The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panthita021042, 2021-03-18 14:53:38

แฟ้มสะสมผลงานปัณฑิตา

-

แผนการจัดการเรยี นรู้

นักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี1 หน่วยการเรียนรู้ท3ี่ การเลน่ กีฬาเทเบลิ เทนนสิ ภาคเรียนที่1

เร่ือง ทกั ษะการจบั ไมแ้ ละทักษะการเดาะลูกเทเบิลเทนนิส เวลา 2ชั่วโมง

ตัวช้ีวดั รายปี

1. เพม่ิ พูนความสามารถของตนตามหลกั การเคลื่อนไหวทใ่ี ชท้ ักษะกลไกลและทกั ษะพืน้ ฐานทน่ี ำไปสูก่ าร
พัฒนาทักษะการเล่นกีฬา

2. เล่นกฬี าไทยและกีฬาสากลประเภทบคุ คลและทีมโดยใชท้ ักษะพ้นื ฐานตามชนดิ กฬี าอย่างน้อย1ชนดิ
กฬี า

3. รว่ มกิจกรรมนันทนาการอย่างนอ้ ย1กิจกรรมและนำหลักความรู้ทไ่ี ด้ไปเชื่อมโยงสมั พันธ์กับวิชาอ่นื

สาระสำคัญ

เรียนรู้ประวัติกีฬาเทเบลิ เทนนสิ ทักษะเบอื้ งต้นของกีฬาเทเบิลเทนนิส ทกั ษะการจับไมร้ ูปแบบตา่ งๆที่
ผู้คนนิยมจับไม้ ฝึกปฏบิ ัติขั้นพื้นฐานการยดื เหยียดกล้ามเน้ือ กายบรหิ ารท้ังก่อนและหลงั การฝกึ การเดาะลกู
ปิงปองแบบหน้ามือ หลงั มอื และหน้ามือกบั หลงั มือสลับกัน เพอ่ื ต่อยอดไปทกั ษะการแข่งขนั ในข้ันท่ีสงู ขน้ึ
ตอ่ ไป

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1. นกั เรียนสามารถเข้าใจประวตั กิ ฬี าเทเบลิ เทนนิส การจบั ไม้เทเบลิ เทนนสิ ได้อย่างและสามารถอธิบาย
การจบั ไมร้ ปู แบบตา่ งๆได้(IQ)

2. นกั เรยี นสามารถฝึกปฏบิ ัติทักษะการเดาะลูกเทเบิลเทนนิสได้ทัง้ หนา้ มือ(โฟร์แฮนด์) หลังมอื (แบลก็
แฮนด์) (PQ)

3. นกั เรยี นมีวินัยในการฝึกทกั ษะ (MQ)

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

1. ซอ่ื สัตยส์ จุ ริต
2. มวี ินยั
3. ใฝเ่ รียนรู้
4. มีจิตสาธารณะ

ผลท่คี าดหวัง

รอ้ ยละ80ของนกั เรียนในชนั้ เรียนสามารถเข้าใจการจับไมใ้ นแต่ละรูปแบบ ฝกึ ทกั ษะทั้งสมรรถภาพ
ทางกายเบื้องต้นและรูปแบบการฝึกการเดาะลูกเทเบิลเทนนิส เพ่อื ต่อยอดให้สขุ ภาพรา่ งกายแขง็ แรงและ
พฒั นาทกั ษะตา่ งๆและนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้

กระบวนการจัดการเรยี นรู้

ชัว่ โมงท่หี นึ่ง

สาระการเรยี นรู้ กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้

1.เรียนรู้ประวคิ วามเป็นมาของกฬี าเท ขัน้ เตรียม 1.นกั เรยี นสามารถเข้าใจประวตั ิกฬี า

เบลิ เทนนสิ เชค็ ชอื่ ตรวจสขุ ภาพ การแตง่ กาย เทเบลิ เทนนสิ การจับไมเ้ ทเบิลเทนนสิ

กีฬาปงิ ปองเกดิ ขึ้นครง้ั แรกในปี ค.ศ. นักเรยี น แบง่ กลุม่ นกั เรียน 5คน 6กล่มุ ไดอ้ ยา่ งและสามารถอธิบายการจบั ไม้

