The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการปฏิบัติงาน การผลิตพันธุ์พืชและปัจจัยการผลิต
กรมวิชาเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการปฏิบัติงาน การผลิตพันธุ์พืชและปัจจัยการผลิต

คู่มือการปฏิบัติงาน การผลิตพันธุ์พืชและปัจจัยการผลิต
กรมวิชาเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

Keywords: การผลิตพันธุ์พืช,ปัจจัยการผลิต,พันธุ์พืช,คู่มือการปฏิบัติงาน การผลิตพันธุ์พืชและปัจจัยการผลิต

คมู่ ือการปฏิบตั งิ าน
การผลิตพนั ธุพ์ ชื และปจั จยั การผลิต

กรมวิชาการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

คานา

กรมวิชาการเกษตรมีภารกจิ หลักในการดาเนินการวิจัยและพฒั นาด้านพืชและเทคโนโลยีทางการเกษตร ซึ่งเป็น
พนื้ ฐานสาคญั ในการพัฒนางานดา้ นการเกษตรของประเทศ ตลอดระยะเวลาท่ีผา่ นมาจนถึงปจั จบุ นั กรมวชิ าการเกษตร
ได้มีการพัฒนาพันธุ์พืช และเทคโนโลยีด้านปัจจัยการผลิตใหม่ๆออกมา เพื่อรองรับการพัฒนางานด้านการเกษตรของ
ประเทศมาอย่างต่อเนื่อง โดยพันธุ์พืชและปัจจัยการผลิตที่พัฒนาล้วนมีความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ในแต่ละภูมิภาค
หรือเป็นพันธุ์พืชท่ีมีลักษณะโดดเด่นแตกต่างตามพ้ืนท่ีที่เหมาะสม ซึ่งผลการวิจัยและพัฒนาพันธุ์พืชและเทคโนโลยี
ด้านปัจจัยการผลิต เหล่านี้มุ่งหวังให้เกษตรกรนาไปใช้พัฒนาการเกษตรเพ่ือเพ่ิมผลผลิต ลดต้นทุนการผลิต และได้
ผลผลิตคุณภาพดี

กระบวนการผลิตพันธ์ุพืชและปัจจัยการผลิต จดั เปน็ ปัจจัยท่ีสาคัญในกระบวนการผลิตพืช ซึง่ หากเป็นพันธุ์พืช
ท่ีดีท่ีใหผ้ ลผลิตสงู ทม่ี คี ุณภาพ ลดตน้ ทุนการผลิต รวมทง้ั เหมาะสมกบั สภาพพื้นท่ี จะทาให้เกิดการพัฒนาการเกษตรของ
ประเทศ โดยเฉพาะเกษตรกรสามารถนาไปใชเ้ พ่ือใหเ้ กดิ ประโยชน์และสร้างรายได้เพ่ิมขนึ้

กรมวิชาการเกษตรจึงได้จัดทาคู่มือการปฏิบัติงานการผลิตพันธุ์พืชและปัจจัยการผลิต เพื่อใช้เป็นแนวทางใน
การปฏิบัติงานในการผลิตพันธุ์พืชและปัจจัยการผลิต สามารถนาไปปฏิบัติงานได้ถูกต้องตามข้ันตอน ระเบียบ และ
หลักเกณฑ์ ได้ในทศิ ทางเดียวกนั

(นางสาวเสริมสขุ สลักเพช็ ร์)

อธิบดกี รมวิชาการเกษตร

สารบญั หน้า
1
บทท่ี 1 กระบวนการผลิตพนั ธพ์ุ ืชไร่ และปาลม์ นา้ มัน (เมล็ดพันธ์/ุ ทอ่ นพันธ์ุ/ตน้ กลา้ /เมล็ดงอก) 5
- แผนภูมิการผลติ พันธุ์พชื ไร่ 6
10
บทท่ี 2 กระบวนการผลิตพันธ์ุพืชสวน (เมล็ด/ตน้ พันธุ์/หนอ่ /ยอด/หัว/ผลพันธ)ุ์ 11
- แผนภูมิการผลติ พชื สวน 16
17
บทท่ี 3 กระบวนการผลิตปจั จยั การผลติ (ชีวภณั ฑ์/ปุ๋ยชวี ภาพ/ชดุ ตรวจสอบ)
- แผนภูมกิ ารผลติ ปจั จัยการผลิต

บทท่ี ๔ องคป์ ระกอบและหนา้ ท่ีคณะทา้ งานการผลติ พันธ์พุ ืชและปัจจยั การผลติ

ภาคผนวก

1) ระเบียบกรมวชิ าการเกษตร ว่าดว้ ยการจ้าหน่ายและแจกจา่ ยพนั ธ์ุพชื ไรแ่ ละปาล์มน้ามนั 19

ของกรมวชิ าการเกษตร พ.ศ.2562

2) ระเบยี บกรมวิชาการเกษตร วา่ ด้วยการจ้าหนา่ ยและแจกจ่ายพันธ์พุ ชื สวน 23

ของกรมวิชาการเกษตร พ.ศ.2562

3) ระเบยี บกรมวชิ าการเกษตร ว่าดว้ ยการจ้าหนา่ ยและแจกจ่ายปัจจัยการผลติ 29

ของกรมวชิ าการเกษตร พ.ศ.2562

4) ประกาศกรมวชิ าการเกษตร เรื่อง ก้าหนดราคาจ้าหน่ายพนั ธุ์พืชไร่ พ.ศ.2562 33

5) ประกาศกรมวชิ าการเกษตร เรื่อง กา้ หนดราคาจา้ หนา่ ยพนั ธพ์ุ ชื สวน พ.ศ.2562 35

6) ประกาศกรมวชิ าการเกษตร เรอื่ ง ก้าหนดราคาจ้าหน่ายปัจจยั การผลติ ทางการเกษตร 40

พ.ศ.2562

7) ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

โปรแกรม Data base for Plant Production (DPP)

: การขอแผนการผลติ พนั ธุพ์ ืชและปจั จยั การผลติ /งบประมาณ 42

: การรายงานความกา้ วหนา้ งานผลิตพนั ธพ์ุ ชื และปจั จยั การผลิต/การใช้ประโยชน์ 45

โปรแกรม Scorecards Cockpit Enterprise (SCE)

: รายงานแผน/ผลการปฏบิ ตั งิ านและการใช้จ่ายงบประมาณตามแบบรายงาน 56

สงป.301/302

8) แบบฟอร์มการผลติ พนั ธุ์พืชและปจั จัยการผลิต

: เอกสารรายงานการความก้าวหนา้ งานผลิตพนั ธ์ุพืชและปจั จยั การผลิต/การใช้ประโยชน์ 66

(แบบรายงาน พป.56)

9) รปู แบบการเสนอค้าสัง่ แต่งตังคณะท้างานการผลิตพันธุพ์ ชื และปจั จยั การผลติ ของหน่วยงาน 68

1

บทท่ี 1
กระบวนการผลิตพนั ธพ์ุ ืชไร่ และปาลม์ น้ามัน
(เมลด็ พนั ธ์/ุ ทอ่ นพันธ์/ุ ต้นกล้า/เมลด็ งอก)

การปลูกพืชไรแ่ ละปาล์มน้ามนั ถือเป็นอาชพี หลกั ของเกษตรกรไทย จัดเป็นพืชเศรษฐกิจน้ารายได้สู่ประเทศไทย
อย่างมาก ดังนันคุณภาพเมล็ดพันธ์ุที่ดีจะสามารถเพิ่มผลผลิต ลดต้นทุน ให้แก่เกษตรกร กระบวนการผลิตพืชไร่และ
ปาล์มน้ามันที่มีคุณภาพดีประกอบด้วย 4 ขันตอน ได้แก่ การวางแผนการผลิต การผลิต การตรวจสอบคุณภาพผลผลิต
และการบรหิ ารผลผลติ

ขนั ตอนท่ี 1 การวางแผนการผลติ

1. หนว่ ยปฏิบตั ิ ประกอบดว้ ย ศูนยว์ จิ ัยฯ
1.1 วางแผน/ทบทวน/จัดท้าแผนการผลิตพันธุ์พืชและแผนการใช้ประโยชน์พันธุ์พืช โดยพิจารณาจากข้อมูล

การใชป้ ระโยชน์ในปีทีผ่ ่านมาและความต้องการของเกษตรกร กล่มุ เกษตรกร นกั วิจัย ภาครัฐ และภาคเอกชน
1.2 ส้ารวจและคัดเลอื กเกษตรกรทีม่ ีศกั ยภาพในการผลิตพันธุ์พชื (พนั ธหุ์ ลัก พนั ธ์ุขยาย พนั ธ์ุจ้าหนา่ ย)
1.3 จัดท้าค้าขอแผนการผลิตพันธ์ุพืชเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณของหน่วยปฏิบัติผ่านกองวิจัยพัฒนา

เมล็ดพันธ์ุพืช/สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน/ส้านักวิจัยและพัฒนาการเกษตร โดยใช้ระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศผ่านโปรแกรม Data base for Plant Production

1.4 เตรียมประชมุ ชแี จงเจา้ หนา้ ทห่ี นว่ ยปฏิบัติและอบรมเกษตรกรเครือข่ายผผู้ ลติ พันธุ์พืช
2. กองวจิ ยั พฒั นาเมล็ดพนั ธ์พุ ชื /สถาบนั วิจยั พืชไร่และพชื ทดแทนพลังงาน/ส้านักวจิ ยั และพฒั นาการเกษตร

2.1 กองวิจัยพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืช/สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน/ส้านักวิจัยและพัฒนาการเกษตร
รวบรวมแผนการผลิตพันธ์ุพืชและแผนการขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยปฏิบัติภายใต้สังกัด เพ่ือพิจารณา
กล่นั กรองการจดั ทา้ แผนการผลิตพันธ์พุ ชื ไร่

๒.๒ กองวิจัยพัฒนาเมล็ดพันธ์ุพืช เชิญหน่วยปฏิบัติท่ีเกี่ยวข้องประชุม วิเคราะห์แผนการผลิตพันธ์ุพืช เพ่ือขอ
อนุมัติแผนการผลิตพนั ธพ์ุ ืช/งบประมาณเสนอกรมฯผา่ นกองแผนงานและวชิ าการ

- กรณีแผนการผลิตพันธ์ุพืช/งบประมาณไม่ผ่านการพิจารณา ประสานสถาบันวิจัยพืชไร่และ
พืชทดแทนพลังงาน ส้านักวิจัยและพัฒนาการเกษตรและหน่วยปฏิบัติภายใต้สังกัดทบทวนแผนการผลิตพันธุ์พืชเสนอ
กรมฯผ่านกองแผนงานและวชิ าการอีกครัง
3. กองแผนงานและวิชาการ

3.1 วิเคราะห์และพิจารณาแผนการผลิตพันธ์ุพืช/งบประมาณ เสนอกรมฯ พร้อมทังแจ้งผลการพิจารณาให้
กองวจิ ัยพัฒนาเมล็ดพันธุ์พชื รบั ทราบ

- กรณีแผนการผลิตพันธุ์พืช/งบประมาณไม่ผ่านการพิจารณา แจ้งกองวิจัยพัฒนาเมล็ดพันธ์ุพืชเพื่อ
ทบทวนแผนการผลติ พันธพ์ุ ชื เสนอกรมฯผา่ นกองแผนงานและวิชาการอีกครงั

2

4. กรมวิชาการเกษตร
4.1 พิจารณาอนุมัติแผนการผลิตพันธ์ุพืช/งบประมาณ และถ้ามีข้อวินิจฉัย/สั่งการมอบหมายกองแผนงานและ

วชิ าการแจ้งผลการพจิ ารณาตามขนั ตอน
- กรณีแผนการผลิตพันธ์ุพืช/งบประมาณไม่ผ่านการพิจารณา มอบหมายกองแผนงานและวิชาการ

ประสานกองวิจัยพัฒนาเมลด็ พนั ธุ์พืชเพ่อื ทบทวนแผนการผลติ พันธ์พุ ืชเสนอกรมฯอีกครัง

ขันตอนท่ี 2 การผลติ

1. หนว่ ยปฏิบตั ิ
1.1 เตรียมวัสดุ/พนั ธุ์พืช
1.2 ปลูก ดูแลรกั ษา
1.3 ตรวจตดิ ตามการผลิต
1.4 เกบ็ เก่ียวผลผลติ
1.5 รวบรวมและขนย้ายพนั ธ์ุพชื (เมลด็ พนั ธ์/ุ ท่อนพนั ธุ์/ตน้ กล้า/เมล็ดงอก)
1.6 รายงานแผน/ผลการผลิตพันธุ์พืช ให้หัวหน้าหน่วยปฏิบัติ กองวิจัยพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืช/สถาบันวิจัยพืชไร่

และพืชทดแทนพลังงาน/ส้านักวิจยั และพฒั นาการเกษตร และกองแผนงานและวชิ าการ รับทราบขอ้ มูล
2. เกษตรกรเครอื ขา่ ยผลิตพันธ์พุ ชื

2.1 ปลกู ดแู ลรกั ษา พันธุพ์ ืช
2.2 เก็บเกยี่ วผลผลิต
กรณีพันธ์ุพืชเสียหายและหรือมีการปรบั แผนการผลิตพันธ์ุพืชใหด้ ้าเนนิ การ ดังนี
1. หน่วยปฏบิ ตั ิ

ผ้รู ับผิดชอบงานผลิตพันธุ์พืชรายงานความเสียหายหรือแนวทางการปรับแผนการผลิตให้หัวหน้าหน่วย
ปฏิบัติทราบ พร้อมทังรวบรวมหลักฐานท่ีแสดงความเสียหายหรือหลักฐานที่ขอปรับแผนการผลิต เช่น ผลการตรวจ
คุณภาพจากห้องปฏิบัติการ ประกาศกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ภาพถ่าย ข้อมูลความต้องการพันธุ์พืชจากผู้ใช้
ประโยชน์ เปน็ ต้น ส่งหน่วยงานต้นสงั กดั

2. กองวจิ ยั พฒั นาเมลด็ พนั ธพ์ุ ชื /สถาบนั วจิ ยั พชื ไร่และพชื ทดแทนพลังงาน/ส้านักวิจยั และพฒั นาการเกษตร
กองวิจัยพัฒนาเมล็ดพันธ์ุพืช/สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน/ส้านักวิจัยและพัฒนาการ

เกษตร รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลผลผลิตพันธ์ุพืชท่ีแจ้งเสียหาย และ/หรือปรับแผนการผลิตจากหน่วยปฏิบัติภายใต้
สงั กดั ส่งกองวจิ ัยพัฒนาเมลด็ พันธ์พุ ชื เสนอกรมฯผา่ นกองแผนงานและวิชาการ

3. กองแผนงานและวชิ าการ
พิจารณาเสนอกรมฯเพื่อวินิจฉัย/สั่งการ พร้อมทังแจ้งผลการพิจารณาให้กองวิจัยพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืช

รบั ทราบ รวมทังตดิ ตามผล ตดั ยอดการรายงาน และปรับฐานขอ้ มลู พันธ์ุพชื ของหน่วยปฏิบตั ิ
4. กรมวิชาการเกษตร
พิจารณาอนุมตั แิ ผนการผลิตพันธพ์ุ ืช/งบประมาณ ที่หนว่ ยปฏิบัติแจง้ เสยี หายและหรอื ปรับแผน และถ้า

มขี อ้ วนิ จิ ฉัย/สั่งการมอบหมายกองแผนงานและวิชาการประสานงานและด้าเนินการตามขนั ตอน

3

ขนั ตอนที่ 3 การตรวจสอบคณุ ภาพผลผลติ

1. หน่วยปฏบิ ัติ
1.1 เมลด็ พันธ์ุ : ดา้ เนินการปรบั ปรุงสภาพ บรรจุ เก็บรกั ษา
- ศนู ย์วจิ ัยและพัฒนาเมลด็ พันธุพ์ ชื และ ศนู ย์วจิ ยั พืชไร่ ตรวจคณุ ภาพเมล็ดพนั ธ์ุตามมาตรฐานการผลิต

เมลด็ พนั ธด์ุ ้วยตนเอง
- ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตร ตรวจคณุ ภาพเมล็ดพันธ์ุตามมาตรฐานการผลิตเมล็ดพันธุเ์ บืองต้นดว้ ย

ตนเองและส่งเมล็ดพันธ์ุไปตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการผลิตเมล็ดพันธ์ุท่ี ศูนย์วิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชหรือ
ศูนย์วจิ ยั พืชไร่

1.2 ทอ่ นพันธ์ุ : ดา้ เนินการตรวจคุณภาพในระหว่างการเกบ็ รักษาและก่อนนา้ ผลผลิตไปใชป้ ระโยชน์
1.3 ต้นกล้า : ดา้ เนินการตรวจคณุ ภาพในระหว่างการเก็บรักษาและก่อนน้าผลผลิตไปใช้ประโยชน์
1.4 เมล็ดงอก : ด้าเนินการตรวจคุณภาพในระหว่างการเก็บรักษาและก่อนนา้ ผลผลติ ไปใช้ประโยชน์
2. กองวจิ ยั พฒั นาเมลด็ พนั ธุ์พชื
ด้าเนินการตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุจ์ ากหน่วยปฏิบตั ิตามมาตรฐานการผลติ เมลด็ พันธุ์ และแจง้ ผลการตรวจ
เมล็ดพนั ธใุ์ หห้ น่วยปฏบิ ัติรบั ทราบขอ้ มลู
กรณีพนั ธุ์พืชเสียหายและหรือมกี ารปรบั แผนการผลติ พันธ์ุพชื ใหด้ า้ เนนิ การ ดังนี
1. หน่วยปฏบิ ตั ิ

ผู้รับผิดชอบงานผลิตพันธ์ุพืชรายงานความเสียหายหรือแนวทางการปรับแผนการผลิตให้หัวหน้าหน่วย
ปฏิบัติทราบ พร้อมทังรวบรวมหลักฐานที่แสดงความเสียหายหรือหลักฐานที่ขอปรับแผนการผลิต เช่น ผลการตรวจ
คุณภาพจากห้องปฏิบัติการ ประกาศกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ภาพถ่าย ข้อมูลความต้องการพันธ์ุพืชจากผู้ใช้
ประโยชน์ เปน็ ตน้ สง่ หน่วยงานต้นสังกัด

2. กองวิจยั พฒั นาเมล็ดพนั ธ์ุพชื /สถาบันวจิ ัยพชื ไร่และพืชทดแทนพลังงาน/ส้านกั วิจัยและพฒั นาการเกษตร
กองวิจัยพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืช/สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน/ส้านักวิจัยและพัฒนาการ

เกษตร รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลผลผลิตพันธุ์พืชท่ีแจ้งเสียหาย และ/หรือปรับแผนการผลิตจากหน่วยปฏิบัติภายใต้
สังกัด ส่งกองวจิ ัยพัฒนาเมลด็ พันธพ์ุ ืชเสนอกรมฯผา่ นกองแผนงานและวชิ าการ

3. กองแผนงานและวิชาการ
พิจารณาเสนอกรมฯเพ่ือวินิจฉัย/ส่ังการ พร้อมทังแจ้งผลการพิจารณาให้กองวิจัยพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืช

