The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารวิชาการ
ข้าวฟ่าง การผลิตเมล็ดพันธุ์และการเก็บรักษา
โดย วัลลิภา สุชาโต นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ
ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน กรมวิชาการเกษตร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ข้าวฟ่าง การผลิตเมล็ดพันธุ์และการเก็บรักษา

เอกสารวิชาการ
ข้าวฟ่าง การผลิตเมล็ดพันธุ์และการเก็บรักษา
โดย วัลลิภา สุชาโต นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ
ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน กรมวิชาการเกษตร

Keywords: ข้าวฟ่าง,การผลิตเมล็ดพันธุ์,การเก็บรักษา

42

การเกบ็ รกั ษาเมลด็ พนั ธุ์ สภาพท่ดี ที ส่ี ุดสาหรบั เมล็ดพันธ์คุ ือ พยายามเก็บในที่อากาศเย็นและแห้ง
จากตารางที่ 12 สภาพอากาศเย็น ( 7oC ) ความชน้ื สมั พัทธ์ต่า (45 % RH) จานวนเดือนที่เก็บรักษาจะนาน
กวา่ สภาพปกติ (Ambient) สภาพอากาศร้อน ( 30oC ) และความชื้นสัมพัทธ์ค่อนข้างสูง (70 % RH) เมล็ด
พันธจ์ุ ะเส่อื มเร็ว อายุการเก็บรกั ษาจะสนั้

ตารางที่ 12 เปอร์เซน็ ต์ความงอกของเมล็ดพันธุ์พืชคุณภาพสูง 3 ชนิด หลังจากการเก็บรักษาไว้ในสภาพ
ทีแ่ ตกตา่ งกัน 3 ลกั ษณะ เป็นระยะเวลาตา่ งๆ กนั

ชนิดพืช สภาพท่ีเก็บ จานวนเดือนท่ีเก็บรกั ษา
รกั ษา 0 6 12 18 24 30
ถว่ั เหลอื ง 7oC – 45 % RH 94 - 94 - 96 94
Glycine max Ambient 94 94 85 60 42 -
30oC – 75 % RH 94 0 - - - -
ข้าวฟา่ ง
Sorghum 7oC – 45 % RH 96 - 97 - 92 90
bicolor Ambient 96 96 93 86 80 74
30oC – 75 % RH 96 62 10 - - -
ข้าวโพด
Zea mays 7oC – 45 % RH 98 - 98 - 98 98
Ambient 98 98 96 96 85 65
30oC – 75 % RH 98 94 30 - - -

7oC – 45 % RH = สภาพอากาศเยน็ ความชน้ื สมั พทั ธต์ ่า :
Ambient = สภาพปกติ ณ ที่ทาการทดลองใน State College มหาวิทยาลัยมิสซิสซิปปี สรอ. เป็น
การเก็บรักษาในโรงเก็บบุฉนวนกันความร้อน , อุณหภูมิเฉลี่ย เดือนมกราคม 7oC เดือนกรกฎาคม 27oC
จานวนวนั ท่ไี ม่มีน้าคา้ งแขง็ 226 วนั , การกระจายของฝนตลอดปี 52 น้วิ ฟุต
30oC – 75 % RH = อุณหภูมสิ งู ความชืน้ สมั พัทธ์สงู

ทม่ี า : J.C. Delouche et al., (1973)

43

ตารางที่ 13 ข้อแนะนาสาหรบั การใช้อุณหภูมิโรงเก็บและความช้ืนของเมล็ดสูงสุด ในการเก็บรักษาเมล็ด
พนั ธ์ุในระยะยาว

5 ปี อายุทต่ี ้องการเก็บรักษา 20 ปี
90oF ความชื้น 9 % 10 ปี 90oF ความชื้น 7 %
80oF ความช้ืน 10 % 80oF ความชน้ื 8 %
70oF ความชื้น 11 % 90oF ความชนื้ 8 % 70oF ความชน้ื 9 %
60oF ความชน้ื 12 % 80oF ความชนื้ 9 % 60oF ความช้นื 10 %
50oF ความช้ืน 13 % 70oF ความชนื้ 10 % 50oF ความชื้น 11 %
40oF ความชนื้ 14 % 60oF ความชนื้ 11 % 40oF ความชื้น 12 %
30oF ความชน้ื 15 % 50oF ความช้ืน 12 % 30oF ความชน้ื 13 %
40oF ความชื้น 13 %
30oF ความช้ืน 14 %

ทมี่ า : Harrington J.F., and J.E. Douglas. (1970)

4.2 วธิ ีการจดั เก็บเมลด็ ขา้ วฟา่ ง
จากความสัมพันธ์ระหว่างความช้ืนเมล็ด ความช้ืนสัมพัทธ์ และอุณหภูมิในการเก็บรักษาตามที่

กล่าวมาข้างต้น จึงได้มีการพัฒนาจัดสร้างโรงเก็บเพ่ือควบคุมบรรยากาศให้สามารถเก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุข้าวฟ่าง
ให้ได้ยาวนาน มีการใช้บรรจุภัณฑ์ซึ่งเปรียบเสมือนโรงเก็บเล็กๆ เพ่ือให้สะดวกต่อการจาหน่าย ขนย้าย
โดยการพิจารณาควบคไู่ ปกับระยะเวลาท่ตี ้องการจะเก็บรักษา ซึง่ อาจจดั แบง่ ตามวัตถุประสงคไ์ ด้ดังนี้

1. เก็บขา้ มฤดู หรือระยะสน้ั เพ่อื ท่ีจะเกบ็ เมลด็ ไวใ้ ช้ทาพนั ธใ์ุ นฤดถู ัดไป เป็นเวลา 4-9 เดอื น

2. เก็บข้ามปี เพือ่ ใช้ทาพนั ธ์ใุ นปีตอ่ ๆ ไ
- ระยะปานกลาง
1-3 ปี สาหรับพืชไร่
3-5 ปี สาหรับการเกบ็ รักษาเมลด็ พนั ธุ์หลัก

- ระยะยาว

10-20 ปี ในการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์คัดและเช้ือพันธุ์ เมล็ดพันธ์ุท่ีเก็บรักษาในปริมาณ
มาก เช่น ในยุ้งฉาง ในถังพักก่อนการปรับปรุงสภาพ หรือในสภาพพร้อมจาหน่ายโดยบรรจุในกระสอบ
พลาสติกสาน จะต้องมีความช้ืนอยู่ในระดับที่พอเหมาะคือ ธัญพืชไม่เกิน 11 % สาหรับเมล็ดที่บรรจุใน
กระสอบพลาสติกสาน จะมีอายุการเก็บรักษานานเท่าใดข้ึนอยู่กับชนิดของโรงเก็บ กล่าวคือ ( 1 ) หากใช้
โรงเก็บธรรมดา ซึ่งมีการออกแบบและก่อสร้างให้ป้องกันรังสีความร้อนและความช้ืนจากอากาศภายนอก
โดยใหม้ ีการระบายอากาศ และสามารถป้องกันศัตรูพืช เช่น นก หนูและแมลง ถือเป็นการเก็บรักษาระยะ
สั้นถึงปานกลาง ซ่ึงใช้ไดด้ ีสาหรบั ภูมิประเทศเขตอบอุ่น แต่ในเขตร้อนช้ืน เมล็ดที่บรรจุอยู่ภายในกระสอบ
พลาสติกสาน จะมีความช้ืนสูงข้ึนตามระยะเวลาและสภาพอากาศ จึงเสื่อมคุณภาพได้เร็วกว่าโรงเก็บ

44

ธรรมดาน้ี จะให้ผลในการเก็บรกั ษาไดน้ าน 1-2 ปี ขึ้นอยูก่ ับชนิดของพืช (2) หากใช้โรงเก็บควบคุมสภาพ
ท่ีมีการก่อสร้างให้ป้องกันความร้อนและความช้ืนจากอากาศทุกๆ ด้านอย่างแน่นหนา ไม่มีหน้าต่างรวมท้ัง
การระบายอากาศ แล้วควบคุมอุณหภูมิและความช้ืนสัมพัทธ์ภายในโดยการ ใช้ Dehumidifier และ
เคร่ืองปรบั อากาศหรืออาจจะใช้ซิลิกาเจลเป็นสารดูดความช้ืน แล้วใช้เคร่ืองปรับอากาศเป็นตัวทาความเย็น
จะให้ผลการเก็บรกั ษาในระยะปานกลางขน้ึ ไป การเลือกชนิดของโรงเก็บ จะต้องพิจารณาถึงความคุ้มค่าทาง
เศรษฐกิจและความสาคัญของพืชประกอบด้วย หากไม่ใช่พืชท่ีเก็บรักษายาก หรือไม่จาเป็นต้องเก็บไว้นาน
ควรเลอื กใชโ้ รงเก็บธรรมดาแทน

