The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กฎหมายแรงงานและการดำเนินคดีแรงงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by boonsueb petkum, 2020-02-20 21:29:07

กฎหมายแรงงานเบื้องต้น

กฎหมายแรงงานและการดำเนินคดีแรงงาน

ศาลแรงงานภาค ๑

กฎหมายแรงงาน

หมายถึง กฎหมายที่บัญญัติถึงสิทธิและหน้าที่ของ
นายจ้าง ลูกจ้าง องค์การของนายจ้าง องค์การของลูกจ้าง
รวมถึงมาตรการที่กาหนดให้นายจ้าง ลูกจ้าง องค์การ
ดังกล่าวต้องปฏิบัติต่อกันและปฏิบัติต่อรัฐ เพื่อให้การจ้าง
แ ร ง ง า น ก า ร ใ ช ้แ ร ง ง า น ก า ร ป ร ะ ก อ บ ก ิจ ก า ร
ความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างลูกจ้างเป็นไปโดยเหมาะสม
ต่างได้รับประโยชน์ที่เพียงพอ ท้ังแก่ นายจ้าง ลูกจ้าง
สังคม และเศรษฐกิจของประเทศเปน็ สาคัญ

1

กฎหมายแรงงานที่สาคญั 6 ฉบบั

๑. ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์บรรพ 3 เอกเทศสัญญา
ลกั ษณะ 6 เรื่องจ้างแรงงาน

๒. พระราชบัญญัติแรงงานสัมพนั ธ์ พ.ศ.2518
๓. พระราชบญั ญัติจดั ต้ังแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน

พ.ศ.2522
๔. พระราชบญั ญัติประกันสงั คม พ.ศ.2533
๕. พระราชบญั ญตั ิเงินทดแทน พ.ศ.2537
๖. พระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองแรงงาน พ.ศ.2541

2

1. กฎหมายสญั ญาจา้ งแรงงาน
ป.พ.พ. บรรพ 3 มาตรา 575-586
เนือ้ หา จ้างแรงงาน สิทธิหน้าที่ ความระงับของสญั ญาจา้ ง

2. กฎหมายแรงงานสัมพันธ์
พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ์ 2518
เนือ้ หา ข้อตกลงเกี่ยวกบั สภาพการจา้ ง องคก์ รแรงงาน
การระงบั ขอ้ พิพาทแรงงาน การกระทาอนั ไม่เป็นธรรม

3

3. พ.ร.บ.จดั ต้ังศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน
2522 เนื้อหา ศาลแรงงาน การดาเนินคดีแรงงาน และ
เลิกจ้างไม่เปน็ ธรรม

4. กฎหมายประกันสงั คม
พ.ร.บ. ประกันสงั คม 2533
เนื้อหา คุ้มครองผู้ประกนั ตนทีป่ ระสบอนั ตราย เจบ็ ปว่ ย
มิใช่เนือ่ งจากการทางาน ทุพพลภาพ ตาย คลอดบตุ ร
สงเคราะห์ วา่ งงาน และชราภาพ

4

5. กฎหมายเงินทดแทน
พ.ร.บ. เงินทดแทน 2537
เนือ้ หา คุ้มครองลูกจา้ งที่ประสบอันตราย เจ็บปว่ ย
สญู หายเนือ่ งจากการทางาน

6. กฎหมายคุม้ ครองแรงงาน
พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน 2541
เนือ้ หา กาหนดมาตรฐานขัน้ ตา่ เพื่อคมุ้ ครองการทางาน
ของลกู จ้าง

5

คดีทีอ่ ย่ใู นอานาจศาลแรงงาน

 คดีแรงงานท่ัวไป ตามมาตรา ๘ (๑) - (๗)

แห่ง พ.ร.บ. จดั ต้ังศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน
พ.ศ. ๒๕๒๒
 คดีเลิกจ้างโดยไมเ่ ปน็ ธรรมตอ่ ลูกจา้ ง ตามมาตรา ๔๙
แห่ง พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงาน ฯ
 คดีแรงงานตามคาวินิจฉยั ของประธานศาลอทุ ธรณ์คดีชานัญ
พิเศษตามมาตรา 9 วรรค 2 พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงาน
พ.ศ. 2522

6

ตัวอยา่ งคดีแรงงาน (พ.ร.บ.จดั ต้ัง ฯ ม. ๘ (๑) - (๗))