รับทราบ รวมทงั ติดตามผล ตัดยอดการรายงาน และปรบั ฐานขอ้ มลู พันธ์พุ ชื ของหนว่ ยปฏบิ ตั ิ
4. กรมวิชาการเกษตร
พจิ ารณาอนุมตั แิ ผนการผลติ พันธพุ์ ืช/งบประมาณ ที่หนว่ ยปฏิบัติแจ้งเสียหายและหรือปรบั แผน และถ้า

มขี อ้ วนิ ิจฉยั /ส่งั การมอบหมายกองแผนงานและวชิ าการประสานงานและด้าเนินการตามขนั ตอน

ขนั ตอนท่ี 4 การบรหิ ารผลผลติ

1. หน่วยปฏิบัติ
1.1 น้าผลผลิตพันธ์ุพืชที่ผ่านการตรวจคุณภาพไปใช้ประโยชน์ (จ้าหน่าย แจกจ่าย งานวิจัย งานผลิตพันธ์ุพืช

สนบั สนุนงานตามภารกิจกรมฯ)

4

1.2 สรุปรายงานแผน/ผลการผลิตพันธพ์ุ ืช และการน้าไปใช้ประโยชน์แจ้งหน่วยงานต้นสังกัด กองแผนงานและ
วิชาการ และกองวจิ ัยพัฒนาเมล็ดพนั ธ์พุ ืช ผา่ น 2 ชอ่ งทาง ดงั นี

- เอกสารรายงาน
: รายงานการความก้าวหน้างานผลิตพันธุ์พืชและปัจจัยการผลิต/การใช้ประโยชน์

(แบบรายงาน พป.56)
- รายงานผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
: รายงานการความก้าวหน้างานผลิตพันธุ์พืชและปัจจัยการผลิต/การใช้ประโยชน์

(โปรแกรม Data base for Plant Production : DPP)
: รายงานแผน/ผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณตา มแบบรายงาน

สงป.301/302 (โปรแกรม Scorecards Cockpit Enterprise : SCE)
1.3 กรณีหน่วยปฏิบัติไม่สามารถด้าเนินการผลิตพันธุ์พืชได้ตามแผนที่กรมฯ อนุมัติในแต่ละปีงบประมาณให้

จัดท้าบันทึกชีแจงเหตุผลท่ีผลิตไม่ได้ตามแผน เสนอหน่วยงานต้นสังกัดเพื่อรวบรวมและสรุปเสนอกรมฯ ผ่านกองวิจัย
พัฒนาเมลด็ พันธพ์ุ ืชและกองแผนงานและวชิ าการต่อไป
2. เกษตรกร กลุม่ เกษตรกร นักวิจัย ภาครฐั และภาคเอกชน

น้าพชื พนั ธ์ดุ ขี องกรมฯไปใชป้ ระโยชน์
3. กองวิจยั พฒั นาเมล็ดพนั ธุพ์ ชื

รวบรวม สรุปรายงานแผน/ผลการผลิตพันธ์ุพืช และการน้าไปใช้ประโยชน์เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการติดตามผล
การดา้ เนนิ งานและใชจ้ ดั ท้าแผนการผลิตพนั ธุ์พชื ในปตี ่อไป

- กรณีมีการปรับแผนการผลิตที่มีความจ้าเป็นเร่งด่วนให้กองวิจัยพัฒนาเมล็ดพันธ์ุพืชพิจารณาปรับ
แผนการผลติ หรือบริหารจดั การผลผลิต เพ่ือแก้ไขปัญหาไดท้ ันสถานการณ์ โดยเสนอกรมฯผา่ นกองแผนงานและวชิ าการ
4. กองแผนงานและวิชาการ

รวบรวม สรุปรายงานแผน/ผลการผลิตพันธุ์พืช เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการติดตามผลการด้าเนินงาน จัดท้าแผน
การผลิตพันธพ์ุ ืช ประเมินผลการน้าพันธุ์พชื ไปใชป้ ระโยชน์ รวมทังน้าขอ้ มูลท่ีได้เสนอกรมฯเพื่อประกอบการตัดสินใจของ
ผ้บู ริหารในการพจิ ารณาแผนการผลิตพนั ธ์ุพชื ของกรมฯในปีต่อไป
* หมายเหตุ แนวทางการสา้ รองพันธพุ์ ืชเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภยั พิบตั ทิ างการเกษตร

1. กรมฯ มขี ้อสัง่ การใหห้ นว่ ยปฏบิ ัติดา้ เนินการสา้ รองพันธุ์พืช
2. หน่วยปฏิบตั ดิ า้ เนนิ การผลิตใหค้ รบตามแผนทกี่ รมฯสง่ั การใหส้ ้ารองพันธุพ์ ชื
3. กรณีผลิตพันธ์ุพชื ได้ครบตามแผนการส้ารองแต่กรมฯ ยังไม่มีการน้าผลผลิตไปช่วยเหลอื ผู้ประสบภยั ให้หน่วย
ปฏิบัติหมุนเวียนผลผลิตไปใช้ประโยชน์เพ่ือป้องกนั การเสียหายท่ีเกิดขึนกับผลผลิต พร้อมทังรายงานผลการใช้ประโยชน์
ผลผลิตทห่ี มนุ เวยี นและช่วงเวลาพรอ้ มใช้ประโยชน์ผลผลติ ท่ผี ลิตทดแทนไปยังกองแผนงานและวิชาการทุกครงั

22/07/62

กระบวนการผลติ พนั ธพ์ุ ืชสวน (เมลด็ /ต้นพันธุ์/หน่อ/ยอด/หวั /ผลพันธุ์)

หนว่ ยงาน การวางแผนการผลิต กากราผรลผิตลิต กากราตรรตวรจวสจอสบอคบุณคุณภาภพาพผลผผลลผติลิต การบรหิ ารผลผลิต

วก. Y or N Y or N รับทราบผลการ
ดาเนินงาน/สงั่ การ
กผง. วนิ ิจฉยั / วินจิ ฉัย/ วินิจฉยั /
อนมุ ตั สิ ง่ั การ อนมุ ตั สิ ่งั การ อนมุ ตั ิสงั่ การ รวบรวม/ติดตาม
กวม./ ประเมินผล/สรปุ รายงาน
สวส./สวพ. N Y ผลการผลิต จาหน่าย
และนาไปใช้ประโยชน์
หน่วยปฏบิ ตั ิ พจิ ารณา/เสนอ แจ้งผล พิจารณา/เสนอ แจ้งผลการพิจารณา ขออนุมตั จิ าหน่าย/ แจ้งผลการพิจารณา
(ศวพ./ศวส./ อนมุ ัติ การพิจารณา อนุมตั ิ /ตดิ ตาม/ตัดยอด/ ทาลาย/ปรบั แผน /ติดตาม/ตัดยอด/ เสนอกรม
ศว.กส./ศกล.) ปรบั ฐานข้อมลู ปรบั ฐานขอ้ มูล
N รวบรวม/ติดตาม
d d ประเมนิ ผล/สรปุ รายงาน
ผลการผลติ จาหน่าย
NY และนาไปใชป้ ระโยชน์

ประชมุ พจิ ารณา/ Y รวบรวม/วิเคราะหผ์ ลผลติ แจ้งเวียนหน่วย รวบรวม/วเิ คราะหผ์ ลผลิต แจ้งเวยี นหน่วย ®2
วิเคราะห์ ทแี่ จ้งเสียหาย/ปรบั แผน ปฎบิ ตั ทิ ราบ ท่ีแจ้งเสยี หาย/ปรบั แผน ปฎบิ ัตทิ ราบ
แผนการผลติ แจง้ เวียนหนว่ ย ดาเนนิ การตาม จาหน่ายและนาไปใช้
ปฏิบัตทิ ราบ ขอ้ วนิ จิ ฉยั ส่ังการ ประโยชน์

กรณีเสยี หาย/ปรับแผน N

วางแผน/ทบทวน/จัดทาแผนการ ประชมุ ช้แี จง ®2 ตรวจตดิ ตาม ®3 ®1 ®1/®3
ผลติ เจา้ หนา้ ท่ีหนว่ ย การผลิตพันธุพ์ ืช รวบรวมและขน เก็บรักษา/ตรวจ
เตรยี มพนั ธ์ุ ยา้ ยพันธพุ์ ืช
ปฏิบตั ิ พืชสวน คุณภาพพนั ธพุ์ ชื สวน
สวน
Y

ปลูก ดแู ลรักษาแปลงผลิต เก็บเกีย่ วผลผลติ
พันธุพ์ ชื สวน

นกั วิจยั เกษตรกร รวบรวมความต้องการพันธุพ์ ืชสวน นาไปใชป้ ระโยชน์
กลุ่มเกษตรกร ภาครัฐ

ภาคเอกชน

หมายเหตุ : หน่วยปฏบิ ัติรายงานกระบวนการผลติ ผ่าน สวพ. สวส. กวม. ผา่ น กผง ®1 = ใบส่งมอบพนั ธพุ์ ืช/ปจั จัยการผลิต ®2 = ใบเบิกพนั ธ์พุ ชื /ปจั จยั การผลติ ®3 = ใบแจง้ ผลผลติ เสยี หาย
= ทศิ ทางการปฏบิ ัตงิ าน (ปกต)ิ
Y = ใช่ = จดุ เรมิ่ ตน้ และสิ้นสุด = ทิศทางทบทวนแผนการผลิต = ทิศทางแจง้ เสยี หาย/ปรบั แผน
N = ไม่ใช่ = กรณเี สยี หาย/ปรบั แผน
= การปฏิบัตงิ าน (ปกต)ิ = การตรวจสอบเง่อื นไข (การตดั สินใจ)

= การตรวจสอบเงือ่ นไข (การตัดสินใจ) กรณเี สยี หาย/ปรบั แผน
-
5

6

บทที่ 2
กระบวนการผลติ พันธพ์ุ ืชสวน
(เมลด็ /ตน้ พนั ธุ์/หน่อ/ยอด/หัว/ผลพนั ธ์ุ)

เมล็ดพันธุ์หรือกิ่งพันธุ์ถือเป็นปัจจัยหลักในการลงทุนการผลิต การผลิตเมล็ดพันธ์ุพืชสวนหรือส่วนขยายพันธุ์
อืน่ ๆ ให้ได้มาตรฐานและมีคุณภาพดีเป็นสิ่งจาเป็น กรมฯจึงได้กาหนดแนวทางของผู้ปฏิบัติให้กับผู้ท่ีเกี่ยวข้องในการผลิต
พันธุ์พืชสวน ให้มีการดาเนินการตามกระบวนการอย่างเป็นระบบเพ่ือให้ได้เมล็ดพันธ์ุหรือต้นพันธ์ุท่ีดี ท่ีมีคุณภาพเพื่อ
กระจายพันธ์ุสู่เกษตรกรและผู้ใช้ประโยชน์ต่อไป โดยมีข้ันตอนของกระบวนการผลิตพันธ์ุพืชไว้ 4 ข้ันตอน ได้แก่ การ
วางแผนการผลติ การผลติ การตรวจสอบคณุ ภาพผลผลิต และการบรหิ ารผลผลติ

ขนั้ ตอนที่ 1 การวางแผนการผลิต

1. หนว่ ยปฏิบตั ิ ประกอบด้วย ศูนย์วจิ ยั ฯ
1.1 วางแผน/ทบทวน/จัดทาแผนการผลิตพันธุ์พืชและแผนการใช้ประโยชน์พันธุ์พืช โดยพิจารณาจากข้อมูล

การใชป้ ระโยชน์ในปที ผ่ี ่านมาและความต้องการของเกษตรกร กลมุ่ เกษตรกร นักวจิ ัย ภาครัฐ และภาคเอกชน
1.2 ประชุมช้ีแจงเจ้าหน้าท่หี น่วยปฏบิ ตั ิ
1.3 จัดทาคาขอแผนการผลิตพันธุ์พืชเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณของหน่วยปฏิบัติผ่านกองวิจัยพัฒนา

เมล็ดพันธ์ุพืช/สถาบันวิจัยพืชสวน/สานักวิจัยและพัฒนาการเกษตร โดยใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศผ่านโปรแกรม
Data base for Plant Production
2. กองวจิ ัยพัฒนาเมลด็ พันธ์ุพชื /สถาบันวจิ ยั พืชสวน/สานกั วจิ ัยและพัฒนาการเกษตร

2.๑ กองวิจัยพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืช/สถาบันวิจัยพืชสวน/สานักวิจัยและพัฒนาการเกษตร รวบรวมแผนการผลิต
พันธุ์พืชและแผนการขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยปฏิบัติภายใต้สังกัด เพื่อพิจารณากล่ันกรองการจัดทา
แผนการผลติ พนั ธ์พุ ชื สวน

๒.๒ กองวิจัยพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืช เชิญหน่วยปฏิบัติที่เกี่ยวข้องประชุม วิเคราะห์แผนการผลิตพันธ์ุพืช เพ่ือขอ
อนมุ ตั แิ ผนการผลิตพันธ์พุ ชื /งบประมาณเสนอกรมฯผา่ นกองแผนงานและวชิ าการ

- กรณีแผนการผลิตพันธ์ุพืช/งบประมาณไม่ผ่านการพิจารณา ประสานสถาบันวิจัยพืชสวน/สานักวิจัย
และพัฒนาการเกษตรและหน่วยปฏิบัติภายใต้สังกัดทบทวนแผนการผลิตพันธ์ุพืชเสนอกรมฯ ผ่านกองแผนงานและ
วชิ าการอกี ครั้ง
3. กองแผนงานและวิชาการ

3.1 วิเคราะห์และพิจารณาแผนการผลิตพันธุ์พืช/งบประมาณ เสนอกรมฯ พร้อมทั้งแจ้งผลการพิจารณาให้
กองวิจยั พัฒนาเมล็ดพันธ์ุพืชรับทราบ

- กรณีแผนการผลิตพันธุ์พืช/งบประมาณไม่ผ่านการพิจารณา แจ้งกองวิจัยพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชเพ่ือ
ทบทวนแผนการผลติ พนั ธพุ์ ืชเสนอกรมฯอีกครง้ั
4. กรมวิชาการเกษตร

7

4.1 พิจารณาอนุมัติแผนการผลิตพันธ์ุพืช/งบประมาณ และถ้ามีข้อวินิจฉัย/ส่ังการมอบหมายกองแผนงานและ
วชิ าการแจ้งผลการพิจารณาตามขัน้ ตอน

- กรณีแผนการผลิตพันธุ์พืช/งบประมาณไม่ผ่านการพิจารณา มอบหมายกองแผนงานและวิชาการประสาน
หน่วยปฏบิ ัติทีร่ ับผดิ ชอบเพื่อทบทวนแผนการผลิตพนั ธพ์ุ ืชเสนอกรมฯผ่านกองแผนงานและวชิ าการอกี คร้งั

ขัน้ ตอนที่ 2 การผลิต

1. หนว่ ยปฏบิ ัติ
1.1 เตรยี มแปลง และปฏบิ ัติดแู ลรักษาแปลงแมพ่ ันธ์/ุ ตน้ พันธ/ุ์ ต้นตอ
1.2 เตรยี มวสั ดุเกษตร/วัสดปุ ลูก
1.3 ผลติ พันธ/ุ์ ขยายพันธ/์ุ ดแู ลรกั ษา
- ผสมเกสร และผลิตพันธ์ุ
- เพาะเมล็ด
- ขยายพนั ธโ์ุ ยไม่ใชเ้ พศ (ตดิ ตา ทาบกิ่ง เสยี บก่ิง ฯลฯ) เพาะชาต้นพันธ์ุ
- เก็บเก่ยี วผลผลติ
1.4 ตรวจติดตามการผลติ /ประเมนิ /ทดสอบเมล็ดพันธ์ุ/ตรวจสอบต้นพันธ์ุท่ีไม่ได้มาตรฐาน
1.5 รวบรวมและขนย้ายพันธ์พุ ืช (เมลด็ /ตน้ พันธ์ุ/หน่อ/ยอด/หวั /ผลพันธ์)ุ
1.6 รายงานแผน/ผลการผลิตพันธ์ุพืช ให้หัวหน้าหน่วยปฏิบัติ กองวิจัยพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืช/สถาบันวิจัย

พืชสวน/สานักวจิ ยั และพฒั นาการเกษตร และกองแผนงานและวชิ าการ รับทราบขอ้ มูล
กรณีพันธุพ์ ืชเสยี หายและหรอื มกี ารปรบั แผนการผลิตพันธ์พุ ืชให้ดาเนนิ การ ดงั น้ี
1. หนว่ ยปฏบิ ัติ
ผรู้ ับผิดชอบงานผลิตพันธุ์พืชรายงานความเสียหายหรือแนวทางการปรับแผนการผลิตให้หัวหน้าหน่วย

ปฏิบัติทราบ พร้อมทั้งรวบรวมหลักฐานที่แสดงความเสียหายหรือหลักฐานท่ีขอปรับแผนการผลิต เช่น ผลการตรวจ
คณุ ภาพจากห้องปฏิบัติการ ประกาศกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ภาพถ่าย ข้อมูลความต้องการพันธุ์พืชจากผู้ใช้
ประโยชน์ เป็นตน้ สง่ หน่วยงานตน้ สงั กดั

2. กองวจิ ยั พฒั นาเมลด็ พนั ธ์พุ ืช/สถาบนั วจิ ยั พชื สวน/สานกั วิจัยและพัฒนาการเกษตร
- กองวิจัยพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืช/สถาบันวิจัยพืชสวน/สานักวิจัยและพัฒนาการเกษตร รวบรวมและ

วิเคราะห์ข้อมูลผลผลิตพันธ์ุพืชที่แจ้งเสียหาย และ/หรือปรับแผนการผลิตจากหน่วยปฏิบัติภายใต้สังกัด ส่งกองวิจัย
พัฒนาเมล็ดพนั ธุ์พชื เสนอกรมฯผ่านกองแผนงานและวชิ าการ

3. กองแผนงานและวชิ าการ
พิจารณาเสนอกรมฯเพื่อวินิจฉัย/สั่งการ พร้อมทั้งแจ้งผลการพิจารณาให้กองวิจัยพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืช

รบั ทราบ รวมทง้ั ติดตามผล ตดั ยอดการรายงาน และปรบั ฐานขอ้ มลู พันธ์ุพืชของหนว่ ยปฏบิ ตั ิ
4. กรมวชิ าการเกษตร
พจิ ารณาอนุมัตแิ ผนการผลิตพันธ์ุพืช/งบประมาณ ที่หนว่ ยปฏบิ ัติแจ้งเสียหายและหรือปรบั แผน และถ้า

มีข้อวินิจฉัย/สง่ั การมอบหมายกองแผนงานและวิชาการประสานงานและดาเนินการตามข้ันตอน

8

ขน้ั ตอนท่ี 3 การตรวจสอบคุณภาพผลผลิต

1. หนว่ ยปฏิบตั ิ
1.1 ตรวจคุณภาพพันธุ์พืช (เมล็ด/ต้นพันธ์ุ/หน่อ/ยอด/หัว/ผลพันธ์ุ) ในระหว่างการเก็บรักษาและก่อนนา

ผลผลิตพนั ธพุ์ ชื ไปใช้ประโยชน์
กรณีพันธุ์พชื เสียหายและหรือมีการปรบั แผนการผลิตพันธุพ์ ืชให้ดาเนินการ ดังน้ี
๑. หน่วยปฏิบตั ิ
ผู้รับผิดชอบงานผลิตพันธ์ุพืชรายงานความเสียหายหรือแนวทางการปรับแผนการผลิตให้หัวหน้าหน่วย

