เทศบาลนครยะลา อ.เมืองยะลา จ.ยะลา
นโยบายและแผนงาน นโยบายด้านการพัฒนา ระบบราชการและการให้บริการ มุ่งพัฒนาและขับเคลื่ อนเทศบาลนครยะลาด้วยเทคโนโลยี ดิจิทัล เพื่ อมุ่งสู่การเป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City) อย่าง เต็มรูปแบบ และเพื่ อเพิ่ มประสิทธิภาพการให้บริการควบคู่กับ การบริหารจัดการเมืองโดยใช้ทรัพยากรของเมืองให้คุ้มค่า และประหยัดที่ สุด สร้างเสริมสมรรถนะการแข่งขันของเมืองยะลาใน ระยะ 5-10 ปี (เมืองนวัตกรรมอยู่ดีมีสุข : Smart Green Growth City) นายพงษ์ศักดิ์ ยิ่ งชนม์เจริญ แถลงนโยบายต่อสภาเทศบาลนครยะลา เมื่ อวันที่ 7 มิถุนายน 2565 ข้อที่ 2
ปัญหา (Pain Point) ยังจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบ แยกส่วน (Silo) ขาดการ เชื ่ อมโยง ระหว่างกัน ทำให้ผู้บริหารไม่สามารถ นำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ ในการพัฒนาเมืองสำหรับการคาดการณ์ วางแผน ติดตามผล และแก้ไขปัญหา ต่างๆ ของเมือง ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เพื่ อนำไปสู่การ ยกระดับคุณภาพชีวิต ของประชาชนที่ ดียิ่ งขึ้ น ลดความเหลื่ อมล้ ำ และไม่ทิ้ งใครไว้ข้างหลัง ยะลา เป็น 1 ใน 5 จังหวัดที ่ ยากจนที ่ สุด ในประเทศไทย (TPMAP) คลงัณสขุสาธาร ชา่ ง กษา ศึ สตร์ ทธศา ยุประปา ปลดั นกั สำ
ผู้ติดตาม 124,177 คน อยู่ระหว่างพัฒนาเฟส 2 เพิ่ มเพื่ อน 38,816 คน facebook ลักษณะผลงาน YALA Mobile รูปแบบการพัฒนา ร่วมพัฒนากับ บริษัท เบดร็อค อนาไลติกส์ จำกัด ไม่มี งบประมาณในการพัฒนา โครงสร้างพื้ นฐาน ตำแหน่งครัวเรือน ระบบแจ้งปัญหา ร้องเรียน นำเข้าข้อมูล ชั ้ นข้อมูล ใช้ประโยชน์ข้อมูล ประชาชน เทศบาลนครยะลา ขอบเขตชุมชน แจ้งเหตุและจัดการปัญหา โครงสร้างพื้ นฐาน สาธารณูปโภค การจัดเก็บภาษี/แผนที่ ภาษีออนไลน์ การสังคมสงเคราะห์ การรักษาความปลอดภัย การสาธารณสุข การควบคุมอาคาร การป้องกันบรรเทาสาธารณภัย การวางแผนและงบประมาณ ถนน เสาไฟฟ้าส่องสว่าง กล้อง CCTV สังคมสงเคราะห์ ผู้สูงอายุ รับมือภัยพิบัติ ระดับสูงต่ ำของพื้ นที่ ผู้พิการ เก็บข้อมูลทางอากาศ ที่ ดินและสิ่ งปลูกสร้าง ระดับความสูงต่ ำของพื้ นที่ สภาพพื้ นผิวถนน ทางเท้า เก็บข้อมูลภาคพื้ นดิน โครงสร้างพื้ นฐาน ป้ายโฆษณา ที่ ดิน เด็กแรกเกิด ผู้ป่วยเอดส์ จัดเก็บภาษี ที่ ดินและสิ่ งปลูกสร้าง ป้าย จากรถ MMS ป้อนข้อมูลเข้าระบบ จากโดรน