- ลกู จ้างฟ้องเรียกค่าจา้ ง สินจา้ งแทนการบอกกล่าวล่วงหนา้
เงินประกนั ค่าจ้างสาหรับวนั หยุดพักผอ่ นประจาปี ค่า
ลว่ งเวลาฯ คา่ ชดเชย โบนัส คา่ เสียหาย จากการเลิกจา้ งที่
ไม่เปน็ ธรรม เงินสมทบ กสช. (ในส่วนของนายจา้ ง) พรอ้ ม
ดอกเบี้ย (เลิกจา้ ง / ลาออก)

7

การที่นายจ้างเลิกจ้างลกู จ้างโดยไม่มี
สาเหตุ หรือมีสาเหตอุ ย่บู ้างแต่ไม่ใช่สาเหตุ
ทีจ่ าเป็นหรือสมควรจนถึงกบั ต้องเลิกจ้าง

8

ตัวอยา่ งเลิกจา้ งไมเ่ ปน็ ธรรม

• เลิกจ้างพนกั งานขบั รถที่มาสาย
• นาความผิดที่เคยลงโทษไปแล้วมาเลิกจ้าง
• เลิกจ้างโดยปราศจากสาเหตุ หรือกลน่ั แกล้ง
• เลิกจ้างเพราะแสดงความขัดแย้งกับนายจ้าง

9

ตัวอยา่ งเลิกจา้ งไมเ่ ปน็ ธรรม

• เลิกจ้างเพราะลกู จ้างฉีกหนงั สือเตือน

• เลิกจ้างเพราะสามีลกู จ้างไปทางานกบั บริษัทคู่แข่ง

• สอบสวนแล้วไม่ผิดก็ยังเลิกจ้าง

• เลิกจ้างเพราะลูกจ้างเล่นการพนนั นอกเวลางานและ
นอกที่ทางาน

• เลิกจ้างเพราะลกู จ้างถกู ดาเนินคดีเช็ค

10

 กรณีทีต่ อ้ งปฏิบตั ิตามขั้นตอนกอ่ นฟ้องคดีตามที่กฎหมายกาหนด

ตวั อย่าง

- กรณีพนกั งานตรวจแรงงานออกคาสงั่ ใหน้ ายจา้ งปรบั ปรุง
สภาพแวดลอ้ มในการทางาน อาคาร สถานที่ ฯ หรือสง่ั ให้
นายจ้างหยุดใช้เครื่องจักรหรืออุปกรณ์เป็นการช่ัวคราว
หากไม่เห็นชอบด้วยนายจา้ งกต็ อ้ งอทุ ธรณต์ อ่ คณะกรรมการ
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
เสียก่อน / หรือกรณีอทุ ธรณ์คาวินิจฉัยของอธิบดีกรมสวสั ดิการ
และคมุ้ ครองแรงงาน - คณะกรรมการความปลอดภยั ฯ
จึงจะฟ้องคดีต่อศาลได้

11

 คดีที่ไม่ตอ้ งปฏิบตั ิตามขนั้ ตอนก่อนฟอ้ ง (หรือไม่ตอ้ งอทุ ธรณต์ อ่
คณะกรรมการ ฯ ก่อน) ตาม พ.ร.บ. จดั ตง้ั ศาลแรงงาน ฯ มาตรา ๘
วรรคสอง โดยสามารถฟอ้ งคดีศาลแรงงานได้เลย เชน่
- ลกู จา้ งมีสิทธิยื่นคาร้องตอ่ พนักงานตรวจแรงงานหรือจะฟอ้ ง
คดีโดยตรงตอ่ ศาลแรงงานเพื่อเรียกเงินตาม พ.ร.บ. ค้มุ ครองแรงงาน
ฯ กไ็ ด้ (ในกรณีที่นายจา้ งเป็นฝ่ายนาคดีไปสูศ่ าล นายจ้างตอ้ งวางเงิน
ตอ่ ศาลตามจานวนที่ถึงกาหนดจา่ ยตามคาส่งั นั้น จึงจะฟอ้ งคดีได้
มาตรา ๑๒๕ วรรคสาม) แตอ่ ย่างเดียว จะใช้สิทธิพรอ้ มกันสองทาง
ไมไ่ ด้ ถา้ เลือกทีจ่ ะฟ้องคดีต่อศาลแรงงานกเ็ ท่ากับสละสิทธิที่จะยืน่ คา
ร้องต่อพนักงานตรวจแรงงานแลว้ (ฎ. ๕๘๗๔/๒๕๔๔ , ๒๓๘/๒๕๔๕ ,
๕๗๐/๒๕๔๕) ตอ้ งเลือกใช้สิทธิอย่างใดอยา่ งหนึง่ เพียง

