายทใ่ี ห้อำนาจ
รัฐในการจัดเก็บภาษีอากรมหี ลายฉบบั และมหี นว่ ยงานของรัฐหลายหนว่ ยงานทำหนา้ ที่ควบคมุ และ
รบั ผดิ ชอบในการจดั เก็บภาษีอากรประเภทตา่ ง ๆ เหลา่ น้ี
การจำแนกภาษีอากรประเภทต่าง ๆ เพื่อจัดให้เป็นหมวดหม่นู ้นั ขน้ึ อยู่กบั วัตถปุ ระสงค์ในการจำแนก
และจำแนกได้หลายวธิ ี แตว่ ิธีที่ควรทราบคือการจำแนกประเภทภาษีอากร โดยพิจารณาจากลกั ษณะ
การรับภาษีอากร ซงึ่ แบ่งภาษีออกเปน็ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1) ภาษีทางตรง ได้แก่ ภาษที ี่ภาระภาษีตกแก่บุคคลท่ีกฎหมายประสงค์จะให้รับภาระ หรือกล่าว
อีกนัยหนง่ึ ผเู้ สยี ภาษีผลักภาระภาษีไปใหผ้ ูอ้ ื่นไดย้ าก เช่น ภาษเี งนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นติ ิ
บุคคล
2) ภาษที างอ้อม ได้แก่ ภาษที ภ่ี าระภาษีไมแ่ นว่ า่ จะตกแกบ่ คุ คลทก่ี ฎหมายประสงคจ์ ะให้รบั ภาระ
หรือไม่ หรอื กลา่ วอีกนัยหน่ึง ผูเ้ สยี ภาษผี ลักภาระภาษไี ปให้ผอู้ ื่นไดง้ ่าย เช่น ภาษีมลู ค่าเพ่มิ ภาษี
ธุรกจิ เฉพาะ ภาษีศุลการ ภาษีสรรพสามิต
2
ลักษณะภาษีอากรที่ดี
รฐั ธรรมนญู เกอื บทกุ ฉบับมกั บัญญัตใิ ห้ประชาชนมหี น้าท่ตี ้องเสยี ภาษีอากรตามท่ีกฎหมายบัญญตั ิ
ในการบญั ญตั ิกฎหมายภาษีอากรท่ดี ีนั้น มหี ลักการบางประการที่ควรคำนึงถึง เพื่อใหป้ ระชาชนมคี วาม
สมคั รใจในการเสยี ภาษีอากร และใหก้ ฎหมายดังกล่าวใชบ้ ังคับได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ภาษีอากรท่ีดี
ควรมลี ักษณะดังนี้
1) มคี วามเป็นธรรม ประชาชนควรมีหนา้ ทเี่ สียภาษอี ากรให้แกร่ ัฐบาล โดยพิจารณาถงึ ความสามารถ
ในการเสียภาษีอากรของประชาชนแต่ละคนประกอบกบั การพจิ ารณาถึงประโยชนท์ ี่ประชาชนแตล่ ะคน
ได้รบั เน่อื งจากดูแลคุ้มครองของรฐั บาล
2) ความแนน่ อนและชัดเจน ประชาชนสามารถเข้าใจความหมายไดโ้ ดยงา่ ยและเปน็ การปอ้ งกนั
มิใหเ้ จ้าพนักงานใช้อำนาจหน้าท่โี ดยมชิ อบ
3) มคี วามสะดวก วิธกี ารและกำหนดเวลาในการเสียภาษอี ากรควรตอ้ งคำนงึ ถึงความสะดวกของ
ผเู้ สียภาษอี ากร
4) มีประสทิ ธภิ าพ ประหยดั รายจ่ายทัง้ ของผู้จัดเก็บและผูม้ ีหน้าทเี่ สียภาษีอากร ทำให้จัดเก็บ
ภาษีอากรได้มากโดยมคี ่าใช้จา่ ยในการจัดเกบ็ น้อยทสี่ ดุ
5) มคี วามเปน็ กลางทางเศรษฐกจิ พยายามไมใ่ ห้การเก็บภาษีอากรมีผลกระทบตอ่ การทำงานของ
กลไกตลาด หรือมีผลกระทบน้อยที่สุด
6) อำนวยรายได้ สามารถจัดเกบ็ ภาษีอากรไดอ้ ยา่ งเป็นกอบเปน็ กำ มรี ายไดเ้ พียงพอตอ่ การใช้จา่ ย
เพ่อื ดำเนินกิจการตามหน้าทขี่ องรฐั บาล
7) มคี วามยืดหยุน่ สามารถปรบั ปรงุ เพมิ่ หรือลดจำนวนภาษีอากรให้เหมาะสมกับสถานการณ์ได้อยา่ ง
สะดวกและรวดเรว็
ภาษี
