The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Piraya Chutechihirun, 2023-02-16 02:42:57

กรงกรรมที่ชุมแสง

กรงกรรม

Kong Kam


ผู้จัดทำ นางสาวภิรญา ชุติชัยหิรัญ คำ นำ หนังสือ E-Book เรื่อ รื่ ง Kong Kam at ChumSaeng เล่มนี้ประกอบด้วยสถานที่ท่องเที่ยวใน อำ เภอชุมแสงและตามลอยกรงกรรม ผู้เรีย รี บเรีย รี งหวัง วั เป็นอย่างยิ่งว่าว่หนังสือ E-Book "เรื่อ รื่ ง Kong Kam at Chumsaeng " เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจในหนังสือเล่มนี้เป็น อย่างดี หากมีข้อเสนอแนะประการใด ผู้จัดทำ ยินดี น้อมรับไว้ด้ ว้ ด้ วยความขอบคุณยิ่งและ ปรับปรุงในโอกาส หน้าต่อไป


สารบับั บับั ญ เรื่อ รื่ ง หน้า เมืองชุมแสง 1-2 เจ้าพ่อ เจ้าแม่ ชุมแสง 3-4 สมเด็จพระเจ้าตากสิน 5-7 ตลาดร้อยปี 8-9 ชุมแสงแกลอรี่ 10-11 วัด วั เกยไชยเหนือ 12-14 บรรณานุกรม 15


เป็น ป็ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลเมือง ใน อำ เภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์ ในอดีตพื้นที่อำ เภอชุมแสงมีตลาด เป็น ป็ ที่ประชุมชน มีบ้านเรือ รื นราษฎรตั้งตั้อยู่เป็น ป็ ปึก ปึ แผ่น มีการคมนาคม และการค้าขายเจริญริมาก ยังขาดการบำ รุงรักษา ทางราชการจึงได้ ตั้งตั้ "สุขาภิบาลท้องที่ชุมแสง"[2] ขึ้น และนับเป็น ป็ พื้นที่ 1 ใน 5 สุขาภิบาลท้องที่ใที่ นอดีต (โพธาราม, บ้านโป่งป่ , ชุมแสง, บางมูลนาก และบ้านหมี่) ซึ่งมีความเจริญริรุ่งเรือ รื งมาตั้งตั้แต่อดีต เพื่อบำ รุงความ สุขและความสะดวกของประชาชนให้ยิ่งขึ้น ต่อมาได้มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งตั้เทศบาลเมืองชุมแสง เมื่อปี พ.ศ. 2478[3] มีเนื้อที่เดิม 1 ตารางกิโลเมตร ต่อมาเทศบาลเมืองชุมแสงได้ มีชุมชนหนาแน่นและความเจริญริขยายตัวออกไปนอกเขตมากขึ้น กระทรวงมหาดไทยจึงให้ขยายเขตเทศบาลโดยขยายให้ครอบคลุม พื้นที่ตำ บลชุมแสงทั้งทั้ตำ บล รวมถึงพื้นที่หมู่ที่ 15, หมู่ 2 บางส่วน ของตำ บลเกยไชย และพื้นที่หมู่ 5 บางส่วนของตำ บลพิกุล[4] จึง ทำ ให้มีเนื้อที่เพิ่มขึ้นเป็น ป็ 2.4 ตารางกิโลเมตร ก่อนที่ในปี พ.ศ. 2498 ได้โอนพื้นที่หมู่ 15 และหมู่ 2 บางส่วน (ในขณะนั้นนั้ ) ของตำ บลเกย ไชย ซึ่งถูกตัดเข้าไปอยู่ในเขตเทศบาลเมืองชุมแสง มาขึ้นกับตำ บล ชุมแสง และโอนพื้นที่หมู่ 5 บางส่วน (ในขณะนั้นนั้ ) ของตำ บลพิกุล ซึ่ง ถูกตัดเข้าไปอยู่ในเขตเทศบาลเมืองชุมแสง มาขึ้นกับตำ บลชุมแสง[5] โดยมีอาณาเขตตรงตามหลักเขตเทศบาล ปัจ ปั จุบันในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2564[6] ในเขตเทศบาลมีประชากรทั้งทั้หมด 7,447 คน 1 ชุชุ ชุชุ มแสง