12

ฟ้องคดีแรงงานทีศ่ าลใด

 ฟอ้ งตอ่ ศาลแรงงานที่มูลคดี
เกิดขึน้ ในเขต
 ขออนญุ าตฟ้องต่อศาลแรงงานที่
โจทก์หรือจาเลยมีภูมิลาเนาอยใู่ นเขตได้

13

 เขตอานาจของศาลแรงงานภาค 1

พระราชกฤษฎกี าเปลยี่ นแปลงเขตอานาจศาลแรงงานกลาง ศาลแรงงานภาค 1
และศาลแรงงานภาค 7 พ.ศ.2561 มผี ลบังคบั ใช้ตงั้ แตว่ ันที่ 1 ตลุ าคม
2561

ศาลแรงงานภาค 1 ตั้งอยู่ที่จังหวัดสระบุรี มีเขตอานาจครอบคลุมท้องท่ี
9 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดสระบุรี จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดชัยนาท จังหวัดลพบุรี
จังหวัดอ่างทอง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดปทุมธานี จังหวัดนนทบุรี
และจังหวัดสมุทรปราการ

(ปัจจุบันศาลแรงงานภาค 1 เปิดทาการท่ีจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สามารถ
ดาเนินกระบวนพิจารณาได้เช่นเดียวกับศาลแรงงานภาค 1 มีเขตอานาจศาล

ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดอ่างทอง และจังหวัดสมทุ รปราการ)

14

คดีแรงงานที่เกิดขึ้นในทอ้ งทีจ่ ังหวัดใดที่ยังไมม่ ี

ศาลแรงงานจังหวดั จัดตง้ั ขึน้ แต่จังหวัดนนั้ ๆ

อยใู่ นเขตอานาจของศาลแรงงานภาค โจทก์

สามารถยื่นฟ้องต่อศาลจงั หวัดในท้องที่ทีม่ ูลคดี

เกิดไดโ้ ดยไมต่ อ้ งเดินทางไปยื่นฟ้องตอ่ ศาล

แรงงานภาคโดยตรง (พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแรงงาน

และวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522

มาตรา 28, 33) 15

ลักษณะพิเศษของคดีแรงงาน

1. ค่าฤชาธรรมเนียม

การย่ืนคาฟ้อง การดาเนินกระบวนพิจารณาใดๆ
ในศาลแรงงานให้ได้รับการยกเว้นไม่ต้องชาระค่าฤชา
ธรรมเนยี ม

(รวมถงึ การดาเนนิ คดชี น้ั อุทธรณ์ฎีกาดว้ ย)

16

2. การสง่ คาคู่ความหรอื เอกสาร
★ โดยเจา้ พนกั งานศาล
★ ส่งทางไปรษณยี ต์ อบรบั
★ ทางโทรสารหรอื โดยวิธอี นื่ ใดก็ได้

3. การย่นหรือขยายระยะเวลา
ศาลแรงงานมอี านาจย่นหรือขยายระยะเวลา

★ ไดต้ ามความจาเปน็ และ
★ เพ่ือประโยชนแ์ หง่ ความยุตธิ รรม

17

4. การพิจารณาพิพากษาคดแี รงงานต้องคานึงถึงความยุติธรรม
ทางสงั คม ประกอบด้วยเสมอ

พ.ร.บ. จดั ตั้งศาลแรงงาน ฯ มาตรา ๔๘ บญั ญัตใิ ห้
การพจิ ารณาคดีแรงงานคานึงถึงสภาพการทางาน ภาวะค่าครองชพี
ความเดือดร้อนของลกู จา้ ง ระดบั ของค่าจา้ ง หรือสิทธิและประโยชน์
อนื่ ใดของลกู จ้างทที่ างานในกจิ การประเภทเดยี วกนั รวมท้ังฐานะ
แห่งกิจการของนายจ้าง ตลอดจนสภาพเศรษฐกจิ และสังคมโดยทั่วไป
ประกอบการพจิ ารณา เพอื่ กาหนดใหเ้ ป็นธรรมแก่คู่ความทงั้ สองฝา่ ย

