The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัย อาภาพร 1173. เรื่องแนวทางผลการปฏิบัติงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อาภาพร หอมรื่น, 2021-03-30 16:51:05

วิจัย อาภาพร 1173. เรื่องแนวทางผลการปฏิบัติงาน

วิจัย อาภาพร 1173. เรื่องแนวทางผลการปฏิบัติงาน

รายงายการวจิ ยั
แนวทางผลการปฏิบัตงิ าน ของพนักงานบริษัทซฟี ู้ด จำกัด

อำเภอเมอื งสรุ าษฎรธ์ านี จังหวดั สุราษฎรธ์ านี

โดย
นาวสาวอาภาพร หอมร่ืน

รายงายการวจิ ยั
แนวทางผลการปฏิบัตงิ าน ของพนักงานบริษัทซฟี ู้ด จำกัด

อำเภอเมอื งสรุ าษฎรธ์ านี จังหวดั สุราษฎรธ์ านี

โดย
นาวสาวอาภาพร หอมร่ืน



บทคัดยอ่

การวิจยั ครงั้ นีม้ ีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือ 1) เพื่อศึกข้อมูลของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง
จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี 2) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานบรษิ ัทซีฟูด้ จำกดั อำเภอเมอื ง
สุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราฎร์ธานี 3) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบข้อมูลส่วนบุคคลกับประสิทธภาพการ
ทำงาน 4) เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนา ปรับปรุงแก้ไขประสิทธิภาพการทำงานของพนักงาน ได้แก่
เพศและระดับการศึกษา กลุ่มตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้มีจำนวน 66 คน เครื่องมือที่ใช้
ในการเกบ็ รงบรวมข้อมูลเปน็ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ

คำสำคัญ : แนวทางผลการปฏบิ ัติงาน



กิตติกรรมประกาศ

วิจัยฉบบั นี้สำเร็จสมบรู ณ์ด้วยดโี ดยได้รบั ความกรุณาจาก ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธนายุ ภูว่ ทิ ยา
ธรเป็นที่ปรึกษาวิจัยเล่มนี้ พร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะ ข้อพิจารณาในการแก้ไข จนทำให้วิจัยฉบับนี้
สมบูรณย์ ิ่งขึน้ ผวู้ ิจัยขอกราบพระคณุ ทุกท่านเป็นอยา่ งสงู ไว้ ณ โอกาสนี้

ผู้วิจัยขอขอบพระคุณ คณาจารย์สาขาวิชาการบริหารธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสรุ าษฎร์ธานี ทกุ ท่านทกี่ รุณาให้การอบรม ส่งั สอน มอบความรแู้ ละประสบการณ์
ที่ดงี ามมาตลอดหลักสตู ร

ขอขอบพระคุณทุกคนที่เป็นกัลยาณมิตรของผู้วิจัย ที่เป็นกำลังใจให้ตลอดเวลา คุณค่าและ
ประโยชนข์ องวิจยั ฉบบั น้ี ผวู้ ิจัยขอมอบใหแ้ ก่มารดา ครอบครัว ญาติมิตร และบูรพาจารย์ ทุก ๆ ท่าน
ทีไ่ ดอ้ บรม สั่งสอน ให้ความรู้ ใหก้ ารศึกษาด้วยดีตลอดมา ขอให้อานสิ งคจ์ งบันดาลให้ท่านผู้มีพระคุณ
ท่ีได้กล่าวนามมาแล้ว มีความสุข ความเจริญ ประสบความสำเร็จในการดำเนินชีวิต และก้าวหน้าใน
หน้าทกี่ ารงาน ตลอดไป

อาภาพร หอมร่ืน



สารบญั

เรือ่ ง
หน้า
บทคัดยอ่ ........................................................................................................................................... 3
กิตติกรรมประกาศ............................................................................................................................ 4
สารบัญ............................................................................................................................................. 5
สารบัญตาราง................................................................................................................................... 7
สารบญั ภาพ...................................................................................................................................... 8
บทท่ี 1 บทนำ................................................................................................................................... 9

ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา........................................................................................ 9
วัตถุประสงค์.................................................................................................................................. 2
ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะไดร้ บั ............................................................................................................ 2
กรอบแนวคิด................................................................................................................................. 3
สมมุตฐิ านการวิจยั ......................................................................................................................... 3
นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ .......................................................................................................................... 3
บทท่ี 2 เอกสารและงานทีเ่ กี่ยวข้อง................................................................................................. 4
บริบทของบรษิ ัทซฟี ้ดู .................................................................................................................. 4
แนวคดิ และทฤษฎขี องประสิทธภิ าพการทำงาน.......................................................................... 4

ความหมายของ ด้านระยะเวลาปฏิบัตงิ าน.............................................................................. 6
ความหมายของ ด้านคณุ ภาพของงาน .................................................................................... 6
ความหมายของ ดา้ นวธิ กี ารทีใ่ ช้ปฏิบัติงาน ............................................................................ 6
บทที่ 3 วิธีการดำเนนิ วจิ ยั .................................................................................................................. 8
ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง .......................................................................................................... 8



เคร่อื งมือท่ใี ชใ้ นงานวิจัย.............................................................................................................. 9
วธิ ีการตรวจสอบคณุ ภาพเครื่องมือ............................................................................................ 10
การเก็บรวบรวมข้อมูล ............................................................................................................... 10
สถิติทใ่ี ช้ในงานวจิ ัย.................................................................................................................... 11
บทที่ 4 สรปุ ผลการวจิ ยั ................................................................................................................. 12
บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล ข้อเสนอปแนะการวิจัย......................................................................... 18
สรุปผลการวิจัย ........................................................................................................................... 18
อภปิ รายผลการวิจัย .................................................................................................................... 19
ข้อเสนอแนะการวิจัย................................................................................................................... 19
บรรณานุกรม................................................................................................................................... 21
ภาคผนวก ก เครอ่ื งมอื ที่ใช้ในการวิจัย............................................................................................. 22
ภาคผนวก ข แบบสอบถาม แบบสอบถาม .................................................................................. 25
ภาคผนวก ค ตารางวเิ คราะห์ค่า IOC ของแบบทดสอบความเท่ียวตรงเชิงเนื้อหาของ
แบบสอบถาม ................................................................................................................................. 33
ภาคผนวก ง .................................................................................................................................... 34



สารบญั ตาราง

ตารางที่ 1ตารางสังเคราะหต์ ัวแปรประสิทธิภาพการทำงาน .............................................................. 5
ตารางท่ี 2การส่มุ ตัวอย่างแบบจบั ฉลาก............................................................................................. 8
ตารางที่ 3สุ่มตวั อย่างแบบอย่างง่ายโดยใช้วิธกี ารหยิบฉลาก.............................................................. 8
ตารางท่ี 4จำนวนและร้อยละของปจั จัยสว่ นบคุ คลของผู้ตอบแบบสอบถาม..................................... 12
ตารางท5ี่ คา่ เฉลยี่ และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานของระดับประสิทธภิ าพทำงาน ของพนักงานบรษิ ัท ซีฟดู้
จำกัด อำเภอเมืองสุราษฎรธ์ านี จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี..................................................................... 13
ตารางท่ี 6ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแนวทางผลการปฏิบัติงานด้านระยะเวลา
ปฏบิ ตั งิ านของพนักงานบรษิ ัทซฟี ู้ด จำกดั อำเภอเมอื ง จังหวัดสุราฎรธ์ านี....................................... 14
ตารางท7่ี ค่าเฉลย่ี และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานของแนวทางผลการปฏิบตั งิ านดา้ นคุณภาพของพนักงาน
บริษทั ซีฟดู้ จำกัด อำเภอเมือง จงั หวัดสุราฎร์ธานี ........................................................................... 15
ตารางท่ี8ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของแนวทางผลการปฏิบัติงานด้านวิธีการใช้ปฏิบัติของ
พนกั งานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมอื ง จงั หวดั สุราฎรธ์ านี ............................................................. 16
ตารางท9่ี การวเิ คราะห์เปรยี บเทียบสมถรรนะบคุ ลากรของพนกั งานของบริษทั ซีฟดู้ จำกัด อำเภอเมือง
จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี จำแนกตามเพ.................................................................................................. 17
ตารางที่ 10 การวิเคราะห์เปรียบเทียบความผูกพันองค์การของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอ
เมือง จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี จำแนกตามวฒุ กิ ารศกึ ษา........................................................................ 17



สารบัญภาพ

รูป 1กรอบแนวคดิ ...........................................................................................................................3

บทท่ี 1 บทนำ

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

ในปจั จุบันธรุ กิจมกี ารแขง่ ขนั ท่ีรุนแรง ประเทศไทยจำเป็นต้องพฒั นาประเทศทั้งมิติเศรษฐกิจ
สงั คมและการเมอื ง เพอ่ื เป็นประโยชน์สุขของคนไทยทกุ กลมุ่ อยา่ งสมดลุ ในขณะท่ปี ระชากรประเทศมี
ความแตกต่างทั้งเร่ืองความตอ้ งการ ความคาดหวัง ขีดความสามารถ จึงเป็นหน้าที่ของภาคราชการท่ี
ต้องดแู ลและใหบ้ รกิ ารอย่างเปน็ ธรรม ภารกิจเหล่านเ้ี ป็นงานยากและซบั ซ้อน ภาคราชการจงึ ต้องมีสร
รถนะสูง ดังน้ัน การยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการทำงานของระบบราชการให้อยู่ใน
ระดับสูงจึงเป็นเป้าหมายสำคัญของงานพัฒนาระบบราชการโดยเพิ่ มขีดสมรรถนะและเสริมสร้าง
ระบบราชการให้ทันโลกทันสมัย จึงได้มีการกำหนดพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหาร
กิจการบา้ นเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 เพื่อวัตถุประสงค์ในการเพิ่มขดี ความสามารถของถาคราชการโดยเน้น
การปรับระบบราชการสู่การบริหารเชิงยุทธศาสตร์ที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ และสามารถวัดผลงานได้อย่าง
น่าเชื่อถอื องค์กรท่ีประสบผลสำเรจ็ สว่ นใหญ่ จะตอ้ งมีประสิทธิภาพในการดำเนินงานสูง และองค์กรท่ี
มีระบบการบริหารจัดการดี จะทำให้องค์กรนั้นสามารถดำรงอยู่ไดใ้ นสภาวการณ์ในปัจจบุ ัน แต่การท่ี
จะทำให้องค์กรมีประสิทธิภาพในการดำเนินงานหรือการบริหารจัดการที่ดีนั้นต้องขึ้นอยู่กับปัจจัยทั้ง
ภายในและภายนอกองค์กรซึ่งปัจจัยสำคัญอย่างยิ่งต่อการบริหารจัดการองค์กรให้เกิดประสิทธิภาพ
และสง่ ผลต่อการดำเนนิ งานได้