การเกบ็ รกั ษาเมลด็ พนั ธุ์ให้มอี ายุยาว 5-10-20 ปี

สาหรับการเก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุให้มีอายุในระยะยาว 5-10-20 ปี เช่น ในการรักษาพันธ์ุคัดหรือ
เช้อื พันธ์ุก็ยงั ใชห้ ลกั การจากกฎในการเก็บรกั ษา ซง่ึ จะมี 2 วิธคี ือ

1. ควบคมุ สภาพของโรงเก็บ ซึง่ จะต้องมีการป้องกันความชืน้ จากอากาศภายนอกได้เป็นอย่างดี
แล้วควบคุมในเร่ืองความช้ืนหรืออุณหภูมิตามที่มีข้อแนะนาไว้ในตารางที่ 13 ยกตัวอย่างอธิบายได้ เช่น ถ้า
ต้องการเก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุให้ได้อายุ 5 ปี สามารถจะเลือกปฏิบัติ 1 ใน 2 วิธี ซ่ึงให้ผลลัพธ์เท่ากับคือ (ก)
ควบคุมความชื้นเมล็ดไม่ให้เกิน 9 % เมื่อโรงเก็บมีอุณหภูมิ 90oF (32oC) ซ่ึงจะสมดุลกับความช้ืนสัมพัทธ์
ของอากาศที่ 35 % หรือ (ข) ปรับอุณหภูมิในโรงเก็บให้เย็น 60oF (15oF) แล้วเก็บเมล็ดท่ีมีความช้ืนไม่เกิน
12 % ซึ่งจะสมดลุ กบั ความชื้นสมั พัทธข์ องอากาศที่ 60 % เปน็ ต้น

2. ใช้ซลิ กิ าเจล ซงึ่ เป็นสารดูดความช้ืนที่มีประสิทธิภาพสูงเป็นตัวกาหนดความชื้นสัมพัทธ์ โดย
นาไปบรรจุในห่อผ้าใส่รวมกับเมล็ดท่ีแห้งในภาชนะปิดสนิท หรือถ้ามีเมล็ดพันธ์ุปริมาณน้อยอาจใส่ห่อ
ซิลิกาเจลในซองหรือถุงกระดาษท่ีบรรจุเมล็ดพนั ธุ์ก่อน แล้วจึงใส่รวมในภาชนะปิดผนึกนาไปเก็บในห้องเย็น
ตอ่ ไป วธิ ีนจี้ ะประหยัดคา่ ใชจ้ า่ ยได้มากกวา่ การปรบั สภาพโรงเก็บเป็นพิเศษ

3. อุณหภูมิ มีบทบาทสาคัญต่อการเกิดปฏิกิริยาทางชีวเคมีภายในเมล็ด การเก็บรักษาในที่
อุณหภูมิสูงจะเร่งกิจกรรมในเมล็ด ทาให้มีอัตราการหายใจสูง ผลที่ตามมาคือ เมล็ดจะสูญเสียความงอกได้
เร็ว ในเรื่องน้ีมีกฎที่ใช้ท่ัวๆ ไปว่า “การลดอุณหภูมิของโรงเก็บลง 10oF จะทาให้อายุการเก็บรักษาเพ่ิมขึ้น
เป็น 2 เท่า” ซึ่งจะใช้ได้ดีในช่วงของอุณหภูมิระหว่าง 32oF - 122oF เช่นกัน อิทธิพลของอุณหภูมิและ
ความช้นื ทีม่ ตี ่ออายุในการเกบ็ รักษา สามารถชดเชยและสนบั สนุนซึง่ กนั และกนั เช่น เมล็ดที่มีความช้ืนต่า
ทเ่ี ก็บรักษาไวท้ ่ีอากาศร้อน อาจจะมีชวี ิตอย่ไู ดน้ านพอกันกับเมล็ดที่มีความชื้นสูง แต่เก็บในที่เย็น ในสภาพ
ทีท่ ง้ั รอ้ นและช้ืนนอกจากจะไมม่ ผี ลดกี ับเมล็ดแล้ว กรณีท่ีความชืน้ ของเมลด็ สงู ถึง 12-14 % จะเอื้ออานวย
ตอ่ การเจริญของเช้อื รา สภาพทดี่ ที ่ีสุดสาหรบั การเก็บรักษาคือ พยายามลดความชืน้ ของเมล็ดให้ต่าแล้วเก็บ
ในท่ีอากาศเย็นและแห้ง ซ่ึงยังมีกฎข้อสุดท้ายเพ่ิมเติมอีกว่า สภาพเก็บรักษาดีท่ีสุดควรให้มีผลบวกของ
ความชื้นสัมพัทธ์และอุณหภูมิ (เป็น oF) ไม่เกิน 100 ดังมีตัวอย่างแสดงให้เห็นภาพรวมจากผลการศึกษา
วิจัยในประเทศสหรัฐอเมริกาเร่ืองสภาพต่างๆ ท่ีใช้ในการเก็บรักษากับความงอกของเมล็ด ตามตารางท่ี 4
และ 5 อย่างไรก็ตาม การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ในเขตร้อนช้ืน เช่น ประเทศไทยให้มีคุณภาพดีได้นาน
นับวา่ เป็นเรือ่ งทท่ี ้าทาย เนอ่ื งจากมสี ภาพอากาศรอ้ นและความชื้นสัมพัทธ์ค่อนข้างสูง เมล็ดพันธ์ุจึงมีอายุ
การเกบ็ รกั ษาในสภาพทอ้ งถน่ิ ท่ีไม่มีการควบคุมสั้นกว่าในประเทศเขตอบอุ่น

45

ประสทิ ธภิ าพของวัสดบุ รรจภุ ณั ฑ์
สาหรับการเก็บรักษาในปริมาณน้อย สามารถจะเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ชนิดต่างๆ แทนหรือเสริม

กบั โรงเกบ็ ประสิทธิภาพของบรรจภุ ัณฑ์ขนึ้ อยกู่ ับวัสดทุ ใ่ี ช้ทาซงึ่ ไดแ้ ก่

(1) ป้องกันความช้ืน คือ ไอของความชื้นจะไม่สามารถผ่านได้เลย เช่น กระป๋องดีบุก
อลูมิเนียม ขวดแก้ว พลาสติกแข็ง ถุงพลาสติกความหนา 7 มม.ขึ้นไป ซ่ึงจะต้องมีการเชื่อมปิดสนิทโดย
ความรอ้ นหรอื มปี ะเก็นปิดเสรมิ ทีฝ่ า

(2) ต้านทานความชื้น คือ ไอความชื้นสามารถซึมผ่านได้ในระยะยาว เช่น พลาสติกบาง
ถุงพลาสติกสานที่มีเย่ือพลาสติกบุซ้อนภายใน รวมทั้งอุณหภูมิพลาสติกชนิดหนาที่ใช้การเย็บปิดปากถุง
ขวดแกว้ และกระปอ๋ งกดปดิ ด้านบนซึง่ ไมม่ ปี ะเกน็ เสริมท่ีฝา

(3) อากาศผ่านได้ เชน่ ถุงผ้า ถงุ กระดาษ และกระสอบพลาสติกสาน

เมล็ดพนั ธ์ทุ ่บี รรจุในภาชนะปิดผนึกหรอื ปิดสนทิ (หมายถึง ทท่ี าจากวัสดุตามขอ้ 1) ตัวอย่างเช่น
พืชผกั ขนาดเล็กหรือไม้ดอกท่ีบรรจุในกระป๋องปิดผนึก จะได้รับผลกระทบจากสภาพอากาศภายนอก น้อยมาก
แต่ท่ีสาคัญคือ จะต้องลดความชื้นเมล็ดให้ต่ากว่าการเก็บธรรมดา 2-3 % หรือรักษาระดับไว้ท่ี 5-8 %
ซึ่งความช้ืนที่ระดับนี้จะเป็นตัวกาหนดความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศภายในภาชนะปิดที่จุดสมดุล ประมาณ
30-35 % จึงจะทาให้เมล็ดมีอายุยาวนานมากกว่า 4 ปีข้ึนไป ท้ังนี้ เน่ืองจากการนาเมล็ดที่มีความช้ืนสูง
บรรจุในภาชนะปดิ เมลด็ จะหายใจ และเปล่ียนแปลงสภาพที่ใชเ้ ก็บรักษา มเี ชอ้ื รา ทาให้เมล็ดเส่ือมและตาย
เร็วกวา่ การบรรจใุ นภาชนะที่ยอมให้อากาศผ่าน บรรจุภัณฑ์ท่ีทาจาก วัสดุตามข้อ 2 ก็จะต้องลดความชื้น
ขณะเรมิ่ บรรจุให้อยใู่ นระดบั เดียวกบั ภาชนะปดิ สนิทด้วย