ปฏิบัติทราบ พร้อมทั้งรวบรวมหลักฐานท่ีแสดงความเสียหายหรือหลักฐานท่ีขอปรับแผนการผลิต เช่น ผลการตรวจ
คุณภาพจากห้องปฏิบัติการ ประกาศกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ภาพถ่าย ข้อมูลความต้องการพันธ์ุพืชจากผู้ใช้
ประโยชน์ เปน็ ต้น สง่ หนว่ ยงานต้นสังกดั

2. กองวิจยั พัฒนาเมล็ดพันธุ์พืช/สถาบนั วจิ ยั พชื สวน/สานกั วจิ ัยและพัฒนาการเกษตร
- กองวิจัยพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืช/สถาบันวิจัยพืชสวน/สานักวิจัยและพัฒนาการเกษตร รวบรวมและ

วิเคราะห์ข้อมูลผลผลิตพันธุ์พืชท่ีแจ้งเสียหาย และ/หรือปรับแผนการผลิตจากหน่วยปฏิบัติภายใต้สังกัด ส่งกองวิจัย
พฒั นาเมล็ดพันธพ์ุ ืชเสนอกรมฯผ่านกองแผนงานและวชิ าการ

3. กองแผนงานและวิชาการ
พิจารณาเสนอกรมฯเพื่อวินิจฉัย/ส่ังการ พร้อมทั้งแจ้งผลการพิจารณาให้กองวิจัยพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืช

รบั ทราบ รวมทง้ั ตดิ ตามผล ตัดยอดการรายงาน และปรับฐานขอ้ มลู พันธพุ์ ชื ของหนว่ ยปฏิบัติ
4. กรมวชิ าการเกษตร
พจิ ารณาอนุมัตแิ ผนการผลิตพันธพุ์ ืช/งบประมาณ ที่หน่วยปฏบิ ัติแจ้งเสียหายและหรือปรับแผน และถ้า

มีข้อวนิ ิจฉัย/สั่งการมอบหมายกองแผนงานและวชิ าการประสานงานและดาเนนิ การตามขั้นตอน

ข้นั ตอนที่ 4 การบริหารผลผลติ

1. หน่วยปฏบิ ตั ิ
1.1 นาผลผลิตพันธุ์พืชท่ีผ่านการตรวจคุณภาพไปใช้ประโยชน์ (จาหน่าย แจกจ่าย งานวิจัย งานผลิตพันธ์ุพืช

สนับสนนุ งานตามภารกจิ กรมฯ)
1.2 สรปุ รายงานแผน/ผลการผลิตพันธ์ุพชื และการนาไปใช้ประโยชน์ แจง้ หน่วยงานต้นสงั กดั กองแผนงานและ

วิชาการและกองวิจยั พฒั นาเมล็ดพนั ธ์ุพชื ผา่ น 2 ช่องทาง ดังน้ี
- เอกสารรายงาน
: รายงานการความก้าวหน้างานผลิตพันธุ์พืชและปัจจัยการผลิต/การใช้ประโยชน์

(แบบรายงาน พป.56)
- รายงานผ่านระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ
: รายงานการความก้าวหน้างานผลิตพันธุ์พืชและปัจจัยการผลิต/การใช้ประโยชน์

(โปรแกรม Data base for Plant Production : DPP)
: รายงานแผน/ผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณตา มแบบรายงาน

สงป.301/302 (โปรแกรม Scorecards Cockpit Enterprise : SCE)

9

1.3 กรณีหน่วยปฏิบัติไม่สามารถด้าเนินการผลิตพันธ์ุพืชได้ตามแผนท่ีกรมฯ อนุมัติในแต่ละปีงบประมาณให้
จัดท้าบันทึกชีแจงเหตุผลท่ีผลิตไม่ได้ตามแผนเสนอหน่วยงานต้นสังกัดเพ่ือรวบรวมและสรุปเสนอกรมฯ ผ่านกองวิจัย
พัฒนาเมลด็ พันธุพ์ ชื และกองแผนงานและวิชาการต่อไป
2. เกษตรกร กล่มุ เกษตรกร นกั วจิ ยั ภาครฐั และภาคเอกชน

นา้ พชื พนั ธ์ุดขี องกรมฯไปใชป้ ระโยชน์
3. กองวิจัยพฒั นาเมล็ดพันธุพ์ ชื

รวบรวม สรุปรายงานแผน/ผลการผลิตพันธ์ุพืช และการน้าไปใช้ประโยชน์เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการติดตามผล
การด้าเนินงานและใช้จัดท้าแผนการผลิตพันธ์พุ ชื ในปีต่อไป

- กรณมี ีการปรับแผนการผลติ ท่ีมีความจ้าเป็นเรง่ ด่วนให้กองวิจัยพฒั นาเมลด็ พนั ธุ์พืชพิจารณาปรับแผนการผลิต
หรือบริหารจัดการผลผลติ เพือ่ แก้ไขปัญหาไดท้ ันสถานการณ์ โดยเสนอกรมฯผา่ นกองแผนงานและวิชาการ
4. กองแผนงานและวิชาการ

รวบรวม สรุปรายงานแผน/ผลการผลิตพันธุ์พืช เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการติดตามผลการด้าเนินงานและจัดท้า
แผนการผลิตพันธ์ุพืช รวมทังประเมินผลการน้าพันธ์ุพืชไปใช้ประโยชน์ น้าข้อมูลที่ได้เสนอกรมฯเพ่ือประกอบการ
ตดั สนิ ใจของผบู้ ริหารในการพจิ ารณาแผนการผลติ พนั ธพ์ุ ืชของกรมฯในปีต่อไป
* หมายเหตุ แนวทางการสา้ รองพันธุ์พืชเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภยั พิบตั ทิ างการเกษตร

1. กรมฯ มขี ้อสั่งการให้หน่วยปฏบิ ัติดา้ เนนิ การสา้ รองพนั ธ์ุพืช
2. หน่วยปฏบิ ตั ดิ า้ เนินการผลิตให้ครบตามแผนทีก่ รมฯสั่งการให้ส้ารองพนั ธพ์ุ ชื
3. กรณีผลิตพันธุ์พชื ได้ครบตามแผนการส้ารองแต่กรมฯ ยังไมม่ ีการน้าผลผลิตไปช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยให้หน่วย
ปฏิบัติหมุนเวยี นผลผลิตไปใช้ประโยชน์เพ่ือป้องกันการเสียหายท่ีเกิดขึนกับผลผลิต พร้อมทังรายงานผลการใช้ประโยชน์
ผลผลติ ทห่ี มุนเวียนและชว่ งเวลาพร้อมใชป้ ระโยชน์ผลผลติ ทผ่ี ลิตทดแทนไปยังกองแผนงานและวิชาการทุกครงั

22/07/62

กระบวนการผลติ พนั ธพ์ุ ืชสวน (เมลด็ /ต้นพันธุ์/หน่อ/ยอด/หวั /ผลพันธุ์)

หนว่ ยงาน การวางแผนการผลิต กากราผรลผิตลิต กากราตรรตวรจวสจอสบอคบุณคุณภาภพาพผลผผลลผติลิต การบรหิ ารผลผลิต

วก. Y or N Y or N รับทราบผลการ
ดาเนินงาน/สงั่ การ
กผง. วนิ ิจฉยั / วินจิ ฉัย/ วินิจฉยั /
อนมุ ตั สิ ง่ั การ อนมุ ตั สิ ่งั การ อนมุ ตั ิสงั่ การ รวบรวม/ติดตาม
กวม./ ประเมินผล/สรปุ รายงาน
สวส./สวพ. N Y ผลการผลิต จาหน่าย
และนาไปใช้ประโยชน์
หน่วยปฏบิ ตั ิ พจิ ารณา/เสนอ แจ้งผล พิจารณา/เสนอ แจ้งผลการพิจารณา ขออนุมตั จิ าหน่าย/ แจ้งผลการพิจารณา
(ศวพ./ศวส./ อนมุ ัติ การพิจารณา อนุมตั ิ /ตดิ ตาม/ตัดยอด/ ทาลาย/ปรบั แผน /ติดตาม/ตัดยอด/ เสนอกรม
ศว.กส./ศกล.) ปรบั ฐานข้อมลู ปรบั ฐานขอ้ มูล
N รวบรวม/ติดตาม
d d ประเมนิ ผล/สรปุ รายงาน
ผลการผลติ จาหน่าย
NY และนาไปใชป้ ระโยชน์

ประชมุ พจิ ารณา/ Y รวบรวม/วิเคราะหผ์ ลผลติ แจ้งเวียนหน่วย รวบรวม/วเิ คราะหผ์ ลผลิต แจ้งเวยี นหน่วย ®2
วิเคราะห์ ทแี่ จ้งเสียหาย/ปรบั แผน ปฎบิ ตั ทิ ราบ ท่ีแจ้งเสยี หาย/ปรบั แผน ปฎบิ ัตทิ ราบ
แผนการผลติ แจง้ เวียนหนว่ ย ดาเนนิ การตาม จาหน่ายและนาไปใช้
ปฏิบัตทิ ราบ ขอ้ วนิ จิ ฉยั ส่ังการ ประโยชน์

กรณีเสยี หาย/ปรับแผน N

วางแผน/ทบทวน/จัดทาแผนการ ประชมุ ช้แี จง ®2 ตรวจตดิ ตาม ®3 ®1 ®1/®3
ผลติ เจา้ หนา้ ท่ีหนว่ ย การผลิตพันธุพ์ ืช รวบรวมและขน เก็บรักษา/ตรวจ
เตรยี มพนั ธ์ุ ยา้ ยพันธพุ์ ืช
ปฏิบตั ิ พืชสวน คุณภาพพนั ธพุ์ ชื สวน
สวน
Y

ปลูก ดแู ลรักษาแปลงผลิต เก็บเกีย่ วผลผลติ
พันธุพ์ ชื สวน

นกั วิจยั เกษตรกร รวบรวมความต้องการพันธุพ์ ืชสวน นาไปใชป้ ระโยชน์
กลุ่มเกษตรกร ภาครัฐ

ภาคเอกชน

หมายเหตุ : หน่วยปฏบิ ัติรายงานกระบวนการผลติ ผ่าน สวพ. สวส. กวม. ผา่ น กผง ®1 = ใบส่งมอบพนั ธพุ์ ืช/ปจั จัยการผลิต ®2 = ใบเบิกพนั ธ์พุ ชื /ปจั จยั การผลติ ®3 = ใบแจง้ ผลผลติ เสยี หาย
= ทศิ ทางการปฏบิ ัตงิ าน (ปกต)ิ
Y = ใช่ = จดุ เรมิ่ ตน้ และสิ้นสุด = ทิศทางทบทวนแผนการผลิต = ทิศทางแจง้ เสยี หาย/ปรบั แผน
N = ไม่ใช่ = กรณเี สยี หาย/ปรบั แผน
= การปฏิบัตงิ าน (ปกต)ิ = การตรวจสอบเง่อื นไข (การตดั สินใจ)

= การตรวจสอบเงือ่ นไข (การตัดสินใจ) กรณเี สยี หาย/ปรบั แผน
-
10

11

บทท่ี 3
กระบวนการผลิตปจั จยั การผลติ
(ชวี ภัณฑ/์ ปุ๋ยชีวภาพ/ชดุ ตรวจสอบ)

ปัจจัยการผลิต (ชีวภัณฑ์/ปุ๋ยชีวภาพ/ชุดตรวจสอบ) เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการวิจัยและพัฒนาเพื่อน้ามาใช้ใน
การเกษตร ซึ่งจะท้าให้การผลิตพืชทัง พืชไร่ พืชสวน ไม้ผล พืชผัก และไม้ดอก ปลอดภัยจากสารเคมีและยังช่วยรักษา
สิ่งแวดล้อมอย่างย่ังยืน ดังนันเพื่อให้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานถูกต้องตามขันตอนของกระบวนการผลิตปัจจัยการ
ผลิต จึงได้ก้าหนดขันตอนไว้ 4 ขันตอน ได้แก่ การวางแผนการผลิต การผลิต การตรวจสอบคุณภาพผลผลิต และการ
บริหารผลผลติ

ขนั ตอนที่ 1 การวางแผนการผลิต

1. หน่วยผลติ สว่ นภมู ภิ าค ประกอบดว้ ย สา้ นกั วิจยั และพัฒนาการเกษตร/ศนู ย์วิจัยฯ
1.1 วางแผน/ทบทวน/จัดท้าแผนการผลิตปัจจัยการผลิต จัดท้าแผนการใช้ประโยชน์ปัจจัยการผลิต โดย

พิจารณาจากข้อมูลการใช้ประโยชน์ในปีที่ผ่านมาและความต้องการของเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร นักวิจัย ภาครัฐ และ
ภาคเอกชน

1.2 จัดท้าค้าขอแผนการผลิตปัจจัยการผลิต เพ่ือขอรับการสนับสนุนงบประมาณ ผ่านหน่วยผลิตส่วนกลาง
โดยใช้ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศผ่านโปรแกรม Data base for Plant Production
2. หน่วยผลิตส่วนกลาง ประกอบด้วย กองวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร/
สา้ นกั วจิ ัยพฒั นาการอารกั ขาพืช/ส้านกั วิจยั พฒั นาเทคโนโลยชี วี ภาพ/กองวจิ ัยพฒั นาปัจจยั การผลิตทางการเกษตร

2.1 วางแผน/ทบทวน/จัดท้าแผนการผลิตปัจจัยการผลิต จัดท้าแผนการใช้ประโยชน์ปัจจัยการผลิต โดย
พิจารณาจากข้อมูลการใช้ประโยชน์ในปีที่ผ่านมาและความต้องการของเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร นักวิจัย ภาครัฐ และ
ภาคเอกชน

2.2 จัดท้าค้าขอแผนการผลิตปัจจัยการผลิต เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ โดยใช้ระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศผ่านโปรแกรม Data base for Plant Production

2.3 รวบรวมแผนการผลิตของหน่วยผลิตปัจจัยการผลิตและงบประมาณจากส่วนหน่วยผลิตส่วนกลางและ
หน่วยผลิตส่วนภูมิภาค โดยเชิญหน่วยผลิตที่เกี่ยวข้องประชุม วิเคราะห์แผนการผลิตปัจจัยการผลิต เพื่อขออนุมัติ
แผนการผลิตปัจจัยการผลิต/งบประมาณ เสนอกรมฯผ่านกองแผนงานและวิชาการ พร้อมทังเตรียมการผลิตให้ทันต่อ
ความตอ้ งการของผูใ้ ช้ประโยชน์

- กรณีแผนการผลิตปัจจัยการผลิต/งบประมาณไม่ผ่านการพิจารณา ให้ทบทวนแผนการผลิตปัจจัย
การผลติ ทงั หน่วยผลิตส่วนกลางและหนว่ ยผลิตสว่ นภูมภิ าค เพอื่ รวบรวมเสนอกรมฯผา่ นกองแผนงานและวชิ าการอกี ครงั
3. กองแผนงานและวิชาการ

3.1 วิเคราะห์และพิจารณาแผนการผลิตปัจจยั การผลิต/งบประมาณ เสนอกรมฯ พรอ้ มทังแจง้ ผลการพิจารณา
ให้หนว่ ยผลิตส่วนกลางรับทราบ

12

- กรณีแผนการผลิตปัจจัยการผลิต/งบประมาณไม่ผ่านการพิจารณา ประสานหน่วยผลิตส่วนกลาง
ทบทวนแผนการผลิตปัจจยั การผลติ เสนอกรมฯอกี ครัง
4. กรมวิชาการเกษตร

4.1 พิจารณาอนุมัติแผนการผลิตปัจจัยการผลิต/งบประมาณ และถ้ามีข้อวินิจฉัย/ส่ังการมอบหมาย
กองแผนงานและวชิ าการแจง้ ผลการพิจารณาตามขนั ตอน

- กรณีแผนการผลิตปัจจัยการผลิต/งบประมาณไม่ผ่านการพิจารณา มอบหมายกองแผนงานและ
วิชาการประสานหนว่ ยผลติ ส่วนกลางทบทวนแผนการผลติ เสนอกรมฯอีกครงั

ขันตอนที่ 2 การผลิต

1. หนว่ ยผลติ ส่วนภูมิภาค
1.1 ด้าเนินการผลติ ปัจจยั การผลติ (ชวี ภณั ฑ์/ปุ๋ยชีวภาพ/ชุดตรวจสอบ)
1.2 ตรวจติดตามกระบวนการผลิตปัจจยั การผลติ
1.3 รายงานแผน/ผลการผลิตปัจจัยการผลิตให้หัวหน้าหน่วยผลิต หน่วยผลิตส่วนกลาง และกองแผนงานและ

วิชาการ รบั ทราบขอ้ มลู
2. หน่วยผลติ สว่ นกลาง

2.1 ดา้ เนนิ การผลติ ปจั จยั การผลติ (ชวี ภัณฑ์/ปุ๋ยชีวภาพ/ชดุ ตรวจสอบ)
2.2 ตรวจตดิ ตามกระบวนการผลติ ปัจจัยการผลติ
2.3 รายงานแผน/ผลการผลิตปัจจัยการผลิตให้หัวหน้าหน่วยผลิตส่วนกลาง รวมทังรวบรวมและสรุปขอ้ มูลของ
หนว่ ยผลติ สว่ นกลางและหนว่ ยผลติ ส่วนภูมิภาคให้กองแผนงานและวชิ าการ รบั ทราบขอ้ มูล
กรณีปจั จัยการผลติ เสยี หายและหรือมกี ารปรับแผนการผลิตปจั จัยการผลิตใหด้ ้าเนินการ ดงั นี
1. หนว่ ยผลิตส่วนภูมภิ าค

- ผู้รับผิดชอบงานผลิตปัจจัยการผลิต รายงานความเสียหายหรือแนวทางการปรับแผนการผลิต
ให้หัวหน้าหน่วยผลิตทราบ พร้อมทังรวบรวมหลักฐานที่แสดงความเสียหายหรือหลักฐานที่ขอปรับแผนการผลิต เช่น
ผลการตรวจคุณภาพจากห้องปฏิบัติการ ประกาศกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ภาพถ่าย ข้อมูลความต้องการ
ปจั จัยการผลติ จากผใู้ ช้ประโยชน์ เปน็ ต้น สง่ หนว่ ยงานตน้ สังกดั

2. หน่วยผลิตสว่ นกลาง
- ผู้รับผิดชอบงานผลิตปัจจัยการผลิต รายงานความเสียหายหรือแนวทางการปรับแผนการผลิต

ให้หัวหน้าหน่วยผลิตทราบ พร้อมทังรวบรวมหลักฐานท่ีแสดงความเสียหายหรือหลักฐานท่ีขอปรับแผนการผลิต เช่น
ผลการตรวจคุณภาพจากห้องปฏิบัติการ ประกาศกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ภาพถ่าย ข้อมูลความต้องการ
ปัจจัยการผลิตจากผใู้ ชป้ ระโยชน์ เป็นตน้

- รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลผลผลิตปัจจัยการผลิต ท่ีแจ้งเสียหายหรือแนวทางการปรับแผน
การผลติ จากหน่วยผลติ ส่วนกลาง หน่วยผลติ สว่ นภูมิภาค เสนอกรมฯผ่านกองแผนงานและวิชาการ