1890 ทีป่ ระเทศอังกฤษ เปน็ กฬี าทีม่ ี แบบทดสอบก่อนเรยี น10ข้อ รปู แบบตา่ งๆได(้ IQ)

อายุมากกว่า 130 ปี โดยในอดตี ไม้ ขน้ั อธบิ าย สาธติ

ปงิ ปองทำจากหนงั หุ้มสตั ว์ และมี 1.ครูสอบถามประสบการณก์ ารเลน่

ลักษณะคลา้ ยไม้ปิงปองในปัจจบุ ัน ส่วน กีฬาเทเบิลเทนนิสของนกั เรียน

ปงิ ปองท่ใี ช้ทำมาจากเซลลลู อยด์ เปน็ 2.อธิบายประวตั ิและรปู แบบการจบั ไม้

พลาสติกกึ่งสังเคราะห์ ส่วนทีม่ าของคำ โดยใช้สอ่ื พาวเวอร์พอยต์

วา่ “ปิงปอง” เกิดจากเสยี งของลกู ข้นั ปฏิบตั ิ

ปงิ ปองท่ีกระทบกับไมแ้ ละพน้ื จนเปน็ นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ศกึ ษาประวัติและ

เสยี ง “ป๊กี -ปอก” กระท่ังกลายมาเปน็ รปู แบบการจบั ไม้จากสื่อท่นี ำเสนอ

คำที่เรียกตดิ ปากกนั ของคนในสมยั นัน้ เขียนลงกระดาษชาร์ททค่ี รเู ตรยี มมา

ซ่ึงหากใครเขา้ ใจว่าปงิ ปองเริ่มเกิดขึ้นที่ ให้ ชว่ ยกันตกแต่งใหส้ วยงาม

ประเทศจีนน่ันถอื เปน็ ความเข้าใจที่ผิด ขน้ั นำไปใช้

เพราะแท้จรงิ แล้ว กฬี าชนดิ นเี้ กดิ ขน้ึ ท่ี นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ ออกมาอภปิ ราย