ผลการปฎิบัติงาน (Job Performance) เป็นผลลัพธ์ของงานของงแต่ละบุคคลที่มี
ความสัมพันธ์กับหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลตรงตามวัตถุประสงค์และ
เป้าหมายขององคค์กรและยังเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการปฏิบัติงานของแต่ละบุคคล ซึ่งผลการ
ปฏิบัติงานถือเป็นระบบในการวัดและประเมินผลงานของบุคลากรเป็นเครื่องมือสำหรับผู้บริหารใน
การติดต่อสื่อสารกับบุคลากรขององค์กร การวัดผลการปฏิบัติงานเป็นตัวชี้วัดความสำเร็จหรือความ
ล้มเหลวในการปฏิบัติงานของบุคลากรซึ่งการประเมินดังกล่าวจะช่วยให้องค์กรทราบถึงผลการ
ปฏิบัตงิ านของบุคลากรในองคก์ รได้เป็นอย่างดี อีกทัง้ บุคลากรทไี่ ดเ้ ข้ามาส่รู ะบบขององค์กรนับแต่การ
คัดเลือกจนถึงการพัฒนาทักษะที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน ถือเป็นการลงทุนขององค์กรอย่าง
หนึ่งและการสูญเสียบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถขององคค์กรไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใด ย้อมเท่ากัง
องค์กรต้องสูญเสียต้นทุนที่มีค่าไป เครื่องมือในพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานว่ามีผลการปฏิบัติงาน
เปน็ อยา่ งไรนั้น จะตอ้ งอาศยั วิธีการวัดผลการปฏบิ ัตงิ านของบุคลากรให้ไดม้ ารตฐานการปฏิบตั ิ

2

ประกอบดว้ ย ปริมาณงาน ระยะเวลาปฏิบัติงาน คุณภาพของงาน และวธิ ีการท่ีใช้ปฏิบัติงาน
เมื่อองค์กรใดเล็งเห็นความสำคัญต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์แล้วนั้น ย่อมที่จะส่งผลให้การ
ปฏิบัติงานและผลการดำเนินงานประสบความสำเรจ็ ดังเปา้ หมายหรอื แผนปฏิบตั งิ านที่กำนดไว้

จากเหตุผลที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาวิจัยความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์กับผลการปฏิบัติงานของบุคลากรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน โดยมี
วตั ถุประสงค์เพ่ือทดสอบวา่ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์มีความสมั พันธ์กับผลการปฏิบัติงานหรือไม่ ซึ่ง
ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากบคุ ลากรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอีสานผลลพั ธ์ท่ีได้จากการวิจัย
สามารถนำไปเปน็ ข้อมูบในการสร้างกลยุทธ์ในการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลอีสานให้เป็นบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ มีทักษะใชวิชาชีพ เป็นข้อมูลในการกำหนด
กลยุทธ์และนโยบายในการดำเนินงาน อันจะก่อให้เกิดผลการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคล พร้อมนำมาพัฒน่องค์กรให้เจริญก้าวหน้าประสบความสำเร็จในการดำเนินงานของ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน พร้อมนำมาพัฒนาองคืกรให้เจริญก้าวหน้า ประสบ
ความสำเร็จในการดำเนินตามเปา้ หมายขององค์กร สังคม และประเทศชาตติ อ่ ไป

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพื่อศึกษาข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุ
ราษฎร์ธานี

2. เพื่อศึกษาคุณภาพปฎิบัติงานพนักงานซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมืองสุราษฎ์ธานี จังหวัดสุ
ราษฎรธ์ านี จังหวดั สุราษฎร์ธานี

3. เพือ่ ศกึ ษาเปรยี บเทียบข้อมูลส่วนบุคคลกบั คุณภาพการปฎิบตั ิงาน
4. เพอ่ื เปน็ แนวทางในการพัฒนา ปรบั ปรงุ แกไ้ ขคณุ ภาพปฎบิ ตั งิ านของพนักงานซีฟ้ดู จำกัด

ประโยชน์ท่คี าดว่าจะไดร้ ับ

1. ได้ทราบถึงข้อมูลสว่ นบุคคลของพนักงานซีฟู้ด จำกดั อำเภอเมืองสรุ าษฎร์ธานี จังหวังสุ
ราษฎรธ์ านี

2. แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพการปฎิบตั ิงานของพนกั งานซีฟูด้ จำกัด
3. ปรบั ปรงุ คณุ ภาพการปฎบิ ัติงานของพนักงานซีฟู้ด จำกัด
4. นำไปเผยแพร่ให้หน่วย/องค์กรอื่นๆ เพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุง พัฒนาคุณภาพการ

ปฎบิ ตั งิ านในแผนต่างๆ ของหน่วยงาน/องคก์ ร

กรอบแนวคดิ 3

รปู 1กรอบแนวคิด ประสทิ ธิภาพการทำงาน
- ดา้ นระยะเวลาปฏบิ ิตงาน
ขอ้ มลู ส่วนบคุ ล - ดา้ นคุณภาพของงาน
- เพศ - ด้านวธิ ีการใช้ปฏิบัติ
- ระดบั การศึกษา

สมมุตฐิ านการวจิ ัย

การพัฒนาทรพั ยกรมนษุ ย์ มีความสมั พันธ์และผลกระทบเชิงบวกกบั ผลการปฏิบัตงิ าน

นยิ ามศัพท์เฉพาะ

ประสิทธิภาพการทำงาน ศักยภาพในการปฏิยบัติงานของบุคคล หรือผลลัพธ์ของงานแต่ละ
บุคคลที่มีความสัมพันธ์กับหน้าที่ได้รับมอบหมาย มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตรงตามวัตถุประสงค์
และเป้าหมายขององคก์ ร และยังเก่ยี วข้องกับพฤติกรรมการปฏิบัติงานของแต่ละบุคคล

ประสิทธิภาพการทำงาน การปฏิบตั ิงานถือเป็นหัวใจของการนำไปสู่การบรรลุผลสำเร็จของ
การดำเนิน ซึ่งประสิทธิภาพการปฎิบัติงานได้นำแนวคิดที่กล่าวถึงเกี่ยวกับหลักในการทำงานให้มี
ประสิทธิภาพ

ประสิทธิภาพการทำงาน เป็นลักษณะสำคัญประการหนึ่ง ที่องค์การต้องปฏิบัติงานตาม
เป้าหมายที่กำหนดโดยที่ผลการปฏิบัติงานจะถูกนำมาตรวจสอบขีดความสามารถของพนักงานแต่ละ
คนในองคก์ ร สามารถปฏิบัตหิ น้าที่ของตนตามทอี่ งคก์ รคาดหวังได้ อยา่ งมีปรทิ ธภิ าพมากนอ้ งเพียงใด

ประสทิ ธภิ าพการทำงาน การทบ่ี คุ คลสามารถปฏิบตั ิตามหน้าที่ของตนได้บรรลเุ ป้าหมายของ
งานทวี่ างไว้ ประยุกต์จากแนวคิดเกณฑก์ ารวัดประสิทธิผลการทำงาน

ประสิทธิภาพการทำงาน การจัดการความรู้ของบุคคลเพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานสำหรับ
การคิดคน้ สิ่งใหม่ๆ หรอื ปรบั ปรุงของเกา่ ให้เหมาะสมกบั สภาพงานใหมโ่ ดยผ่านการทดลองหรือวิจัยจน
เกดิ ประสิทธภิ าพนา่ เช่อื ถอื ซง่ึ สามารถนำไปปฏิบัติไดใ้ นสถานการณ์จริง และเกดิ ประสิทธิภาพสูงสุด

4

บทที่ 2 เอกสารและงานท่เี กยี่ วข้อง

บรบิ ทของบรษิ ทั ซีฟู้ด

พนั ธกิจ (Mission)
1.มุ่งเน้นการบริการด้านโรงแรมและสปาด้วย ความทันสมัย โดดเด่น แปลกใหม่ อย่างมี เอกลักษณ์ที่
ยอดเยยี่ มทสี่ ุดในภาคใต้
2.มกี ารบรกิ ารทส่ี ะดวกสบาย และสรา้ งความ ประทบั ใจแก่ลูกค้าเป็นสำคญั
3.ดำเนนิ ธรุ กจิ ไปด้วยความซ่ือสตั ยม์ ีคุณธรรม จรยิ ธรรมตอ่ ลกู ค้าและธรุ กจิ
วสิ ยั ทัศน์ (Vision)
ผู้นำด้านโรงแรมและสปาในภาคใต้ ด้วยการ บริการที่เป็นเลิศใส่ใจลูกค้าเป็นสำคัญ และยึด มั่น
คณุ ธรรมจริยธรรมทางธุรกิจ

แนวคิดและทฤษฎีของประสิทธภิ าพการทำงาน

(ชนิดา พันธะ, 2558) หมายถึง ศักยภาพในการปฏิยบัติงานของบุคคล หรือผลลัพธ์ของงานแต่ละ
บุคคลที่มีความสัมพันธ์กับหน้าที่ได้รับมอบหมาย มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตรงตามวัตถุประสงค์
และเป้าหมายขององคก์ ร และยงั เกีย่ วข้องกับพฤตกิ รรมการปฏิบตั ิงานของแต่ละบุคคล
(ชีวนันท์ สุขุมาลจันทร์, 2555) หมายถึง การปฏิบัติงานถือเป็นหัวใจของการนำไปสู่การบรรลุผล
สำเร็จของการดำเนิน ซึ่งประสิทธิภาพการปฎิบัติงานได้นำแนวคิดที่กล่าวถึงเกี่ยวกับหลักในการ
ทำงานให้มปี ระสทิ ธภิ าพ
(ธีรนันท์ วัฒนาคานนท์, 2555) หมายถึง เป็นลักษณะสำคัญประการหน่ึง ที่องค์การต้องปฏิบัติงาน
ตามเป้าหมายท่กี ำหนดโดยที่ผลการปฏิบัตงิ านจะถูกนำมาตรวจสอบขีดความสามารถของพนักงานแต่
ละคนในองค์กร สามารถปฏิบัติหน้าที่ของตนตามที่องค์กรคาดหวังได้ อย่างมีปริทธิภาพมากน้อง
เพยี งใด
(พรพรรณ ทิพย์ธาตุภักดี, 2556)หมายถึง การที่บุคคลสามารถปฏิบัติตามหน้าที่ของตนได้บรรลุ
เปา้ หมายของงานทว่ี างไว้ ประยกุ ต์จากแนวคดิ เกณฑ์การวัดประสิทธิผลการทำงาน
(ไพรัช นุตไว, 2556) หมายถึง การจัดการความรู้ของบุคคลเพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานสำหรับการ
คดิ ค้นสงิ่ ใหม่ๆ หรือปรับปรุงของเก่าให้เหมาะสมกบั สภาพงานใหม่โดยผ่านการทดลองหรือวิจัยจนเกิด
ประสทิ ธิภาพนา่ เช่อื ถือ ซง่ึ สามารถนำไปปฏบิ ัติไดใ้ นสถานการณจ์ รงิ และเกดิ ประสทิ ธิภาพสูงสุด