18

5. การไกล่เกลยี่ ประนีประนอม

 ศาลแรงงานตอ้ งไกล่เกลย่ี โดยเปดิ เผยหรือเปน็ การลับ

 หากตกลงกนั ได้ คดเี ป็นอันยตุ ิ

 หากตกลงกนั ไม่ได้ ศาลดาเนนิ กระบวนการพจิ ารณาต่อไป

 ศาลไกลเ่ กลี่ยไดต้ ลอดการพจิ ารณาคดี

ผลการไกล่เกลีย่

ตกลงได้ ถอนฟอ้ ง
พพิ ากษาตามยอม

ตกลงไม่ได้ ดาเนนิ กระบวนพิจารณาต่อไป 19

 ขัน้ ตอนการดาเนนิ คดแี รงงาน

1. กระบวนการพจิ ารณาคดแี รงงานใชร้ ะบบไต่สวน (ไมใ่ ช่ระบบกลา่ วหา)
2. องค์คณะในการพจิ ารณาพิพากษาคดแี รงงานมลี กั ษณะเป็นไตรภาคี
- ผู้พพิ ากษาจากข้าราชการตลุ าการศาลยุตธิ รรม
- ผพู้ พิ ากษาสมทบฝ่ายนายจา้ ง
- ผู้พพิ ากษาสมทบฝ่ายลกู จ้าง
3. การฟอ้ งคดแี รงงาน ไม่ต้องเสยี ค่าฤชาธรรมเนียม เหมอื นคดแี พง่ ในศาล
ยตุ ิธรรมทั่วไป

20

 ขน้ั ตอนการดาเนินคดแี รงงาน (ตอ่ )

4. คดแี รงงานเขา้ สกู่ ารพจิ ารณาได้ 2 ทาง
- ผเู้ สยี หายปรึกษาและมอบหมายแตง่ ตงั้ ทนายความใหฟ้ อ้ งคดแี ทน
- ผ้เู สียหายเขา้ พบปรกึ ษาขอคาแนะนาการฟอ้ งคดกี ับนติ ิกร
ของศาลแรงงาน

21

 ขั้นตอนการดาเนินคดแี รงงาน (ต่อ)

5. ประเด็นปัญหาทมี่ ักนามาฟอ้ งรอ้ งเรยี กความเป็นธรรมต่อศาลแรงงาน
- ฟอ้ งเรยี กค่าชดเชยหรือค่าชดเชยพิเศษ ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน ม.118, ม.122
- ฟอ้ งเรยี กเงินค้าประกนั การทางานจากนายจ้าง ตาม พ.ร.บ.ค้มุ ครองแรงงาน ม.10
- ฟอ้ งเรียกร้องคา่ จา้ ง, คา่ ล่วงเวลา, คา่ ทางานในวันหยุด, ค่าลว่ งเวลาในวนั หยุดพรอ้ มดอกเบย้ี
ตาม พ.ร.บ. คุม้ ครองแรงงาน ม.9 และ ม.70
- ฟอ้ งเพิกถอนคาส่ังพนักงานตรวจแรงงาน ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน ม.125
- ฟอ้ งให้ปฏบิ ัติตามคาส่งั พนักงานตรวจแรงงาน ตาม พ.ร.บ.ค้มุ ครองแรงงาน ม.123, ม.125
- ฟ้องเรียกสนิ จ้างแทนบอกกล่าวล่วงหน้า ตาม พ.ร.บ.คุม้ ครองแรงงาน ม.17, ป.พ.พ. ม.582, ม.583
- ฟอ้ งใหป้ ฏบิ ตั ิตามขอ้ ตกลง เก่ียวกับสภาพการจ้าง ตาม พ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ ม.10, ม.12
- รอ้ งขออนุญาตลงโทษหรอื เลิกจ้างกรรมการลูกจา้ ง ตาม พ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ ม.52
- ฟอ้ งขอใหเ้ พกิ ถอนหรอื ใหป้ ฏิบัติตามคาสงั่ ของคณะกรรมการแรงงานสมั พันธ์ในเรอ่ื งการกระทา
อันไมเ่ ปน็ ธรรม ตาม พ.ร.บ.แรงงานสัมพนั ธ์ ม.121, ม.124
- ฟ้องเลกิ จา้ งไมเ่ ป็นธรรม ตาม พ.ร.บ.จดั ตั้งศาลแรงงานและวิธีพจิ ารณาคดีแรงงาน ม.49

22

 ขนั้ ตอนการดาเนินคดีแรงงาน (ต่อ)

6. เมือ่ โจทก์ยืน่ ฟอ้ งคดีต่อศาลแรงงาน และศาลรับฟอ้ งแลว้

- คดีจะถูกสง่ ไปสศู่ ูนย์ไกลเ่ กลี่ย เพื่อนดั วนั พิจารณาไกล่เกลี่ยกอ่ น

- หากไมส่ ามารถเจรจาเพื่อหาข้อมูลยตุ ิได้ คดีจะถูกสง่ ไปสู่
กระบวนการ พิจารณาของศาลโดยองคค์ ณะผู้พิพากษา