สว่ นการเก็บรักษาเมลด็ พนั ธ์หุ ลกั ก็ใช้หลักการลดความช้ืนเมล็ดพนั ธุใ์ ห้อยู่ในระดับที่เก็บรักษาไว้
ได้ 3-5 ปี แลว้ จงึ เลอื กวธิ กี ารบรรจุในภาชนะที่ทาจากวสั ดปุ อ้ งกัน ต้านทานความชื้น หรือจะเลือกวิธีการ
เกบ็ ในโรงเกบ็ ควบคุมสภาพกไ็ ด้

4.3 ขอ้ แนะนาในการเก็บรักษาเมล็ดพนั ธุ์

เน่ืองจากเมล็ดพันธ์ุเป็นสิ่งมีชีวิต การเก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุจึงเป็นการรักษาไม่ให้เมล็ดพันธุ์เสื่อม
คุณภาพ หรือเป็นการป้องกันส่ิงท่ีทาให้เมล็ดพันธุ์เส่ือมคุณภาพ เช่น แมลง สัตว์ ศัตรูในโรงเก็บ
ขอ้ แนะนาในการเกบ็ รักษาเมล็ดพันธ์ุมีดังนี้

1. ทาใหเ้ มลด็ พันธแุ์ หง้ อยเู่ สมอ

2. เกบ็ เมล็ดพนั ธุไ์ ว้ในทม่ี อี ากาศเย็น มีการระบายอากาศดี

3. อย่าวางเมล็ดพนั ธไ์ุ วใ้ กล้ปุย๋ หรอื สารเคมี

4. อย่าวางเมล็ดพันธ์ุบนพ้ืนดิน หรือพ้ืนซีเมนต์ ควรมีแคร่ หรือวัตถุรองรับภาชนะ หรือช้ันวาง
เมล็ดพันธ์ุ ( Pallets) รองรับกระสอบเมลด็ พนั ธุ์

46

5. อย่าเก็บเมล็ดพนั ธุ์ไว้ใกล้แหลง่ น้า
6. อย่าเกบ็ เมลด็ พนั ธุค์ วามชนื้ สงู ในภาชนะปดิ
7. หมน่ั ตรวจสอบ ดูแล ปอ้ งกนั กาจัดศัตรขู องเมล็ดพนั ธุ์
8. ปอ้ งกันไม่ใหเ้ มลด็ พันธไ์ุ ดร้ บั ความกระทบกระเทือน

4.4 แมลงศัตรโู รงเกบ็ (Stored product insects)
ด้วงงวง ( Sitophilus spp. )
Common name : Rice weevil, maize weevil
Family : Curculinoidae

ภาพที่ 21 ตวั เตม็ วัยดว้ งงวง ( Sitophilus spp. )

ด้วงงวงมี 2 ชนิด คือ ด้วงงวงข้าว ( S. oryzae ) และด้วงงวงข้าวโพด ( S. zeamais ) ท้ัง
2 ชนิดเปน็ แมลงศัตรูสาคัญของข้าวสาร ข้าวโพด ข้าวบาร์เลย์ ข้าวสาลีและข้าวฟ่าง ตัวเต็มวัยวางไข่ใน
เมล็ดพืช ตัวหนอนกัดกินเมล็ดอยู่ภายในจนเป็นตัวเต็มวัยจึงจะเจาะเมล็ดออกมา ทาให้เมล็ดที่ถูกทาลาย
เปน็ รแู ละกลวงภายใน (ขนาด 2-3 มม.) วางไขค่ ร้งั ละ 100-150 ฟอง วงจรชวี ติ 35-110 วนั

47

มอดหัวป้อม ( Rhyopertha dominica )
Common name : Lesser grain borer
Family : Bostrichidae

ภาพท่ี 22 ตัวเตม็ วยั มอดหวั ป้อม ( Rhyopertha dominica )

มอดหัวป้อมเป็นแมลงศตั รูสาคญั ของข้าวเปลือก ข้าวบาร์เลย์ ข้าวสาลีและข้าวฟ่าง เมล็ดพืชที่
ถูกทาลายมีลักษณะเป็นรูกลวงภายในและมีฝุ่นผงเกิดข้ึน หากมีการทาลายของมอดหัวป้อมในกระสอบ
จะเห็นฝุ่นผงมากมายที่ก้นกระสอบ เพราะหนอนและตัวเต็มวัยทาลายเมล็ดพืช (ขนด 2-3 มม.) วางไข่
ครัง้ ละ 300-500 ฟอง วงจรชวี ติ 20-84 วัน

ผีเสือ้ ข้าวสาร ( Corcyra cephalonica )
Common name : Rice moth
Family : Pyralidae

ภาพที่ 23 ตวั เตม็ วยั ผเี ส้ือข้าวสาร ( Corcyra cephalonica )

ผเี สื้อข้าวสารเป็นศตั รทู ่สี าคัญของข้าวสาร ผลิตภัณฑ์จากข้าว ถั่วเหลือง ถ่ัวลิสง ข้าวโพด ข้าวฟ่าง
โกโก้ ผลไม้แหง้ หนอนผเี สอ้ื ขา้ วสารเข้าทาลายอาหาร และถกั ใยหมุ้ อาหารท่ีทาลาย ทาให้เป็นก้อนไม่น่าดู
นอกจากน้ียังถ่ายมูลปนลงในอาหารทาให้สกปรก และเสอ่ื มคุณภาพ ผเี สอ้ื ข้าวสารตัวเต็มวัยมีขนาด 20-25
มม. วงจรชีวิต 26-27 วัน ในสภาพเหมาะสมต่อการเจริญเติบโต ท่ีอุณหภูมิ 30.0-32.5oC และความช้ืน
สมั พัทธ์ 70 %

48

ผีเสอ้ื ขา้ วเปลือก ( Sitotroga cerealella )
Common name : Angoumois grain moth
Family : Gelechidae

ภาพที่ 24 ตวั เต็มวัยผีเสอื้ ข้าวเปลือก ( Sitotroga cerealella )

ผเี สือ้ ข้าวเปลอื กเปน็ แมลงศตั รูสาคัญของข้าวเปลือก ข้าวสาลี ข้าบาเลย์ ข้าวฟ่าง การระบาดเริ่ม
ต้ังแต่ข้าวเพิ่งจะเก็บเกี่ยว และระบาดมากหลังการเก็บเกี่ยว 3-4 เดือน เมล็ดข้าวเปลือกท่ีถูกทาลายมี
ลักษณะเป็นรู ภายในจะมีข้าวเหลืออยู่เพียงเล็กน้อย ผีเสื้อข้าวเปลือกตัวเต็มวัยมีขนาด 10-15 มม. วงจร
ชีวิต 28 วนั ในสภาพเหมาะสมตอ่ การเจริญเติบโตทอี่ ณุ หภมู ิ 30.0-32.5oC และความชน้ื สัมพัทธ์ 80 %

เหาหนงั สือ ( Liposcells spp. )
Common name : Psocids
Family : Myopsocidae

ภาพที่ 25 ตวั เตม็ วัยเหาหนงั สือ ( Liposcells spp. )

49

เหาหนงั สอื เปน็ แมลงท่มี ีขนาดเล็ก อาจมปี กี หรอื ไม่มปี ีก ชอบทาลายเมล็ดพืชท่ีแตกหัก เช่น ข้าว
ขา้ วโพด แป้ง และผลิตภัณฑ์จากพชื เมลด็ ทม่ี เี ชื้อราหรือมีความช้ืนสูง และไข่แมลงพบระบาดมากในช่วงที่
มีอากาศร้อน และความช้ืนสัมพัทธ์สูง เพศเมียสามารถวางไข่ได้โดยไม่ผสมพันธ์ุ เหาหนังสือตัวเต็มวัยมี
ขนาด 1-2 มม. เคยพบการระบาดของเหาหนังสือที่โกดังโรงเก็บเมล็ดพันธ์ุข้าวฟ่างของศูนย์วิจัยพืชไร่
สุพรรณบุรี ในปี 2545 ทาให้เกิดอาการแพ้ คันตามผิวหนัง เป็นปัญหาสาหรับผู้ปฏิบัติงานในโรงเก็บ
เมล็ดพนั ธุ์