ผู้วิจัยสามารถสรุปความหมายของคุณภาพการทำงาน หมายถึง การปฏิบัติงานที่มีคุณภาพ
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ความสามารถในการปฏิบัติงานให้สำเร็จตามระยะเวลาที่กำหนด

5

สามารถปฏิบัติตามหน้าที่ของตนได้บรรลุเป้าหมายของงานที่วางไว้โดยมีองค์ประกอบ 3 ด้าน ดังน้ี

ดา้ นระยะเวลาปฎบิ ัตงาน ดา้ นคณุ ภาพของงาน ด้านวธิ ีการที่ใช้ปฏิบตั ิ

ตารางที่ 1ตารางสังเคราะห์ตวั แปรประสิทธภิ าพการทำงาน

(ชนดิ า (ชีวนันท์ (ธรี นันท์ (พรพรรณ (ไพรชั นตุ ไว,

ลำดับ พนั ธะ, สุขุมาล วฒั นาคา ทพิ ย์ธาตุภกั ดี, 2556) ผ้วู ิจัย

2558) จันทร์, นนท์, 2555) 2556)

2555)

ด้านปริมาณงาน    
ด้านระยะเวลาปฎบิ ตั  

งาน

ดา้ นคณุ ภาพของงาน    

ด้านวธิ กี ารท่ใี ช้   
ปฏบิ ตั ิ
ด้านการทำงานต้อง 
เชอื่ ถอื ได้ 

ดา้ นผลงานได้ 
มาตรฐาน 
ดา้ นการคดิ 
สรา้ งสรรค์ 
ด้านการริเริม่ การ
ทดลอง
ด้านการศึกษาความ
เปน็ ไปได้

ด้านการนำไปปฏบิ ตั ิ

ดา้ นปริมาณผลงาน 

ดา้ นความตรงต่อ 
เวลาในการทำงาน

6

ความหมายของ ดา้ นระยะเวลาปฏบิ ตั งิ าน

(ชนิดา พนั ธะ, 2558) การปฏิบตั ิงานและการบริหารจดั การเวลาการทำงานให้ทันต่อเวลาท่ีกำหนด
ปฏบิ ัติงานถกู ต้องภายในเวลาท่จี ำกดั เป็นการวัดผลตามเป้าหมายหรือทนั ตามข้อตกลงกันไวอ้ ยา่ งมี
ประสิทธิภาพ และนอกจากนี้ สามารถผลกั ดนั ใหเ้ พือ่ ร่วมงาน
มคี วามกระตือรอื ร้นในการทำงานเพ่ือใหแ้ ล้วเสรจ็ ทันเวลา
(ชวี นันท์ สุขุมาลจันทร์, 2555)การที่พนักงานสามารถปฏบิ ัติงานท่ีไดร้ ับมอบหมายให้สำเร็จลลุ ่วงตาม
ระยะเวลาหรอื มารตฐานท่ตี ัง้ ไว้
(ธีรนันท์ วัฒนาคานนท์, 2555)การใช้เวลาในการปฏิบัติงาน ความเร็วต่อเวลาที่กำหนด ความทันต่อ
เวลา และเปน็ การวดั ผลตามเปา้ หมายหรือตกลงกันไว้
ผู้วิจัย ให้ความหมายว่า การปฏิบัติงานและการบรหิ ารจัดการเวลาการทำงานให้ทันต่อเวลาทีก่ ำหนด
เป็นการวัดผลตามเปา้ หมายหรือทันตามข้อตกลง ผลักดันใหม้ ีความกระตอื รือร้นในการทำงานเพื่อให้
เสรจ็ ทันเวลา

ความหมายของ ด้านคณุ ภาพของงาน

(ชนิดา พันธะ, 2558)ผลงานที่มีความถูกต้อง เชื่อถือได้ ตรงตามระเบียบกฏเกณฑ์ ข้อบังคับ ความ
ต่อเนื่องของงาน ความมีประสิทธิภาพในการทำงาน ความละเอียดละออ และ ความประณีตหรือ
อาจจะวัดจากความถูกต้องของงานต่อความผิดพลาด จำนวนของความผิดพลากที่เกิดขึ้นเพื่อแก้ไข
ขอ้ บกพรอ่ งของงานท่ีเกดิ ขนึ้
(ธีรนันท์ วัฒนาคานนท์, 2555)ความสามารถของงานท่ีปฏิบัตินั้นโดยคำนึงถึงความครบถ้วน ประณีต
ถูกต้องเชอื่ ถอื ได้ จำนวนความผิดพลาดทเ่ี กดิ ข้นึ ประหยัดทง้ั เวลาและทรัพยากร
(พรพรรณ ทพิ ย์ธาตภุ กั ด,ี 2556)ความถกู ต้อง ประณตี และความเรยี บร้อยของงาน
ผู้วิจัยให้ความหมายว่า ผลงานที่มีความถูกต้อง ตรงตามระเบียบกฏเกณฑ์ ข้อบังคับ ความต่อเนื่อง
ของงาน ความมีประสทิ ธิภาพในการทำงานโดยคำนงึ ถึงความครบถว้ น ถกู ตอ้ งเชือ่ ถอื ได้

ความหมายของ ดา้ นวธิ ีการท่ีใชป้ ฏิบัตงิ าน

(ชนิดา พันธะ, 2558)ขั้นตอนการทำงานให้เกิดประสิทธิภาพโดยพิจารณาจากสร้างขั้นตอนและ
เทคนิคการทำงานใหม่ๆ การบริหารงานละพัฒนาวิธีการปฏิบัติงานโดยการลดขั้นตอนการทำงานที่
ซ้ำซ้อนจากการฝึกฝน จนสามารถสร้างคณุ ค่าให้ผลงานได้ เลอื กใชว้ ิธีการปฏบิ ัตงิ านได้อย่างเหมาะสม

7

กับงาน ละเงื่อนไขในแต่ละงาน หรือปรับวิธีการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพเมอ่ื
สถานที่การณเ์ ปลยี่ นแปลงไป
(ธีรนันท์ วัฒนาคานนท์, 2555)คณะ วิธีการทำงานให้เสร็จ การปฏิบัติโดยการใช้บุคลิกหรือ
ลักษณะเฉพาะอยา่ ง การใช้นำ้ เสียง ทา่ ทาง การติดตามด้วยกริยาทเี่ หมาะสมต่อผบู้ ังคับบัญชารวมท้ัง
เพื่อนร่วมงาน
ผู้วิจัยให้ความหมายว่า ทำงานให้เกิดประสิทธิภาพโดยพิจารณาจากสร้างขั้นตอนและเทคนิคการ
ทำงานใหมๆ่ พฒั นาวิธกี ารปฏบิ ตั ิงานได้อยา่ งเหมาะสม สามารถสร้างคุณค่าใหผ้ ลงานได้

8

บทท่ี 3 วธิ ีการดำเนินวจิ ัย

ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง

ประชากร คอื พนกั งานบริษทั ซีฟดู้ จำกดั อำเภอเมอื ง จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี จำนวน 67 คน

กลมุ่ ตัวอยา่ ง ขนาดกลุ่มตัวอยา่ งโดยใชต้ าราง Krejci Morgan จำนวน 59 คน

วิธกี ารสุ่มตวั อยา่ ง

ขัน้ ตอนที่ 1 ใช้การสุ่มตวั อย่างแบบสดั สว่ น

ตารางท่ี 2 การสุ่มตวั อย่างแบบจบั ฉลาก ประชากร กลุ่มตวั อยา่ ง
สาขา 32 30
A 34 29
B 66 59
รวม