AI ปัญญาประดิษฐ์ โครงสร้างพื้ นฐาน ภาษีป้าย ภาษีที่ ดิน และสิ่ งปลูกสร้าง ภัยพิบัติ ประเมินการซ่อมบำรุง การจัดสรรงบประมาณ คำนวณขนาด ประเภท และอัตราภาษีที่ จัดเก็บ คาดการณ์ล่วงหน้า เตรียมแผนรับมือ เทคโนโลยีและนวัตกรรม GEOSPATIAL ภูมิสารสนเทศเชิงพื ้ นที ่ ระบบแสดงผลข้อมูลที่ มีตำแหน่งพิกัดเป็นองค์ประกอบ เพื่ อแสดงถึงการวิเคราะห์ และความสัมพันธ์ที่ ปรากฎทางกายภาพ ชี้ ให้เห็นถึงปัญหา ดูการเปลี่ ยนแปลง จัดการกับเหตุการณ์ต่างๆ พื้ นที่ มีการร้องเรียนจำนวนมาก การออกแบบและการวางแผน วางจุดให้บริการ และโครงสร้างพื้ นฐาน ความหนาแน่นของประชากร และพื้ นที่ สีเขียว เหตุไฟไหม้ หาตำแหน่งหัวจ่ายน้ ำดับเพลิง ค้นหาเส้นทางที่ รถดับเพลิงสามารถเข้าถึง
บันทึกข้อตกลง MOU สอบถามความต้องการ จัดเก็บข้อมูลเมือง พัฒนาแพลตฟอร์ม กระบวนการ ข้อมูลจาก Drone ข้อมูลจากรถ MMS ป้อนข้อมูลเข้าระบบ แพลตฟอร์มดิจิทัลข้อมูลเมือง (CDDP) ด้านการบริหารจัดการเมือง ภัยพิบัติ โครงสร้างพื้ นฐาน ด้านสวัสวดิการ สังคมสงเคราะห์ ระบบรับแจ้งเหตุและจัดการปัญหาออนไลน์ ระบบภาษีอัจฉริยะ ระบบขออนุญาตและควบคุมอาคารอัจฉริยะ ระหว่างเทศบาลนครยะลา และ บริษัท เบดร็อค อนาไลติกส์ จำกัด การประชุม และ WorkShop ร่วมกันระหว่างเบดร็อค และเทศบาล
ผลงาน/โครงการ แพลตฟอร์มดิจิทัลข้อมูลเมือง (CDDP) รวบรวม จัดเก็บ และแสดงผลข้อมูลโครงสร้างพื้ นฐาน เพื่ อวางแผน การพัฒนาให้สอดรับกับการเจริญเติบโตของชุมชม สังคม และประชากร ที่ เปลี่ ยนแปลงไป
ผลงาน/โครงการ ระบบบริหารจัดการภัยพิบัติ การวางแผนรับมือ การช่วยเหลือตามลำดับความสำคัญ การเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ ผู้ป่วยติดเตียง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ พื้ นที่ อพยพ พื้ นที่ เตือนภัย พื้ นที่ เฝ้าระวัง พื้ นที่ ปลอดภัย ช่วยวางแผนรับมือภัยพิบัติได้ทันท่วงที ให้ความช่วยเหลือตามลำดับ ความสำคัญ และเยียวยาผู้ที่ ได้รับผลกระทบ
ผลงาน/โครงการ ระบบรับแจ้งเหตุและจัดการปัญหาออนไลน์ ยกระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน ให้ช่วยสอดส่องดูแลเมืองเพื่ อให้เมืองน่าอยู่อย่างยั่ งยืน
ผลงาน/โครงการ ระบบขออนุญาตและควบคุมอาคารอัจฉริยะ ที่ อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย ที่ อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง พาณิชยกรรมและที่ อยู่อาศัยหนาแน่นมาก อุตสาหกรรมและคลังสินค้า อุตสาหกรรมเฉพาะกิจ สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสารารณูปการ ที่ โล่งเพื่ อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อม ชนบทและเกษตรกรรม ยื่ นคำขออนุญาตก่อสร้างแบบครบวงจร ติดตาม และรอผลอนุมัติผ่านระบบออนไลน์