การป้องกนั กาจัด
1. รักษาความสะอาดของโรงเก็บ
2. ควรเกบ็ ผลิตผลเกษตรใหม้ ีความชน้ื ตา่ ที่สุด
3. การใช้ความร้อน 55 องศาเซลเซียส 12 ชั่วโมง หรือ 65 องศาเซลเซียส 15 นาที สามารถฆ่า
แมลงได้หมด
4. สารฆ่าแมลง พิริมิฟอสเมทิล คลอร์ไพริฟอสเมทิล เฟนิโตรไทออน อัตรา 2 มิลลิเมตร หรือ
เพอร์เมทรินอัตรา 3 มิลลิลิตร หรือไซเพอร์เมทรินอัตรา 1 มิลลิลิตร ผสมน้า 300 มิลลิลิตร
คลุกเมลด็ พนั ธุ์ 100 กิโลกรัม
5. อะลูมเิ นียมฟอสไฟต์ อตั รา 1 เมล็ดตอ่ เน้ือที่ 1 ลูกบาศก์เมตร หรือ 2-3 เม็ดต่อน้าหนัก 1 ตัน
รมนาน 7-10 วัน
6. ใช้สารรมเมทิลโบรไมด์ อัตรา 2 ปอนด์ ต่อเนื้อที่ 1,000 ลูกบาศก์ฟุต หรือ 2 ปอนด์ต่อ
น้าหนกั 10 ตัน รมนาน 24 ช่วั โมง

ทีม่ า : กสุ มุ า นวลวฒั น์ และคณะ (2544)

50

เอกสารอา้ งอิง

กรมส่งเสรมิ การเกษตร, 2548. การเกบ็ รกั ษาเมล็ดพนั ธ์ุพืช. ( Online ). Available
htt://www.doae.go.th/library/html/detail/Seed/MainSeed.htm (1/11/2550)

กุสุมา นวลวัฒน์ พรทิพย์ วิสารทานนท์ ใจทิพย์ อุไรช่ืน พินิจ นิลพานิชย์ บุษรา จันทร์แก้วมณี
และรังสิมา เก่งการพานิชย.์ 2544. แมลงศตั รูผลิตผลเกษตร เอกสารเผยแพร่ กลุ่มงานวิจัยแมลง
ศตั รผู ลิตผลเกษตร. กองกฎี และสตั ววทิ ยา. กรมวชิ าการเกษตร.

ปรานอม ศรยั สวสั ดิ.์ 2547. วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยเี มลด็ พันธ.ุ์ ขา่ วสารเมล็ดพันธ์ุพืชปีที่ 11. ฉบับท่ี 3.
ประจาเดอื นพฤษภาคม – มถิ ุนายน 2547.

Delouche J.C., R.K. Matthes, G.M. Dougherty and A.H. Boyd., 1973. Storage of Seed in
Sub-Tropical and Tropical Regions. Seed Sci and Technol. 1 : 671-700.

GASDA. 1997. Mycotoxins in grain Technical Leaflet No.3, Wageningen, The Nethelands.
12 pp.

Gwinner J., R. Hamisch and O. Muck. 1996. Manual on the Prevention of Post-harvest
Grain Losses. Deutsche Gesellschaft fur Technische Zusammenarbeit ( GTZ ) GmbH,
Eschbom, Germany. 330 pp.

Harrington J.F., and J.E. Douglas., 1970. Seed Storage and Pachaging. 221 pp.

51

บทที่ 5
โรงเกบ็ เมลด็ พนั ธุ์ (Seed store)

การเก็บรักษาผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยวมีความสาคัญอย่างมาก ในการรักษาคุณภาพของผลผลิต
ให้เส่ือมสภาพน้อยที่สุด ผลผลิตท่ีต้องเก็บเพ่ือรอการนาไปใช้ประโยชน์ท่ีแตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นการ
นาไปใช้เป็นเมล็ดพันธุ์สาหรับปลูกในฤดูต่อไป การเก็บเพ่ือรอจาหน่าย บริโภคหรือรอแปรรูป เป็นต้น ซึ่ง
สว่ นใหญ่การเก็บเมล็ดพันธุ์เหล่าน้ีมักเก็บในปริมาณมาก ระยะเวลาการเก็บใช้เวลานาน ทาให้ต้องหาวิธี
ในการดูแลรักษาเพื่อให้เมล็ดพันธ์ุคงคุณภาพเดิมให้มากที่สุด โรงเก็บเมล็ดพันธุ์จึงถูกสร้างข้ึนเพื่อการเก็บ
รักษาผลผลติ ดังกล่าว
5.1 ลกั ษณะโรงเกบ็ เมลด็ พันธ์ุ

โรงเก็บเมล็ดพันธคุ์ วรมีการออกแบบที่เหมาะสม โดยเฉพาะในเขตภมู อิ ากาศร้อนช้ืนของประเทศ
ไทย โรงเก็บเมล็ดพันธุค์ วรมีลักษณะดังนี้

- เยน็ แหง้ มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก ตงั้ อยบู่ นท่สี งู น้าท่วมไม่ถึงมีทางระบายน้าดี
- ง่ายต่อการทาความสะอาด
- ไมม่ ชี อ่ งเปดิ ให้นก หนู เข้าได้
- ตน้ ทนุ ในการดแู ลรักษาต่า ใกลถ้ นน ขนสง่ สะดวก
5.2 อุปกรณท์ ใ่ี ชใ้ นโรงเกบ็ เมล็ดพนั ธุ์
อุปกรณ์ที่ใช้ในโรงเก็บเมล็ดพันธ์ุที่จาเป็นคือ ช้ันวางเมล็ดพันธุ์ (Pallets) ช้ันวางควรมีพื้นท่ีผิวท่ี
รับน้าหนักเมล็ดพันธุ์ไม่ต่ากว่า 40 % ควรมีไม้รองความสูงวัดจากพ้ืน 10 ซม. เพื่อการระบายอากาศของ
กระสอบเมล็ดพันธุ์ อย่าวางกระสอบเมล็ดพันธ์ุไว้บนพ้ืนโดยตรง จะทาให้ความช้ืนจากพ้ืนถ่ายเทเข้าสู่
เมล็ดพนั ธุ์ ทาใหเ้ มล็ดพันธุ์เส่ือมเรว็ ขึ้น

ภาพที่ 26 ชนั้ วางเมลด็ พันธ์ุมาตรฐาน

52

การวางกระสอบเมล็ดพันธุ์ (Stacking the bags) ควรหันปากกระสอบไว้ด้านในเพ่ือป้องกัน
การร่วงหลน่ ของเมล็ดพันธ์ุ ทาใหด้ ูสวยงาม จดั การงา่ ย

ภาพที่ 27 การวางกระสอบเมลด็ พนั ธ์ุ
การวางเมล็ดพันธุ์ควรจะม่ันคง ป้องกันการล้ม ถ้าช้ันบนกว้าง อาจจะไม่สมดุลเกิดการล้มได้
ดังภาพซ้ายมือสดุ

ภาพที่ 28 รูปแบบการวางช้ันกระสอบเมลด็ พันธุ์
วางช้ันเมล็ดพนั ธ์ุให้มรี ะยะหา่ งจากผนังอยา่ งน้อย 1 เมตร เพ่ือความสะดวกในการจัดการ การ
รมยา การตรวจความเสียหายจากแมลง หนู ดงั น้นั ควรวางแผนจัดช้ันเมล็ดพันธ์ุและคานวณพื้นที่ก่อนการ
เก็บจริง

ภาพที่ 29 แบบการคานวณพ้ืนท่ีวางชน้ั กระสอบเมล็ดพันธุ์

53

การจัดวางกระสอบเมลด็ พันธ์ุอยา่ งเป็นระเบียบ ทาให้สะดวกตอ่ การจัดการดังภาพ

ภาพท่ี 30 รปู แบบการจัดวางกระสอบเมลด็ พันธอ์ุ ยา่ งเป็นระเบียบ

ภาพที่ 31 รูปแบบการจัดวางกระสอบเมลด็ พันธุ์อย่างถูกต้อง (ภาพขวา)
5.3 การรมยา (Fumigation)