3. กองแผนงานและวิชาการ
พิจารณาเสนอกรมฯเพื่อวินิจฉัย/สั่งการ พร้อมทังแจ้งผลการพิจารณาให้หน่วยผลิตส่วนกลางรับทราบ

รวมทังตดิ ตาม ตัดยอดการรายงาน และปรับฐานข้อมลู ปัจจยั การผลติ ของหน่วยผลติ

13

4. กรมวิชาการเกษตร
พิจารณาอนุมัติแผนการผลิตปัจจัยการผลิต/งบประมาณ ที่หน่วยผลิตแจ้งเสียหายและหรือปรับแผน

และถา้ มีขอ้ วนิ จิ ฉยั /ส่งั การมอบหมายกองแผนงานและวิชาการประสานงานและด้าเนนิ การตามขันตอน

ขนั ตอนท่ี 3 การตรวจสอบคุณภาพผลผลติ

1. หน่วยผลิตสว่ นภมู ิภาค
1.1 ตรวจสอบคุณภาพปจั จัยการผลิตหรือส่งปจั จัยการผลิตไปตรวจสอบคุณภาพที่ห้องปฏิบัติการกลาง

2. หนว่ ยผลติ สว่ นกลาง
2.1 ตรวจสอบคุณภาพปัจจัยการผลิตหรือส่งปัจจัยการผลติ ไปตรวจสอบคุณภาพที่ห้องปฏบิ ตั ิการกลาง

กรณีปัจจยั การผลติ เสียหายหรอื มกี ารปรบั แผนการผลติ ปัจจัยการผลติ ให้ด้าเนินการ ดังนี
1. หนว่ ยผลติ ส่วนภมู ิภาค

- ผู้รับผิดชอบงานผลิตปัจจัยการผลิต รายงานความเสียหายหรือแนวทางการปรับแผนการผลิต
ให้หัวหน้าหน่วยผลิตทราบ พร้อมทังรวบรวมหลักฐานที่แสดงความเสียหายหรือหลักฐานท่ีขอปรับแผนการผลิต เช่น
ผลการตรวจคุณภาพจากห้องปฏิบัติการ ประกาศกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ภาพถ่าย ข้อมูลความต้องการ
ปัจจัยการผลติ จากผู้ใชป้ ระโยชน์ เป็นตน้ ส่งหน่วยงานตน้ สังกัด

2. หน่วยผลิตส่วนกลาง
- ผู้รับผิดชอบงานผลิตปัจจัยการผลิต รายงานความเสียหายหรือแนวทางการปรับแผนการผลิต

ให้หัวหน้าหน่วยผลิตทราบ พร้อมทังรวบรวมหลักฐานที่แสดงความเสียหายหรือหลักฐานท่ีขอปรับแผนการผลิต เช่น
ผลการตรวจคุณภาพจากห้องปฏิบัติการ ประกาศกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ภาพถ่าย ข้อมูลความต้องการ
ปจั จัยการผลติ จากผ้ใู ชป้ ระโยชน์ เป็นตน้

- รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลผลผลิตปัจจัยการผลิต ท่ีแจ้งเสียหายหรือแนวทางการปรับแผน
การผลิตจากหน่วยผลติ สว่ นกลาง หน่วยผลติ ส่วนภมู ิภาค เสนอกรมฯผ่านกองแผนงานและวชิ าการ

3. กองแผนงานและวิชาการ
พิจารณาเสนอกรมฯเพ่ือวินิจฉัย/ส่ังการ พร้อมทังแจ้งผลการพิจารณาให้หน่วยผลิตส่วนกลางรับทราบ

รวมทังติดตาม ตดั ยอดการรายงาน และปรับฐานขอ้ มูลปจั จัยการผลติ ของหน่วยผลติ
4. กรมวชิ าการเกษตร
พิจารณาอนุมัติแผนการผลิตปัจจัยการผลิต/งบประมาณ ที่หน่วยผลิตแจ้งเสียหายและหรือปรับแผน

และถา้ มขี ้อวนิ จิ ฉัย/สงั่ การมอบหมายกองแผนงานและวชิ าการประสานงานและด้าเนินการตามขันตอน

ขันตอนท่ี 4 การบริหารผลผลติ

1. หน่วยผลิตส่วนภูมิภาค
1.1 นา้ ผลผลติ ปจั จยั การผลติ ทผี่ ่านการตรวจคุณภาพไปใชป้ ระโยชน์ (จา้ หน่าย แจกจ่าย งานวจิ ัย งานผลิตพันธุ์

พชื สนบั สนุนงานตามภารกิจกรมฯ)

14

1.2 สรุปรายงานแผน/ผลการผลิตปัจจัยการผลิต และการนาไปใช้ประโยชน์ แจ้งหน่วยงานต้นสังกัด และกอง
แผนงานและวชิ าการ ผ่าน 2 ช่องทาง ดังนี้

- เอกสารรายงาน
: รายงานการความก้าวหน้างานผลิตพันธุ์พืชและปัจจัยการผลิต/การใช้ประโยชน์

(แบบรายงาน พป.56)
- รายงานผ่านระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ
: รายงานการความก้าวหน้างานผลิตพันธ์ุพืชและปัจจัยการผลิต/การใช้ประโยชน์

(โปรแกรม Data base for Plant Production : DPP)
: รายงานแผน/ผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณตา มแบบรายงาน

สงป.301/302 (โปรแกรม Scorecards Cockpit Enterprise : SCE)
1.3 กรณีหน่วยผลิตไม่สามารถดาเนินการผลิตปัจจัยการผลิตได้ตามแผนท่ีกรมฯ อนุมัติในแต่ละปีงบประมาณ

ให้จัดทาบันทึกช้ีแจงเหตุผลที่ผลิตไม่ได้ตามแผน เสนอหน่วยงานต้นสังกัดเพ่ือรวบรวมและสรุปเสนอกรมฯ ผ่านหน่วย
ผลิตส่วนกลางและกองแผนงานและวชิ าการต่อไป
2. หน่วยผลิตสว่ นกลาง

1.1 นาผลผลิตปจั จัยการผลิตทผี่ ่านการตรวจคุณภาพไปใช้ประโยชน์ (จาหน่าย แจกจ่าย งานวิจัย งานผลิตพนั ธุ์
พชื สนบั สนนุ งานตามภารกจิ กรมฯ)

1.2 สรุปรายงานแผน/ผลการผลิตปัจจัยการผลิต และการนาไปใชป้ ระโยชน์ แจ้งกองแผนงานและวิชาการ ผ่าน
2 ช่องทาง ดังน้ี

- เอกสารรายงาน
: รายงานการความก้าวหน้างานผลิตพันธ์ุพืชและปัจจัยการผลิต/การใช้ประโยชน์

(แบบรายงาน พป.56)
- รายงานผ่านระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ
: รายงานการความก้าวหน้างานผลิตพันธุ์พืชและปัจจัยการผลิต/การใช้ประโยชน์

(โปรแกรม Data base for Plant Production : DPP)
: รายงานแผน/ผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณต ามแบบรายงาน

สงป.301/302 (โปรแกรม Scorecards Cockpit Enterprise : SCE)
1.3 กรณีหน่วยผลิตไม่สามารถดาเนินการผลิตปัจจัยการผลิตได้ตามแผนที่กรมฯ อนุมัติในแต่ละปีงบประมาณ

ให้จัดทาบันทึกชี้แจงเหตุผลท่ีผลิตไมไ่ ด้ตามแผน พร้อมทง้ั รวบรวมและสรปุ ข้อมลู ของหน่วยผลิตสว่ นกลางและหน่วยผลิต
ส่วนภมู ิภาคเสนอกรมฯ ผ่านกองแผนงานและวชิ าการตอ่ ไป

- กรณีมีการปรับแผนการผลิตท่ีมีความจาเป็นเร่งด่วนให้หน่วยผลิตส่วนกลางพิจารณาปรับแผนการผลิตหรือ
บรหิ ารจัดการผลผลิต เพือ่ แก้ไขปัญหาได้ทนั สถานการณ์ โดยเสนอกรมฯผ่านกองแผนงานและวิชาการ
3. เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร นกั วิจัย ภาครัฐ และภาคเอกชน

นาปจั จยั การผลิตไปใชป้ ระโยชน์

15

4. กองแผนงานและวิชาการ
รวบรวม สรุปรายงานแผน/ผลการผลิตปัจจัยการผลติ เพื่อใช้เปน็ ข้อมูลในการติดตามและใช้จัดทาแผนการผลิต

ปัจจัยการผลิต รวมท้ังประเมินผลการนาปัจจัยการผลิตไปใช้ประโยชน์ นาข้อมูลที่ได้เสนอกรมวิชาการเกษตรเพื่อใช้
ประกอบการตดั สนิ ใจของผ้บู ริหารในการพิจารณาแผนการผลิตปัจจยั การผลติ ของกรมฯในปีต่อไป

22/07/62

กระบวนการผลติ ปัจจัยการผลิต (ชีวภณั ฑ์/ป๋ยุ ชวี ภาพ/ชุดตรวจสอบ)

หนว่ ยงาน กกาารวรวาางแงแผผนนกกาารผรผลลติ ติ การกผาลรผติ ลิต การตกรวารจตสรอวบจคสณุ อบภาคพณุ ปภจั าจพยั ผกลาผรลผิตลติ การบริหารปจั จยั การผลิต

วก. Y or N Y or N รับทราบผลการ
ดาเนินงาน/สง่ั การ
วินิจฉยั / วินิจฉยั / วนิ จิ ฉัย/
อนมุ ัตสิ ั่งการ อนมุ ตั สิ ง่ั การ อนมุ ตั สิ ่งั การ รวบรวม/ตดิ ตาม
ประเมนิ ผล/สรปุ รายงานผล
N Y
การผลติ จาหน่ายและ
กผง. นาไปใช้ประโยชน์ เสนอกรม

พจิ ารณา/เสนอ แจ้งเวียนหนว่ ย พจิ ารณา/เสนอ แจ้งผลการพจิ ารณา ขออนมุ ตั ิ แจง้ ผลการพจิ ารณา ประโยชน์ เสนอกรม
อนุมัติ ผลติ ทราบ อนุมตั ิ /ติดตาม/ตดั ยอด/ จาหนา่ ย/ทาลาย ติดตาม/ตัดยอด/ปรบั ฐานขอ้ มลู
ปรับฐานขอ้ มูล ®2
N /ปรบั แผน ®1
Y จาหน่ายและนาไปใช้
N ตรวจสอบคณุ ภาพ ประโยชน/์ ติดตาม
หนว่ ยผลติ สว่ นกลาง กรณเี สียหาย/ปรบั แผน ปจั จยั การผลติ ประเมินผล/สรปุ รายงานผล
(กวป./สอพ./สทช./ ®1/®3 ห้องปฏบิ ตั กิ าร การผลิต จาหนา่ ยและ
รวบรวมความตอ้ งการ/ทบทวน/ กลาง นาไปใชป้ ระโยชน์
กปผ.) วิเคราะห์/จัดทาแผนการผลิต/ ตรวจสอบคณุ ภาพปัจจัยการ
ผลิต/รวบรวมแจ้งเสียหาย จาหน่ายและนาไปใช้ ®2
เตรยี มการผลติ ดาเนินการผลิต®2 ตรวจติดตามการผลติ ปัจจยั ®3
ชวี ภัณฑ์/ปยุ๋ การผลติ /รวบรวมแจ้ง ประโยชน์/ตดิ ตาม
ชีวภาพ/ชุด เสยี หาย ประเมนิ ผล/สรปุ รายงาน
ตรวจสอบ ผลการผลิต จาหน่ายและ

หนว่ ยผลติ สว่ น รวบรวมความตอ้ งการ/ทบทวน/ ดาเนินการผลติ ®2 กรณเี สียหาย/ปรบั แผน กรณเี สยี หาย/ปรบั แผน N นาไปใช้ประโยชน์
ภมู ิภาค วเิ คราะห์/จัดทาแผนการผลิต/ ชวี ภัณฑ/์ ปยุ๋
ชีวภาพ/ชุด ตรวจตดิ ตามการผลติ ®3 ตรวจสอบคณุ ภาพ®1/®3 นาไปใชป้ ระโยชน์
(สวพ./ศวพ.) เตรยี มการผลิต ตรวจสอบ ปจั จยั การผลิต ปัจจัยการผลิต

นักวิจัย เกษตรกร รวบรวมความตอ้ งการปัจจยั การผลิต
กลุ่มเกษตรกร ภาครัฐ

ภาคเอกชน

หมายเหตุ : หนว่ ยผลติ ส่วนภูมภิ าครายงานกระบวนการผลติ ผ่านหนว่ ยผลิตสว่ นกลาง กผง. ®1 = ใบส่งมอบพันธุพ์ ืช/ปจั จัยการผลติ ®2 = ใบเบกิ พนั ธพุ์ ชื /ปจั จยั การผลิต ®3 = ใบแจ้งผลผลติ เสยี หาย

= ทิศทางการปฏบิ ตั งิ าน (ปกต)ิ = ทิศทางทบทวนแผนการผลติ = ทศิ ทางแจง้ เสียหาย/ปรบั แผน

Y = ใช่ = จุดเรม่ิ ตน้ และส้ินสุด = การปฏิบัติงาน (ปกต)ิ = การตรวจสอบเง่อื นไข (การตดั สินใจ)

N = ไม่ใช่ = กรณเี สยี หาย/ปรบั แผน = การตรวจสอบเง่ือนไข (การตัดสนิ ใจ) กรณีเสียหาย/ปรบั แผน



- 16



17

บทท่ี ๔
องคป์ ระกอบและหน้าที่คณะท้างานการผลิตพนั ธุพ์ ืชและปัจจยั การผลติ ของหน่วยงาน

ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ...............

การผลิตพันธ์ุพืชและปัจจัยการผลิตจ้าเป็นต้องมีการด้าเนินงานในรูปแบบคณะท้างานเพื่อให้มีการจัดท้าแผน
การผลิตตามกระบวนการรวมไปจนถึงการติดตามประเมินผลให้มีประสิทธิภาพ ดงั นนั กรมฯจึงได้ก้าหนดให้มีคณะท้างาน
2 คณะ โดยมอี งคป์ ระกอบดังนี

1. คณะทา้ งานผลิตพนั ธพุ์ ชื และปจั จัยการผลติ
องค์ประกอบ :

ประธาน - นักวิชาการเกษตร
คณะท้างาน - นักวชิ าการเกษตร หรอื เจา้ พนักงานการเกษตร
เลขานกุ าร - นกั วิชาการเกษตร หรือเจ้าหนา้ ท่ีฝ่ายบริหาร
หน้าท่ี :
1. จัดท้าแผนการผลติ พนั ธพุ์ ชื และปัจจัยการผลิต
2. ด้าเนนิ งานกระบวนการผลติ พันธุพ์ นั ธ์ุพืชและปจั จัยการผลติ
3. รายงานผลการด้าเนนิ งานหัวหน้าหน่วยปฏิบัติทราบ
4. ปฏบิ ัติงานอ่ืนๆตามทหี่ วั หน้าหนว่ ยปฏิบัตมิ อบหมาย

2. คณะท้างานติดตามกระบวนการผลิตพนั ธุพ์ ืชและปจั จัยการผลติ
องค์ประกอบ :

ประธาน - นักวชิ าการเกษตร
คณะท้างาน - นักวิชาการเกษตร หรือเจา้ พนักงานการเกษตร
เลขานุการ - นกั วิชาการเกษตร
หน้าที่ :
1. ตดิ ตามกระบวนการผลติ พันธพ์ุ ืชและปัจจัยการผลิต
2. รายงานผลการติดตามให้หัวหนา้ หน่วยปฏบิ ตั ทิ ราบ
๓. ให้ข้อคดิ เหน็ ขอ้ เสนอแนะทเ่ี กิดประโยชน์ต่อกระบวนการผลิตพันธ์ุพชื และปจั จัยการผลิต
4. ปฏบิ ัตงิ านอื่นๆตามทห่ี ัวหนา้ หนว่ ยปฏบิ ตั มิ อบหมาย

18

ภาคผนวก

19

หน้า ๑๔ ๑๐ มถิ ุนายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๖ ง ราชกิจจานเุ บกษา

ระเบียบกรมวิชาการเกษตร

ว่าดว้ ยการจา้ หนา่ ยและแจกจา่ ยพันธุพ์ ืชไร่และปาลม์ นา้ มันของกรมวชิ าการเกษตร
พ.ศ. 2562

โดยท่ีเหน็ เปน็ การสมควรปรบั ปรงุ แนวทางการจ้าหน่ายและแจกจ่ายพันธพ์ุ ืชไรแ่ ละปาลม์ นา้ มนั
ของกรมวิชาการเกษตร ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาวะปัจจุบันยิ่งขึน และเพ่ือเป็นหลักในการ
ถือปฏิบัติและตรวจสอบ อาศัยอ้านาจตามความในมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม และกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมวิชาการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๗ อธบิ ดีกรมวชิ าการเกษตรจงึ วางระเบียบไว้ ดงั ตอ่ ไปนี

ขอ้ 1 ระเบียบนีเรียกว่า “ระเบียบกรมวิชาการเกษตรว่าด้วยการจ้าหน่ายและแจกจ่าย
พันธ์ุพืชไรแ่ ละปาลม์ น้ามันของกรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2562”

ขอ้ 2 ระเบยี บนใี หใ้ ชบ้ งั คบั ตงั แตว่ นั ถัดจากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน็ ต้นไป
ข้อ 3 ให้ยกเลิกระเบียบกรมวิชาการเกษตรว่าด้วยการจ้าหน่ายและแจกเมล็ดพันธ์ุของ
สถาบนั วจิ ยั พืชไร่ ปี พ.ศ. 2539

ขอ้ 4 ในระเบยี บนี
“อธบิ ดี” หมายความว่า อธบิ ดกี รมวิชาการเกษตร
“พนั ธ์ุพืชไรแ่ ละปาลม์ น้ามัน” หมายความวา่ เมลด็ พนั ธ์ุ/ท่อนพนั ธพ์ุ ชื ไรแ่ ละเมล็ดงอก/ตน้ กลา้
ปาลม์ น้ามนั
“เมล็ดพันธ์/ุ ทอ่ นพนั ธ์พุ ืชไร่” หมายความว่า
(1) เมล็ดพันธ์คุ ัด หมายถงึ เมลด็ พนั ธุท์ ี่ได้จากการผสมพันธห์ุ รือปรับปรงุ พันธ์ุโดยนักวิชาการ
ซึ่งการผลิตเมล็ดพันธุช์ นั นีอยภู่ ายใตก้ ารดา้ เนนิ การของผคู้ ัดเลอื กพันธุ์โดยตรงและตอ้ งอยู่ในความควบคมุ
และรับการรับรองจากกรมวิชาการเกษตรตามพระราชบญั ญัติพันธ์ุพืช พ.ศ. 2518
(2) เมล็ดพันธ์ุหลกั หมายถึง เมล็ดพันธทุ์ ่ีผลิตจากเมล็ดพันธ์คุ ัดใหม้ ีคณุ ลักษณะของสายพนั ธ์ุ
และความบริสุทธ์ิของพันธ์ุเดิมมากท่ีสุด และจะต้องผลิตภายใต้การควบคุมและตรวจสอบจาก
กรมวชิ าการเกษตร และตอ้ งมีคุณภาพเมล็ดพนั ธุต์ ามมาตรฐานเมล็ดพันธุ์หลัก
(3) เมล็ดพันธ์ุขยาย หมายถึง เมล็ดพันธ์ุที่ผลิตจากหน่วยงานท่ีได้รับการรับรองแล้ว