ข้ันตอนที่ 2 ใชก้ ารสมุ่ ตัวอย่างแบบอย่างงานโดยใช้วธิ กี ารหยิบฉลาก

ตารางท่ี 3สุ่มตวั อย่างแบบอยา่ งง่ายโดยใชว้ ธิ ีการหยบิ ฉลาก

สาขา A สาขา B

1.นางสาวประภัสสร ไตรมาศ 1.นางสาวอนดั ดา เพรชคง

2.นางสาวนชุ นาถ ทองสมั ฤทธิ์ 2.นางสาวจารุวรรณ ถวัลธรรม

3.นายกรณด์ นยั ไชยพยันต์ 3.นายเจษฎา สมบรู ณ์

4.นางสาวรมณี โรมนิ ทร์ 4.นางสาวศิริรัตน์ ทองออ่ น

5.นางสาววรรณกานต์ หวานทอง 5.นางสาวกติ ตวิ รา นุ่นชูผล

6.นางสาวจิติมา ตนั สกลุ 6.นางสาวศศิธร ฉมิ รกั

7.นางสาวนฎา เล่ยี นเซง่ 7.นางสาวศศินา เสืออนิ โท

8.นางสาวจันทิมา คำเอียด 8.นางสาวรวงขา้ ว สุดตา

9.นางสาวณัฐรจุ ี แซ่ลมิ้ 9.นายณัฏนนั ท์ เขาทอง

10.นางสาวลดาภรณ์ ชูปนั 10.นางสาวดวงกมล ภมู่ ณี

11.นางสาวทิพทิวา มากจติ 11.นางสาวพรพิมล ทองปรุง

12.นางสาวภาสนิ ี เกษีสม 12.นางสาวอมราวดี วิโรจน์

13.นางสาวศิรนิ ญา คงมาก 13.นางสาวอาภาพร ชนม์ทวี

14.นางสาวเกศรา แกว้ เกดิ 14.นางสาวจริยา เตียซิว

15.นางสาวรัชชิดา เจริญแพทย์ 15.นางสาวจฑุ ารัตน์ ถึงเสียบญวน

9

สาขา A สาขา B
16.นางสาวรัตนาพร ศรประดิษฐ 16.นางสาวเบญมาศ อาจหาญ
17.นางสาววิภารัตน์ เพ็งสวสั ด์ิ 17.นางสาวกาญจนา บตุ รเลย่ี ม
18.นางสาวกนกกาญจน์ นุน่ แก้ว 18.นางสาวอาภาพร หอมร่นื
19.นางสาวกนกวรรณ เรอื งวิเศษ 19.นางสาวอนันดา เรอื งแท้
20.นางสาวพรศริ ิ พลจรสั 20.นางสาวธนภรณ์ สุวรรณมณี
21.นางสาวกชามาส ทองเสมยี น 21.นางสาวณฐั ทริกา ทวชิ ศรี
22.นางสาวสชุ านนั ท์ ชาวชีลอง 22.นางสาวสุรยิ าพร กรยุ ะ
23.นางสาวสจุ ินันท์ พษิ ครฑุ 23.นางสาวอญั ชรียา พลับแก้ว
24.นางสาวรัชฎาภรณ์ บวั อินทร์ 24.นายอาทิตย์ ศิรลิ าภา
25.นางสาวณิชากร เจรญิ รักษ์ 25.นางสาวณฐั ภรณ์ มณเฑียร
26.นายพงศธ์ ร ยวุ บุตร 26.นายณฐพณ ทองรักทอง
27.นางสาวณชิ ากร มณรี ตั น์ 27.นายสหัสวรรษ ศรีสัสด์ิ
28.นางสาววลิ าวรรณ ทองพรมดี 28.นางสาวเกตุนภา สขุ ขวด
29.นางสาวนนั ทยิ า นุ่มนวล 29.นายจริ วัฒน์ ธรรมนาวาศ
30.นายนฐั พล ลิม้ สวุ รรณ

เครือ่ งมือท่ใี ชใ้ นงานวจิ ยั

เครื่องมอื การวจิ ัยครัง้ น้ี คอื แบบสอบถาม มีจำนวน 2 ตอน ไดแ้ ก่
ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วย เพศ และระดับการศึกษา
โดยใช้ระดบั การวดั ขอ้ มูลแบบตรวจสอบรายการ (Check - List)
ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับการวัดระดับองค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์ต่างๆ
ประกอบดว้ ยประสิทธภิ าพการทำงาน จำนวน 10 ขอ้ ลักษะเปน็ แบบมาตราส่วนประมาณคา่ (Rating
scale) เป็นการวดั ความคดิ เหน็ 5 ตัวเลอื ก ตามวธิ ีของลิเคริ ์ท (Likert) ดงั น้ี
ระดับคะแนน 5 หมายถงึ มากท่ีสดุ
ระดับคะแนน 4 หมายถึง มาก
ระดบั คะแนน 3 หมายถึง ปานกลาง
ระดบั คะแนน 2 หมายถงึ น้อย
ระดบั คะแนน 1 หมายถึง น้อยที่สุด

10

ประกอยด้วย ด้านระยะเวลาปฏิบัติงาน ด้านคณุ ภาพของงานและด้านวธิ ีการที่ใช้ปฏิบตั ิ โดน
นำคะแนนที่ได้กำหนดเกณฑ์การแปลความหมายข้อมูลของประสิทธิภาพการทำงาน เพื่อจัดระดับ
ค่าเฉลีย่ โดยกำหนดคะแนน ดังน้ี

คา่ เฉล่ีย 4.50 - 5.00 หมายถงึ ระดับความไวว้ างใจมากทสี่ ดุ
คา่ เฉลี่ย 3.50 - 4.49 หมายถงึ ระดบั ความไว้วางใจมาก
คา่ เฉลี่ย 2.50 - 3.49 หมายถงึ ระดบั ความไว้วางใจปานกลาง
ค่าเฉลี่ย 1.50 - 2.49 หมายถงึ ระดับความไว้วางใจนอ้ ย
คา่ เฉลีย่ 1.00 - 1.49 หมายถงึ ระดบั ความไว้วางใจน้อยท่ีสุด

วธิ ีการตรวจสอบคณุ ภาพเครอ่ื งมอื

1. สร้างแบบสอบถามและนำเสนอคณะกรรมการที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระและผู้เชี่ยวชาญ
จำนวน 3 คน

1. นางสาวกติ ตวิ รา นุ่นชผู ล
2. นายพงศธ์ ร ยุวบุตร
3. นางสาวกิตตยิ า แสงศรี
เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหา ความสมบูรณ์ถูกต้องของเนื้อหาและการใช้ภาษา นำ
แบบสอบถามมาปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ
2. นำแบบสอบถามที่ได้ปรับปรุงแก้ไขแล้ว ไปทดล องใช้กับพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด
จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 59 คนเพื่อหาค่าความเชื่อมั้น (Reliability) ของแบบสอบถาม โดยวิธี
สัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha - Coefficient) ตามวิธีของครอนบาค โดยถ้าค่าความเชื่อมั่นได้เท่ากับ
หรือมากกว่า 0.7 ซึ่งถือว่าแบบสอบถามมีระดับความเช่ือมั่นได้ ซึ่งในการวิจัยคร้ังน้ีประสิทธภิ าพการ
ทำงาน ได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.979 และค่าอำนาจจำแนกรายข้อ
อยทู่ ร่ี ะหว่าง.885-.860

การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

วิธีการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ดงั น้ี
1. ทำแบบสอยถาม
2.ทดสอบคุณภาพเครอื่ งมือ โดยผู้เช่ียวชาญ
3. สง่ แบบสอบถามให้กลมุ่ ดว้ ยตัวอย่างโดยใช้ Google Forms
4. นำขอ้ มลู มาวเิ คราะห์และสรุปผล

11

สถติ ิทใี่ ช้ในงานวิจยั

1. ขอ้ มูลสว่ นบุคคลโดยใช้สถิติความถ่แี ละรอ้ ยละ
2. คุณภาพการปฏิบัตงิ านใชส้ ถิติความถี่ รอ้ ยละ คา่ เฉลย่ี และคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน3. ข้อมูล
3. ส่วนบคุ คลด้านเพศกบั คณุ ภาพการปฏิบตั งานใชส้ ถิติ Independent Sampies T Test
4. ข้อมูลส่วนตัวด้านรัดับการศึกษากับการปฏิบัติงานใช้สถิติ One way ANOVA
และ Pest hoc

12

บทที่ 4 สรปุ ผลการวจิ ยั

การศึกษาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวังสุราษฎร์ธานี
โดยแบ่งการวิเคราะหข์ ้อมลู เป็น 4 ข้ันตอน ดังน้ี

1. ขอ้ มูลสว่ นบุคคลโดยใชส้ ถิตคิ วามถี่และร้อยละ
2. แนวทางผลการปฏบิ ัตงิ านโดยใชส้ ถิติความถี่ ร้อยละ คา่ เฉลีย่ และค่าเบยี่ งเบนมาตรฐาน
3. ข้อมูลส่วนบุคคลด้านเพศกับแนวทางผลการปฏิบัติงานโดยใช้สถิติ Independent
Sampies T Test
4. ข้อมูลส่วนตัวด้านวุฒิการศึกษากับแนวทางผลการปฏิบัติงานโดยใช่สถิติ One way
ANOVA และ Pest hoc

การเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล

เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ตามลำดบั ดงั นี้

ตอนท่ี 1 การวิเคราะห์ขอ้ มูลปัจจยั ส่วนบคุ คลของพนักงานบริษัทซีฟูด้ จำกัด อำเภอเมือง

จังหวดั สุราษฎรธ์ านี

การวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคลบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ประกอบด้วย เพศและวุฒิการศกึ ษา โดยการแจกแจงความถ่(ี frequency) และรอ้ ยละ (Percentage)

แสดงผลการวิเคราะหด์ ้วยตารางท่ี 4

ตารางที่ 4 จำนวนและรอ้ ยละของปจั จัยสว่ นบคุ คลของผู้ตอบแบบสอบถาม

ปจั จัยส่วนบคุ คล จำนวน(N=59) รอ้ ยละ

เพศ

ชาย 9 16.9

หญิง 50 83.1

ระดบั การศึกษา

ตำ่ กว่าปริญญาตรี 0 0

ปรญิ ญาตรี 59 100

สูงกว่าปริญญาตรี 0 0

13

จากตารางที่ 4 ผลการศกึ ษาข้อมูลปัจจยั สว่ ยบุคคลพบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญ่เป็นเพศหญิง
จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 83.1 รองลงมาเพศชาย จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 16.9 และ
วฒุ ิการศึกษาสว่ นใหญ่เป็นปริญญาตรี จำนวน 59 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100

ตอนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูลความผูกพันต่อองค์กรการปฏิบัติงานของพนังงานบริษัท
ซีฟูด้ จำกัด อำเภเมอื ง จงั หวัดสุราษฎร์ธานี

การวิเคราะห์ข้อมูลระดับประสิทธิภาพการทำงาน ของพนักงานบริษัท ซีฟู้ด จำกัด อำเภอ
เมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยหาค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(Standard Deviation : S.D.) แสดงผลการวิเคราะหด์ งั ตาราง 5

ตารางที่ 5 คา่ เฉลีย่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแนวทางผลการปฏิบัติงาน ของพนักงาน
บริษทั ซีฟูด้ จำกัด อำเภอเมอื งสุราษฎร์ธานี จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี

ประสทิ ธิภาพการทำงาน ระดับความไว้วางใจ

S.D. แปลผล

1. ดา้ นระยะเวลาปฏบิ ัตงิ าน 4.62 0.48 มากที่สุด

2. ดา้ นคณุ ภาพของงาน 4.75 0.44 มากทส่ี ดุ

3. ด้านวธิ กี ารใชป้ ฏิบัติ 4.80 0.41 มากที่สดุ

รวม 4.72 0.44 มากทีส่ ุด

จากตารางที่ 5 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแนวทางผลการปฏิบัติงานของ

พนกั งานบรษิ ทั ซีฟดู้ จำกดั อำเภอเมอื ง จงั หวัดสุราษฎร์ธานี ดา้ นองค์ปแนวทางผลการปฏิบตั ิงานของ

พนกั งาน โดยภาพรวม พบว่า อยูใ่ นระดับ มากท่ีสุด เมื่อพจิ ารณารายด้าน พบวา่ อยใู่ นระดบั มากที่สุด