- องค์คณะผู้พิพากษาจะไกล่เกลีย่ อีกครั้ง

- หากยงั ไมส่ ามารถบรรลุข้อยตุ ิ ศาลจะพิจารณากาหนดประเดน็ และ
นดั สืบพยาน ซึง่ ศาลอาจจะกาหนดให้ฝา่ ยใดฝา่ ยหนึง่ นาพยานเขา้ สืบ
กอ่ น หรือหลงั ก็ได้ แล้วแต่กรณี

23

 ขน้ั ตอนการดาเนินคดีแรงงาน (ต่อ)

7. ถึงวนั นัดพิจารณาคดี ถ้าฝ่ายจาเลยทราบนัดแล้วไมม่ าศาล
ศาลจะพิจารณาคดีของโจทก์ โดยใหโ้ จทกส์ ืบพยานไปฝา่ ยเดียว
แลว้ มีคาพิพากษา

8. ถึงวันพิจารณาคดี ถา้ ฝ่ายโจทก์ทราบนดั แลว้ ไม่มาศาล
ศาลจะสัง่ จาหนา่ ยคดีออกจากสารบบความ

9. คู่ความอาจจะยืน่ คาร้องต่อศาล ขอใหน้ าคดีเขา้ สกู่ ารพิจารณาใหม่
ภายใน 7 วนั หากมีเหตผุ ลทีศ่ าลรบั ฟังได้ ศาลจะอนุญาตใหน้ าคดี
กลับมาพิจารณาใหม่

24

 ขนั้ ตอนการดาเนินคดีแรงงาน (ตอ่ )

10. กอ่ นคดีจะมีคาพิพากษา ค่คู วามสามารถเจรจาไกลเ่ กลี่ย
เพื่อหาข้อยุติ หรือคคู่ วามสามารถยื่นคาร้องตอ่ ศาลใหโ้ อนคดี
ไปพิจารณาศาลแรงงานอื่น หากศาลทีจ่ ะโอนไปยอมรบั
หากไมย่ อมรับตอ้ งส่งใหป้ ระธานศาลอทุ ธรณค์ ดีชานัญพิเศษ
เปน็ ผู้พิจารณา การพิจารณาของประธานศาลอุทธรณค์ ดี
ชานญั พิเศษถือเปน็ ทีส่ ุด

 ขัน้ ตอนการดาเนินคดีแรงงาน (ต่อ)

11. การสืบพยานคดีแรงงาน ศาลจะเป็นผซู้ ักถามพยาน
หากทนายความทง้ั สองฝ่ายประสงค์จะถามพยาน
ต้องขอและไดร้ ับอนุญาตจากศาลก่อน
12. ผพู้ ิพากษาสมทบ หากมีขอ้ สงสยั บางประเดน็ และ
ตอ้ งการจะซักถามพยาน เพือ่ ให้ไดข้ อ้ เทจ็ จริงสมบูรณ์
ก็ขออนญุ าตตอ่ ผูพ้ ิพากษาที่พิจารณาคดีนั้น

26

 ขน้ั ตอนการดาเนินคดีแรงงาน (ตอ่ )

13. คดีแรงงานเป็นคดีแพ่ง แตบ่ างประเดน็ ที่เกีย่ วขอ้ ง
เนื่องกับการกระทาความผิดทางอาญา ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน
ม.144, ม.159 เชน่
- การคา้ งจา่ ยคา่ จ้าง
- การค้างชาระเงินคา่ ประกนั การทางาน
- การปฏิบัติตามคาสั่งพนกั งานตรวจแรงงาน

(และไมฟ่ ้องเพิกถอนคาสัง่ )

27

 ขนั้ ตอนการดาเนินคดีแรงงาน (ตอ่ )

14. หากมีคาพิพากษาแล้วไมป่ ฏิบัติตามคาพิพากษา
อาจถกู บงั คบั คดีด้วยการยึดหรืออายดั ทรัพย์สิน
15. การอุทธรณ์ คาพิพากษาของศาลแรงงาน สามารถอุทธรณ์
ไดเ้ ฉพาะในข้อกฎหมายเท่านน้ั ถา้ เป็นประเด็นขอ้ เทจ็ จริง
ไมส่ ามารถอทุ ธรณไ์ ด้ และต้องอุทธรณค์ าพิพากษาภายใน 15 วัน
หลังทราบคาพิพากษา (พ.ร.บ.จดั ตง้ั ศาลแรงงานและ
วิธีพิจารณาคดีแรงงาน ม.54, ม.58)