2


เจ้จ้ จ้จ้ าพ่พ่ พ่พ่ อ เจ้จ้ จ้จ้ าแม่ม่ ม่ม่ ชุชุ ชุชุ มแสง ที่อยู่ 10 ถนนแสงปัญปัญา ชุมแสง, นครสวรรค์ ศาลเจ้าพ่อ-เจ้าแม่ชุมแสง สร้างขึ้นด้วยความศรัทธาของ ชาวจีนอาศัยอยู่ในตลาดชุมแสง ตั้ง ตั้ อยู่ติดกับปากคลองจระเข้เผือก ด้านใต้ ชาวชุมแสงเรีย รี กขานกันว่าว่ศาลเจ้าพ่อคลองจระเข้เผือก ตามตำ นานเล่าว่าว่มีขอนไม้ลอยตามลำ น้ำ น่านวนเวีย วี นทวนน้ำ อยู่ หน้าศาล เจ้าพ่อได้ประทับฝัน ฝั ให้ชาวบ้านนำ ขอนไม้นี้ขึ้นมาแล้วนำ ไปแกะสลักเป็นองค์เจ้าพ่อ และเจ้าพ่อจะประทับในไม้แกะสลักนี้ เพื่อปกป้องภัยพิบัติให้ชาวบ้านอยู่เย็นเป็นสุข ทำ มาค้าขายเจริญ ริ รุ่งเรือ รื ง และปลอดภัยตลอดการเดินทาง ตามตำ นานยังเล่าอีกว่าว่ เจ้าพ่อได้เกิดมีความรักกับเจ้าแม่เกยไชย (เป็นตำ บลหนึ่งในอำ เภอ ชุมแสงจังหวัดนครสวรรค์) เจ้าพ่อประทับทรงให้ชาวบ้านชุมแสง ไปสู่ขอเจ้าแม่เกยไชยให้ได้แต่งงานกับเจ้าแม่เกยไชย โดยเจ้าพ่อ ได้ยกขันหมากทางเรือ รืไปสู่ขอและแต่งงานกับเจ้าแม่เกยไชย หลัง งานแต่งชาวบ้านก็อัญเชิญเจ้าแม่เกยไชยกลับมาประทับอยู่ที่ ชุมแสงกับเจ้า พ่อ และได้แกะสลักไม้เป็น ป็ องค์เจ้า แม่ขึ้นมาใหม่ คู่ กับองค์เจ้าพ่อ ศาลเจ้า พ่อคลองจระเข้เผือกจึง เปลี่ยนชื่อมาเป็น ป็ “ศาล เจ้าพ่อ – เจ้าแม่ชุมแสง” จนถึงปัจ ปั จุบัน 3


4


พระบรมราชานุสาวรีย์ รีย์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช สร้างขึ้นเพื่อเทิดพระเกียรติในวีร วี กรรมอันกล้าหาญของพระเจ้าตากสิน มหาราช ที่ทรงกอบกู้เอกราชให้ประเทศชาติ เมื่อ พ.ศ. 2311 เป็น ป็ อีกหนึ่ง พระบรมราชานุสาวรีย์ รีย์ ที่มาถึงชุมแสงแล้วต้องแวะเข้ามากราบไหว้เ ว้ พื่อเป็น ป็ สิริมริงคลแก่ชีวิตวิ ทั้ง ทั้ นี้ จารึก รึ ที่ฐานของอนุสาวรีย์ รีย์ นี้ กล่าวว่าว่ "เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราชทรงทำ สงครามกู้ชาติ ขับไล่พม่าออกจากผืนแผ่นดินไทยแล้ว ย่างเข้าเดือน 12 พ.ศ. 2311 ได้ยกทัพเรือ รื ขึ้นเหนือปราบชุมนุมพิษณุโลก เพื่อรวบรวมบ้านเมืองให้เป็น ป็ ปึก ปึ แผ่นมั่นมั่คง เมื่อมาถึงวัดเกยไชย จุด บรรจบของแม่น้ำ ยมและน่าน เห็นเป็น ป็ ชัยภูมิที่เหมาะสมจึงได้พักทัพก่อน ครั้นวันรุ่งขึ้นจึงออกเดินทาง ฝ่าฝ่ยพระยาพิษณุโลก(เรือ รื ง) ทราบข่าวการ ศึก ก็ให้หลวงโกษา(ยัง)ยกทัพมาตั้ง ตั้ รับ ณ บริเริวณเขตตลาดชุมแสง ซึ่ง เป็น ป็ ชายเขตแดนพิษณุโลก ขณะนั้น นั้ ได้ใช้เรือ รื เพรีย รี วซึ่งสะดวกในการรบ แบบกองโจรมาซุ่มซ่อนบริเริวณป่าป่พงริมริแม่น้ำ น่าน ตอนเหนือของวัดเกย ไชย และเกิดปะทะกันกลางลำ น้ำ ตามบันทึกในประวัติศาสตร์ ในการรบ ครั้งนี้พระองค์ทรงถูกกระสุนปืน ปื เข้าที่พระสงฆ์(แข้ง) พระโลหิตของวีร วี กษัตริย์ริย์ไทยได้หลั่งลั่ลง ณ บริเริวณแม่น้ำ น่านแห่งนี้" พระเจ้จ้ จ้จ้ าตากสิสิ สิสิ นมหาราช 5