จำนวน 3 ด้าน เรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านวิธีการใช้ปฏิบัติ ค่าฌฉลี่ยโดยรวม คือ

4.80 ดา้ นคุณภาพของงาน คา่ เฉลีย่ โดยรวม คือ 4.75 และด้านระยะเวลาปฏิบตั งาน ค่าเฉล่ียโดยรวม

คือ 4.62

14

ตารางที่ 6 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแนวทางผลการปฏิบัติงานด้านระยะเวลา

ปฏบิ ัตงิ านของพนักงานบรษิ ทั ซีฟดู้ จำกัด อำเภอเมอื ง จงั หวัดสุราฎรธ์ านี

ดา้ นระยะเวลาปฏบิ ัติงาน ระดับความไว้วางใจ

1. ท่านสามารถทำงานตามหน้าท่ี S.D. แปลผล
4.69 0.46 มากทีส่ ุด

ในการปฏิบตั งิ านได้

2. ท่านสามารถทำงานตามเวลาท่ี 4.64 0.48 มากทสี่ ดุ

กำหนด

3. ท ่ า น ส า ม า ร ถ ท ำ ง า น ต า ม 4.64 0.48 มากทส่ี ดุ

เปา้ หมายที่องคก์ รกำหนดไว้ได้

4. ท ่ า น ส า ม า ร ถ ม ี ค ว า ม 4.51 0.50 มากท่ีสุด

กระตอื รอื ร้นในการทำงาน

รวม 4.62 0.48 มากท่สี ุด

จากตารางที่ 6 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความสำเร็จในการทำงานของ

พนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ด้านองค์ประกอบความสำเร็จในการ

ทำงาน มนุษย์ของพนักงาน โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้านอยู่ใน

ระดับมากที่สุด จำนวน 4 ด้าน เรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ท่านสามารถทำงานตาม

หน้าทีใ่ นการปฏิบตั งิ านได้ ท่านสามารถทำงานตามเวลาท่ีกำหนด ทา่ นสามารถทำงานตามเปา้ หมายที่

องค์กรกำหนดไว้ได้และท่านสามารถมีความกระตือรือร้นในการทำงาน

15

ตารางที่ 7 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแนวทางผลการปฏิบัติงานด้านคุณภาพของ

พนักงานบรษิ ทั ซีฟู้ด จำกดั อำเภอเมือง จงั หวดั สรุ าฎรธ์ านี

ด้านคุณภาพของงาน ระดบั ความไวว้ างใจ

S.D. แปลผล

1. ท่านสามารถทำงานตามหน้าที่ได้ 4.81 0.39 มากท่สี ุด
โดยผลงงานที่มคี วามถกู ต้อง

2. ท่านสามารถทำงานตามหน้าที่ได้ 4.73 0.45 มากทสี่ ุด
โดยมปี ระสทิ ธภิ าพในการทำงาน

3. ท่านสามารถทำงานตามหน้าที่ได้

โ ด ย ค ำ น ึ ง ถึ ง ค ว า ม ค ร บ ถ ้ ว น 4.69 0.46 มากท่ีสดุ
ถูกตอ้ งเช่อื ถอื ได้

รวม 4.74 0.58 มากที่สดุ

จากตารางที่ 7 ค่าเฉลีย่ และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความสำเร็จในการทำงานของ
พนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ด้านองค์ประกอบความสำเร็จในการ
ทำงาน มนุษย์ของพนักงาน โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้าน อยู่ใน
ระดับมากที่สุด จำนวน 3 ด้าน เรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ท่านสามารถทำงานตาม
หน้าที่ได้โดยผลงงานที่มีความถูกต้องท่านสามารถทำงานตามหน้าที่ได้โดยมีประสิทธิภาพในการ
ทำงานและท่านสามารถทำงานตามหน้าที่ได้ โดยคำนงึ ถงึ ความครบถว้ นถูกตอ้ งเชือ่ ถอื ได้

16

ตารางที่ 8 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแนวทางผลการปฏิบัติงานด้านวิธีการใช้ปฏิบัติ

ของพนักงานบรษิ ัทซฟี ้ดู จำกดั อำเภอเมอื ง จังหวัดสรุ าฎรธ์ านี

ด้านวธิ กี ารใชป้ ฏิบัติ ระดบั ความไวว้ างใจ

S.D. แปลผล

1. ท่านสามารถทำงานตามหน้าท่ี 4.81 0.39 มากที่สดุ
และมีเทคนิคการทำงานใหม่ๆ

2. ท่านสามารถทำงานตามหน้าที่ได้ 4.73 0.45 มากทส่ี ดุ
โดยมปี ระสิทธภิ าพในการทำงาน

3. ท่านสามารถทำงานตามหน้าที่ได้

โดยคำนึงถึงความครบถ้วน 4.69 0.46 มากท่ีสดุ
ถูกต้องเชอื่ ถือได้

รวม 4.74 0.43 มากทสี่ ุด

จากตารางที่ 8 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความสำเร็จในการทำงานของพนักงาน
บริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ด้านองค์ประกอบความสำเร็จในการทำงาน
มนษุ ยข์ องพนักงาน โดยภาพรวม พบวา่ อย่ใู นระดับ มากทีส่ ุด เม่ือพจิ ารณารายด้าน อยู่ในระดับมาก
ที่สุด จำนวน 3 ด้าน เรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ท่านสามารถทำงานตามหน้าที่และมี
เทคนิคการทำงานใหม่ๆ ท่านสามารถทำงานตามหน้าที่ได้โดยมีประสิทธิภาพในการทำงานและท่าน
สามารถทำงานตามหนา้ ทไี่ ดโ้ ดยคำนงึ ถงึ ความครบถ้วนถกู ต้องเชื่อถือได้

17

ตารางที่ 9การวิเคราะห์เปรียบเทียบสมถรรนะบุคลากรของพนักงานของบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอ

เมอื ง จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี จำแนกตามเพศ

( N=59 )

เพศ n S.D. t p-value

ชาย 10 4.66 0.39 -0.727 57

หญิง 49 4.73 0.24

*มนี ยั สำคญั ทางสถิติท่รี ะดับ 0.05

จากตารางที่ 4.6 แสดงให้เห็นว่า ความสำเร็จในการทำงานของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด

อำเภอเมอื ง จงั หวัดสุราษฎร์ธานี ในภาพรวม มคี ่า Sig. เท่ากบั 57 ซง่ึ มากกว่าระดับนยั สำคัญทางสถิติ

ที่ระดับ 0.05 หมายความว่า เพศที่แตกต่างกันทำให้ไม่แตกต่างในการทำงาน โดยภาพรวมของ

พนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี แตกต่างกันและเป็นไปตามสมมติฐาน

การวิจยั ทีต่ ั้งไว้

ตารางที่ 10 การวิเคราะห์เปรียบเทียบความผูกพันองค์การของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอ

เมอื ง จังหวดั สุราษฎร์ธานี จำแนกตามวฒุ ิการศกึ ษา

ความสำเร็จในการ แหล่งความ SS df MS F P- value

ทำงาน แปรปรวน

ระหวา่ งกลมุ่ .040 1 .040 .528 .470

ภาพรวม ภายในกล่มุ 4.352 57 .076

รวม 4.393 58

*มนี ยั สำคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดบั 0.05

แสดงผลการทดสอบความแตกต่างโดยใช้สถิติ One-way ANOVA ด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวน

ทางเดียว ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ระหว่างระดับการศึกษากับความสำเร็จในการทำงานของพนักงาน

บริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยเลือกลุ่มตัวอย่างมา 3 กลุ่มตามระดับ

การศึกษา ปริญญาตรี 59 คน ในด้านภาพรวมพบว่า มีค่า Sig. เท่ากับ 0.470 ซึ่งมากกว่า 0.05

สรุปผลการทดลองได้ว่าระดับการศึกษาที่ไม่แตกต่างกัน ทำให้ความสำเร็จในการทำงานพนักงาน

บริษทั ซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี แตกต่างกัน เปน็ ไปตามสมมติฐานการวจิ ัยท่ตี ง้ั ไว้

18

บทท่ี 5 สรปุ อภิปรายผล ขอ้ เสนอปแนะการวจิ ยั

การศึกษาวิจัยเรื่องแนวทางผลการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง
จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อศึกษาข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด
อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2) เพื่อศึกษาคุณภาพการทำงานของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด
อำเภอเมือง จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี 3) เพอื่ ศกึ ษาเปรียบเทียบข้อมลู สว่ นบคุ คลกับคณุ ภาพการปฏบิ ัติงาน
4) เพือ่ เปน็ แนวทางในการพฒั นาปรบั ปรงุ แกไ้ ขคุณภาพการปฏบิ ัติงานของพนกั งานบริษัทซีฟู้ด จำกัด
อำเภอเมอื ง จังหวดั สุราษฎรธ์ านี

ผู้วจิ ัยได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวจิ ัยที่เก่ยี วข้อง เพอื่ นำมากำหนดกรอบแนวคิดในการ
วิจัย โดยได้กำหนดสมมติฐานการวิจัยไว้ดังนี้ 1) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ และวุฒิการศึกษา 2)
แนวทางผลการปฏิบัตงิ านของพนักงานบรษิ ทั ซีฟดู้ จำกัด อำเภอเมอื ง จงั หวัดสุราษฎร์ธานี

ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ พนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง
จังหวัดสุราษฎรธ์ านี จำนวน 59 คน

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นจากการทบทวนแนวคิด
ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง หลังจากนั้นนำแบบสอบถามมา
ตรวจสอบความถูกต้อง และครบถ้วนของขอ้มูลโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการ
วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ (frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean)
และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) การทดสอบค่าเฉลี่ยของกลุ่ม (Independent
Sampies Test) การวเิ คราะห์ความแปรปรวนทางเดยี ว (One way ANOVA)

สรปุ ผลการวจิ ัย

จากการวิเคราะห์ข้อมลู ผลการวจิ ัยสรุปประเด็นสำคัญ ดงั นี้
1. การวิเคราะห์ขอ้ มลู ส่วนบคุ คลของพนักงานบริษทั ซีฟ้ดู จำกัด อำเภอเมือง จังหวดั สรุ าษฎร์
ธานี พบว่า พนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ส่วนมากเป็นเพศหญิง
จำนวน 50 คิดเป็นร้อยละ 83.1 และวุฒิการศกึ ษาปรญิ ญาตรี จำนวน 59 คิดเปน็ รอ้ ยละ 100
2. แนวทางผลการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์
ธานี โดยรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับ มากที่สุด จำนวน 3
ด้าน เรยี งตามลำดบั ค่าเฉล่ียจากมากไปน้อยไดแ้ ก่ ด้านวิธกี ารใช้ปฏิบตั ิ ดา้ นคณุ ภาพของงานและด้าน
ระยะเวลาปฏิบัตงิ าน