28

คาฟอ้ ง คาฟอ้ ง

เปน็ หนงั สือ (แบบ รง 1,รง 2 )
ดว้ ยวาจา (คาใหก้ าร แบบ 11)

29

การยื่นคาฟ้องคดี

คำฟอ้ ง

เป็นหนังสือ แถลงด้วยวำจำ

โจทกห์ ลายคนแตง่ ตง้ั ผแู้ ทนในการดาเนินคดไี ด้
ต้องปฏิบตั ิตามที่กฎหมายกาหนด (วางเงิน)

30

การนดั พิจารณา

ศาล รบั คดีไวพ้ ิจารณา

กาหนดวันเวลา
ในการพิจารณาคดโี ดยเร็ว

ออกหมายเรียกจาเลย สั่งใหโ้ จทกม์ าศาล
31

อายคุ วามเรยี กรอ้ งคา่ เสยี หายในคดีแรงงาน

ข้อพงึ คานงึ ถึง

ค่าเสียหายแตล่ ะชนิดมี “อายคุ วาม”

ฟ้องรอ้ งคดแี ตกตา่ งกนั

32

กรณที คี่ คู่ วามไมม่ าศาลในวนั นัดพิจารณา

★ ค่คู วามไมม่ าศาลโดยไม่แจ้งเหตุทีไ่ มม่ า
★ โจทก์ไม่มา ศาลส่งั จาหนา่ ยคดี (ถอื วา่ โจทก์

ไมป่ ระสงคจ์ ะดาเนนิ คดตี ่อไป)
★ จาเลยไม่มา ศาลสั่งว่าขาดนัด และพิจารณาชี้ขาด

ตัดสนิ ไปฝ่ายเดยี ว

33

คาใหก้ าร

คาใหก้ าร เป็นหนังสือ
ด้วยวาจา

 จาเลยให้การก่อนหรือในวันนัดพิจารณากไ็ ด้
 จาเลยจะไม่ให้การต่อส้คู ดีก็ได้

34

การสืบพยานคดีแรงงาน

• การอ้าง / ยืน่ บญั ชีพยาน ให้ปฏิบตั ิตามระยะเวลา
• ศาลเรียกพยานหลกั ฐานมาสืบได้เอง
• ศาลซกั ถามพยานเอง (ทนายความหรือตวั ความ

ซกั ถามได้เมือ่ ได้รับอนญุ าตจากศาล)
• การถามค้านและถามติงไม่มีในคดีแรงงาน
• ศาลบันทึกคาเบิกความพยานโดยย่อได้

35

การทาคาพพิ ากษา (Judgement)

• ทาเปน็ หนังสือ
• แสดงข้อเทจ็ จริงที่ฟงั ได้โดยสรุป
• มีคาวินิจฉัยในประเด็นแห่งคดีและเหตผุ ลแห่งคาวินิจฉยั

คาพพิ ากษาเกินคาขอ

ห้าม ศาลแรงงาน พิพากษา / สง่ั เกนิ ไปกว่าหรือนอกจากทีป่ รากฏในคาฟอ้ ง

เว้นแต่

คาพพิ ากษา / คาส่ัง ใหผ้ ูกพนั คู่ความ แต่ศาลแรงงานกาหนดให้ผูกพัน
นายจา้ งและลูกจ้างอื่นซึ่งมีผลประโยชนร์ ว่ มกันในมลู ความแห่งคดดี ้วยได้

36

การอุทธรณ์ (Appeal) 37

คดีแรงงานอทุ ธรณไ์ ด้

 เฉพาะปญั หาข้อกฎหมาย
อทุ ธรณ์ไปยงั ศาลอุทธรณ์คดชี านัญพิเศษ
(เดมิ อทุ ธรณ์ไปยังศาลฎีกา) ภายใน 15 วัน
นับแต่วันอา่ น
 โดยทาเปน็ หนังสอื พรอ้ มสาเนา
(ผรู้ ับอทุ ธรณต์ อ้ งแก้อุทธรณภ์ ายใน 7 วนั )

 การฎีกาคาพิพากษาหรือคาส่ังของ
ศาลอุทธรณค์ ดีชานญั พิเศษ ใหน้ า
บทบัญญัติแหง่ ป.วิ.พ. มาใชบ้ ังคบั โดย
อนุโลม (ตอ้ งไดร้ บั อนุญาตจากศาล
ฎีกาตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๔๗)