ดังนั้นนั้เพื่อเป็น ป็ การเทิดพระเกียรติและเผยแพร่พระเกียรติคุณในการกอบกู้ เอกราชของชาติไทยและเทิดทูนในพระราชประวัติวีร วี กรรม ที่กล้าหาญในการ รวบรวมบ้านเมืองให้เป็น ป็ ไทมาจนถึงทุกวันนี้ จึงได้มีการจัดสร้างพระบรมราชา นุสาวรีย์ รีย์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ขึ้น ณ บริเริวณจุดปะทะของ พระองค์กับกองทัพของพระยาพิษณุโลก เพื่อเป็น ป็ ที่ระลึกถึงวีร วี กรรมในการก อบกู้บ้านเมืองของพระองค์ในครั้งนั้นนั้ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2543 โดยในวันที่ 14 สิงหาคม 2543 มีการจัดพิธีบวงสรวงดวงวิญวิญาณสมเด็จ พระเจ้าตากสิน มหาราช โดยมีนายกร ทัพพะรังสี อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่ รี าว่การ กระทรวงสาธารณสุขในขณะนั้นนั้เป็น ป็ ประธานในพิธี และในวันที่ 19 พฤศจิกายน 2545 จัดพิธีอัญเชิญพระบรม- ราชานุสาวรีย์ รีย์ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าตากสินมหาราช ประดิษฐานบนพระแท่น ณ บริเริวณริมริแม่น้ำ น่านเขต เทศบาลเมืองชุมแสง ขนาดพระบรมราชานุสาวรีย์ รีย์ สูงประมาณ 3 เมตร ประทับยืนตระหง่าน พระหัตถ์ซ้ายทรงพระแสงดาบ ดวงพระเนตรทั้งทั้สองทอด มองไปยังตัวเมืองชุมแสงอันสงบเงียบเลียบริมริสองฝั่ง ฝั่ ลำ น้ำ น่าน ทั้งทั้นี้ สำ นักงานเทศบาลเมืองชุมแสงจะมีการจัดงานประกอบพิธีสักการะ พระบรมราชานุสาวรีย์ รีย์ พระเจ้าตากสินมหาราช ในวันที่ 28 ธันวาคม ของทุก ปี(ปี ซึ่งเป็น ป็ วันปราบดาภิเษกเป็น ป็ กษัตริย์ริย์ ครองกรุงธนบุรี)รี พิกัด พระบรมราชานุสาวรีย์ รีย์ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าตากสินมหาราช ตำ บลชุมแสง อำ เภอ อำ เภอชุมแสง จังหวัด นครสวรรค์ รหัส ไปรษณีย์ 60120 6


7


ตลาดร้ร้อ ร้ อ ร้ ยปีปีปีปี เป็น ป็ ตลาดเก่าแก่ ที่ตั้ง ตั้ อยู่ใน ตำ บลชุมแสง อำ เภอ ชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์ เป็น ป็ ตลาดเก่าแก่อายุกว่าว่ร้อย ปี และมีชุมชนริม ริ น้ำ น่านที่มีเสน่ห์คลาสสิคสุดๆ ค่ะ ซึ่ง ตลาดแห่งนี้เคยเป็น ป็ ชุมชนทางการค้า และเป็น ป็ แหล่งขาย ข้าวที่สำ คัญอีกด้วยค่ะ นอกจากนี้ก็มีชาวจีนที่อพยพมาตั้ง ตั้ ถิ่นฐานและค้าขายอีกเป็น ป็ จำ นวนมากเช่นเดียวกันค่ะ ไฮไลท์ ของ ตลาดร้อยปีชุ ปี ชุ มแสง มาถึงของอร่อยเด็ดภายใน ตลาดร้อยปีชุ ปี ชุ มแสง ที่ ต้องห้ามพลาดไปชิมเลย ก็มีทั้ง ทั้ ร้านก๋วยเตี๋ยวราดหน้า นายโก๊ะ หมูสะเต๊ะเจ๊ลั้ง ลั้ หมูย่างร้านเจ๊บ๊วย ก๋วยจั๊บจั๊โบราณ เจ๊ฮุง ผัดไทยร้อยคิว ข้าวมันไก่อาเฮง ร้านไอศกรีม รี กะทิ และแน่นอนว่าว่ราคาก็น่ารักสุดๆ ค่ะ แต่สิ่งหนึ่งที่เป็น ป็ ไฮไลท์ของ ตลาดร้อยปีชุ ปี ชุ มแสง ก็คือ อาคาร ตึก บ้านเรือ รื นที่มีความคลาสสิคสุดๆ ถ่ายรูปออก มาปัง ปั มากๆ ใครที่ชอบเที่ยวตลาดเก่าโบราณแบบมีทั้ง ทั้ ของกินและมุมถ่ายรูปสวยๆ น่าจะชอบตลาดเก่าร้อยปี แห่งนี้อย่างแน่นอนเลยค่ะ แถมที่นี่ยังเป็น ป็ การย้อนรอย ละครกงกรรม ที่เล่าถึงชุมแสงแห่งนี้อีกด้วยค่ะ ถ้าใครได้ รู้ละครเรื่อ รื่ งนี้น่าจะถูกใจกันค่ะ ที่อยู่ : ตำ บลชุมแสง อำ เภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์ 8