เงินหรือทรัพยส์ นิ ที่รัฐหรอื สถาบันทีป่ ฏบิ ัตหิ น้าทเ่ี ทยี บเทา่ รัฐเรียกเกบ็ จากราษฎร ซึง่ อาจเปน็ ได้ท้ังบุคคล
ธรรมดาและนิติบุคคล เพ่ือนำมาใช้ในการบริหารประเทศให้เจรญิ กา้ วหนา้ ทั้งทางเศรษฐกิจ การศึกษา สาธารณสุข
การคมนาคม การประชาสงเคราะห์ การป้องกนั ประเทศและรกั ษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ สร้าง
สาธารณปู โภค รวมไปถึงเงนิ เดือนของขา้ ราชการ ทหาร ตำรวจ ผทู้ ำหน้าท่บี รกิ ารประชาชน และใช้จา่ ยค่านำ้ ค่า
ไฟ ของสถานราชการต่าง ๆ เรียกได้วา่ การเรยี กเก็บภาษจี ากราษฎร เป็นเคร่อื งมือทางการคลงั ทส่ี ำคัญในการ
บรหิ ารประเทศ เพ่ือให้รัฐสามารถดำเนนิ การตามหน้าที่ทีม่ ีตอ่ ประชาชน ในการดแู ลความผาสุขของประชาชน
และ รกั ษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
3
TAX (ภาษี)
สิ่งท่รี ัฐบาลเรียกเก็บจากประชาชน เพอ่ื นำไปใชเ้ พ่ือประโยชน์ส่วนรวม โดยมิไดม้ ีส่งิ ตอบแทนโดยตรงแกผ่ ู้เสยี
ภาษอี ากร โดยแบง่ เป็นภาษที างตรง (ภาษที ี่ไม่สามารถผลกั ภาระให้ผอู้ ื่นได้) และภาษีทางออ้ ม (ภาษที ่ีสามารถผลัก
ภาระใหผ้ ู้อน่ื ได)้
VAT
กรมสรรพากรใหน้ ิยามของ VAT (Value Added Tax) หรือภาษีมลู ค่าเพ่มิ ว่าเปน็ การเก็บภาษีจากการ
ขายสนิ ค้า หรอื การใหบ้ รกิ ารในแตล่ ะขัน้ ตอนการผลิต และจำหน่ายสินค้าหรอื บริการ ทง้ั ที่ผลติ ภายในประเทศ
และนำเขา้ จากตา่ งประเทศ โดยจัดอยใู่ นภาษีทางออ้ ม
ภาษที างตรง
ภาษที เี่ รยี กเกบ็ จากรายได้และทรพั ย์สนิ ต่างๆของบุคคล หรือนติ บิ คุ คล โดยสว่ นใหญจ่ ะไม่สามารถผลกั ภาระ
ภาษีไปยังผู้อนื่ ได้ โดยท่วั ไปภาษีทางตรงได้แก่ ภาษเี งินได้บุคคลธรรมดา ภาษเี งนิ ไดน้ ติ ิบุคคล ภาษีป้าย ภาษี
โรงเรือน ภาษบี ำรงุ ท้องที่ ภาษีมรดก ภาษีทรัพยส์ นิ ตา่ งๆ โดยจะเรียกเก็บจากรายได้ หรือความม่ังคงั่ ของบุคคล
หรือนติ บิ ุคคลที่จดั เก็บ
ภาษที างอ้อม
ภาษที ่เี รียกเก็บจากผบู้ รโิ ภค เม่ือขายสินคา้ และบริการตา่ งๆ โดยเป็นภาษีท่ีสามารภผลกั ภาระทางภาษีทง้ั หมด
หรอื บางสว่ นไปยงั ผู้ซื้อหรือผู้บรโิ ภค เป็นผู้รบั ชำระภาษีอากรแทนผู้ขาย โดยท่วั ไปภาษีทางอ้อม ได้แก่
ภาษีมูลคา่ เพ่มิ ภาษีสรรพามิต ภาษีธุรกจิ เฉพาะ ภาษศี ุลกากร ภาษที างการค้า ค่าธรรมเนยี มอากรตา่ งๆ ที่จะเรยี ก
เก็บจากรายจา่ ยของบคุ คล โดยมิได้พจิ ารณาฐานะความมง่ั ค่ังของบุคคล หรอื นติ ิบุคคล นั้น
ประเภทภาษใี นประเทศไทย
ประมวลรษั ฎากรให้อำนาจกรมสรรพากร ในการจัดเก็บภาษี 5 ประเภทใหญ่ๆ คือ
1. ภาษีเงนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดา
2. ภาษเี งินไดน้ ติ บิ คุ คล
3. ภาษมี ลู ค่าเพ่ิม
4. ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ
5. อากรแสตมป์