19

มวี ตั ถุประสงค์ของการวจิ ยั
1) เพอื่ ศึกขอ้ มลู ของพนกั งานบริษัทซีฟ้ดู จำกดั อำเภอเมอื ง จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี
2) เพ่ือศึกษาประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง
สุราษฎรธ์ านี จังหวดั สรุ าฎร์ธานี
3) เพือ่ ศกึ ษาเปรียบเทยี บข้อมูลส่วนบคุ คลกบั ประสิทธภาพการทำงาน
4) เพ่อื เป็นแนวทางในการพัฒนา ปรับปรุงแก้ไขประสิทธภิ าพการทำงานของพนักงาน

อภปิ รายผลการวิจยั

ผลการวิจัยเรื่อง แนวทางผลการปฏิบัติงาน ของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง
จังหวัดสุราษฎร์ธานี ซึ่งวุฒิการศึกษาปริญญาตรี จำนวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 100 โดย
มอี งค์ประกอบ 3 ดา้ น ดังนี้

1.ด้านระยะเวลาปฏิบัติงาน การปฏิบตั งิ านและการบรหิ ารจัดการเวลาทำงานให้ทนั ต่อเวลาที่
กำหนด เป็นการวัดผลตามเป้าหมายหรือทันตามข้อตกลง ผลักดันให้มีความกระตือรือร้นในการ
ทำงานเพ่ือใหเ้ สรจ็ ทนั เวลา

2.ด้านคุณภาพของงาน ผลงานที่มีความถูกต้อง ตรงตามระเบียบกฏเกณฑ์ ข้อบังคับ ความ
ต่อเน่ืองของงาน ความมีประสทิ ธภิ าพในการทำงาน โดยคำนงึ ถึงความครบถว้ นถูกตอ้ งเชื่อถือได้

3.ด้านวิธีการใช้ปฏิบัติ ทำงานให้เกิดประสิทธิภาพโดยพิจราณาจากการสร้างขั้นตอนและ
เทคนคิ การทำงานใหม่ๆ พัฒนาวธิ กี ารปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม สามารถสรา้ งคุณคา่ ให้ผลงานได้

ขอ้ เสนอแนะการวจิ ยั

1. การศึกษาความสำเร็จในการทำงานของพนักงานบริษทั ซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดสุ
ราษฎร์ธานี ทงั้ 3 ด้าน คือ ด้านระยะเวลาปฏิบตั ิงาน ด้านคุณภาพของงาน ด้านวิธกี ารใช้ปฏิบัติงาน
เมอ่ื พจิ ารณารายด้านอย่ใู นระดบั เห็นด้วยอย่างย่งิ พบว่าพนักงานบริษทั ซีฟูด้ จำกดั มีคณุ ภาพของการ
ทำงานที่ดี ผู้นำมีวิธีการปฏิบตั ิงานในระดับการเปลี่ยนแปลงเดยี วกัน ซึ่งผลการวจิ ัยเพื่อใหเ้ กิดผลตาม
วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ โดยผลการดำเนินงานความสำเร็จในการทำงานช่วยส่งเสริมให้องค์กรมี
ความสำเรจ็ ในการทำงานและศักยภาพ เพราะองค์กรจำเป็นตอ้ งมกี ารเจรญิ เติบโตอย่างต่อเนื่อง

2. สามารถนำมาใช้เพื่อการปฏิบัติงาน ที่เป็นประโยชน์ต่อองค์กรได้อย่างทันท่วงที และการ
ประเมินความสำเร็จในการทำงานของพนักงานบริษัทซีฟู้ดจะต้องมีองค์ประกอบต่างๆ คือ ความพึง
พอใจ ในงาน ความกา้ วหน้าในงาน การบรรลเุ ปา้ หมายความสำเร็จ และกระบวนการปฏบิ ตั ิงาน

20

3. ควรศึกษาความสำเร็จในการปฏบิ ัติงานในดา้ นต่างๆ ทมี่ รี ะดับน้อยที่สุดเพื่อสามารถนำมา
พฒั นาแตล่ ะด้าน ตงั นนั้ พนักงานต้องทำงานเพ่ือมุ่งใหง้ านมีความสำเร็จในการทำงาน การปฏิบัติงาน
ตามบทบาทหน้าที ตามมาตรฐานในการปฏิบัติงานและเราจะต้องรักงานที่ทำมีการไตร่ตรอง และ
พจิ ารณาดเู สมอ รำงานทเ่ี ราทำอยู่นัน้ มคี ณุ คา่ กบั เรามากมายเพียงใด ควรแนะนำ สรา้ งความรู้หรอื งด
อบรม เพ่อื ให้พนักงานมีคณุ ภาพทด่ี ี

4.เพศกับความสำเร็จในการทำงาน บริษัท ชีฟู๊ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ไม่
แตกต่างกันผู้วิจัยจึงกำหนดข้อเสนอแนะ คือ ควรทำการประเมินความสำเร็จในการทำงาน เพื่อได้
ทราบถึงสมรรถณะ ความสามารถในการทำงาน ไม่วา่ จะเป็นเพศหญงิ หรอื เทศชาย

21

บรรณานุกรม

คทลียา ชาปะวัง,และนริศรา สัจจพงษ์ ชนิดา พันธะ. (2558). ความสัมพัธ์ระหว่างการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์กับผลการปฏิบัติงานของบุคคลากรมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน.
วรสารการบัญชรและการจดั การ, 36-44.

ญาณินท์ ตั้งภิญโญพุฒิคุณ,และกัญญารัฐ รัตนประภาธรรม พรพรรณ ทิพย์ธาตุภักดี. (2556).
ผลกระทบของความเป็นเลิศทางวิชาชีพบัญชีที่มีต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของผู้สอบ
บญั ชภี าษอี ากรในประเทศไทย. วรสารการบญั ชีและการจดั การ, 106-118.

ญาณินท์ ตั้งภิญโญพุฒิคณุ ,และขจิต กอ้ นทอง ไพรชั นตุ ไว. (2556). ผลกระทบของการจัดการความรู้
ทางการบัญชีที่มีต่อนวัตกรรมการปฏิบัติงานของสำนกั งานบัญชใี นเขตกรุงเทพมหานคร. วร
สารการบญั ชีและการจัดการ, 172-179.

พรลภัส สุวรรณรัตน์,และกัญญมน วิทยาภูมิ ชีวนันท์ สุขุมาลจันทร์. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่าง
ความรอบรู้ใรวิชาชีพกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของนักตรวจสอบภาษีในสำนักงาน
สรรพากรพ้นื ท่ีกรุงเทพมหานคร. วรสารการบญั ชีและการจดั การ, 108-114.

ศุภพงษ์ ปิ่นเวหา,และศุทธินี ปราชญ์ศรีภูมิ ธีรนันท์ วัฒนาคานนท์. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่าง
สมรรถนะหลักทางการบัญชีกับผลการปฏิบัติงานของหัวหน้าส่วนการคลังองค์การบริหาร
สว่ นตำบลในเขตภาคตะวันออกเฉยี งเหนือตอนลา่ ง. วรสารการบัญชแี ละการจัดการ, 74-82.

22

ภาคผนวก ก เครอ่ื งมอื ทใ่ี ช้ในการวจิ ยั

คุณภาพการปฏิบตั งิ าน ดา้ นระยะเวลาปฏิบตั ิงาน

ผู้วจิ ยั ให้ความหมายว่า การปฏิบัตงิ านและการบริหารจัดการเวลาทำงานใหท้ ันต่อเวลาท่ี
กำหนด เป็นการวัดผลตามเป้าหมายหรอื ทันตามข้อตกลง ผลักดันให้มคี วามกระตือรือร้นในการ
ทำงานเพื่อให้เสร็จทันเวลา

1. ท่านสามารถทำงานตามหน้าทใี่ นการปฏบิ ัตงิ านได้
2. ท่านสามารถทำงานตามเวลาท่ีกำหนด
3. ท่านสามารถทำงานตามเปา้ หมายที่องคก์ รกำหนดไว้ได้
4. ท่านสามารถทำงานและมคี วามกระตอื รือร้นในการทำงาน

ด้านระยะเวลาปฏิบตั ิงาน มากที่สดุ มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยทส่ี ุด

1. ทา่ นสามารถทำงานตามหนา้ ที่
ใน การปฏิบัติงานได้
2. ทา่ นสามารถทำงานตามเวลา
ทก่ี ำหนด
3. ท่านสามารถทำงานตาม
เป้าหมายที่องค์กรกำหนดไว้ได้
4. ทา่ นมคี วามกระตือรอื ร้นใน
การทำงาน

23

คณุ ภาพการปฏิบัตงิ าน ดา้ นคุณภาพของงาน
ผ้วู ิจัย ให้ความหมายวา่ ผลงานที่มีความถูกต้อง ตรงตามระเบียบกฏเกณฑ์ ข้อบังคบั ความ
ตอ่ เน่ืองของงาน ความมีประสทิ ธิภาพในการทำงาน โดยคำนงึ ถึงความครบถว้ นถูกต้องเชือ่ ถือได้
1. ทา่ นสามารถทำงานตามหน้าทไ่ี ด้โดยผลงานที่มคี วามถูกต้อง
2. ท่านมาสารถทำงานตามหน้าท่ไี ดโ้ ดยมปี ระสิทธภิ าพในการทำงาน
3. ท่านสามารถทำงานตามหนา้ ท่ีได้โดยคำนงึ ถงึ ความครบถ้วนถูกตอ้ งเชอ่ื ถือได้

ด้านคณุ ภาพแรงงาน มากทส่ี ดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยท่สี ุด

1. ท่านสามารทำงานตามหน้าที่
ได้โดยผลงานทมี่ ีความถูกตอ้ ง
2. ท่านสามารถทำงานตามหน้าที่
ไดโ้ ดยมปี ระสิทธภิ าพในการ
ทำงาน
3. ทา่ นสามารถทำงานตามหนา้ ที่
ได้ โดยคำนงึ ถึงความครบถว้ น
ถกู ต้องเช่อื ถอื ได้