การรมยามีวัตถุประสงค์เพ่ือป้องกันกาจัดแมลงศัตรูในโรงเก็บต่างๆ รวมท้ังไข่ ตัวอ่อนของแมลง
ศัตรูในโรงเก็บที่เข้าทาลายเมล็ดพันธุ์และหนู การรมยาด้วยฟอสฟีน (Phosphine) เป็นที่นิยมท่ัวโลก
เน่ืองจากมีประสิทธิภาพสูง ราคาไม่แพง ไม่มีผลต่อความงอกของเมล็ด ยารมเมล็ดพันธ์ุ (Fumigants)
มีพิษสูงตอ่ สัตวเ์ ลือดอุน่ ดังนัน้ จึงอนั ตรายต่อคนเช่นกัน การรมยาจึงต้องกระทาด้วยความระมัดระวังและ
ผู้ปฏิบัติงานควรผ่านการฝึกอบรมมาอย่างดี การรมยาจะไม่มีผลตกค้างใดๆ ในระยะยาว เน่ืองจากก๊าซ
ฟอสฟีนจะกระจายจนหมด

54

ยารมเมล็ดพันธ์ุ (Fumigants)
ชนิดยารมเมล็ด (fumigants)
ยารมเมลด็ พนั ธ์ุทใี่ ชใ้ นการป้องกันกาจดั แมลงศัตรูในโรงเกบ็ มี 2 ชนิด
1. ฟอสฟีน Phosphine (PH3)
2. เมทิลโบรไมด์ Methyl Bromide (CH3Br)
นอกจากนีย้ ังมีไฮโดรเจน ไซยาไนด์ Hydrogen Cyanide (HCN) ซ่งึ มกี ารใชน้ ้อยมาก

ฟอสฟนี มี 2 รูปแบบ
- แมกนเี ซียมฟอสไฟด์ (Mg3P2)
- อะลูมเิ นยี มฟอสไฟด์ (AIP)

อะลูมเิ นยี มฟอสไฟด์ ผลิตได้ 2 รูปแบบ
1. เม็ดยากลมแบน (Tablets) 3 กรมั /เม็ด ให้ 1 กรัมฟอสฟีน
2. เม็ดกลม (Pellets) ขนาด 0.6 กรัม ให้ 0.2 กรัมฟอสฟนี

อะลูมิเนียมฟอสไฟด์มีช่ือการค้า (Trade names) มากมาย เช่น เซลไฟด์ (celphide) เซลฟีน
(celphine) เซลฟอส (celphos) ควคิ ฟอส (quickfos) ฟอสทอกซิน (phostoxin) ฟูมิทอกซิน (fumitoxin)
แอลฟูม (L fume) ฟอสฟูม (phosfume) ฟอสเทค (phostex) เคเทีย (detia) เคเทีย-กาซ (detia-Gas
Ex-B, detia-Gas Ex-P , detia-Gas Ex-T) กาซทอ๊ กซิน (gastoxin)

เมอื่ เม็ดยาถูกความช้ืนในอากาศจะปลดปล่อยก๊าซฟอสฟนี (phosphine gas) PH3
H

H-P-H

กล่นิ คลา้ ยกระเทียม Alp + 3H2O Al (OH)3 + PH3

ความเป็นพิษของฟอสฟีน
- ฆ่าหนอนตัวออ่ น ตวั เตม็ วยั แมลงต่างๆ
- มพี ิษสงู ตอ่ สัตว์เลอื ดอนุ่ อันตรายต่อคน
ตอ้ งใชด้ ้วยความระมดั ระวัง LK 50 (หน)ู = 11.8 mg/kg

ข้อดขี องฟอสฟนี
- แทรกซมึ เรว็ แพร่กระจายรวดเรว็
- สลายตวั เร็ว ไม่มกี ๊าซตกคา้ ง
- ไมม่ ีผลตอ่ ความงอกของเมล็ดพันธุ์
- มกี ล่ินคารไ์ บด์ หรอื กระเทียมเป็นการเตอื นการรั่วไหล

55

ส่วนมากจะใช้ในรูปของอะลูมิเนียมฟอสไฟด์ ซ่ึงมีขนาด 3 กรัมต่อเม็ด อัตราการใช้ 3 เม็ดต่อ
ข้าวฟา่ ง 1 ตัน ทง้ิ เมด็ ยา 30 นาที จะเรมิ่ ปลอ่ ยก๊าซฟอสฟีน

รมนาน 3-5 วัน 1-2 เดือนตอ่ คร้งั ในชว่ งเดือนพฤษภาคม เป็นต้นไป หรือเม่ือเริ่มสังเกตเห็นมอด
ขา้ วโพด มอดหัวปอ้ มเขา้ ทาลายขา้ วฟ่าง

อุปกรณใ์ นการรมยา
1. ยาเมด็ อะลมู เิ นยี มฟอสไฟด์
2. พลาสตกิ เพื่อการรมยาโดยเฉพาะ (Tarpaulin)
3. ถุงทรายยาวหรืองูทราย (Sand snake) ปอ้ งกันแกส๊ รัว่ ไหล
วิธกี ารรมยาวางพลาสติก Tarpaulin ไว้ดา้ นบน ค่อยๆ คลีค่ ลุมกองเมล็ดพนั ธ์ุตามภาพ

ภาพที่ 32 วิธีการคลมุ พลาตกิ ก่อนการรมยา
จากน้ันใส่ยาเม็ดอะลูมิเนียมฟอสไฟด์ในถุงกระดาษเล็ก ถุงละ 3 เม็ด สอดไว้ตามช้ันเมล็ดพันธ์ุ
วางงูทราย (Sand snake) ทับชายพลาสติก ใหเ้ หล่ือมกันเลก็ นอ้ ยตามรูปเพ่ือป้องกนั แก๊สรั่วไหล

ภาพที่ 33 วธิ กี ารวางงทู ราย

56

5.4 การจดั การโรงเกบ็ (Store management)
การจัดการโรงเกบ็ ทีถ่ ูกต้องควรมอบหมายงานใหบ้ คุ คลใด บุคคลหนึ่งเปน็ ผูจ้ ัดการดูแล โดยหน้าที่

ของผดู้ ูแลมีดังน้ี
- ปอ้ งกันกาจดั แมลงศัตรโู รงเกบ็ ทัว่ ไป ตรวจดูการระบาดของแมลงศตั รโู รงเก็บ ระยะแรก ตรวจดู

ความเสียหายจากการทาลายของหนู นก แมลงอื่นๆ
- ดแู ลรกั ษาอปุ กรณ์ ซ่อมแซมสิง่ ทเ่ี สยี หายเล็กนอ้ ย เช่น พลาสตกิ รมยาท่ีฉีดขาด มรี อยร่วั
- จัดการการรมยาใหถ้ ูกตอ้ งตามหลักวชิ าการ
- บนั ทึกการเข้าออกของบัญชีเมล็ดพันธ์ทุ ุกเดือน

5.5 สุขลักษณะของโรงเก็บ (Storage hygiene)
สขุ ลกั ษณะของโรงเกบ็ ควรมีลกั ษณะท่ีง่าย สะดวกตอ่ การจัดการ มีประสทิ ธภิ าพและถูก

HYGIENE

simple effective cheap

โดยมีหลักง่ายๆ คือ รักษาความสะอาดของโรงเก็บและส่ิงแวดล้อมรอบๆ โดยใช้ไม้กวาด ปัดกวาด
หยากไยส่ มา่ เสมอ

เอกสารอา้ งอิง

Coolbear P. 1992. Principles of seed storage. Seed Technology Center. Massey University.
New Zealand. 32 pp.

GASDA. 1996. Risk and consequences of the misuse of pesticides in the treatment of
stored Products. Technical Leaflet. No. 2 , Wageningen, The Netherlands. 20 pp.

Gwinner J., R. Hamisch and O. Muck. 1996. Manual on the Prevention of Post-harvest
Grain Losses. Deutsche Gesellschaft Technische Zusammenarbeit (GTZ) GmbH,
Eschborn, Germany. 330 pp.