ยโุ รปน่นั เอง หนา้ ช้นั เรียนตามทแ่ี ตล่ ะกลมุ่ เขา้ ใจ

ในอดตี ไมป้ ิงปองทำจากหนงั หุม้ สตั ว์ ขน้ั สรุป

กอ่ นจะเปลยี่ นมาใช้แบบยางในปี ค.ศ. 1.ครใู หแ้ บบทดสอบประเมินความ

1900 เพ่อื ช่วยใหก้ ารรับส่งลูกมี เขา้ ใจก่อนเข้าสทู่ กั ษะการเล่นข้นั ตอ่ ไป

ประสิทธภิ าพมากข้ึน จนเกิดเปน็ ท่มี า 2.ครสู รปุ เนือ้ หาซักถามข้อสงสัย

ของการเล่นแบบรกุ และการเล่นแบบ นกั เรยี นพรอ้ มท้ังให้นักเรียนเตรยี มไม้

รับ หรอื การใชห้ น้ามือท่ีเรียกวา่ โฟร์ ปงิ ปองและลกู ปงิ ปองมาเรยี นในช่ัวโมง

แฮนด์ และการใชห้ ลังมือที่เรยี กวา่ ตอ่ ไป

แบล็กแฮนด์ ซึง่ ในสมยั น้นั การจับไม้

ปิงปองยังคงเป็นแบบยุโรป เพราะกฬี า

ชนิดน้ียงั ไมแ่ พร่กระจายไปยังทวีป

เอเชยี

กีฬาชนดิ นีเ้ รมิ่ แพร่กระจายเข้ามาใน

แถบเอเชยี ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1922 ก่อนจะ

เร่ิมมาเป็นที่ร้จู ักมากขนึ้ ในปี ค.ศ.1950

สว่ นกฬี าปิงปองในไทยนน้ั ยังไมพ่ บ

หลกั ฐานปรากฏแน่ชัด แต่คาดว่าเข้ามา

ในปี พ.ศ. 2500 เพราะเปน็ ปีทม่ี กี าร
จดั ต้ังสมาคมเทเบลิ เทนนิสสมคั รเล่น
แหง่ ประเทศไทย และมจี ดั การแขง่ ขนั
ตามรายการตา่ งๆ อีกทัง้ ยังมกี ารพฒั นา
สมาคมมาจนถงึ ปัจจุบนั
2.เรียนรูว้ ธิ กี ารจบั ไมใ้ นแตล่ ะรูปแบบ
2.1การจับไมแ้ บบจบั มอื การจับไมแ้ บบ
จบั มือ
วิธีปฏิบัติ
1. ใช้มอื ขวาหรอื มือข้างทถ่ี นัดจบั ไม้
เหมือนกบั ว่ากำลังจะจบั มือคนอกี คน
หนึ่งโดยจับดา้ มไม้ให้อยูใ่ นระหวา่ งหัว
แม่มือกบั น้ิวชี้
2. วางน้วิ หัวแมม่ อื บนหนา้ ไมด้ ้านหนง่ึ
ของบริเวณส่วนโคนไม้ โดยทหี่ นา้ ไม้
ด้านที่วางนว้ิ หวั แมม่ อื น้ีจะเป็นดน้
สำหรับการตลี ูกหนา้ มอื
3. วางนวิ้ ชีข้ นานไปตามแนวขวางของ
ส่วนปลายโคนไมบ้ นหนา้ ไมอ้ กี ด้านหนึ่ง
โดยทห่ี น้าไม้ทีว่ างน้วิ ชีน้ จี้ ะเป็นดา้ น
สำหรบั การตลี กู หลงั มอื และงอนิว้ ที่
เหลืออกี 3 นิ้ว คือ นิ้วกลาง นิ้วนาง
และน้วิ กอ้ ยกำรอบด้ามไม้
4. จับไม้ใหพ้ อดมี ือ สบายๆ ไมเ่ กรง็

2.2 การจบั ไม้แบบจบั ปากกา
การจับ ไม้แบบจับปากกา
วธิ ีปฏบิ ัติ
1.จับไมค้ ลา้ ยว่ากำลังจับปากกา โดย
จบั ใหส้ บายๆ พอดมี อื ไมเ่ กร็ง
2. วางน้ิวหวั แมม่ อื และน้วิ ชี้ประกบกัน
จับด้ามไมไ้ วด้ า้ นหน่ึง

3. งอนิ้วอกี 3 นวิ้ ทเ่ี หลือ คือนวิ้ กลาง
นิ้วนาง และนิ้วกอ้ ย บนหนา้ ไม้อีกดา้ น
หน่ึงเพอ่ื ชว่ ยประคองไม้ หรอื อาจวาง
ราบบนสว่ นลา่ งของไมก้ ็ได้

ชั่วโมงท2่ี

สาระการเรียนรู้ กระบวนการจดั การเรียนรู้ ผลลัพธ์การเรยี นรู้

ฝึกการเดาะลกู เทเบิลเทนนิสแบบ ขั้นเตรียม 1.นกั เรยี นสามารถฝึกปฏบิ ตั ทิ ักษะการ

ต่างๆ เชค็ ช่ือ ตรวจร่างกาย ความพร้อมของ เดาะลกู เทเบลิ เทนนิสไดท้ ั้งหนา้ มอื

ใหน้ ักเรียนฝึกปฏิบตั ิทกั ษะการเดาะ นักเรยี นจบั กล่มุ 5คน 6กลุม่ คละชาย (โฟร์แฮนด)์ หลงั มอื (แบลก็ แฮนด์)

ลกู เทเบลเทนนสิ ในลกั ษณะต่างๆ ไมว่ า่ และหญิง ยดื เหยยี ดกลา้ มเนอ้ื และ (PQ)

จะเป็นการใชด้ า้ นแบล็กแฮนดเ์ ดาะลูก , อบอนุ่ รา่ งกาย 2.นักเรยี นมวี ินยั ในการฝึกทกั ษะ