9


ชุมแสงแกลอรี่ (Chumsaeng Gallery) ก่อตั้ง ตั้ โดยกลุ่มคนที่รักงานศิลปะในพื้นที่เป็น ป็ ศูนย์รวมจัดแสดง ภาพถ่าย ภาพวาด งานแฮนด์เมด ที่สรรค์สร้างผลงานโดย คนชุมแสงมีของเก่าสะสมหายาก รวมถึงเป็น ป็ ที่จําหน่าย สินค้าของที่ระลึกเล็ก ๆ น้อย ๆให้กับนักท่องเที่ยว เปิด ปิ ให้เข้าชมได้ทุกวันเสาร์-อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ ตั้ง ตั้ แต่เวลา 09.30-17.00 น.นอกจากนี้ยังเปิด ปิ ให้เข้าชมได้ ในงานประจําปีแ ปี ห่เจ้าพ่อ เจ้าแม่ชุมแสง ในช่วงเดือน ธันวาคม ตั้ง ตั้ แต่เวลา 09.30-20.30 น. และงานวัดเกิดเจ้า พ่อเจ้าแม่ชุมแสง ในช่วงเดือนมีนาคม ชุชุ ชุชุ มแสงแกลอรี่รี่ รี่รี่ 10


11


วัวั วัวั ดเกยไชยเหนื นือ ความโดดเด่นของวัดเกยไชยเหนือแห่งนี้ นอกจากเป็น ป็ วัดเก่า แก่ที่ตั้ง ตั้ อยู่บริเ ริ วณจุดบรรจบของแม่น้ำ ยมและแม่น้ำ น่านแล้ว ยังมี โบราณสถานและโบราณวัตถุที่น่าสนใจมากมาย วัดแห่งนี้สร้างขึ้น ในปีพ.ศ. 2390 เดิมเรีย รี กว่าว่ "วัดบรมธาตุ" ทั้ง ทั้ นี้ เนื่องจากมีเจดีย์ บรรจุพระสารีริ รี ก ริ ธาตุทรงลังกาฐานแปดเหลี่ยมที่มีมาก่อนการสร้าง วัด โดยสันนิษฐานว่าว่สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าเสือแห่งกรุงศรีอ รี ยุธยา ต่อมาในสมัยกรุงธนบุรี พระเจ้าตากสินมหาราช ได้ยกทัพมาปราบ ข้าศึกที่บ้านเกยไชย แล้วได้พระราชทานวิสุ วิ สุ งคามสีมาให้วัดเมื่อ เดือนเมษายน พ.ศ. 2400 น่าชม - พระอุโบสถหลังเก่าริม ริ น้ำ น่าน ที่ยังคงสถาปัตยกรรมอันคลาสสิก ที่นี่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 ภายในมีปูชนียวัตถุสำ คัญ คือ พระประธาน ซึ่งองค์พระมีลักษณะ เป็นลายดอกพิกุล และรูปหล่อพระครูนิรภัยวิเ วิ ทต (หลวงพ่อทอง อยู่) อดีตเจ้าอาวาสวัดเกยไชยเหนือ - พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวัดเกย ไชยเหนือที่ปลูกสร้างเป็น ป็ อาคารทรงไทย 2 หลัง หลังแรกเป็น ป็ พิพิธภัณฑ์เก่าสร้างประมาณปี พ.ศ. 2539 ภายในจัดแสดง เครื่อ รื่ งปั้นดินเผาที่มีการงมได้จากบริเ ริ วณท่าน้ำ วัด นอกจากนี้ยังมี เครื่อ รื่ งเบญจรงค์ เครื่อ รื่ งจักสาน โทรทัศน์รุ่นเก่า เครื่อ รื่ งแก้ว ตะเกียง เตารีด รี ฯลฯ ส่วนอาคารหลังที่สองนั้น นั้ สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2541 ตั้ง ตั้ ชื่อว่าว่พิพิธภัณฑ์ต้นน้ำ ภายในจัดแสดงเครื่อ รื่ งปั้น ปั้ ดินเผา เครื่อ รื่ งแก้ว เครื่อ รื่ งเบญจรงค์ ธนบัตร เงินเหรีย รี ญโบราณ เครื่อ รื่ ง ทองเหลือง ปืนยาว เป็นต้น 12