38

ชั้นบงั คบั คดี

 ออกคาบงั คบั แกล่ กู หนีต้ ามคาพิพากษา
 หากลูกหนีไ้ ม่ปฏิบตั ิตามคาพิพากษา

เจา้ หนี้ยอ่ มขอให้ศาลออกหมายบังคับ
คดีต้ังเจา้ พนกั งานบังคับคดีไป
ดาเนินการบังคบั คดีได้ภายใน 10 ปี

39

พระราชบัญญัติค้มุ ครองแรงงานฉบบั ใหม่

(ฉบับท่ี 7/2562)

สิทธิประโยชน์ที่เพิ่มขึ้น

1. ลากจิ
2. ลาเพื่อคลอดบุตร
3. อตั ราชดเชยค่าเลกิ จา้ งใหม่
4. กรณีนายจ้างมีการเปลี่ยนตวั หรือนิตบิ ุคคล
5. กรณีย้ายสถานประกอบการไปทอ่ี ื่น
6. กรณีจา่ ยค่าตอบแทน
7. ให้สิทธเิ ทา่ เทยี มระหว่างชาย-หญิง

สิทธิประโยชน์ที่เพิม่ ข้ึน

1. ลากิจ ฉบบั 7 / 2562

มาตรา 34 พระราชบัญญตั ิ
ค้มุ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541

“ให้ลูกจา้ งมีสทิ ธิลา เพื่อกิจธรุ ะ “นายจา้ งตอ้ งจ่าย
อนั จาเปน็ ไดต้ ามขอ้ บังคับ ค่าจา้ งใหแ้ กล่ ูกจา้ งใน
เกย่ี วกับการทางาน” วนั ลาเพื่อกิจธรุ ะอนั
จาเป็น ไมเ่ กินสามวัน
แตไ่ มไ่ ดก้ าหนดวา่ นายจ้างจะต้อง ทางาน”
จัดวันลากจิ ใหล้ ูกจา้ งกีว่ นั และ
ไม่ได้ระบวุ ่าลาแลว้ จะไดร้ ับคา่ จ้าง
หรือไมไ่ ด้

จากเดมิ คือให้ลกู จ้างมีสทิ ธิลาเพอ่ื กจิ ธรุ ะได้ แตจ่ ะไดร้ บั คา่ จ้างหรือไมไ่ ด้รบั ข้นึ อย่กู ับนายจา้ ง
แตพ่ รบ.ใหม่ลูกจ้างมีสทิ ธิลาเพ่อื กจิ ธุระได้ และได้รบั คา่ จ้าง 3 วนั ทางานตอ่ ปี

สิทธิประโยชน์ทีเ่ พิม่ ขนึ้

2. ลาเพื่อคลอดบุตร

พระราชบญั ญัติค้มุ ครอง ฉบับ 7 / 2562
แรงงาน พ.ศ. 2541
เพิ่มวันลาเพอ่ื คลอดบุตรจากเดิมที่
ลกู จา้ งหญิงมีสทิ ธิลาคลอดก่อน เปน็ ไมเ่ กิน 90 วนั เพิม่ ขึน้ มาเปน็
และหลังคลอดครรภห์ นึ่งไม่เกนิ ไมเ่ กิน 98 วัน นบั รวมถึงการลา
90 วนั นบั รวมวนั หยดุ ทมี่ ี เพื่อตรวจครรภ์ก่อนคลอดบุตร
ระหว่างลาด้วย และจะไดร้ บั ด้วย
คา่ จ้างจากนายจ้างไม่เกนิ 45
วัน

สิทธิประโยชน์ที่เพิม่ ขนึ้

3. อัตราชดเชยค่าเลิกจ้างใหม่

พระราชบญั ญตั คิ ุ้มครองแรงงาน ฉบบั 7 / 2562
พ.ศ. 2541

สิทธิประโยชน์ทีเ่ พิ่มขนึ้

4. กรณีนายจ้างมีการเปลี่ยนตัวหรือนิติบคุ คล

พระราชบญั ญตั คิ ุ้มครองแรงงาน ฉบบั 7 / 2562
พ.ศ. 2541 ใหม่

เดิม

ลกู จ้างต้องไปฟ้องศาล หากลกู จ้างไม่ยนิ ยอม จะต้อง
เพื่อเรียกร้องค่าชดเชยเอง จ่ายค่าชดเชยพิเศษให้กับ
ลูกจ้าง