24

ประสทิ ธภิ าพการทำงาน ด้านวธิ ีการท่ีใช้ปฏบิ ตั ิ

ผวู้ จิ ัย ให้ความหมายว่า ทำงานให้เกิดประสทิ ธภิ าพโดยพิจราณาจากการสรา้ งขั้นตอนและเทคนิค
การทำงานใหมๆ่ พฒั นาวิธีการปฏิบัติงานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม สามารถสรา้ งคุณค่าใหผ้ ลงานได้

1. ท่านสามารถทำงานตามหนา้ ท่แี ละเทคนคิ การทำงานใหม่ๆ
2. ท่านสามารถพัฒนาวธิ ีการปฏิบัติงานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
3. ท่านสามารถสร้างคุณค่าใหผ้ ลงานตอ่ องคก์ รได้

ดา้ นวธิ กี ารทใี่ ชป้ ฏบิ ัติ มากท่สี ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยที่สุด

1. ท่านสามารถทำงานตามหน้าที่
และ มเี ทคนคิ การทำงานใหม่ๆ
2. ทา่ นสามารถพฒั นาวธิ ีการ

ปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
3. ท่านสามารถสร้างคุณค่าให้
ผลงานได้

25

ภาคผนวก ข แบบสอบถาม

แบบสอบถาม

คำชี้แจง

แบบสอบถามนี้จัดทำขึ้นเพื่ออหาข้อมูลประกอบการวิจัย เรื่องแนวทางผลการปฏิบัติงาน

ของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี ผู้วิจัยจึงใคร่ขอความ

ร่วมมือมายังท่านเพื่อตอบแบบสอบถามบับนี้ตามความเป็นจริง ทั้งนี้เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์

ซึ่งจะเป็นประโยชน์เชิงวิชาการแก่ผู้สนใจต่อแบบสอบถามนี้ ประกอบด้วย 2 ตอน จำนวน

10 ขอ้ 3 ด้าน คอื

ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ส่วนบุคคลจำนวน 2

ตอนท่ี 2 ผลการปฏิบัติงานจำนวน 10 ข้อ

สำหรับข้อมูลที่ท่านได้ตอบในแบบสอบถามฉบับนี้ใช้สำหรับการศึกษาวิจัยเท่านั้น การตอบ

แบบสอบถามนี้จะไม่มีผลกระทบต่อท่านแต่อย่างใด แต่จะเป็นประโยชน์ในทางวิชาการเชิง

สังคมศาสตร์ และนำไปใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ โดยผู้วิจัยจะใช้ข้อมูลเพื่อการศึกษาวิจัย และ

ขอขอบคณุ ทกุ ท่านมา ณ โอกาสนี้

ตอนที่ 1 ข้อมลู สว่ นบลุ คล

คำชแี้ จง โปรดทำเครื่องหมาย  ในชอ่ ง ( ) หน้าคำตอบท่ตี รงกับความเปน็ จรงิ

1. เพศ

( ) ชาย ( ) หญงิ

2. ระดบั การศึกษา

( ) ตำ่ กว่าปริญญาตรี ( ) ปรญิ ญาตรี ( ) สงู กว่าปริญญาตรี

ตอนท่ี 2 ผลการปฏิบตั งิ าน

คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับความเป็นจริงของท่านมากทที่สุด โดยกำหนด

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ดงั น้ี คะแนน 5 หมายถึง มากท่สี ุด คะแนน 4 หมายถงึ มาก คะแนน 3 หมายถึง

ปานกลาง คะแนน 2 หมายถงึ น้อย คะแยย 1 หมายถงึ นอ้ ยทสี่ ุด

26

ตัวอย่าง ระดับความคิดเห็น
คณุ ภาพการปฏบิ ตั ิงาน
มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยทส่ี ุด
xxxxxxxxxxxxx 54 3 2 1


คณุ ภาพการปฏบิ ตั ิงาน มากทส่ี ุด ระดบั ความคดิ เห็น นอ้ ยที่สดุ
5 มาก ปานกลาง น้อย 1
ด้านระยะวลาปฏิบัตงิ าน 43 2
1. ท่านสามารถทำงานตาม
หนา้ ทใี่ นการปฏบิ ัติงานได้
2. ท่านสามารถทำงานตาม
เวลาท่ีกำหนด
3. ท่านสามารถทำงานตาม
เป้าหมายที่องค์กรกำหนดไว้
ได้
4. ท่านมีความกระตือรือร้น
ในการทำงาน
ด้านคณุ ภาพของงาน
1. ทา่ นสามารถทำงานตาม
หน้าที่ได้โดยผลงานที่มีความ
ถูกต้อง
2. ท่านสามารถทำงานตาม
หน้าที่ได้โดยมีประสิทธิภาพ
ในการทำงาน
3. ท่านสามารถทำงานตาม
หน้าที่ได้โดยคำนึงถึงความ
ครบถว้ นถูกต้องเช่ือถือได้

27

คุณภาพการปฏบิ ัติงาน มากทส่ี ดุ ระดบั ความคิดเห็น นอ้ ยทส่ี ดุ
5 มาก ปานกลาง นอ้ ย 1
ด้านวธิ ีการทใ่ี ช้ปฏิบัติ 43 2
1. ท่านสามารถทำงานตาม
ห น ้ า ท ี ่ แ ล ะ มี เ ท ค น ิ ค ก า ร
ทำงานใหมๆ่
2. ท่านสามารถพฒั นาวธิ ีการ
ปฏิบัติงานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
3. ท่านสามารถสร้างคุณค่า
ใหผ้ ลงานได้

ขอบคุณค่ะ
อาภาพร หอมรืน่

28

แบบสอบถามนีส้ ามารถใช้เป็ น
เครอ่ื งมือในการวิจยั

 ได้

 ได้ แตต่ อ้ งปรบั ปรุงบางสว่ น

❑ ไม่ไดท้ ง้ั ฉบบั

ลงช่ือ
...........................................................

ผเู้ ช่ียวชาญ/ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ
…....…..……../…..….....….…./………

แบบทดสอบความเทยี่ งตรงเชงิ เนอื้ หา IOC ของแบบสอบถาม

ชื่อเรื่อง แนวทางผลการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง
สุราษฎร์ธานี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี

ช่อื ผูว้ จิ ัย นางสาวอาภาพร หอมรื่น

นักศึกษาหลักสูตร การบริหารธุรกิจ (วิชาเอกการบริหารทรัพยากรมนุษย์) บริหารธุรกิจ

บัณฑติ

หมายเลขโททรศัพท์ ...0936023092 email

อาจารยท์ ป่ี รึกษา ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธนายุ ภวู่ ทิ ยาธร

วตั ถปุ ระสงคข์ องวิจัย
1. เพื่อศึกษาข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี

จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
2. เพื่อศึกษาคุณภาพปฎิบัติงานพนักงานซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมืองสุราษฎ์ธานี

จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี
3. เพอื่ ศกึ ษาเปรียบเทยี บข้อมลู สว่ นบุคคลกบั คณุ ภาพการปฎบิ ัติงาน
4. เพอ่ื เป็นแนวทางในการพฒั นา ปรับปรงุ แกไ้ ขคณุ ภาพปฎบิ ตั งิ านของพนักงานซีฟดู้ จำกัด

29

คำช้ีแจง
กรุณาทำเครื่องหมาย  ลงในช่อง  โดยที่ (1) ถ้าคำถามสอดคล้องกับนิยามศัพท์ลงใน
ช่อง (0) ถ้าไม่แน่ใจว่าคำถามสอดคล้องกับนิยามศัพท์หรือไม่และลงในช่อง (-1) ถ้าคำถามไม่
สอดคลอ้ งกบั นยิ ามศัพท์

ตอนท่ี 1 แบบสอบถามขอ้ มูลทัว่ ไป

กรุณาตอบคำถามให้ครบทุกข้อ โดยทำเครื่องหมาย  ลงใน  หรอื เติมข้อความ

ลงในชอ่ งวา่ งให้ตรงกับข้อมูลของตวั ท่านตามความเปน็ จริง

คำถาม ความคดิ เห็นของกรรมการ คำแนะนำ

สอดคล้อง ไมแ่ นใ่ จ ไมส่ อดคลอ้ ง เพม่ิ เตมิ

+1 0 -1

1. เพศ

 หญงิ

 ชาย

2. ระดบั การศึกษา

 ตำ่ กว่าระดับปริญญตรี

 ปรญิ ญาตรี

 สงู กว่าปรญิ ญาตรี

ตอนที่ 2 ความคิดเห็นของ.......(ประชากร) ตอ่ ประสิทธภิ าพการทำงาน
กรุณาตอบคำถามให้ครบทุกข้อ โดยทำเครื่องหมาย  ลงใน  เพื่อเลือก

ข้อคำถามแตล่ ะข้อแลว้ โดยในแตล่ ะขอ้ ให้เลือกเพียงคำตอบเดยี ว

นิยามศัพท์/วตั ถุประสงค์ ข้อ คำถาม

ด้านระยะเวลาปฏบิ ตั ิงาน 1 ท่านสามารถทำงานตามหน้าที่ใน การ
ปฏิบัติงานได้
ความหมายว่า การปฏิบัติงาน ท่านสามารถทำงานตามเวลาทกี่ ำหนด

และการบริหารจัดการเวลา 2 ท่านสามารถทำงานตามเป้าหมายที่องค์กร
กำหนดไวไ้ ด้
ทำงานให้ทันต่อเวลาที่กำหนด ทา่ นมคี วามกระตือรือรน้ ในการทำงาน

เป็นการวัดผลตามเป้าหมายหรือ 3

ทันตามข้อตกลง ผลักดันให้มี

ความกระตือรือร้นในการทำงาน 4

เพอื่ ใหเ้ สร็จทันเวลา

30

กระดับความคิดเห็นที่ตรงกับความเห็นของท่านมากที่สุด หลังจากที่ท่านอ่าน

ระดบั ความคดิ เห็นของผู้สอบถาม ความคดิ เฆ้นของ คำแนะ

ผเู้ ชยี่ วชาญ นำ

มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย สอดคลอ้ ง ไม่ ไม่

ที่สดุ กลาง ทีส่ ดุ แนใ่ จ สอด

คล้อง

5 4 3 2 1 1 0 -1





นยิ ามศัพท/์ วตั ถปุ ระสงค์ ขอ้ คำถาม

ดา้ นคณุ ภาพของงาน 1 ท่านสามารทำงานตามหน้าที่ได้โดยผลงาน
ที่มีความถกู ต้อง
ความหมายว่า ผลงานที่มีความ ท่านสามารถทำงานตามหน้าที่ได้โดยม
ประสิทธภิ าพในการทำงาน
ถูกต้อง ตรงตามระเบียบ 2
ท่านสามารถทำงานตามหน้าที่ได้ โดย
กฏเกณฑ์ ข้อบังคับ ความ คำนึงถงึ ความครบถว้ นถูกตอ้ งเชือ่ ถอื ได้