โดยจะต้องรักษาและตรวจสอบคุณลักษณะทางสายพันธุ์ และความบริสุทธ์ิตามมาตรฐานที่กรมวชิ าการเกษตร
ก้าหนดไว้

(4) เมล็ดพันธ์ุจ้าหน่าย หมายถึง เมล็ดพันธ์ุที่ผลิตจากเมล็ดพันธุ์ขยาย ผลิตจากหน่วยงาน
ท่ีได้รับรองแล้วหรือกลุ่มเกษตรกรผู้น้าท่ีได้ผ่านการอบรมการผลิตเมล็ดพันธุ์และการตรวจสอบจาก
กรมวิชาการเกษตร โดยจะต้องรักษาและตรวจสอบคุณลักษณะทางสายพันธุ์และความบริสุทธ์ิ
ตามมาตรฐานทีก่ รมวิชาการกา้ หนดไว้

20

หน้า ๑๕ ๑๐ มถิ นุ ายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๖ ง ราชกิจจานเุ บกษา

(5) เมลด็ พนั ธ/์ุ ท่อนพนั ธุ์ดี หมายถึง เมล็ดพันธ์ดุ มี ีคุณภาพเมล็ดพนั ธุเ์ ทียบเทา่ มาตรฐานเมลด็
พันธชุ์ นั พนั ธ์ุหลกั ชนั พนั ธ์ขุ ยาย หรือชนั พันธจุ์ า้ หน่าย

(6) ท่อนพันธุ์หลัก หมายถึง ท่อนพันธ์ุท่ีผลิตจากท่อนพันธุ์คัดให้มีคุณลักษณะของสายพันธุ์
และความบริสุทธ์ขิ องพันธุเ์ ดิมมากทสี่ ดุ และจะตอ้ งผลิตภายใตก้ ารควบคมุ และตรวจสอบจากกรมวิชาการเกษตร
และต้องมคี ุณภาพเมลด็ พันธต์ุ ามมาตรฐานเมลด็ พันธ์หุ ลัก

“เมลด็ งอก/ตน้ กลา้ ปาล์มนา้ มัน” หมายความวา่
(1) เมล็ดงอกปาล์มน้ามัน หมายถึง เมล็ดงอกจากเมล็ดพันธ์ุปาล์มน้ามันลูกผสมที่ได้จาก
การผลิตภายใต้การควบคุมและตรวจสอบจากกรมวิชาการเกษตร และต้องมีคุณภาพเมล็ดพันธุ์

ตามมาตรฐานเมล็ดพันธ์ุ
(2) ต้นกล้าปาลม์ นา้ มันระยะอนุบาลแรก หมายถึง ต้นกล้าปาล์มน้ามัน อายุ 3 - 5 เดือน

ท่ีได้จากการอนุบาลเมล็ดงอกปาล์มนา้ มันลูกผสม ทีด่ า้ เนนิ การผลิตภายใตก้ ารควบคุมและตรวจสอบจาก
กรมวิชาการเกษตรและตอ้ งมีคุณลักษณะเฉพาะต้นกลา้ พนั ธุ์ตามมาตรฐานท่ีก้าหนด

(3) ต้นกล้าปาล์มน้ามันระยะอนุบาลหลัก หมายถึง ต้นกล้าปาล์มนา้ มนั อายุ 8 - 12 เดือน
ที่ได้จากการอนุบาลต้นกล้าปาล์มน้ามันระยะอนุบาลแรก โดยจะต้องรักษาและตรวจสอบคุณ
ลักษณะเฉพาะต้นกลา้ พันธตุ์ ามมาตรฐานทก่ี รมวชิ าการเกษตรกา้ หนดไว้

“จา้ หน่าย” หมายความว่า ขาย
“แจกจ่าย” หมายความว่า ให้
ข้อ 5 ให้อธิบดีมีอ้านาจในการประกาศก้าหนดราคาพันธุ์พืชไร่และปาล์มน้ามันได้ตาม
ความเหมาะสม
ข้อ 6 ผู้ใดประสงค์จะซือหรือขอรับ พันธ์ุพืชไร่ หรือปาล์มน้ามัน ให้ย่ืนความจ้านง

ตอ่ หน่วยงานกรมวิชาการเกษตรท่มี กี ารผลิตพันธพ์ุ ืชนัน ๆ แลว้ แตก่ รณี
ขอ้ 7 ผ้มู อี า้ นาจจา้ หนา่ ย หรือแจกจา่ ยพนั ธ์พุ ืชไร่ หรอื ปาลม์ นา้ มัน ใหเ้ ป็นไปตามในตาราง

ท่ีก้าหนดไว้ท้ายระเบียบนี ยกเว้นผู้ขอรับ หรือผู้ซือ เป็นหน่วยราชการ ให้แสดงความจ้านง
เป็นลายลักษณ์อักษร และแจ้งส้านักวิจัยและพัฒนาการเกษตร สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทน
พลังงาน ศูนย์วิจัยพืชไร่ ศูนย์วิจัยปาล์มน้ามัน หรือศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรในพืนที่
กองวจิ ัยพฒั นาเมล็ดพนั ธ์ุพืช และศนู ยว์ จิ ยั และพัฒนาเมลด็ พนั ธ์พุ ชื อนุมัตไิ ดต้ ามความเหมาะสม

ข้อ 8 ในกรณีจ้าหน่ายหรือแจกจ่ายพันธุ์พืชไร่ หรือปาล์มน้ามันที่มิได้เป็นไปตามข้อ 7
ใหเ้ ป็นอา้ นาจของอธิบดี หรือผทู้ อี่ ธิบดมี อบหมาย

ข้อ 9 กรมวิชาการเกษตร จะจ้าหน่ายพันธุ์พืชไร่ หรือปาล์มน้ามันให้กับหน่วยราชการ
และภาคเอกชน เพื่อใช้ในการขยายพันธใุ์ นปรมิ าณท่ีผลิตได้ตามงบประมาณแตล่ ะปี และราคาจ้าหนา่ ย
ให้เป็นไปตามประกาศกรมวิชาการเกษตร ว่าด้วยการก้าหนดราคาจ้าหน่ายพันธุ์พืชไร่และปาล์มน้ามัน
ของกรมวชิ าการเกษตร

21

หน้า ๑๖ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๔๖ ง ราชกิจจานเุ บกษา

ขอ้ 10 หน่วยงานท่ีจ้าหน่ายพันธุ์พืชไร่ หรือปาล์มน้ามันต้องจัดท้าบัญชีแสดงรายละเอียด
การจา้ หนา่ ย ตลอดจนหลักฐานการเงินและการน้าเงนิ สง่ คลงั ตามระเบยี บราชการอยา่ งเคร่งครัด

ข้อ 11 การแจกจ่ายพันธุ์พชื ไร่ หรอื ปาล์มน้ามนั ใหเ้ ป็นตามหลักเกณฑ์ ดงั นี
(1) เพอื่ กระจายพันธ์ุไปสเู่ กษตรกรทัว่ ประเทศ
(2) เพ่ือการศกึ ษาหรือวิจัยหรือพัฒนา
(3) เพ่ือให้ความรว่ มมอื กับหน่วยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง
(4) เพื่อสนับสนนุ กิจกรรมตามนโยบายของทางราชการ
ขอ้ 12 ให้หน่วยงานท่ีแจกจ่ายพันธ์ุพืชไร่ หรือปาล์มน้ามันแจ้งให้ผู้รับพันธุ์พืชไร่และปาล์ม

น้ามันรักษาชอ่ื พันธุ์ทไี่ ดร้ ับแจกด้วย
ขอ้ 13 ให้หน่วยงานท่ีแจกจ่ายพันธุ์พืชไร่ หรือปาล์มน้ามัน บันทึกช่ือ ที่อยู่ ของผู้ขอ

หรือผู้รับแจกไว้เป็นหลักฐานและจัดท้าบัญชีแสดงรายละเอียดการแจกจ่ายพันธ์ุพืชไร่ หรือปาล์มน้ามัน
เก็บไว้เปน็ หลักฐาน พรอ้ มทังจดั ทา้ บญั ชีควบคมุ พสั ดตุ ามระเบยี บราชการ

ข้อ 14 ใหห้ น่วยงานทจ่ี า้ หน่ายและแจกจา่ ยพันธพ์ุ ืชไร่ หรอื ปาลม์ น้ามนั รายงานจ้านวนพนั ธุ์
ที่มีเหลืออยู่ให้ ส้านักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่สังกัด สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน
และกองวจิ ยั พฒั นาเมล็ดพันธุพ์ ชื ทราบทุกเดือน

ประกาศ ณ วนั ที่ 19 มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๒
เสรมิ สุข สลกั เพช็ ร์

อธิบดกี รมวชิ าการเกษตร

22

ตารางจาหน่ายและแจกจ่ายพันธุ์พืชไร่และปาลม์ นามนั
ตามระเบียบกรมวิชาการเกษตรว่าดว้ ยการจาหนา่ ยและแจกจา่ ย
พนั ธุ์พชื ไร่และปาล์มนา้ มันของกรมวชิ าการเกษตร พ.ศ. 2562

จา้ นวนทีแ่ จกจ่ายตอ่ ราย จ้านวนท่จี า้ หนา่ ยตอ่ ราย

ชอื่ พืช สวร./สวพ./ ศวร./ศวม./ สวร./สวพ./ ศวร./ศวม./

1. ข้าวโพด กวม. ศวป./ศวพ. กวม. ศวป./ศวพ.
2. ขา้ วโพดขา้ วเหนยี ว
3. ข้าวโพดฝกั ออ่ น 30 กก. 3 กก. 1,500 กก. 150 กก.
4. ข้าวโพดหวานพเิ ศษ
5. ข้าวฟา่ ง 10 กก. 3 กก. 300 กก. 30 กก.
6. ฝา้ ย
7. ถวั่ เขียว 10 กก. 1 กก. 600 กก. 60 กก.
8. ถว่ั เหลือง
9. ถว่ั ลสิ งทัง้ เปลอื ก 10 กก. 1 กก. 300 กก. 30 กก.
10. งา
11. ละหุ่ง 30 กก. 3 กก. 1,000 กก. 100 กก.
12. ปอกระเจา
13. ปอแก้วไทย 30 กก. 3 กก. 200 กก. 20 กก.
14. ปอคิวบา
15. มนั สาปะหลงั 100 กก. 15 กก. 15,000 กก. 3,000 กก.
16. อ้อย
17. ทานตะวนั 150 กก. 45 กก. 50,000 กก. 5,000 กก.
18. เดือย
19. ถ่ัวหรัง่ 250 กก. 50 กก. 10,000 กก. 500 กก.
20. ปาล์มนา้ มัน (เมลด็ งอก)
21. ปาลม์ น้ามนั (ต้นกลา้ อายุ 3-5 เดอื น) 10 กก. 1 กก. 50 กก. 5 กก.
22. ปาล์มนา้ มัน (ตน้ กลา้ อายุ 8-12 เดือน)
20 กก. 2 กก. 25 กก. 25 กก.

5 กก. 0.5 กก. 50 กก. 5 กก.

15 กก. 1.5 กก. 300 กก. 30 กก.

15 กก. 1.5 กก. 300 กก. 30 กก.

4,000 ตน้ 800 ตน้ 16,000 ตน้ 4,000 ตน้

4,000 ลา 1,000 ลา 300,000 ลา 50,000 ลา

10 กก. 1 กก. 100 กก. 10 กก.

30 กก. 3 กก. 300 กก. 30 กก.

50 กก. 5 กก. 2,500 กก. 250 กก.

2,000 เมลด็ 500 เมลด็ 30,000 เมลด็ 5,000 เมลด็

2,000 ตน้ 100 ต้น 20,000 ต้น 1,000 ต้น

500 ต้น 100 ตน้ 10,000 ตน้ 1,000 ตน้

หมายเหตุ สวร. หมายถึง สถาบนั วิจยั พืชไร่และพชื ทดแทนพลงั งาน
ศวร. หมายถึง ศนู ยว์ จิ ัยพืชไร่
ศวป. หมายถงึ ศูนยว์ จิ ยั ปาล์มน้ามัน
สวพ. หมายถงึ สา้ นกั วิจยั และพัฒนาการเกษตร
ศวพ. หมายถงึ ศูนยว์ จิ ยั และพฒั นาการเกษตร
กวม. หมายถึง กองวิจัยพัฒนาเมล็ดพนั ธ์พุ ืช
ศวม. หมายถงึ ศูนยว์ จิ ยั และพัฒนาเมลด็ พนั ธ์พุ ชื

23

หน้า ๑๗ ๑๐ มถิ นุ ายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๖ ง ราชกจิ จานุเบกษา

ระเบยี บกรมวชิ าการเกษตร

ว่าดว้ ยการจาหนา่ ยและแจกจา่ ยพนั ธุ์พืชสวนของกรมวชิ าการเกษตร
พ.ศ. 2562

โดยท่ีเห็นสมควรปรับปรุงแนวทางการจาหน่ายและแจกจ่ายพันธุ์พืชสวนของกรมวิชาการเกษตร
ให้เหมาะสมสอดคล้องกับสภาวะปัจจุบันย่ิงขึ้น และเพื่อเป็นหลักในการถือปฏิบัติและตรวจสอบ
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบญั ญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผน่ ดนิ พ.ศ. ๒๕๓๔
และที่แก้ไขเพิ่มเติมและกฎกระทรวงแบง่ ส่วนราชการกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
พ.ศ. ๒๕๕๗ อธบิ ดีกรมวชิ าการเกษตร จึงวางระเบียบไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้

ขอ้ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมวิชาการเกษตรว่าด้วยการจาหน่ายและแจกจ่าย
พันธุ์พืชสวนของกรมวชิ าการเกษตร ปี พ.ศ. 2562”

ขอ้ 2 ระเบียบนี้ใหใ้ ช้บงั คบั ตัง้ แต่วนั ถัดจากวนั ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเปน็ ตน้ ไป
ขอ้ 3 ให้ยกเลิกคาสั่งหรือระเบียบที่เกี่ยวกับการจาหน่ายจ่ายแจกพันธุ์พืชสวนในส่วนท่ีกาหนด
ไว้แลว้ หรือขัดแย้งกับระเบียบนี้

ขอ้ 4 ระเบยี บฉบบั น้ี ไม่ใช้บงั คับแกก่ ารแจกจา่ ย หรือส่งมอบพันธพุ์ ืชสวนซงึ่ จะตอ้ งสง่ มอบ
ให้แก่หนว่ ยงาน หรือโครงการพิเศษต่าง ๆ ตามแผน หรือโครงการซึ่งมีขอ้ ตกลงกับกรมวิชาการเกษตร
ไว้แลว้

ขอ้ 5 ในระเบียบนี้
“หน่วยงาน” หมายถึง สถาบันหรือศูนย์วิจัยของกรมวิชาการเกษตรซ่ึงผลิตพันธุ์พืชสวน
หรือมีพันธุพ์ ชื สวนไวเ้ พือ่ การจาหนา่ ยและแจกจา่ ย
“หัวหนา้ หนว่ ยงาน” หมายถึง ผอู้ านวยการสถาบัน หรือผู้อานวยการศูนย์วิจยั ซ่งึ ผลติ พนั ธุพ์ ชื สวน
หรือมีพันธพ์ุ ชื สวนไวเ้ พ่ือการจาหน่ายและแจกจา่ ย
“พันธุ์พืชสวน” หมายถึง พืชหรือส่วนใดสว่ นหน่ึงของพันธ์ุพืชสวนพันธ์ุดที ่ีใช้ขยายพันธุ์ของไม้ผล
พืชผัก ไม้ดอก - ไม้ประดับ พืชสวนอุตสาหกรรม พืชสมุนไพรและเครื่องเทศ ทุกชนิด ซึ่งเป็นพืช
ทอี่ ย่ใู นความรบั ผดิ ชอบในการคน้ คว้าและวจิ ยั และขยายพันธ์ขุ องสถาบันวิจยั พืชสวน กรมวชิ าการเกษตร
“พันธ์ุดี” หมายถึง พันธ์ุพืชสวนที่เป็นพันธ์ุหลัก พันธ์ุรับรอง พันธ์ุแนะนา พันธุ์ส่งเสริม

และพนั ธ์ดุ ีทัว่ ไป
“พันธ์ุหลัก” หมายถึง พันธุ์ท่ีขยายมาจากพันธุ์คัดซึ่งดาเนินการขยายพันธุ์โดยนักวิชาการเกษตร

หรอื ภายใต้การแนะนาดแู ลของนักปรับปรงุ พนั ธพุ์ ชื เพ่ือรกั ษาความบริสุทธแิ์ ละลกั ษณะประจาพนั ธพ์ุ ชื น้นั ๆ
“พันธุ์รับรอง” หมายถึง พันธ์ุท่ีผ่านการพิจารณารับรองโดยกรมวิชาการเกษตรว่าเป็นพันธุ์ดี

ที่มีลักษณะประจาพันธุ์ดีที่มีลักษณะประจาพันธ์ุท้ังทางพฤกษศาสตร์ และเกษตรศาสตร์ ตรงตาม
หลกั ฐานทีเ่ สนอ

24

หน้า ๑๘ ๑๐ มิถนุ ายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๖ ง ราชกจิ จานเุ บกษา

“พันธ์ุแนะนา” หมายถึง พันธุ์ที่ผ่านการคัดเลือก และทดสอบโดยนักปรับปรุงพันธ์ุ มีข้อมูล
สนับสนุนวา่ เป็นพันธทุ์ ่ดี ี

“พันธุ์ส่งเสริม” หมายถึง พันธ์ุรับรองที่ได้รับรองที่ได้รับการพิจารณาให้เป็นพันธ์ุส่งเสริมโดย
คณะกรรมการของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

“พันธ์ุดีทั่วไป” หมายถึง พันธุ์ดีด้ังเดิมที่ปลูกเป็นการค้า แต่ยังไม่ได้เป็นพันธุ์จดทะเบียน
พันธ์ุรบั รอง และพนั ธุส์ ง่ เสรมิ

“จาหน่าย” หมายถึง ขาย
“แจกจา่ ย” หมายถงึ ให้

“ผู้ซ้ือ” หมายถึง เกษตรกรหรือบุคคลทั่วไป หรือนิติบุคคลท้ังภาครัฐและภาคเอกชน
หรือหนว่ ยราชการ

“ผู้ขอ” หมายถึง เกษตรกรหรือนักเรียน นิสิต นักศึกษา หรือบุคคลท่ัวไป หรือนิติบุคคล
ทง้ั ภาครฐั และเอกชน หรอื หนว่ ยราชการ

ข้อ 6 ให้หัวหน้าหน่วยงานกาหนดชนิดและปริมาณและแยกประเภทพันธุ์พืชสวนสาหรับ
การจาหนา่ ยและแจกจา่ ยไวใ้ หช้ ดั เจน

ขอ้ 7 การเปลี่ยนปริมาณพันธ์ุพืชสวนที่ได้กาหนดไว้ในข้อ 6 ให้อยู่ในอานาจของหัวหน้า
หนว่ ยงาน

ข้อ 8 ให้หัวหน้าหน่วยงานกาหนดหรือมอบหมายให้ข้าราชการหรือเจ้าหน้าท่ี ท่ีทาหน้าที่
ดูแลรักษาพนั ธ์พุ ชื สวนให้ชดั เจน