ใชโ้ ฟรแ์ ฮนด์เดาะลกู หรืออาจจะเลีย้ ง ขนั้ อธบิ ายและสาธิต (MQ)

ลกู ใหอ้ ยบู่ นหน้าไม้โดยไมใ่ ห้ลูกตกลง 1.ครูเปดิ วิดโี อการฝึกทักษะการเดาะ

พ้นื กไ็ ด้ ซงึ่ แบบฝึกน้มี ีวตั ถุประสงคเ์ พ่อื ลกู เทเบลิ เทนนิสพร้อมอธบิ าย

ฝกึ ให้นักเรียน ฝกึ การควบคุมลกู ประกอบ

ปงิ ปองใหไ้ ด้ 1. การเดาะลกู เทเบลิ 2.ให้นกั เรียนที่มีทักษะมาปฏิบตั ใิ ห้ดู

เทนนสิ หน้าโฟรแ์ ฮนด์ เป็นตัวอย่าง และใหน้ ักเรยี นคอยสอน

โยนลุกข้ึนไปในระดับสายตาจะนั้นใช้ไม้ เพ่อื นมี่ทกั ษะไมแ่ ข็งแรงแบบเพ่อื น

เทเบลิ เทนนสิ รอรบั ลกู เทเบิลเทนนสิ ใน ชว่ ยเพื่อน

ลกั ษณะหงายมอื ขนานกับพน้ื โดยใส่ ขัน้ ปฏบิ ตั ิ

นำ้ หนกั ท่ไี ม่แรงและไม่เบาจนเกินไป นักเรยี นในกลมุ่ ฝึกปฏิบตั ิ โดยครู

สงั เกตและให้นักเรยี นท่ีมีทกั ษะการ

เดาะลูกเทเบลิ เทนนสิ ดีชว่ ยกนั สอน

เพื่อนทีอ่ ยูใ่ นกลุ่มของตนเอง

ขนั้ นำไปใช้

ทดสอบการเดาะลกู เทเบลิ เทนนสิ หนา้

2.การเดาะลกู เทเบลิ เทนนสิ หนา้ แบล็ก โฟรแ์ ฮนดแ์ ละแบล็กแฮนด์โดยการให้

แฮนด์ นักเรยี นออกมาทล่ี ะกลมุ่ เดาะคนละ

โยนลกุ ขนึ้ ไปในระดบั สายตาจะนนั้ ใชไ้ ม้ 30คร้ังโดยทีล่ ูกไม่ตกพ้ืนโดนให้

เทเบลิ เทนนสิ รอรบั ลูกเทเบลิ เทนนสิ ใน นักเรียนในชัน้ เรยี นทเ่ี หลือช่วยกนั

ลกั ษณะควำ่ มอื ขนานกับพื้น โดยใส่ สงั เกตและช่วยกนั นบั

น้ำหนกั ทไ่ี ม่แรงและไมเ่ บาจนเกินไป ให้นักนกั เรยี นประดษิ ฐ์ไมป้ งิ ปองจาก

วสั ดุเหลอื ใช้

แบบทดสอบหลงั เรียน10ข้อ

ขัน้ สรปุ

สรุปเน้อื หาทเี่ รียนไปวนั น้ี

สอบถามความเข้าใจขแงนกั เรยี น

ใหช้ ิ้นงาน

ปล่อยล้างมือลา้ งหนา้ ดม่ื นำ้ เตรยี มตวั

เรียนวชิ าต่อไป

สอ่ื และแหล่งเรยี นรู้

1. โรงยิมมอเนกประสงค์
2. ไมเ้ ทเบิลเทนนสิ
3. ลกู เทเบลิ เทนนิส
4. นกหวดี
5. กระดาษชาร์ท
6. ส่ือพาวเวอร์พอ้ ยต์ ประวตั ิ รปู แบบการจับไม้เทเบลิ เทนนสิ
7. วดิ โิ อสอนการเดาะลเู ทเบิลเทนนสิ
8. โน๊ตบุ๊ค