ข้าวฟ่ างในประเทศอนิ เดยี

พ้นื ที่ปลกู ขา้ วฟ่ างของอินเดียมีประมาณ 9 ลา้ นเฮกตาร์ (60 ลา้ นไร่) เป็ นขา้ วฟ่ างฤดูฝน 29 ลา้ นไร่ ใหผ้ ลผลิต
160 กิโลกรัมตอ่ ไร่ และเป็ นขา้ วฟ่ างฤดูแลง้ 31 ลา้ นไร่ใหผ้ ลผลติ 90 กิโลกรัมตอ่ ไร่ ขา้ วฟ่ างฤดูฝนใหผ้ ลผลิตสูงแตจ่ ะมี
ปัญหาเร่ืองเช้ือรา ในขณะท่ีขา้ วฟ่ างฤดูแลง้ มีคุณภาพดี แต่ใหผ้ ลผลิตต่า ในประเทศอนิ เดียขา้ วฟ่ างส่วนใหญ่ใชเ้ ป็ นอาหาร
โรตี จาปาตี พ้ืนท่ีปลกู ขา้ วฟ่ างของอินเดียลดลงอยา่ งตอ่ เนื่องจาก 1.6 ลา้ นเฮกตาร์ ในปี 1972 เหลือเพียง 9 ลา้ นเฮกตาร์
ในปี 2005 (ตารางท่ี 1) ขา้ วฟ่ างของอินเดียปลูกมากท่ีสุดท่ีรัฐมหารัชตะ รองลงมาคือรัฐคานาตากะ (รูปที่ 1)

รูปที่ 1 พ้นื ที่ปลกู ขา้ วฟ่ างของอินเดียรัฐมหารัชตะ
ตารางที่ 1 พ้ืนท่ีปลูกขา้ วฟ่ างของอินเดียในแต่ละรัฐ (พนั เฮกแตร์)

SORGHUM AREA (000 ha) IN INDIA

ST AT E 1972-75 1991-94 2003-04 2004-05

Maharashtra 5718 5857 4600 5516

Karnataka 2037 2159 1775 1264

A.P. 2710 1057 525 576

M.P. 2123 1364 600 659

Rajasthan 972 715 200 150

T.N. 665 501 400 410

Gujarat 971 445 200 200

Others 944 606 275 300

T OT AL 16140 12704 8575 9075

สถาบันวจิ ยั พชื นานาชาตใิ นเขตร้อนกงึ่ แห้งแล้ง (ICRISAT)
The International Crops Research Institute for the Semi-Arid Tropics www.icrisat.org

สถาบนั วิจยั พืชนานาชาติในเขตร้อนก่ึงแห้งแลง้ (ICRISAT) สานกั งานใหญ่ต้งั อยทู่ ่ีเมือง Patancheru ใกลก้ บั เมือง
Hyderabad รัฐอนั ตระประเทศ (Andhra Pradesh) มีสานกั งานทอ้ งถิ่นที่ทวปี อฟั ริกา 2 แห่งคือ ท่ีประเทศไนเจอร์ (Niger)
และมาลี (Mali) ICRISAT มีพ้ืนท่ี 1,390 เฮกแตร์ เป็ นพ้ืนที่ใชป้ ระโยชน์ 800 เฮกแตร์ ลกั ษณะดินมี 2 แบบ ดินสีแดง
(Alfisols) 300 เฮกแตร์ และดินสีดา (Vertisols) 500 เฮกแตร์ มีพืชรับผิดชอบ 5 ชนิด (mandate crops) ไดแ้ ก่ ขา้ วฟ่ าง
(sorghum), ขา้ วฟ่ างไข่มกุ (pearl millet), ถว่ั ไก่ (chickpea), ถว่ั มะแฮะ (pigeonpea) และถว่ั ลิสง (groundnut) นอกจากน้ียงั มี
ขา้ วฟ่ างเมล็ดเล็ก (small millets) 6 ชนิด ไดแ้ ก่ finger millet, foxtail millet, little millet, kodo millet, proso millet และ
barnyard millet มีเช้ือพนั ธุกรรมพืช (germplasm) 120,000 accessions รวบรวมจาก 144 ประเทศทวั่ โลก เป็ น genebank
ท่ีใหญท่ ่ีสุดในโลก โดยเกบ็ รักษาเมลด็ พนั ธุ์ไวท้ ี่ 4°C และความช้ืนสัมพทั ธ์ที่ 30% RH บางส่วนเก็บรักษาเมลด็ พนั ธุ์ไวท้ ่ี 20 °C
ในซองอลูมิเนียมฟอยล์ ที่ความช้ืนเมล็ดพนั ธุ์ 3-7% สามารถรักษาความมีชีวติ ของเมล็ดพนั ธุ์ไดม้ ากกวา่ 50 ปี ในอนาคต
FAO มีโครงการจะยา้ ย 11,000 accessions ไปท่ี Svalbard Global Seed Vault ในประเทศ Norway เพ่ือสารองไวใ้ ช้

พชื ทรี่ ับผดิ ชอบของ ICRISAT

1. ถ่ัวไก่ Chickpea (Cicer arietinum L.) เป็ นพืชผสมตวั เอง diploid (2n=2x=16) มีขนาด genome
740 Mbp เป็ นถว่ั อาหารท่ีสาคญั อนั ดบั 3 ของโลก มีพ้ืนท่ีปลูก 1 1.5 ลา้ นเฮกตาร์ ซ่ึงพ้ืนที่ 96%
ที่ปลูกถวั่ ไก่อยใู่ นประเทศกาลงั พฒั นา ผลผลิตเพ่ิมข้ึนมากใน 30 ปี ท่ีผา่ นมา จาก 6.5 เป็ น 9.6 ลา้ นตนั
ในปี 1978-2009 โดยผลผลิตต่อไร่เพิ่มข้ึนจาก 630-850 กิโลกรัมต่อเฮกตาร์ ผลผลิต 80% อยใู่ น
อินเดีย

2. ถั่วมะแฮะ Pigeonpea [Cajanus cajan (L.) Millspaugh] ถวั่ มะแฮะเป็ นพืชผสมขา้ ม(20–70%) diploid
number of 2n=2x=22 ขนาด genome 858 Mbp พ้นื ท่ีปลูกเพ่ิมข้ึน 7% ต้งั แต่ปี 1967 พ้ืนท่ีปลูกปัจจุบนั
5.2 ลา้ นเฮกตาร์ในเขตน้าฝนของทวปี เอเชีย ภาคตะวนั ออกและใตข้ องทวีปอาฟริกา ในทวีปเอเชียมี
พ้ืนท่ีปลูก 4.33 ลา้ นเฮกตาร์มีผลผลิต 3.8 ลา้ นตนั ประเทศอินเดียเป็ นผผู้ ลิตรายใหญ่ รองลงมาเป็ น
พมา่ จีนและเนปาล

3. ถ่ัวลิสง Groundnut (Arachis hypogaea L.) ถว่ั ลิสงเป็ นพืชผสมตวั เอง allotetraploid (2n=4x=40)
ขนาด genome 2891 Mbp พ้ืนท่ีปลูกถว่ั ลิสงมี 23.95 ลา้ นเฮกตาร์ มีผลผลิต 36.45 ลา้ นตนั ผลผลิต
เฉล่ีย 1,529 กิโลกรัมต่อเฮกตาร์ในปี 2009 โดยประเทศจีนเป็ นผผู้ ลิตรายใหญ่ รองลงมาเป็ น อินเดีย
ไนจีเรีย อเมริกา และพม่า

4. ข้าวฟ่ างไข่มุก Pearl millet [Pennisetum glaucum (L.) R. Br.] ขา้ วฟ่ างไข่มุก เป็ นพืชผสมขา้ ม (85%
outcrossing) diploid number (2n=2x=14) ขนาด genome 2450 Mbp พ้ืนท่ีปลูก 29 ลา้ นเฮกตาร์
ในเขตแลง้ และก่ึงแหง้ แลง้ ของทวปี เอเชีย ทวปี อาฟริกาและละตินอเมริกา ประเทศอินเดียเป็ นผผู้ ลิต
รายใหญท่ ้งั พ้นื ท่ีปลูกและผลผลิต โดยมีพ้ืนที่ปลูก 9 ลา้ นเฮกตาร์มีผลผลิต 8.3 ลา้ นตนั มีผลผลิตเฉล่ีย
930 กิโลกรัมต่อเฮกตาร์ พ้ืนท่ีปลูกขา้ วฟ่ างไข่มุกลดลง 22% แต่ผลผลิตเพ่ิมข้ึน 36% จากช่วง
ปี 1980