ข้อ 9 การจาหน่ายพนั ธุ์พืชสวน ให้ดาเนินการ ดงั น้ี
9.1 ใหจ้ าหนา่ ยพนั ธุพ์ ชื สวนทกี่ าหนดไว้ เปน็ พนั ธ์จุ าหนา่ ย ตามข้อ 6

9.2 ให้จาหนา่ ยพันธพ์ุ ืชสวนตามชนิดและราคาตามประกาศของกรมวชิ าการเกษตร
9.3 ให้หัวหน้าหน่วยงานแต่งต้ังคณะกรรมการจาหนา่ ยพนั ธ์พุ ืชสวน 3 นาย
9.4 ใหจ้ าหนา่ ยเป็นเงนิ สด และจาหนา่ ยในวนั และเวลาราชการ
9.5 ให้ออกใบเสร็จรับเงินทุกคร้ังที่จาหน่าย และต้องปฏิบัติตามระเบียบ
กระทรวงการคลังว่าด้วยการเก็บรักษาเงิน และนาส่งเงินผลประโยชน์เป็นรายได้แผ่นดินสาหรับ
ส่วนภูมิภาคใหน้ าส่งเงิน ณ คลังจังหวัดท่ีหวั หน้าหนว่ ยงานนั้นเบกิ จ่าย หรือสาหรับส่วนกลาง ให้นาสง่ เงิน
ณ กองคลังกรมวชิ าการเกษตร แลว้ รายงานใหก้ รมวิชาการเกษตรผ่านสถาบันวิจยั พืชสวนทราบ
ข้อ 10 การแจกจ่ายพันธุ์พืชสวนให้ผู้มีอานาจอนุมัติแจกจ่ายพันธ์ุดี ตามชนิดและปริมาณ
ที่กาหนดไว้ท้ายระเบียบท่ีกาหนดไว้ท้ายระเบียบน้ีตามความเหมาะสม ถ้าเกินอานาจผู้อานวยการ
สถาบนั วจิ ยั ให้ อธบิ ดกี รมวชิ าการเกษตรเปน็ ผู้มีอานาจอนมุ ตั ิ
ข้อ 11 ผู้ใดประสงค์จะซื้อหรือขอพันธ์ุพืชสวนต้องย่ืนแบบคาขอพันธุ์พืชสวนต่อผู้มีอานาจ
อนมุ ัติ

25

หน้า ๑๙ ๑๐ มถิ นุ ายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๖ ง ราชกจิ จานเุ บกษา

ขอ้ 12 พันธุ์พืชสวนท่ีใช้ในการจาหน่ายและแจกจ่ายต้องมีคุณภาพดีหรือมีขนาดและอายุ
ทีเ่ หมาะสมทีใ่ ช้เปน็ พันธ์ุปลกู

ข้อ 13 การรายงานพนั ธุ์พชื ใหป้ ฏิบัติ ดังน้ี
13.1 ให้ศูนย์วิจัยจัดทารายงานการผลิต การจาหน่าย การแจกจ่าย และคัดทิ้ง

พันธ์พุ ืชสวนจานวนคงเหลอื ให้สถาบนั วิจัยพืชสวนทราบ ทกุ เดือน
13.2 ให้ศูนย์วิจัยหรือสถาบันวิจัยแต่งต้ังข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ทาหน้าท่ี

ตรวจสอบพันธ์ุพืชสวนที่ตายหรอื เสียหาย เสื่อมคุณสภาพไม่เหมาะสมท่ใี ช้ทาพันธ์ุทุกเดือน เพ่ือหักจาก
บัญชจี าหน่ายและแจกจา่ ยพันธุพ์ ชื สวน

13.3 ถ้ามีพันธุ์พืชสวนชนิดใดชนิดหน่ึง ตายหรือเสียหายในแต่ละเดือนเกินร้อยละย่สี ิบ
ให้รายงานสถาบันวิจัยพืชสวน และดาเนินการขออนุมัติต่ออธิบดีกรมวิชาการเกษตรแต่งตั้งคณะกรรมการ
สอบสวนหาผรู้ บั ผดิ ชอบตอ่ ไป

13.4 ในกรณพี ันธ์ุพชื สวน ซึ่งเส่ือมคณุ ภาพไปไม่เหมาะสมทจี่ ะใช้ทาพนั ธ์ใุ ห้รายงาน
สถาบันวิจัยพืชสวน และดาเนินการขออนุมัติต่ออธิบดีกรมวิชาการเกษตรแต่งตั้งคณะกรรมการ
ตรวจสอบสภาพเพอ่ื ทาลายตอ่ ไป

ข้อ 14 พันธ์ุพืชสวนพันธ์ุใด ซ่ึงยังมิได้กาหนดราคาจาหน่าย หรือพันธ์ุพืชท่ีกาหนดราคา
จาหน่ายไว้แล้ว และเห็นสมควรเปล่ียนแปลงราคาจาหน่ายให้เหมาะสม ให้หัวหน้าหน่วยงานเสนอ
ผู้อานวยการสถาบันวิจัยพืชสวนพิจารณากาหนดราคาและขออนุมัติกรมวิชาการเกษตร โดยออกเป็น
ประกาศของกรมวิชาการเกษตร จงึ จาหนา่ ยได้

ขอ้ 15 ให้ปิดประกาศราคาพันธ์ุพืชสวนไว้ในที่เปิดเผยหรือบริเวณที่กาหนดไว้เป็นที่จาหน่าย
พันธ์พุ ชื สวนให้สังเกตเหน็ ไดช้ ัดเจน

ประกาศ ณ วนั ท่ี 19 มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๒
เสริมสุข สลกั เพช็ ร์

อธบิ ดีกรมวชิ าการเกษตร

ตารางการจําหนา่ ยและแจกจา่ ยพนั ธ์พุ ชื สวน

ตามระเบยี บกรมวิชาการเกษตรวา่ ด้วยการจาํ หน่ายและแจกจา่ ยพันธ์พุ ืชสวนของกรมวิชาการเกษตร พ.ศ.2562

หนว่ ยงานเสนอใหม่

ชนิดพืช/ปัจจยั การผลิต จํานวนทแ่ี จกจา่ ย จาํ นวนทจ่ี าํ หนา่ ย

1. ไม้ผล ผอู้ าํ นวยการศูนย์ ผ้อู าํ นวยการสถาบนั วิจัยพชื สวน ผอู้ าํ นวยการศนู ย์ ผ้อู ํานวยการสถาบันวจิ ัยพชื สวน
1.1 ไมผ้ ลขนาดเล็ก (3×3 ม.)
1.2 ไม้ผลขนาดกลาง (6×6 ม.) รายย่อย หน่วยงาน รายยอ่ ย หนว่ ยงาน รายย่อย หนว่ ยงาน รายย่อย หน่วยงาน
1.3 ไม้ผลขนาดใหญ่ (8×8 ม.)
1.4 เมลด็ พันธุม์ ะละกอ ไม่เกนิ รายละ ไม่เกินรายละ ไม่เกินรายละ ไมเ่ กนิ รายละ ไม่เกินรายละ ไมเ่ กินรายละ ไมเ่ กนิ รายละ ไม่เกินรายละ
2. พืชสวนอตุ สาหกรรม
2.1 กาแฟโรบสั ตา้ 178 ตน้ (1 ไร่) 356 ต้น 890 ต้น ( 5 ไร่) 1,780 ต้น 890 ตน้ (5 ไร)่ 1,780 ต้น 8,900 ตน้ 13,350 ตน้
2.2 กาแฟอะราบิกา้ 50 ต้น (1 ไร่) 100 ต้น 250 ต้น ( 5 ไร่) 500 ตน้ 220 ต้น (5 ไร่ 440 ต้น 2,200 ต้น 3,300 ตน้
2.3 ชา 25 ต้น (1 ไร)่ 50 ต้น 125 ต้น ( 5 ไร)่ 250 ตน้ 125 ต้น (5 ไร)่ 250 ต้น 1,250 ต้น 1,875 ตน้
2.4 โกโก้ 100 กรัม (1 ไร)่ 200 กรมั 500 กรมั ( 5 ไร่) 1,000 กรัม 500 กรมั (5 ไร)่ 1 กิโลกรมั
2.5 แพสชน่ั ฟรทุ 5 กิโลกรมั 8 กิโลกรัม
2.6 มะพรา้ วอตุ สาหกรรม
2.7 มะพรา้ วนํา้ หอม/หวาน 167 ตน้ (1ไร่) 334 ต้น 835 ตน้ ( 5 ไร)่ 1,670 ต้น 500 ต้น (3 ไร)่ 1,000 ต้น 5,000 ตน้ 7,500 ตน้
2.8 มะม่วงหมิ พานต์ 400 ตน้ (1ไร)่ 800 ตน้ 2,000 ตน้ ( 5 ไร)่ 4,000 ตน้ 4,000 ต้น (10 ไร่) 8,000 ตน้ 40,000 ตน้ 60,000 ตน้
2.9 สบั ปะรด 1,600 ต้น (1ไร)่ 3,200 ตน้ 8,000 ตน้ ( 5 ไร่) 16,000 ตน้ 4,800 ตน้ (3 ไร)่ 9,600 ตน้ 48,000 ตน้ 72,000 ต้น
2.10 มะคาเดเมีย 100 ตน้ (1ไร)่ 200 ตน้ 1,000 ตน้ 300 ต้น (3 ไร)่ 3,000 ต้น 4,500 ตน้
50 ต้น 100 ต้น 500 ต้น ( 5 ไร)่ 500 ต้น 200 ตน้ 600 ตน้ 2,000 ต้น 3,000 ตน้
25 ต้น (1ไร)่ 50 ตน้ 250 ต้น 250 ต้น 250 ต้น (10 ไร่) 400 ต้น 2,500 ต้น 3,750 ตน้
40 ต้น (1ไร่) 80 ตน้ 125 ต้น ( 5 ไร)่ 400 ตน้ 200 ตน้ (5 ไร่) 500 ต้น 2,000 ต้น 3,000 ต้น
45 ต้น (1ไร)่ 90 ตน้ 200 ต้น ( 5 ไร่) 450 ต้น 450 ตน้ (10 ไร่) 400 ตน้ 4,500 ต้น 6,750 ต้น
4,000 ตน้ (1ไร่) 8,000 ตน้ 225 ตน้ ( 5 ไร)่ 40,000 ต้น 20,000 ต้น (5 ไร)่ 900 ต้น 200,000 ต้น 300,000 ต้น
20 ตน้ (1ไร)่ 40 ต้น 20,000 ตน้ ( 5 ไร่) 200 ตน้ 200 ตน้ (10 ไร)่ 40,000 ต้น 2,000 ต้น 3,000 ตน้
100 ตน้ (5 ไร)่ 400 ตน้

1 26

หน่วยงานเสนอใหม่

ชนดิ พชื /ปัจจัยการผลติ จํานวนทแ่ี จกจ่าย จํานวนท่ีจําหนา่ ย

3. พืชเคร่อื งเทศและสมนุ ไพร ผอู้ ํานวยการศนู ย์ ผอู้ ํานวยการสถาบนั วิจัยพืชสวน ผอู้ ํานวยการศูนย์ ผูอ้ ํานวยการสถาบนั วิจยั พืชสวน
3.1 วานิลลา
3.2 หมาก รายยอ่ ย หน่วยงาน รายยอ่ ย หน่วยงาน รายย่อย หน่วยงาน รายย่อย หน่วยงาน
3.3 พริกไทย
3.4 ตระกูลขงิ ไมเ่ กนิ รายละ ไมเ่ กินรายละ ไม่เกนิ รายละ ไมเ่ กินรายละ ไม่เกนิ รายละ ไมเ่ กินรายละ ไม่เกินรายละ ไมเ่ กนิ รายละ
3.4 เจยี วกหู้ ลาน
4. พชื ผกั และพชื หวั 25 ต้น 50 ตน้ 125 ต้น 250 ตน้ 100 ต้น 200 ต้น 1,000 ตน้ 1,500 ต้น
4.1 พืชผักตระกูลพรกิ มะเขือ 50 ตน้ 100 ตน้ 250 ต้น 500 ตน้ 200 ต้น 400 ต้น 2,000 ต้น 3,000 ตน้
หอมแดง กะหลํา่ 300 ตน้ 600 ต้น 1,500 ต้น 3,000 ต้น 1,200 ต้น (1ไร)่ 2,400 ตน้ 12,000 ต้น 18,000 ต้น
4.2 พชื ผกั ตระกลู ถว่ั 50 กิโลกรมั 100 กิโลกรัม 250 กโิ ลกรมั 500 กโิ ลกรัม 200 กโิ ลกรัม (1 ไร)่ 400 กโิ ลกรมั 2,000 กโิ ลกรมั 3,000 กโิ ลกรมั
4.3 พืชผกั ตระกูลแตง 250 ต้น 500 ต้น 1,250 ต้น 2,500 ต้น 1,000 ตน้ (0.25 ไร่) 2,000 ต้น 10,000 ต้น 15,000 ตน้
4.4 ผกั บุ้งจีน
4.5 มนั ฝรัง่ (ทกุ พันธุ)์ 25 กรมั 50 กรัม 125 กรมั 250 กรมั 100 กรมั 200 กรัม 1 กิโลกรัม 2 กโิ ลกรมั
4.6 มันเทศ (ทกุ พนั ธ์)ุ
4.7 สะตอ 100 กรัม 200 กรมั 500 กรัม 1,000 กรัม 1 กิโลกรัม 2 กิโลกรัม 10 กโิ ลกรัม 15 กิโลกรัม
4.8 โหระพา กะเพรา แมงลกั 125 กรัม 250 กรัม 625 กรัม 1,250 กรมั 5 กิโลกรัม 8 กโิ ลกรัม
4.9 ชาโยเต้ 250 กรัม 500 กรัม 1,250 กรัม 2,500 กรัม 500 กรัม 1 กโิ ลกรัม 10 กิโลกรมั 15 กโิ ลกรมั
4.10 กระเจ๊ยี บเขียว 250 กโิ ลกรัม 500 กโิ ลกรัม 1,250 กิโลกรัม 2,500 กิโลกรมั 10,000 กิโลกรัม 15,000 กโิ ลกรัม
1,250 ยอด 2,500 ยอด 6,250 ยอด 12,500 ยอด 1 กโิ ลกรัม 2 กโิ ลกรมั 50,000 ยอด 75,000 ยอด
25 ตน้ 50 ตน้ 125 ต้น 250 ต้น 1,000 ต้น 1,500 ต้น
50 กรัม 100 กรมั 250 กรัม 500 กรมั 1,000 กิโลกรมั 2,000 กโิ ลกรมั 2 กโิ ลกรมั 3 กโิ ลกรมั
50 กโิ ลกรมั 100 กิโลกรัม 250 กโิ ลกรมั 500 กโิ ลกรมั 2,000 กโิ ลกรัม 3,000 กิโลกรัม
250 กรมั 500 กรัม 1,250 กรมั 2,500 กรมั 5,000 ยอด 10,000 ยอด 10 กโิ ลกรมั 15 กิโลกรมั

100 ต้น 200 ตน้

200 กรมั 400 กรมั

200 กิโลกรมั (0.5 ไร)่ 400 กโิ ลกรัม

1 กิโลกรัม 2 กิโลกรมั

2 27

หน่วยงานเสนอใหม่

ชนิดพืช/ปจั จัยการผลติ จํานวนทแี่ จกจ่าย จํานวนที่จําหน่าย

5. ไมด้ อกไมป้ ระดับ ผอู้ าํ นวยการศูนย์ ผู้อาํ นวยการสถาบนั วิจัยพืชสวน ผู้อาํ นวยการศนู ย์ ผู้อาํ นวยการสถาบนั วิจยั พืชสวน
(ทกุ ชนดิ /ทกุ พนั ธุ์)
5.1 หน้าวัว รายย่อย หน่วยงาน รายย่อย หน่วยงาน รายย่อย หน่วยงาน รายย่อย หน่วยงาน
5.2 ปทุมมา
5.3 ดาหลา ไม่เกนิ รายละ ไมเ่ กนิ รายละ ไม่เกินรายละ ไมเ่ กนิ รายละ ไมเ่ กินรายละ ไม่เกินรายละ ไมเ่ กินรายละ ไมเ่ กนิ รายละ
5.4 เบญจมาศ
125 ตน้ /หวั 250 ต้น/หวั 625 ต้น/หวั 1,250 ตน้ /หวั 500 ต้น/หวั 1,000 ต้น/หัว 5,000 ต้น/หัว 7,500 ต้น/หวั
125 ตน้ /หัว 250 ต้น/หวั 625 ต้น/หวั 1,250 ต้น/หวั 500 ต้น/หวั 1,000 ตน้ /หัว 5,000 ต้น/หวั 7,500 ต้น/หวั
100 หนอ่ 200 หน่อ 500 หนอ่ 1,000 หน่อ 400 หนอ่ 4,000 หน่อ 6,000 หน่อ
1,250 ยอด 2,500 ยอด 6,250 ยอด 12,500 ยอด 5,000 ยอด 800 หน่อ 50,000 ยอด 75,000 ยอด
10,000 ยอด

3 28

29

หน้า ๒๐ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๖ ง ราชกิจจานุเบกษา

ระเบยี บกรมวิชาการเกษตร

ว่าดว้ ยการจาหน่ายและแจกจ่ายปจั จยั การผลิตของกรมวชิ าการเกษตร
พ.ศ. 2562

โดยท่ีเห็นเป็นการสมควรปรับปรุงแนวทางการจาหน่ายและแจกจ่ายปัจจัยการผลิตของ
กรมวิชาการเกษตร เพ่ือเป็นหลักในการถือปฏิบัติและตรวจสอบ ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาวะ
ปัจจุบันย่ิงขึ้น อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติมและกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๗ อธิบดกี รมวิชาการเกษตร จงึ วางระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้

ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมวิชาการเกษตรว่าด้วยการจาหน่ายและแจกจ่าย
ปจั จัยการผลิต ของกรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2562”

ขอ้ 2 ระเบียบน้ใี หใ้ ชบ้ ังคับตัง้ แตว่ ันถัดจากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ต้นไป
ข้อ 3 ในระเบยี บนี้
“อธบิ ดี” หมายความว่า อธิบดกี รมวิชาการเกษตร

“ปัจจยั การผลติ ” หมายถึง
(1) จุลินทรีย์ป้องกันกาจัดโรค แมลง ไรและสัตว์ศัตรูพืช (ตัวห้า ตัวเบียน ไส้เดือนฝอย
กาจัดแมลงศตั รูพชื เหย่ือโปรตัวซัว ไวรัส NPV หัวเช้ือจุลินทรยี ์ เป็นต้น) ชุดตรวจสอบเช้ือสาเหตโุ รคพชื
แอนติซิรัม และตาพันธุ์พืชตระกูลส้มปลอดโรคกรีนน่ิง และทริสเตซ่า เชื้อพันธุ์เห็ดบริสุทธ์ิ เชื้อเห็ดขยาย
หรือเชื้อเห็ดเพาะ หัวเชอื้ ไสเ้ ดือนฝอยกาจัดแมลงศตั รูพชื
(2) ปุ๋ยชีวภาพ ตามพระราชบัญญัติปุ๋ย พ.ศ. 2518 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปุย๋
(ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2550 หมายความว่า ปุย๋ ท่ีได้จากการนาจุลินทรยี ์ที่มชี วี ติ ท่ีสามารถสร้างธาตอุ าหาร
หรือช่วยให้ธาตุอาหารเป็นประโยชน์กับพืช มาใช้ในการปรับปรุงบารุงดินทางชีวภาพ ทางกายภาพ
หรอื ทางชวี เคมี และใหห้ มายความรวมถึงหัวเชอ้ื จลุ ินทรยี ์ โดยแบ่งออก ดังนี้