ผลงาน/โครงการ ระบบภาษีอัจฉริยะ ยกระดับการบริการประชาชนในการจัดเก็บภาษีให้รวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วน และมีประสิทธิภาพ
สัดส่วนเรื่ องร้องเรียนตามสถานะ จำนวนเรื่ องร้องเรียนแยกตามประเภทปัญหา ข้อมูลตั้ งแต่ 30 สิงหาคม 2565 - 29 สิงหาคม 2566 รอรับเรื่ อง (15) สถิติเรื่ องร้องเรียน เจ้าหน้าที่ รับเรื่ อง (95) กำลังดำเนินการ (71) ดำเนินการสำเร็จ (324) 19% 14% 64% 3% 0 ไฟฟ้า/แสงสว่าง ถนน-ทางเท้า อื่ นๆ เหตุรำคาญ ขยะสิ่ งปฏิกูล ต้นไม้สาธารณะ อุทกภัยน้ ำท่วม พ่นหมอกควันกำจัดยุง ประปา 50 100 150 505 เรื่ องร้องเรียนทั้ งหมด
แก้ไขปัญหาได้รวดเร็วขึ ้ น พฤษภาคม 66 ระยะเวลาเฉลี่ ยการแก้ไขปัญหา 1 เรื่ อง (ตั้ งแต่รับคำร้อง-เสร็จสิ้ น) DAYS HOURS MINUTES ผลการดำเนินการ ลดขั ้ นตอนการปฏิบัติงาน ช่วยการวางแผนอย่างมีประสิทธิภาพ เจ้าหน้าที่ สำรวจ และประเมินภาษี การประเมินความเร่งด่วนในการซ่อมบำรุง การจัดสรรงบประมาณ การวางแผนรับมือภัยพิบัติ และการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ การวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ ดินในอนาคต มีฐานข้อมูลเมืองในการสืบค้น ตำแหน่งพิกัดของข้อมูลมีความแม่นยำ การสำรวจพื้ นที่ ในบริเวณที่ คนเข้าไม่ถึง ตรวจสอบการขออนุญาตก่อสร้าง ข้อมูลการบริหารสังคมสงเคราะห์ การบริการให้การช่วยเหลือทางการแพทย์ 0 9 0 7 3 0 มิถุนายน 66 DAYS HOURS MINUTES 0 1 0 4 2 4
การเผยแพร่ข้อมูลร้องเรียน https://www.yaladashboard.com/service/report YALA Mobile
ลิ้ งค์คิวอาร์โค้ด การประชาสัมพันธ์
ข้อมูลเศรษฐกิจ ข้อมูลพลังงาน ข้อมูลวิถีชีวิต ข้อมูลการเดินทาง ข้อมูลขอบเขตการปกครอง ข้อมูลสิ่ งแวดล้อม ข้อมูลเกษตรกรรม ข้อมูลประชากร รายรับรายจ่ายครัวเรือน EV Charging Station พื้ นที่ จอดรถสาธารณะ การเคลื่ อนท่ ีของประชากร เส้นทางขนส่งมวลชน หน่วยเลือกตั้ ง ที่ ดินสาธารณะประโยชน์ สภาพอากาศ คุณภาพน้ ำ พื้ นที่ เพาะปลูก จำนวนประชากร นักเรียน ครู DATA LAYER OPEN SOURCE DATA TRANSPARENCY DIGITAL INCLUSION จัดเก็บข้อมูลเมืองให้ครอบคลุมทุกมิติ Intelligent Operation Center : IOC เพื่ อเป็นศูนย์กลางการดูแล ควบคุม สั่ งการ และบริหารจัดการระบบต่าง ๆ ภายในพื้ นที่ IOC ศูนย์ปฏิบัติการอัจฉริยะ ระยะสั ้ น ระยะกลาง ระยะยาว แนวทางการต่อยอด DIGITAL INCLUSION DIGITAL INCLUSION
เทศบาลนครยะลา