อาคารอาศรมศิลป์ท้องถิ่นตำ บลเกยไชยเป็นที่เก็บ อุปกรณ์เกี่ยวกับการทำ ตาลโตนด และภูมิปัญญาชาวบ้านของ ตำ บลเกยไชยในการพัฒนาผลผลิตจากตาลโตนด โดยจัด แสดง ตะเกียบไม้นวดงวงตาลตัวผู้และตัวเมีย มีดปาดตาลและ เข็มขัดกระบอกใส่น้ำ ตาลสด กะทะใบบัว แม่พิมพ์หยอด น้ำ ตาลปีกหรือ รืไม้แป้นและแผนผังขั้น ขั้ ตอนการทำ น้ำ ตาลรูป แบบต่าง ๆ - ตำ นานจระเข้ยักษ์แห่งแม่น้ำ น่าน ซึ่งแม่น้ำ น่าน บริเ ริ วณที่ไหลผ่านหน้าวัดนี้เองเป็นต้นกำ เนิดตำ นานของจระเข้ ยักษ์ที่รู้จักกันดีว่าว่ " ไอ้ด่างเกยไชย " ซึ่งออกอาละวาดกิน คนในช่วงสมัยรัชกาลที่ 5 มีตำ นานเล่าว่าว่ ไอ้ด่างเกยไชยนั้น นั้ เป็นจระเข้ดุร้าย ตรงหัวมีรอยด่างสีขาว รูปร่างใหญ่โต ความ ยาวจากปากถึงขากรรไกรประมาณ 1 วา ความสูงจากพื้นสูง ประมาณ 5-6 ศอก ความยาวกว้า ว้ งเท่าแม่น้ำ และภายหลังถูก ฆ่าตายแล้วนำ หัวกระโหลกมาทิ้งที่ศาลเจ้าแม่เกยไชยนั่นนั่เอง - ต้นชุมแสง เป็นต้นไม้ส่วนใหญ่ที่พบได้ภายในวัด ซึ่งหาชมได้ ยากเต็มทีในปัจจุบัน โดยความคิดนี้มาจาก พระครูนิธาน ปุ ญญาภิวัฒน์ เจ้าคณะอำ เภอชุมแสง ที่ต้องการอนุรักษ์ต้น ชุมแสง จึงได้นำ มาปลูกที่วัดเกยไชยเหนือ ต้นชุมแสงจึงกลาย เป็นสัญลักษณ์ประจำ ถิ่นไปโดยปริย ริ าย - ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น ชาวบ้านตำ บลเกยไชย โดยสินค้าขึ้นชื่อคือผลิตภัณฑ์จากตาล โตนด เช่น น้ำ ตาลสด น้ำ ตาลปึก ลอนตาลสด จาวตาลเชื่อม เป็นต้น 13


14


https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0 %B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%AD %E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B9 %81%E0%B8%AA%E0%B8%87 https://thai.tourismthailand.org/Attraction/%E 0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B9%8 0%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8 %9E%E0%B9%88%E0%B8%AD- %E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8 %B2%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0% B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B9%81%E 0%B8%AA%E0%B8%87 https://culturalenvi.onep.go.th/site/detail/6114 https://travel.trueid.net/ https://u2thss.nsru.ac.th/detailattraction/3 https://thai.tourismthailand.org/Attraction/%E 0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B9%80 %E0%B8%81%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8% 8A%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0% B8%99%E0%B8%B7%E0%B8%AD บรรณานุนุ นุนุ กรม 15


Click to View FlipBook Version