- ปยุ๋ ชีวภาพไมคอรไ์ รซา
- ปุย๋ ชวี ภาพพีจีพอี าร์
- ปยุ๋ ชีวภาพละลายฟอสเฟต

- ปยุ๋ ชวี ภาพไรโซเบยี ม
- หัวเชอื้ จุลนิ ทรีย์ยอ่ ยสลายวัสดอุ ินทรยี ์
- แหนแดง
(๓) ชุดตรวจสอบสารแอฟลาทอกซิน หมายถึง ชุดตรวจสอบสาเร็จรูปที่ใช้ในการตรวจวิเคราะห์
สารแอฟลาทอกซินที่ปนเปื้อนในผลิตผลเกษตร และรวมถึงสารตั้งต้นที่ใช้ในการผลิตชุดตรวจสอบฯ
ซ่ึงประกอบดว้ ย

30

หน้า ๒๑ ๑๐ มถิ นุ ายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๔๖ ง ราชกิจจานเุ บกษา

- ชุดตรวจสอบสารแอฟลาทอกซิน
- สารแอนตซิ รี ม่ั บรสิ ุทธ์ิ
- สารแอฟลาทอกซนิ -เอน็ ไซมค์ อนจูเกต
“จาหนา่ ย” หมายความวา่ ขาย
“แจกจ่าย” หมายความว่า ให้
ข้อ 4 ให้อธบิ ดีมีอานาจในการประกาศกาหนดราคาปจั จยั การผลิตไดต้ ามความเหมาะสม
ข้อ 5 ผู้ใดประสงค์จะซื้อหรือขอปัจจัยการผลิตให้ยื่นความจานงต่อหน่วยงานผู้ผลิตปัจจัย
การผลติ น้ัน

ข้อ 6 หน่วยงานที่จาหน่ายปัจจัยการผลิตต้องจัดทาบัญชีแสดงรายละเอียดการจาหน่าย
ปจั จัยการผลิต ตลอดจนหลักฐานการเงิน และการนาเงนิ ส่งคลงั ตามระเบยี บราชการอย่างเครง่ ครดั

ข้อ 7 การแจกจา่ ยปจั จยั การผลติ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดงั น้ี
(1) เพ่อื กระจายปัจจัยการผลติ ไปสเู่ กษตรกร
(2) เพอื่ การศกึ ษาหรือคน้ คว้าทดลอง
(3) เพอ่ื ให้ความรว่ มมือกบั หน่วยงานราชการอ่ืน
(4) เพื่อสนบั สนุนกิจกรรมตามนโยบายของทางราชการ
ข้อ 8 ให้หน่วยงานที่แจกจ่ายปัจจัยการผลิต บันทึกช่ือ ที่อยู่ ของผู้ขอหรือผู้รับแจกจ่าย
ไว้เปน็ หลักฐาน
ข้อ 9 กรมวิชาการเกษตร จะจาหน่ายปัจจัยการผลิต ให้กับเกษตรกร หน่วยราชการ
และเอกชนทั่วไป ในปริมาณที่ผลิตได้ตามงบประมาณแต่ละปีและจัดทาบัญชีแสดงรายละเอียด
การแจกจา่ ยปัจจัยการผลติ เก็บไว้เปน็ หลกั ฐาน พร้อมท้งั จดั ทาบัญชคี วบคมุ พัสดตุ ามระเบยี บราชการ

ประกาศ ณ วนั ที่ 19 มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๒
เสรมิ สุข สลกั เพ็ชร์

อธบิ ดีกรมวิชาการเกษตร

31

ตารางการจาํ หน่ายและแจกจา่ ยปจั จัยการผลิต

ตามระเบียบกรมวิชาการเกษตรว่าด้วยการจาํ หนา่ ยและแจกจ่ายปัจจัยการผลติ ของกรมวชิ าการเกษตร พ.ศ. 2562

ลาํ ดับ ปัจจัยการผลติ หนว่ ยนบั จํานวนที่แจกจ่ายตอ่ ราย จํานวนที่จาํ หน่ายตอ่ ราย

สอพ./สวพ. ศวพ. สอพ./สวพ. ศวพ.

1 เช้อื ไวรสั NPV ลิตร 1.8 ไม่มีแจกจา่ ย 2 ไมม่ ีจาํ หน่าย

2 ไสเ้ ดอื นฝอยศตั รแู มลง แบบผงละลายนํา้ กระปอ๋ ง 1.5 ไม่มีแจกจ่าย 10 ไม่มจี าํ หน่าย

3 เหยือ่ โปรโตซัว ก้อน 250 ไมม่ แี จกจา่ ย 100 ไมม่ จี าํ หน่าย

4 แตนเบียนไข่ Trichogramma sp. ตวั 400,000 ไมม่ แี จกจา่ ย ไม่มีจําหน่าย ไมม่ ีจําหนา่ ย

5 แตนเบยี นหนอนแมลงดาํ หนามมะพร้าว มัมมี่ 200 ไมม่ ีแจกจา่ ย ไมม่ จี ําหน่าย ไมม่ ีจาํ หนา่ ย

6 แตนเบียนหนอนหวั ดํามะพร้าว ตวั 4,000 ไม่มแี จกจา่ ย ไม่มีจําหน่าย ไมม่ จี าํ หนา่ ย

7 แตนเบยี นเพลยี้ แปง้ มนั สําปะหลังสีชมพู คู่ 4,000 ไม่มแี จกจ่าย ไม่มจี าํ หนา่ ย ไมม่ จี าํ หน่าย

8 แมลงหางหนบี ตวั 1,000 ไมม่ ีแจกจ่าย ไม่มีจําหน่าย ไมม่ ีจาํ หน่าย
9 ชดุ ตรวจสอบ GLIFT Kit โรคเห่ยี วปทุมมา/มนั ตวั อยา่ ง 250 ไมม่ ีแจกจา่ ย ไมม่ จี าํ หน่าย ไม่มจี าํ หนา่ ย

ฝรัง่ /ขิง

10 แอนติซรี ม่ั CyMV มลิ ลลิ ิตร ไมม่ ีแจกจา่ ย ไม่มีแจกจ่าย 10 (ขั้นตา่ํ 1 มล.) ไมม่ ีจาํ หนา่ ย

11 แอนติซรี ่ัม ORSV มิลลิลติ ร ไม่มแี จกจา่ ย ไมม่ แี จกจา่ ย 10 (ขน้ั ตา่ํ 1 มล.) ไมม่ ีจาํ หน่าย

12 แอนติซีรั่ม PVX มลิ ลลิ ติ ร ไม่มีแจกจา่ ย ไม่มแี จกจา่ ย 10 (ข้นั ต่ํา 1 มล.) ไมม่ จี ําหนา่ ย

13 แอนติซรี ่ัม PVY มิลลลิ ิตร ไม่มีแจกจ่าย ไมม่ ีแจกจา่ ย 10 (ขน้ั ตา่ํ 1 มล.) ไมม่ ีจําหน่าย

14 ตาพันธพ์ุ ืชตระกูลสม้ ปลอดโรค ตา 125 ไมม่ แี จกจ่าย 2 ไมม่ ีจาํ หนา่ ย

15 แอนตซิ ีรมั่ Rs-ขิง มิลลลิ ติ ร ไมม่ ีแจกจ่าย ไมม่ แี จกจา่ ย 1 ไมม่ จี ําหนา่ ย

16 แอนตซิ ีรมั่ Rs-ปทุมมา มิลลลิ ิตร ไมม่ ีแจกจ่าย ไม่มแี จกจ่าย 1 ไมม่ จี ําหนา่ ย

17 แอนตซิ ีร่ัม Rs-มันฝร่งั มลิ ลิลติ ร ไม่มแี จกจา่ ย ไมม่ แี จกจ่าย 1 ไม่มีจําหน่าย

18 แอนติซีร่ัม Burk-กล้วยไม้ มิลลิลติ ร ไม่มแี จกจ่าย ไม่มแี จกจ่าย 1 ไมม่ จี ําหนา่ ย

19 แอนติซรี ัม่ Aacat-กลว้ ยไม้ มิลลลิ ิตร ไม่มีแจกจ่าย ไม่มีแจกจา่ ย 1 ไมม่ ีจาํ หนา่ ย

20 ชดุ ผลิตขยายไส้เดือนฝอยกาํ จดั แมลง ชุด 100 ไมม่ แี จกจ่าย ไม่มจี ําหนา่ ย ไมม่ จี าํ หน่าย

21 เมตาไรเซยี ม กโิ ลกรัม ไมม่ ีแจกจา่ ย 1 ไมม่ ีจําหน่าย ไมม่ ีจาํ หนา่ ย

สทช./สวส. ศวพ. สทช./สวส. ศวพ.

22 หวั เช้อื ไสเ้ ดือนฝอยสายพนั ธุ์ไทย ถุง 4,000 4 2,000 ไม่มีจาํ หน่าย

23 เชอ้ื พนั ธุเ์ ห็ดบรสิ ทุ ธ์ิ ขวด 200 ไมม่ ีแจกจ่าย 800 ไมม่ จี ําหน่าย

24 เชื้อเห็ดตับเต่าบรสิ ุทธิ์ ขวด 300 ไม่มแี จกจา่ ย 1,200 ไมม่ ีจําหน่าย
กวป. หนว่ ยงานอน่ื ๆ บ.สยามอินเตอร์ ควอลติ ้ี จํากัด

1

ลาํ ดบั ปจั จัยการผลิต หน่วยนับ จํานวนทแ่ี จกจ่ายตอ่ ราย 32
25 ชดุ ตรวจสอบสารแอฟลาทอกซนิ ชุด
190 10 จาํ นวนทีจ่ ําหนา่ ยตอ่ ราย
26 สารแอนติซรี ่มั บริสุทธิ์ (AFB1) มิลลิลติ ร ไม่มแี จกจ่าย ไม่มีจาํ หน่าย
ไมโครลิตร (ใชใ้ นงานวจิ ยั ) ไมม่ แี จกจา่ ย
27 สารแอฟลาทอกซนิ -เอ็นไซม์คอนจเู กต กปว./ศวพ. 40
ถุง 10
28 ปุ๋ยชีวภาพไมคอร์ไรซา 800
29 ปยุ๋ ชวี ภาพพจี ีพอี าร์ (ใชใ้ นงานวจิ ัย)
กปผ./สวพ. กปว/ศวพ
- ป๋ยุ ชีวภาพพีจพี ีอาร1์ 400 500 200
- ป๋ยุ ชวี ภาพพจี พี ีอาร์2
- ป๋ยุ ชีวภาพพีจีพีอาร์3 (ใช้ในงานวิจยั ) 500 200
30 ปุ๋ยชวี ภาพละลายฟอสเฟต 500 200
31 หวั เชือ้ จลุ ินทรีย์ยอ่ ยสลายวสั ดอุ นิ ทรยี ์ กปผ./สวพ. 500 200
32 ปยุ๋ ชีวภาพไรโซเบยี ม 500 200
- ถว่ั เขยี ว 100 20 500 200
- ถั่วเหลอื ง
- ถว่ั ลิสง ถงุ 100 20 ใชร้ ะเบยี บเงนิ ทนุ หมนุ เวยี น
- ถั่วอื่น ๆ ถงุ 100 20 ใช้ระเบยี บเงนิ ทุนหมนุ เวยี น
33 แหนแดง ถงุ 100 20 ใชร้ ะเบยี บเงินทนุ หมนุ เวียน
ถุง 100 20 ใชร้ ะเบยี บเงนิ ทุนหมุนเวยี น
ถงุ 100 20
ไม่มีจําหนา่ ย
ถงุ 1,000 200
ถุง 1,000 200
ถงุ 1,000 200
ถงุ 1,000 200
กก. 100 20

2

33

หน้า ๓๑ ๑๐ มิถนุ ายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๖ ง ราชกจิ จานุเบกษา

ประกาศกรมวชิ าการเกษตร

เร่อื ง กาหนดราคาจาหนา่ ยพันธุ์พืชไร่ พ.ศ. 2562

โดยเป็นการสมควรปรับปรุงแก้ไขประกาศกรมวิชาการเกษตร เร่ือง ประกาศราคาจาหน่าย

พันธ์ุพืชสวน พืชไร่ พ.ศ. 2552 และประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง กาหนดราคาจาหน่าย

พันธุ์พืชสวน พืชไร่ (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2559 ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบัน อาศัยอานาจ

ตามความในข้อ 5 แห่งระเบียบกรมวิชาการเกษตรว่าด้วยการจาหน่ายและแจกจ่ายพันธุ์พืชไร่

และปาล์มนามันของกรมวชิ าการเกษตร พ.ศ. 2562 ซึ่งออกโดยอาศัยอานาจตามความในมาตรา ๓๒

แห่งพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแกไ้ ขเพมิ่ เติม และกฎกระทรวง

แบ่งส่วนราชการกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. 2557 อธิบดีกรมวิชาการเกษตร

จงึ ออกประกาศ ดงั นี

ขอ้ 1 ประกาศนีเรียกว่า “ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง กาหนดราคาจาหน่าย

พนั ธพ์ุ ืชไร่ พ.ศ. 2562”

ขอ้ 2 ประกาศนีใหใ้ ช้บังคับตังแต่วันถัดจากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ต้นไป

ขอ้ 3 ใหย้ กเลิก

3.1 ประกาศกรมวิชาการเกษตร เร่ือง กาหนดราคาจาหน่ายพันธุ์พืชสวน พืชไร่

พ.ศ. 2552

3.2 ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง กาหนดราคาจาหน่ายพันธุ์พืชสวน พืชไร่

(ฉบับท่ี 8) พ.ศ. 2559

ขอ้ 4 ราคาจาหนา่ ยพันธ์ุพชื ไร่ ให้เปน็ ไปตามอตั รา ดังนี

ขา้ วโพดไร่พนั ธ์ุผสมเปดิ กโิ ลกรมั ละ 20 บาท

ข้าวโพดไร่สายพนั ธแ์ุ ท้ กโิ ลกรมั ละ 200 บาท

ข้าวโพดไรพ่ นั ธ์ุลูกผสม กิโลกรมั ละ 70 บาท

ข้าวโพดข้าวเหนยี ว/เทยี นผสมเปิด กโิ ลกรมั ละ 25 บาท

ขา้ วโพดขา้ วเหนียว/เทียนสายพันธแ์ุ ท้ กโิ ลกรมั ละ 400 บาท

ข้าวโพดข้าวเหนยี ว/เทียนลกู ผสม กโิ ลกรมั ละ 180 บาท

ข้าวโพดฝกั ออ่ นผสมเปิด กิโลกรมั ละ 25 บาท

ขา้ วโพดฝักอ่อนสายพนั ธแ์ุ ท้ กโิ ลกรมั ละ 200 บาท

ข้าวโพดฝักอ่อนลกู ผสม กโิ ลกรมั ละ 70 บาท

ข้าวโพดหวานพเิ ศษ กิโลกรมั ละ 50 บาท

ขา้ วโพดหวานสายพนั ธแุ์ ท้ กิโลกรมั ละ 800 บาท

ข้าวโพดหวานลูกผสม กิโลกรมั ละ 400 บาท

34

หน้า ๓๒ ๑๐ มถิ ุนายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๖ ง ราชกิจจานุเบกษา
กโิ ลกรมั ละ 15 บาท
ข้าวฟ่าง กโิ ลกรมั ละ 20 บาท
ขา้ วฟ่างหวาน กโิ ลกรมั ละ 15 บาท
ฝ้าย กโิ ลกรมั ละ 40 บาท
ถว่ั เขยี วชนั พนั ธข์ุ ยาย กิโลกรมั ละ 30 บาท
ถว่ั เขียวชนั พันธุจ์ าหน่าย กโิ ลกรมั ละ 25 บาท
ถั่วเหลืองชนั พนั ธุข์ ยาย กิโลกรมั ละ 22 บาท
ถั่วเหลืองชนั พันธจุ์ าหนา่ ย กโิ ลกรมั ละ 120 บาท
ถั่วเหลอื งฝักสดชนั พนั ธ์ุขยาย
ถั่วเหลอื งฝักสดชันพันธุจ์ าหน่าย กโิ ลกรมั ละ 80 บาท
ถั่วลิสงทังเปลือกชันพนั ธข์ุ ยาย กิโลกรมั ละ 45 บาท
ถวั่ ลิสงทังเปลือกชนั พนั ธ์จุ าหน่าย กโิ ลกรมั ละ 40 บาท
งา กิโลกรมั ละ 50 บาท
มนั สาปะหลงั ตน้ ละ 1 บาท
สบู่ดา ตน้ ละ 5 บาท
อ้อยหีบนาตาล ลาละ 1 บาท
อ้อยคนั นา ลาละ 5 บาท
ออ้ ยเคียว ลาละ 5 บาท
ทานตะวัน กโิ ลกรมั ละ 50 บาท
เดอื ย กโิ ลกรมั ละ 20 บาท
ถวั่ หรง่ั กิโลกรมั ละ 120 บาท
ถวั่ พุ่ม (เมลด็ )
ถั่วพ่มุ ฝกั สด กโิ ลกรมั ละ 25 บาท
สบูด่ า (เมล็ดพันธ์)ุ กิโลกรมั ละ 80 บาท
ปาล์มนามนั (เมลด็ งอก) กิโลกรมั ละ 50 บาท
ปาลม์ นามนั (กล้าเลก็ อายุ 3 - 5 เดือน) เมล็ดละ 13 บาท
ปาล์มนามัน (กล้าใหญ่ อายุ 8 - 12 เดือน) ตน้ ละ 30 บาท
ต้นละ 55 บาท

ประกาศ ณ วนั ท่ี 19 มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๒
เสรมิ สขุ สลกั เพ็ชร์

อธบิ ดกี รมวิชาการเกษตร

35

หน้า ๓๓ ๑๐ มถิ นุ ายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๔๖ ง ราชกิจจานเุ บกษา

ประกาศกรมวิชาการเกษตร

เร่ือง กาหนดราคาจาหนา่ ยพนั ธพ์ุ ืชสวน พ.ศ. 2562

โดยเป็นการสมควรปรับปรุงแก้ไขประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง ประกาศราคาจาหน่าย
พันธ์ุพืชสวน พืชไร่ พ.ศ. 2552 และประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง กาหนดราคาจาหน่าย
พันธ์ุพืชสวน พืชไร่ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2560 ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบัน อาศัยอานาจ
ตามความในข้อ 9 แห่งระเบียบกรมวิชาการเกษตรว่าด้วยการจาหน่ายและแจกจ่ายพันธุ์พืชสวน
ของกรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2562 ซ่ึงออกโดยอาศัยอานาจตามความในมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม และกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ
กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. 2557 อธิบดีกรมวิชาการเกษตร จึงออกประกาศ
ดงั น้ี

ขอ้ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง กาหนดราคาจาหน่าย
พนั ธุพ์ ชื สวน พ.ศ. 2562”

ขอ้ 2 ประกาศนใี้ หใ้ ช้บังคับตงั้ แต่วันถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน็ ต้นไป