5. ข้าวฟ่ าง Sorghum (Sorghum bicolor (L.) Moench) ขา้ วฟ่ างเป็ นพืชผสมตวั เองdiploid (2n=2x=20)
ขนาด genome 730 Mbp เป็ นพืช C4 ที่ปรับตวั ไดด้ ีสาหรับ climate change โดยเฉพาะพ้ืนที่แห้งแลง้
ดินเคม็ อุณหภูมิสูง มีพ้ืนท่ีปลูก 40 ลา้ นเฮกตาร์ใน 105 ประเทศ อเมริกาเป็ นผผู้ ลิตรายใหญ่ รองลงมา
คือประเทศอินเดีย ไนจีเรีย เมกซิโก ซูดานและเอธิโอเปี ย พ้ืนท่ีปลูกลดลงจาก 51 ล้านเฮกตาร์
ในปี 1980 เหลือ 40 ลา้ นเฮกตาร์ในปี 2009 เฉพาะในทวปี เอเซียพ้ืนที่ปลูกลดลงจาก 23 ลา้ นเฮกตาร์
ในปี 1980 เหลือ 9 ลา้ นเฮกตาร์ในปี 2009 ผลผลิตเฉล่ียเพ่ิมข้ึนจาก 1200 กิโลกรัมต่อเฮกตาร์เป็ น
1400 กิโลกรัมต่อเฮกตาร์ ขา้ วฟ่ าง 55% ใชเ้ ป็ นอาหารในรูปขนมปังและขา้ วตม้ ในทวีปเอเชียและ
อาฟริกา 33% ใชเ้ ป็นอาหารสตั วใ์ นอเมริกา

6. ข้าวฟ่ างเมลด็ เลก็ (Small millets)

6.1 ขา้ วฟ่ างนิ้วมือ Finger Millet Eleusine coracana (L.) Gaertn.

Family: Poaceae
Subfamily: Chloridoideae
Self-pollinating, 4x, 2n=36, 1C=1593Mbp

ขา้ วฟ่ างนิ้วมือเป็ นพืชด้งั เดิมของประเทศเอธิโอเปี ย ในเขตที่สูง นาเขา้ มาปลูกในอินเดีย
4000 ปี มาแลว้ สามารถข้ึนไดใ้ นระดบั ความสูง 2,300 เมตร เป็ นขา้ วฟ่ างเมล็ดเล็กที่สาคญั ท่ีสุด
ใช้เป็ นอาหารคน ประเทศผผู้ ลิตรายใหญ่คืออูกนั ดา อินเดีย เนปาลและจีน ให้ผลผลิตเฉลี่ยมากกว่า
10 ต่อเฮกตาร์ในเขตชลประทาน และสามารถเก็บเมล็ดไวไ้ ดน้ าน ที่ICRISAT genebank รวบรวม
finger millet ไว้ 5949 germplasm accessionsจาก 24 ประเทศทวั่ โลก

6.2 ขา้ วฟ่ างหางกระรอก Foxtail millet Setaria italica (L.) Beauv.

Family: Poeceae
Subfamily: Panicoideae
Self pollinating, 2n=18

ขา้ วฟ่ างหางกระรอกเป็นพชื ด้งั เดิมของประเทศจีน เป็ นหน่ึงในพชื ที่เก่าแก่ที่สุดในโลก มีอายุ
มากกวา่ 5000 ปี เป็ นขา้ วฟ่ างเมล็ดเลก็ ที่มีความสาคญั อนั ดบั 2 ท่ีสุด ในเขตท่ีสูง นาเขา้ มาปลูกใน
อินเดีย 4000 ปี มาแลว้ สามารถข้ึนไดใ้ นระดบั ความสูง 2000 เมตร ไมท่ นทานต่อน้าท่วมขงั ปลูกในดินท่ี
มีความอุดมสมบรู ณ์ต่า ทนทานตอ่ ความแหง้ แลง้ สุกแก่ไว ใชเ้ ป็นอาหารคนและอาหารนก เป็ดไก่
ที่ ICRISAT genebank รวบรวมขา้ วฟ่ างหางกระรอกไว้ 1535 germplasm accessions จาก 26 ประเทศ
ทวั่ โลก

6.3 Kodo millet Paspalum scrobiculatum L.

Family: Poaceae
Subfamily: Panicoideae

Kodo millet เป็ นพืชทอ้ งถ่ินของประเทศอินเดีย มีอายมุ ากกวา่ 3000 ปี เป็ นพชื สาคญั ของ
ที่ราบสูงเดคคาน เมลด็ มีไฟเบอร์สูง มีโปรตีน 11%
6.4 Little millet Panicum sumatrense Roth.ex.Roem.& Schult.

Family:Poeceae
Subfamily:Panicoideae
Self pollinating, 2n=36[LAF1]

Little millet เป็ นพืชด้งั เดิมของประเทศอินเดีย สามารถข้ึนไดใ้ นระดบั ความสูงไม่เกิน
2100 เมตร เป็ นขา้ วฟ่ างเมล็ดเล็กมาก ทนทานต่อความแห้งแล้ง ตน้ ใช้เป็ นอาหารววั ควายได้ดี
ที่ ICRISAT genebank รวบรวมขา้ วฟ่ างน้ีไว้ 466 germplasm accessions จาก 5 ประเทศทวั่ โลก

6.5 Proso millet Panicum miliaceum L.

Family:Poeceae
Subfamily:Panicoideae
Self-pollinating 2n=36

Proso millet เป็ นพืชผสมตวั เอง แต่อาจจะมีการผสมขา้ มมากกวา่ 10% เป็ นพืชด้งั เดิม
ของประเทศแมนจูเลีย นาเขา้ มาปลูกในยโุ รป 3000 ปี มาแลว้ ต่อมานาเขา้ มาปลูกในอินเดีย ปรับตวั ได้
ดีในสภาพอากาศไม่เหมาะสม ใช้น้านอ้ ยท่ีสุดในกลุ่มธญั ญพืช ในสามารถข้ึนได้ในระดบั ความสูง
3500 เมตรในอินเดีย ท่ี ICRISAT genebank รวบรวมขา้ วฟ่ างน้ีไว้ 842 germplasm accessions จาก
30 ประเทศทว่ั โลก
6.6 Barnyard millet Echinochloa colona (L.) Link Echinochloa crusgalli (L.) P.B.

Family: Poaceae
Subfamily: Panicoideae
Self pollinating, 2n=36, 54

Barnyard millet Echinochloa colona (L.) Link เป็ นพืชด้งั เดิมของประเทศญ่ีป่ ุน
มีอายุ 4000 ปี Echinochloa crusgalli (L.) P.B. เป็ นพืชด้งั เดิมของประเทศอินเดีย เป็ นพืชโตเร็ว
ท่ีสุดในกลุ่มขา้ วฟ่ าง ที่ ICRISAT genebank รวบรวมขา้ วฟ่ างน้ีไว้ 743 germplasm accessions จาก
9 ประเทศทว่ั โลก

ข้าวฟ่ างในประเทศจนี

ขา้ วฟ่ างเป็ นธัญพืชที่เก่าแก่มากของประเทศจีน มีการปลูกมาหลายพนั ปี เป็ นพืชอาหารหลกั ที่
สาคญั มากในอดีต ในปี 2518 มีพ้ืนที่ปลูกขา้ วฟ่ างถึง 92 ลา้ นไร่ ปัจจุบนั ขา้ วฟ่ างมีพ้ืนท่ีปลูกนอ้ ยลงอยา่ งมาก
โดยลดลง 90% ของพ้ืนที่ท่ีเคยปลูกมากท่ีสุด เหลือเพียง 3.4 ลา้ นไร่ ในปี 2010 และมีแนวโนม้ ลดลงเร่ือยๆ
แต่ผลผลิตต่อพ้ืนท่ีสูงข้ึนอยา่ งมาก เน่ืองจากการใชพ้ นั ธุ์ลูกผสมแทนพนั ธุ์แทท้ าใหผ้ ลผลิตเพ่ิมข้ึนถึง 4 เท่า
พ้นื ที่ปลูกกถ็ ูกพืชอื่นๆ ที่ใหผ้ ลตอบแทนสูงกวา่ ทดแทน นอกจากน้ีพ้ืนที่ปลูกขา้ วฟ่ างยงั ถูกร่นไปอยใู่ นเขตแลง้
หรือก่ึงแหง้ แลง้ ของประเทศ

ตารางท่ี 1 พ้นื ท่ีเกบ็ เกี่ยว (ลา้ นเฮกตาร์) ผลผลิต (ลา้ นตนั ) และ ผลผลิตต่อเฮกตาร์(ลา้ นตนั )

Area harvested Production (Mt) Yield (ton/ha)
Production ±%
Year Area ±% Yield ±%
(Mha) compared
1918 compared with 1952 compared
1952 with 1952
1975 with 1952
1995
2010 14.736 +57.0 16.14 +45.4 1.095 -7.6