สิทธิประโยชน์ทีเ่ พิ่มขนึ้

5. กรณีย้ายสถานประกอบการไปที่อืน่

เดิม ใหม่

ถา้ นายจ้างย้ายสถานประกอบการ แกไ้ ขเพิ่มเติมในส่วนของอัตราค่าชดเชย
แต่ลกู จา้ งไม่ตอ้ งการไปทางานทใี่ หมด่ ้วย หากลกู จ้างไม่ตอ้ งการไปทางานที่แหง่ ใหม่
ลูกจ้างสามารถบอกเลิกสญั ญาได้ และ มสี ิทธิได้รบั ค่าชดเชยไมน่ ้อยกวา่ อตั รา
จะได้รบั ค่าชดเชยไม่น้อยกว่า 50% ของ ค่าชดเชยทีม่ ีสิทธิได้รบั
อตั ราค่าชดเชยทีม่ สี ิทธิได้รบั ตามมาตรา 118

สรุปใหง้ ่าย คือถ้านายจ้างย้ายสถานทีป่ ระกอบการ แต่ลกู จา้ งไม่อยากไปทางานที่ใหมต่ าม สามารถ
ยกเลกิ ได้ และคา่ ชดเชยกรณนี ี้จากเดมิ ได้รบั 50% เปล่ยี นเปน็ 100% แต่ตามสิทธิที่ได้รับน่นั เอง

สิทธิประโยชน์ที่เพิ่มขนึ้

6. กรณีจ่ายค่าตอบแทน

ในสว่ นนีม้ ีการเพิ่มเติมสิทธิใหล้ กู จา้ ง กรณีทีน่ ายจ้าง
ไม่จ่ายคา่ ตอบแทนให้ลกู จ้างในบางอาชีพ ถ้าทางานเกิน
เวลาปกติ ลูกจ้างสามารถฟอ้ งขอได้

และได้ดอกเบีย้ เพิม่ ข้นึ จากเดิม 7.5% ตอ่ ปี เป็น 15% ต่อปี

สิทธิประโยชน์ที่เพิ่มขนึ้

7. ให้สิทธิเท่าเทียมระหว่างชาย-หญิง

ลูกจ้างชายหญิงทางานที่มีคา่ เท่าเทียมกัน
จะต้องได้รับค่าตอบแทนทีเ่ ท่ากนั

อ้างอิงจาก องคก์ ารแรงงานระหวา่ งประเทศ หรือ ILO (International
Labour Organization)
ฉบับท่ี 100

สิทธิประโยชน์ทีเ่ พิ่มขนึ้

สรุปร่าง พรบ.ค้มุ ครองแรงงานฉบับใหม่มีอะไรใหม่ ?

หัวข้อ เรื่องทีป่ รบั เปลีย่ น

1. ลากิจ ไดร้ ับคา่ จ้าง 3 วนั ทางานต่อปี

2. ลาเพื่อคลอดบตุ ร ลาก่อนและหลังคลอดได้ ไมเ่ กิน 98 วนั และนบั รวมการลาเพื่อตรวจ
ครรภก์ อ่ นคลอดบตุ รดว้ ย
3. อัตราชดเชยค่าเลกิ จ้าง
เพิ่มอตั ราที่ 6 มาอีกหนึ่งขัน้ คือ อายงุ านตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป ไดร้ บั อตั รา
4. กรณนี ายจา้ งมีการเปลย่ี นตวั หรือนิติ คา่ ชดเชย 400 วัน
บคุ คล
หากลกู จ้างไม่ยินยอม จะตอ้ งจา่ ยค่าชดเชยพิเศษใหก้ ับลูกจา้ ง

5. กรณีย้ายสถานประกอบการไปทีอ่ ื่น หากลูกจ้างไมต่ ้องการไปทางานที่แห่งใหม่ มีสิทธิไดร้ บั คา่ ชดเชยตาม
6. กรณจี ่ายค่าตอบแทน มาตรา 118
7. ให้สิทธิเท่าเทียมระหว่างชาย-หญิง
นายจ้างไมจ่ า่ ยค่าตอบแทนให้ ลกู จา้ งสามารถฟ้องขอได้ และได้
ดอกเบี้ย 15% ต่อปี

ลูกจา้ งชายหญิงทางานทีม่ ีคา่ เทา่ เทียมกัน จะต้องได้รบั ค่าตอบแทนที่
เทา่ กนั


Click to View FlipBook Version