ขอ้ 3 ใหย้ กเลกิ
3.1 ประกาศกรมวิชาการเกษตร เร่ือง กาหนดราคาจาหน่ายพันธ์ุพืชสวน พืชไร่

พ.ศ. 2552
3.2 ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง กาหนดราคาจาหน่ายพันธุ์พืชสวน พืชไร่

(ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2560
ขอ้ 4 ราคาจาหนา่ ยพนั ธพุ์ ชื สวน ใหเ้ ป็นไปตามอตั รา ดังนี้

กลุ่มพืชสวนอตุ สาหกรรม ต้นละ 15 บาท
กาแฟโรบสั ตา้ (เพาะเลย้ี งเนอื้ เย่ือ) ต้นละ 20 บาท
กาแฟโรบสั ต้า (เสียบยอด) ต้นละ 7 บาท
กาแฟอาราบกิ ้า (เพาะเมลด็ ) ตน้ ละ 2 บาท
กาแฟอาราบิกา้ (ระยะปีกผเี ส้อื ) กิโลกรมั ละ 1,300 บาท
เมลด็ พันธ์ุกาแฟอาราบกิ า้
ตน้ ละ 60 บาท
เกาลัดจีน ต้นละ 12 บาท
โกโก้ (เพาะเมลด็ ) ตน้ ละ 10 บาท
ชา (ชาจีน/ชาอสั สัม) ตน้ ละ 5 บาท
ชา อายไุ ม่เกนิ 6 เดือน (ความสงู 8 - 10 นว้ิ ) ตน้ ละ 10 บาท
ชา อายุ 6 เดอื นข้ึนไป (ความสงู 11 - 15 น้ิว) ตน้ ละ 80 บาท
มะคาเดเมยี

36

หน้า ๓๔ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๖ ง ราชกจิ จานุเบกษา
ผลละ 18 บาท
มะพร้าวลูกผสม หน่อละ 30 บาท
มะพรา้ วลกู ผสม หนอ่ ละ 30 บาท
มะพรา้ วน้าหอม หนอ่ ละ 30 บาท
มะพรา้ วพันธไ์ุ ทย หนอ่ ละ 50 บาท
มะพรา้ วกะทิลูกผสม ต้นละ 30 บาท
มะม่วงหิมพานต์ (เสยี บยอด)
หน่อละ 15 บาท
กลุม่ ไมผ้ ล
กล้วย (แยกหนอ่ ) หนอ่ ละ 10 บาท
กล้วย (เพาะเลีย้ งเนอื้ เย่ือ) หน่อละ 20 บาท
กลว้ ย (ผา่ หน่อ) ตน้ ละ 60 บาท
ทุเรยี น ตน้ ละ 50 บาท
มังคดุ ต้นละ 40 บาท
ลองกอง ตน้ ละ 50 บาท
เงาะ ต้นละ 15 บาท
ชมพู่ (ก่ิงตอน) ต้นละ 10 บาท
ชมพู่ (กิ่งชา) ตน้ ละ 20 บาท
ฝรง่ั (กิง่ ตอน) ต้นละ 25 บาท
มะขามหวาน (กิ่งทาบ) ต้นละ 40 บาท
มะขามเปรย้ี ว (กิ่งทาบ) ต้นละ 20 บาท
มะนาว (กิง่ ตอน)
มะนาว (ติดตา/เสียบยอด) ตน้ ละ 30 บาท
มะนาว (พิจิตร) ตน้ ละ 30 บาท
มะนาวปลอดโรค ต้นละ 60 บาท
มะม่วง ต้นละ 35 บาท
มะไฟจีน (เพาะเมล็ด) ต้นละ 30 บาท
มะไฟจนี (กิ่งทาบ) ตน้ ละ 25 บาท
มะไฟจีน (ตดิ ตา/เสียบยอด) ตน้ ละ 30 บาท
มะยงชดิ (ท่าอฐิ ) ต้นละ 50 บาท
มะละกอ (เมล็ดพันธ์ุ) กโิ ลกรมั ละ 5,000 บาท
มะละกอ (ต้นกลา้ 3 ต้น/ถงุ ) ต้นละ 10 บาท
มะเดอื่ ฝรั่ง ต้นละ 60 บาท
ลาไย ตน้ ละ 20 บาท

37

หน้า ๓๕ ๑๐ มถิ ุนายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๔๖ ง ราชกิจจานุเบกษา

ล้นิ จี่ ตน้ ละ 25 บาท
ลนิ้ จ่ี พันธ์ุ นพ1 ต้นละ 30 บาท
สม้ เขียวหวาน (ติดตา/เสียบยอด) ตน้ ละ 50 บาท
สม้ เขยี วหวานปลอดโรค ต้นละ 80 บาท
ส้มไร้เมล็ด ตน้ ละ 80 บาท
เมลด็ พันธ์ุส้มต่างประเทศ กิโลกรมั ละ 3,000 บาท
สม้ โอปลอดโรค ต้นละ 55 บาท
สม้ โอ (ติดตา/เสียบยอด) ต้นละ 50 บาท
สบั ปะรด - พันธ์เุ พชรบุรี หน่อละ 3 บาท
สบั ปะรด - พนั ธุอ์ นื่ ๆ หน่อละ 1 บาท

กลมุ่ ไม้ผลเมอื งหนาว ตน้ ละ 50 บาท
บว๊ ย ต้นละ 50 บาท
พลับ ต้นละ 50 บาท
พลมั ตน้ ละ 50 บาท
ทอ้ ต้นละ 50 บาท
สาลี่ ตน้ ละ 10 บาท
สตรอเบอรี่ ตน้ ละ 90 บาท
อาโวกาโด (เพาะเมลด็ )
ต้นละ 10 บาท
กลุ่มสมนุ ไพรและเครื่องเทศ ตน้ ละ 50 บาท
มะขามปอ้ ม (เพาะเมล็ด) ต้นละ 15 บาท
มะขามป้อม (เสียบยอด) ต้นละ 40 บาท
หมาก กิโลกรมั ละ 30 บาท
พริกไทย (เสยี บยอด) ตนั ละ 16 บาท
ขมน้ิ ชัน ตน้ ละ 30 บาท
เจียวกู้หลาน ตน้ ละ 5 บาท
กระวาน ตน้ ละ 300 บาท
รางจดื
วนิลา (ความยาว 50 ซม.)

38

เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๔๖ ง หน้า ๓๖ ๑๐ มถิ ุนายน ๒๕๖๒
ราชกิจจานเุ บกษา
กล่มุ พืชผัก
มันฝรง่ั (G0) หวั ละ 6 บาท
มนั ฝรั่ง (G1) กโิ ลกรมั ละ 25 บาท
มันฝร่ัง (G2) กโิ ลกรมั ละ 20 บาท
มันฝรงั่ (G3) กิโลกรมั ละ 18 บาท
ถัว่ ฝกั ยาว กิโลกรมั ละ 350 บาท
ผกั บงุ้ จนี (เมล็ดพันธุ์) กิโลกรมั ละ 100 บาท
มะเขอื ยาว (เมลด็ พันธุ์) กิโลกรมั ละ 500 บาท
มะเขอื เปราะ (เมลด็ พันธ)ุ์ กิโลกรมั ละ 500 บาท
ถั่วลันเตา กโิ ลกรมั ละ 350 บาท
กะเพรา กิโลกรมั ละ 500 บาท
โหระพา กโิ ลกรมั ละ 500 บาท
แมงลกั กโิ ลกรมั ละ 500 บาท
คะนา้ (เมลด็ พันธ์)ุ กโิ ลกรมั ละ 800 บาท
คะน้าใบ (เมลด็ พันธ)ุ์ กโิ ลกรมั ละ 500 บาท
คะน้าฮอ่ งกง (เมลด็ พันธ์ุ) กิโลกรมั ละ 800 บาท
กวางตงุ้ (เมล็ดพันธ์ุ) กโิ ลกรมั ละ 500 บาท
มะเขอื เทศ (เมลด็ พนั ธุ)์ กิโลกรมั ละ 2,500 บาท
พริกขี้หนู กโิ ลกรมั ละ 2,500 บาท
สะตอ (ตดิ ตา) ต้นละ 50 บาท
ผักพนื้ เมือง (เพาะเมล็ด) ตน้ ละ 10 บาท
มะระหวาน ผลละ 10 บาท
ไผ่ (ก่งิ ตอน) ตน้ ละ 30 บาท

กล่มุ ไม้ดอกไมป้ ระดับ ต้นละ 20 บาท
หน้าววั (เพาะเล้ยี งเนือ้ เยื่อ) ต้นละ 25 บาท
หน้าวัว (แยกหน่อ) หัวละ 12 บาท
ปทุมมา /กระเจียว (G0) หัวละ 6 บาท
ปทุมมา /กระเจียว (G1)

39

หน้า ๓๗ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๖ ง ราชกิจจานเุ บกษา
5 บาท
ปทุมมา /กระเจยี ว (พันธุจ์ าหนา่ ย) หวั ละ 5 บาท
ดาหลา ตน้ ละ 30 บาท
ว่านส่ที ิศ (G2) หวั ละ 4 บาท
หงสเ์ หิน ต้นละ 1 บาท
เบญจมาศ (ยอดปักชา) ยอดละ

ประกาศ ณ วนั ที่ 19 มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๒
เสริมสขุ สลกั เพ็ชร์

อธิบดีกรมวชิ าการเกษตร

40

หน้า ๓๘ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๔๖ ง ราชกจิ จานเุ บกษา

ประกาศกรมวิชาการเกษตร

เรื่อง กาหนดราคาจาหนา่ ยปัจจัยการผลติ ทางการเกษตร พ.ศ. 2562

โดยเป็นการสมควรปรับปรุงแก้ไขประกาศกรมวิชาการเกษตร เร่ือง กาหนดราคาจาหน่าย

ปัจจัยการผลิตทางการเกษตร พ.ศ. 2552 ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบัน อาศัยอานาจ

ตามความในข้อ 4 แห่งระเบียบกรมวิชาการเกษตรว่าด้วยการจาหนา่ ยและแจกจ่ายปัจจัยการผลิตของ

กรมวชิ าการเกษตร พ.ศ. 2562 ซึง่ ออกโดยอาศยั อานาจตามความในมาตรา 32 แหง่ พระราชบญั ญตั ิ

ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพ่ิมเติม และกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ

กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. 2557 อธิบดีกรมวิชาการเกษตร จึงออกประกาศ

ดงั น้ี

ข้อ 1 ประกาศน้ีเรียกวา่ “ประกาศกรมวชิ าการเกษตร เร่ือง กาหนดราคาจาหน่ายปัจจัย

การผลติ ทางการเกษตร พ.ศ. 2562”

ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใชบ้ ังคบั ต้งั แต่วนั ถัดจากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ต้นไป

ขอ้ 3 ให้ยกเลิกประกาศกรมวิชาการเกษตร เร่ือง กาหนดราคาจาหน่ายปัจจัยการผลิต

ทางการเกษตร พ.ศ. 2552

ขอ้ 4 ราคาจาหน่ายปจั จยั การผลิตทางการเกษตร ให้เปน็ ไปตามอตั รา ดงั นี้

เชื้อไวรัส NPV ลติ รละ 1,500 บาท

ไส้เดือนฝอยศตั รูแมลง แบบผงละลายน้า กระปอ๋ งละ 150 บาท

หวั เช้ือไส้เดอื นฝอยสายพนั ธ์ไุ ทย ถงุ ละ 40 บาท

เชือ้ พนั ธ์ุเห็ดบริสทุ ธ์ิ ขวดละ 50 บาท

เช้อื เหด็ ตับเตา่ ขวดละ 45 บาท

เหย่อื โปรโตซัว ก้อนละ 2 บาท

แตนเบียนไข่ Trichogramma sp. ล้านตวั 35 บาท

ชุดตรวจสอบ GLIFT Kit โรคเห่ยี ว ตวั อยา่ งละ 80 บาท

ปทุมมา/มนั ฝรัง่ /ขงิ

แอนติซีรมั่ CyMV มลิ ลิลติ รละ 6,000 บาท

แอนตซิ ีรัม่ ORSV มิลลิลิตรละ 6,000 บาท

แอนตซิ รี ่ัม PVX มิลลลิ ติ รละ 6,000 บาท

แอนตซิ รี ั่ม PVY มิลลลิ ิตรละ 6,000 บาท

ตาพันธ์พุ ืชตระกูลส้มปลอดโรค ตาละ 5 บาท

แอนตซิ ีรั่ม Rs-ขงิ มลิ ลิลติ รละ 6,000 บาท

แอนติซีร่มั Rs-ปทมุ มา มลิ ลลิ ติ รละ 6,000 บาท

41

หน้า ๓๙ ๑๐ มถิ นุ ายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๔๖ ง ราชกจิ จานุเบกษา

แอนติซีร่มั Rs-มันฝรงั่ มลิ ลลิ ติ รละ 6,000 บาท

แอนตซิ รี ่ัม Burk-กลว้ ยไม้ มิลลลิ ติ รละ 6,000 บาท

แอนตซิ ีร่มั Aacat-กลว้ ยไม้ มลิ ลิลิตรละ 6,000 บาท

ชดุ ผลิตขยายไส้เดือนฝอยกาจัดแมลง ชุดละ 100 บาท

ชุดตรวจสอบสารแอฟลาทอกซนิ ชดุ ละ 1,450 บาท

สารแอนตซิ รี ัม่ บรสิ ุทธิ์ (AFB1) มลิ ลิลติ รละ 900 บาท

สารแอฟลาทอกซนิ - เอน็ ไซม์คอนจูเกต ไมโครลติ รละ 280 บาท

เชือ้ ราสาเหตุโรคพชื บรสิ ุทธ์ หลอดละ 500 บาท

เชอ้ื แบคทเี รียสาเหตโุ รคพชื บรสิ ุทธ์ หลอดละ 500 บาท

หนอนกระทหู้ อม/หนอนเจาะสมอฝา้ ย/หนอนกระทผู้ กั ตวั ละ 4 บาท

ปุ๋ยชวี ภาพไมคอร์ไรซา ถุงละ (500 กรัม) 60 บาท

ป๋ยุ ชีวภาพพจี ีพีอาร์ 1 ถงุ ละ (500 กรมั ) 60 บาท

ปุ๋ยชวี ภาพพจี ีพอี าร์ 2 ถงุ ละ (500 กรัม) 60 บาท

ปยุ๋ ชวี ภาพพีจีพอี าร์ 3 ถุงละ (500 กรมั ) 60 บาท

ป๋ยุ ชีวภาพละลายฟอสเฟต ถุงละ (500 กรัม) 45 บาท

ปุ๋ยชวี ภาพไรโซเบียม ถงุ ละ (200 กรัม) 25 บาท

หวั เช้อื จลุ ินทรียย์ อ่ ยสลายวัสดอุ นิ ทรีย์ ถงุ ละ (500 กรัม) 25 บาท

ประกาศ ณ วนั ที่ 19 มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๒
เสริมสขุ สลกั เพช็ ร์

อธบิ ดกี รมวชิ าการเกษตร

42

คู่มอื การใชโ้ ปรแกรมงานผลิตพันธุ์พืชและปัจจัยการผลิต
การเสนอแผนการปลูก การผลติ

1. การเขา้ สรู่ ะบบ เปดิ Browser ท่ีใช้ในการเขา้ Internet ตวั อยา่ งเชน่ IE, Chrome หรอื Firefox (ผ่าน PC, Notebook
หรือ โทรศพั ท์)

 ชอ่ งทางที่ 1 ผ่านทางหนา้ เว็ป กรมวชิ าการเกษตร “รายงานสงป./พันธพ์ุ ืช”
 ช่องทางที่ 2 http://me.doa.go.th

2. การลงชอ่ื เข้าใชง้ าน

 สาหรบั การเข้าใชง้ านคร้งั แรก ต้องลงทะเบยี นรายละเอยี ดผ้บู นั ทึกขอ้ มลู กอ่ น
 คลิก “ลงทะเบยี น”
 ใสข่ ้อมูลตามหนา้ จอทป่ี รากฏ

43

สว่ นท่ี 1 บันทกึ ขอ้ มลู “การเสนอแผนการปลกู /ผลติ ”
การเรมิ่ บนั ทกึ ขอ้ มลู
 เลอื ก “เสนอแผนการปลูก/ผลติ ”

 คลกิ “+” เพอ่ื เพม่ิ ประเภทพืช/ปจั จัยการผลติ ตามที่หนว่ ยงานจะเสนอแผนการผลติ

 กรอกรายละเอียด พชื /ปัจจัยการผลติ ทห่ี น่วยงานจะเสนอแผนการผลติ
เม่อื เสร็จเรยี บร้อยใหก้ ดปมุ่ ”บนั ทกึ ”

44

 เม่ือกดบนั ทึกแล้วจะไดต้ ามภาพ กรณจี ะเสนอแผนการปลกู /ผลติ หลายชนิดพืช ใหค้ ลกิ “+” เพือ่ เพม่ิ พชื ชนดิ อื่นๆ

หมายเหตุ : หลังจากหนว่ ยปฏบิ ตั เิ สนอแผนการปลูก/ผลติ ครบทุกชนิด จานวนท่อี นุมตั ิและงบประมาณยงั ไมป่ รากฏตัวเลข
จนกว่า กรมจะอนมุ ตั แิ ผนการปลกู /ผลิต

45

คูม่ อื การใชโ้ ปรแกรมงานผลิตพนั ธ์พุ ชื และปจั จยั การผลติ

1. การเข้าสู่ระบบ เปิด Browser ทใ่ี ช้ในการเข้า Internet ตวั อยา่ งเช่น IE, Chrome หรอื Firefox (ผา่ น PC, Notebook
หรือ โทรศัพท์)

 ชอ่ งทางที่ 1 ผา่ นทางหนา้ เว็ป กรมวิชาการเกษตร “รายงานสงป./พันธ์พุ ชื ”
 ช่องทางท่ี 2 http://me.doa.go.th

2. การลงชอ่ื เข้าใช้งาน

 สาหรับการเขา้ ใช้งานคร้งั แรก ต้องลงทะเบยี นรายละเอียดผู้บันทึกขอ้ มูลกอ่ น
 คลิก “ลงทะเบยี น”
 ใส่ขอ้ มลู ตามหนา้ จอทีป่ รากฏ

46

สว่ นท่ี 1 บนั ทึกข้อมลู แผน/ผลการผลิต
3. การบนั ทกึ ข้อมูล
3.1 การเรมิ่ บันทึกขอ้ มลู “แผนการผลติ ”

 คลิก “+” เพอ่ื เพม่ิ ประเภทพืช/ปจั จัยการผลติ
ตามท่ีหนว่ ยงานไดร้ บั แผนการผลติ

 กรอกรายละเอยี ด พืช/ปจั จัยการผลติ ท่ีหน่วยงานมี
แผนการผลติ เม่อื เสร็จเรยี บรอ้ ยให้กดปุม่ ”บันทกึ ”

 จะปรากฏตารางแสดงรายการที่เพ่ิมขอ้ มูลเขา้ ไป
 หมายเหตุ หากต้องการเพ่ิมประเภทพชื อกี ใหค้ ลิกเพมิ่ ข้อมูล ท่เี ครื่องหมาย “+”
3.2 การบันทกึ ข้อมลู “ปงี บประมาณ”

 คลกิ เลอื ก ปีงบประมาณ
 แลว้ คลิกเพม่ิ ขอ้ มลู ท่เี คร่อื งหมาย “+”


Click to View FlipBook Version