9.386 0 11.10 0 1.185 0

4.67 -50.2 10.75 -3.2 2.310 +94.9

1.216 -87.0 4.76 -57.1 3.911 +230.0

0.548 -91.2 2.46 -77.8 4485 +278.5
4

การใช้ประโยชน์ข้าวฟ่ างในประเทศจีนแต่เดิมเป็ นอาหารหลัก ต้มทานเหมือนข้าวต้ม แต่เม่ือ
เศรษฐกิจดีข้ึน ไดเ้ ปล่ียนมาเป็ นทานขา้ วเป็ นอาหารหลกั ขา้ วฟ่ างส่วนใหญ่นามาใชใ้ นอุตสาหกรรมการผลิต
เหลา้ (Liquor) นอกจากน้ีนามาเป็ นอาหารสตั ว์ และผลิตเอทานอล ทาอาหาร และอื่น ๆ

รูปท่ี 1 ผลิตภณั ฑเ์ หลา้ จากขา้ วฟ่ างในประเทศจีน

รูปท่ี 2 ผลิตภณั ฑ์จากขา้ วฟ่ างในประเทศจีน ทามาจากสีแดง (red pigment) จากเมล็ดขา้ วฟ่ าง
(sorghum glumes) นามาทาสีในลูกกวาด น้าอดั ลม ขนม ปลอกแคปซูล ฯลฯ

ในประเทศจีนขา้ วฟ่ างปลูกกระจายอยทู่ ุกมณฑลของประเทศ พ้ืนท่ีปลูกมากที่สุดอยทู่ ี่ภาคตะวนั ออก
เฉียงเหนือ ในมณฑลเหลียวหนิง มองโกเลียในและมณฑลเหยหลงเจียง และปลูกมากท่ีภาคตะวนั ตกเฉียงใต้
ในมณฑลเสฉวน หูเป่ ย ซ่านซีและมณฑลหูหนาน (รูปท่ี 2)

รูปท่ี 3 แผนที่ประเทศจีน โดยมีลกั ษณะคลา้ ยไก่

สถาบนั วิจยั ขา้ วฟ่ าง (Sorghum Research Institute - SRI) สาธารณรัฐประชาชนจีนเป็ นสถาบนั ที่มี
งานดา้ นขา้ วฟ่ างมากที่สุดในโลก Sorghum Research Institute (SRI) อยภู่ ายใต้ Liaoning Academy of
Agricultural Sciences (LAAS) ต้งั อยู่ท่ีเมืองเซ่ินหยาง (Shenyang) มณทลเหลียวหนิง (Liaoning)
สาธารณรัฐประชาชนจีน ก่อต้งั เม่ือปี 1984 ทาการวิจยั และพฒั นาพนั ธุ์ขา้ วฟ่ างและการใช้ประโยชน์
รวบรวมเช้ือพนั ธุกรรมขา้ วฟ่ าง การผลิต และดา้ นเทคโนโลยชี ีวภาพ มีคณะทางาน 30 คน จบการศึกษา
ระดบั ปริญญาเอก 8 คน ปริญญาโท 10 คน ปริญญาตรี 12 คน แบ่งการทางานตามแผนก ไดแ้ ก่ แผนก
ปรับปรุงพนั ธุ์และเขตกรรม 12 คน แผนกเช้ือพนั ธุกรรมขา้ วฟ่ าง 7 คน Biotechnology 9 คน และ
อานวยการ 2 คน

ผลงานที่ผา่ นมา ไดท้ าการพฒั นาขา้ วฟ่ างลูกผสม 54 พนั ธุ์

แบ่งเป็น - ขา้ วฟ่ างเมล็ด (Grain Sorghum) 36 พนั ธุ์

(6 พนั ธุ์ขา้ วฟ่ างท่ีเป็นแป้ งขา้ วเหนียว)

- ขา้ วฟ่ างหวาน 15 พนั ธุ์
- ขา้ วฟ่ างอาหารสตั ว์ 3 พนั ธุ์
พนั ธุ์ขา้ วฟ่ างเด่นๆ มี

รูปที่ 4 ขา้ วฟ่ างเมล็ดสีขาว (Grain Sorghum) พนั ธุ์ Liaoza No. 10 ผลผลิต 15.345 ตนั /เฮกตาร์

รูปที่ 5 ขา้ วฟ่ างเมลด็ สีแดง (Grain Sorghum) พนั ธุ์ Liaoza No. 11 ผลผลิตสูง

รูปที่ 6 ขา้ วฟ่ างหวานลูกผสม (Sweet Sorghum Hybrid) พนั ธุ์ Liaotian No. 1 ความสูง 320 ซม.
บริกซ์ 18.6 % ผลผลิตตน้ สด 80-90 ตนั /เฮกตาร์

รูปท่ี 7 ขา้ วฟ่ างหวานลูกผสม (Sweet Sorghum Hybrid) พนั ธุ์ Liaotian No. 9 เพิม่ บริกซ์ข้ึนไดอ้ ีก
3 % และไม่ลม้

รูปที่ 8 ขา้ วฟ่ างหวานลูกผสม (Sweet Sorghum Hybrid) พนั ธุ์Liaotian No. 3 ความสูง 337 ซม.
บริกซ์ 20.6 % ผลผลิตตน้ สด 80-100 ตนั /เฮกตาร์

รูปที่ 9 ขา้ วฟ่ างหวานลูกผสมพนั ธุ์ใหม่ (New Sweet Sorghum Hybrid)
รูปที่ 10 ขา้ วฟ่ างอาหารสตั วล์ ูกผสม (Forage Sorghum Hybrid) พนั ธุ์ Liaocao No. 1

รูปท่ี 11 ขา้ วฟ่ างไมก้ วาด (Broom corn) พนั ธุ์ด้งั เดิม
รูปที่ 12 ขา้ วฟ่ างไมก้ วาด (Broom corn) พนั ธุ์ใหม่

รูปที่ 13 แปลงผลิตเมลด็ พนั ธุ์ขา้ วฟ่ างหวาน
รูปที่ 14 แปลงผลิตเมล็ดพนั ธุ์ขา้ วฟ่ างหวาน

การนาขา้ วฟ่ างมาผลิต ethanol มีโรงงานใหญอ่ ยทู่ ่ีมณฑล Inner Mongolia ช่ือโรงงาน ZTE factory
รูปที่ 15 โรงงานเอทานอลอยทู่ ี่มณฑลมองโกเลียใน ชื่อโรงงาน ZTE factory
รูปท่ี 16 Dr Zou Jianqiu ผอู้ านวยการสถาบนั วจิ ยั ขา้ วฟ่ าง (Sorghum Research Institute - SRI)

รูปที่ 17 แปลงขา้ วฟ่ างในบริเวณสถาบนั วจิ ยั ขา้ วฟ่ าง เดือนกนั ยายน 2555

รูปที่ 18 คณะดูงานหนา้ แปลงขา้ วฟ่ างในบริเวณสถาบนั วิจยั ขา้ วฟ่ างสถาบนั วจิ ยั ขา้ วฟ่ าง (Sorghum
Research Institute - SRI) , Liaoning Academy of Agricultural Sciences (LAAS) เมือง
เซิ่นหยาง (Shenyang) มณทลเหลียวหนิง (Liaoning) สาธารณรัฐประชาชนจีน วนั ที่
18-21 กนั ยายน 2555

รูปที่ 19 ไมก้ วาดทาจากขา้ วฟ่ างไมก้ วาดในเมืองเซ่ินหยาง มณฑลเหลียวหนิง
สรุป

การที่ขา้ วฟ่ างของจีนไดผ้ ลผลิตที่สูงมาก เพราะพนั ธุ์ขา้ วฟ่ างทุกชนิดท่ีใชใ้ นปัจจุบนั เป็ นลูกผสม
ท้งั หมด นอกจากน้ีสถานท่ีปลูกมีภมู ิอากาศเหมาะสม ในช่วงปลูกจนถึงเกบ็ เกี่ยวมีอุณหภูมิกลางวนั 24-25 oC
กลางคืน 10-12 oC ซ่ึงการท่ีอุณหภูมิกลางวนั และกลางคืนต่างกนั มากกวา่ 10 oC ทาให้การสะสมน้าตาล
เพ่ิมมากข้ึน และอยู่ในช่วงที่วนั ยาว ตน้ พืชสามารถผลิตอาหารได้เพ่ิมข้ึน เมื่อใกลเ้ ก็บเก่ียวฝนจะไม่มี
ทาใหผ้ ลผลิตท่ีไดม้ ีคุณภาพดี

----------------------------------------


Click to View FlipBook Version