ต ่ อ เ น ื ่ อ ง ข อ ง ง า น ค ว า ม มี 3

ประสิทธิภาพในการทำงาน โดย

คำนึงถึงความครบถ้วนถูกต้อง

เชื่อถอื ได้

31

ระดบั ความคิดเหน็ ของผู้สอบถาม ความคดิ เฆ้นของ คำแนะ
ผูเ้ ช่ียวชาญ นำ

มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย สอดคลอ้ ง ไม่ ไม่

ที่สดุ กลาง ที่สดุ แนใ่ จ สอด

คลอ้ ง

5 4 3 2 1 1 0 -1



มี



นิยามศัพท/์ วัตถุประสงค์ ขอ้ คำถาม

ดา้ นวิธกี ารใชป้ ฏบิ ัติ 1 ท่านสามารถทำงานตามหน้าที่และม
เทคนคิ การทำงานใหมๆ่
ความหมายว่า ทำงานให้เกิด ท่านสามารถพัฒนาวิธีการ ปฏิบัติงานได
อยา่ งเหมาะสม
ประสิทธิภาพโดยพิจราณาจาก 2
ทา่ นสามารถสรา้ งคณุ ค่าใหผ้ ลงานได้
การสร้างขั้นตอนและเทคนิคการ

ทำงานใหม่ๆ พัฒนาวิธีการ 3

ปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม

สามารถสรา้ งคุณคา่ ให้ผลงานได้

32

ระดบั ความคิดเหน็ ของผู้สอบถาม ความคดิ เฆ้นของ คำแนะ
ผูเ้ ช่ียวชาญ นำ

มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย สอดคลอ้ ง ไม่ ไม่

ที่สดุ กลาง ที่สดุ แนใ่ จ สอด

คลอ้ ง

5 4 3 2 1 1 0 -1

มี

ด้

ภาคผนวก ค ตารางวิเคราะหค์ ่า IOC ของแบบทดสอ

ประสทิ ธิภาพการทำงาน

ด้านระยะเวลาปฏบิ ัติงาน
1.ท่านสามารถทำงานตามหนา้ ทีใ่ น การปฏบิ ตั ิงานได้
2.ท่านสามารถทำงานตามเวลาทกี่ ำหนด
3.ท่านสามารถทำงานตามเปา้ หมายท่อี งคก์ รกำหนดไว้ได้
4.ทา่ นมคี วามกระตอื รอื รน้ ในการทำงาน
ดา้ นคณุ ภาพของงาน
1.ท่านสามารทำงานตามหน้าทไ่ี ดโ้ ดยผลงานทมี่ คี วามถูกต้อง
2.ทา่ นสามารถทำงานตามหน้าทไี่ ด้โดยมีประสทิ ธภิ าพในการทำงาน
3.ทา่ นสามารถทำงานตามหน้าท่ไี ด้ โดยคำนงึ ถึงความครบถว้ นถูกต้องเช่อื ถอื ได้
ดา้ นวธิ กี ารใช้ปฏบิ ตั ิ
1.ทา่ นสามารถทำงานตามหนา้ ท่แี ละมีเทคนคิ การทำงานใหมๆ่
2.ท่านสามารถพัฒนาวธิ ีการ ปฏบิ ตั ิงานได้อยา่ งเหมาะสม
3.ทา่ นสามารถสรา้ งคณุ คา่ ใหผ้ ลงานได้

33

อบความเที่ยวตรงเชิงเน้ือหาของแบบสอบถาม

ความคดิ เห็น รวม IOC ผล
คนที่ 1 คนท่ี 2 คนท่ี 3

0 +1 +1 2 0.66 ใชไ้ ด้

+1 0 +1 2 0.66 ใช้ได้

+1 +1 +1 31 ใช้ได้

+1 +1 0 2 0.66 ใชไ้ ด่

+1 +1 +1 31 ใช้ได้

0 +1 +1 2 0.66 ใชไ้ ด้

+1 +1 +1 31 ใชไ้ ด้

+1 0 +1 2 0.66 ใชไ้ ด้

+1 +1 +1 31 ใช้ได้

+1 0 +1 2 0.66 ใช้ได้

ภาคผนวก ง

Case Processing Summary

N%

Cases Valid 32 88.9

Excludeda 4 11.1

Total 36 100.0

a. Listwise deletion based on all

variables in the procedure.

Reliability Statistics
Cronbach's
Alpha N of Items
.979 10

Item Statistics Std. Deviation N
Mean .876 32
.872 32
ด้านระยะเวลาปฏิบัติงาน [ท่าน 4.50 .871 32
สามารถทำงานตามหน้าที่ใน .860 32
การปฏิบัตงิ านได]้ .885 32
ด้านระยะเวลาปฏิบัติงาน [ท่าน 4.53 .878 32
ส า ม า ร ถ ท ำ ง า น ต า ม เ ว ล า ท่ี .876 32
กำหนด]
ด้านระยะเวลาปฏิบัติงาน [ท่าน 4.44 .878 32
สามารถทำงานตามเป้าหมายท่ี .880 32
องคก์ รกำหนดไวไ้ ด]้ .878 32
ด้านระยะเวลาปฏิบัติงาน [ท่าน 4.37
มีความกระตือรือร้นในการ
ทำงาน]
ด้านคุณภาพของงาน [ท่านสา 4.56
มารทำงานตามหน้าที่ได้โดย
ผลงานท่มี ีความถูกต้อง]
ด้านคุณภาพของงาน [ท่าน 4.47
สามารถทำงานตามหนา้ ทีไ่ ด้โดย
มีประสทิ ธภิ าพในการทำงาน]
ด้านคุณภาพของงาน [ท่าน 4.50
สามารถทำงานตามหน้าที่ได้
โดยคำนึงถึงความครบถ้วน
ถูกตอ้ งเช่อื ถอื ได้]
ด้านวิธีการใช้ปฏิบัติ [ท่าน 4.631
สามารถทำงานตามหน้าที่และมี
เทคนิคการทำงานใหม่ๆ]
ด้านวิธีการใช้ปฏิบัติ [ท่าน 4.60
สามารถพัฒนาวิธีการ
ปฏิบัติงานไดอ้ ย่างเหมาะสม]
ด้านวิธีการใช้ปฏิบัติ [ท่าน 4.59
สามารถสร้างคุณค่าให้ผลงาน
ได]้

Item-Total Statistics

Corrected Item- Cronbach's

Scale Mean if Scale Variance Total Alpha if Item

Item Deleted if Item Deleted Correlation Deleted

ด้านระยะเวลาปฏิบัติงาน [ท่าน 40.73 52.46 .895 .977

สามารถทำงานตามหน้าที่ใน

การปฏิบัติงานได้]

ด้านระยะเวลาปฏิบัติงาน [ท่าน 40.70 52.65 .883 .977

ส า ม า ร ถ ท ำ ง า น ต า ม เ ว ล า ท่ี

กำหนด]

ด้านระยะเวลาปฏิบัติงาน [ท่าน 40.79 52.60 .888 .977

สามารถทำงานตามเป้าหมายที่

องคก์ รกำหนดไวไ้ ด]้

ด้านระยะเวลาปฏิบัติงาน [ท่าน 40.86 52.88 .876 .978

มีความกระตือรือร้นในการ

ทำงาน]

ด้านคุณภาพของงาน [ท่านสา 40.66 52.11 .915 .976

มารทำงานตามหน้าที่ได้โดย

ผลงานที่มีความถูกต้อง]

ด้านคุณภาพของงาน [ท่าน 40.76 52.5 .886 .977

สามารถทำงานตามหนา้ ทไี่ ดโ้ ดย

มีประสิทธภิ าพในการทำงาน]

ด้านคุณภาพของงาน [ท่าน 40.73 52.71 .873 .978

สามารถทำงานตามหน้าที่ได้

โ ด ย ค ำ น ึ ง ถ ึ ง ค ว า ม ค ร บ ถ้ ว น

ถูกตอ้ งเชือ่ ถอื ได้]

ด้านวิธีการใช้ปฏิบัติ [ท่าน 40.60 52.19 .916 .976

สามารถทำงานตามหน้าท่แี ละมี

เทคนคิ การทำงานใหมๆ่ ]

ด้านวิธีการใช้ปฏิบัติ [ท่าน 40.63 52.28 .906 .977

สามารถพัฒนาวิธีการ

ปฏบิ ัตงิ านได้อย่างเหมาะสม]

ด้านวิธีการใช้ปฏิบัติ [ท่าน 40.63 51.99 .934 .976

สามารถสร้างคุณค่าให้ผลงาน

ได้]

Group Statistics N Mean Std. Deviation Std. Error Mean
เพศ 10
49 4.62 .412 .130
SUM1 ชาย 10
หญงิ 49 4.62 .350 .050
10
SUM2 ชาย 49 4.63 .483 .152
หญงิ 10
49 4.76 .282 .040
SUM3 ชาย
หญงิ 4.73 .409 .129

SUMALL ชาย 4.80 .304 .043
หญิง
4.66 .391 .123

4.73 .248 .035

Independent Samples Test

Levene's Test for

Equality of

Variances t-test for Equality of Means

95% Confidence

Interval of the

Sig. (2- Mean Std. Error Difference

F Sig. t df tailed) Difference Difference Lower Upper

SUM1 Equal .527 .471 .020 57 .984 .00255 .12521 -.24818 .25328

variances

assumed

Equal .018 11.797 .986 .00255 .13971 -.30243 .30753

variances not

assumed

SUM2 Equal 15.662 .000 - 57 .231 -.13537 .11186 -.35937 .08862

variances 1.210

assumed

Equal -.857 10.288 .411 -.13537 .15798 -.48605 .21530

variances not

assumed

SUM3 Equal 1.264 .266 -.679 57 .500 -.07619 .11216 -.30079 .14841

variances

assumed

Equal -.557 11.113 .588 -.07619 .13667 -.37663 .22425

variances not

assumed

SUMALL Equal 4.588 .036 -.727 57 .470 -.06967 .09589 -.26168 .12234

variances

assumed

Equal -.540 10.528 .600 -.06967 .12891 -.35495 .21561

variances not

assumed


Click to View FlipBook Version