การวัดและประเมนิ ผล

1. ครสู ังเกตช่วยเหลือของนกั เรยี นในชั้นเรยี น (EQ)
2. ครูสงั เกตการอภิปรายเรื่องประวตั แิ ละการจับไมข้ องนกั เรียน(IQ)
3. ครูทดสอบความเข้าใจดว้ ยขอ้ สอบก่อนเรยี น-หลังเรียน10ข้อ
4. ครูสงั เกตสมรรถภาพทางกายของนักเรียนจากการวงิ่ รอบสนาม การอบอนุ่ ร่างกาย ทา่ ยืดเหยยี ด ทา่

ฝึกปฏิบัตขิ องนักเรียนไดถ้ ูกต้อง (PQ)
5. ครมู แี บบประเมินการฝกึ ปฏบิ ัติทักษะการเดาะลูกเทเบลิ เทนนสิ ได้ท้งั หน้ามือ(โฟรแ์ ฮนด)์ หลงั มือ

(แบล็กแฮนด์)โดยการทดสอบเดาะลกู เทเบิลเทนนสิ 30ครั้งโดยไมต่ กพนื้ (PQ)
6. ครสู ังเกตการมีวินยั ของนกั เรียนในระหว่างการฝึกทกั ษะ ไมเ่ ล่นกนั ในขณะฝึก ไมห่ นีเรียนไปน่ังพัก

(MQ)
7. ครูสงั เกตความกระตอื รือร้น ย้มิ แยม้ แจม่ ใส ในขณะทเี่ รียน และฝึกปฏบิ ัติทักษะการเดาะลูกเทเบิล

เทนนสิ ด้วยความตั้งใจ (AQ)

ชนิ้ งาน/ภาระงาน

1. กระดาษชาร์ทเขยี นสรปุ ประวัติและวธิ กี ารจบั ไม้
2. ช้ินงานการประดิษฐ์ไมป้ ิงปองจากเศษวสั ดุเหลอื ใช้

การบรู ณาการ

1. วิชาภาษาไทย ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขยี น
2. วิชาคณิตศาสตร์ เรือ่ งองศา
3. วชิ าศลิ ปะ ออกแบบผลงานบนกระดาษชารท์
4. วิชาการงานอาชพี และเทคโนโลยี ประดิษฐ์ไม้ปิงปองจากวัสดุเหลอื ใช้

บนั ทึกผลหลงั การสอน
ปัญหาท่ีพบ / อุปสรรค
_________________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________________________
ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางแกไ้ ข
_________________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________________________

ลงช่ือ ปัณฑิตา พุ่มพวง
(……นางสาวปัณฑิตา………พมุ่ พวง………)

วนั ………..เดือน…………พ.ศ…………..

แบบประเมินทักษะการเดาะลูกปงิ ปอง
แบบประเมิน มากที่สุด 5 มาก 4 ปานกลาง 3 นอ้ ย 2 น้อยท่สี ดุ 1

ทกั ษะ
สมรรถภาพทาง
กาย วิ่งรอบ
สนาม ยดื เหยยี ด

กล้ามเนือ้
จับไม้ปงิ ปองถูก
ตามรูปแบบ
จำนวนการเดาะ

ลกู ปิงปอง
(0-6=1)
(7-12=2)
(13-18=3)
(19-24=4)
(25-30=5)
ชว่ ยเหลอื่ เพ่อื น
ในชน้ั เรียน
มีความตั้งใจ
เรยี น

แบบทดสอบก่อน-หลงั เรยี น

ให้นกั เรียนเลือกคำตอบท่ีถูกที่สุดเพยี งข้อเดยี ว

1). กีฬาเทเบลิ เทนนิส เกดิ ขึ้นในปคี .ศ.ใด? 7). ก่อนจะฝกึ ทักษะการเดาะลูกปิงปองตอ้ งทำ

1. 1880 2. 1890 อย่างไรเป็นอันดับแรก

3. 1900 4. 1910 1. ยืดเหยยี ดกล้ามเนอ้ื

2. นงั่ เฉยๆ

2). กฬี าเทเบลิ เทนนสิ คาดวา่ เขา้ มาในประเทศไทยปี 3. ทำความเคารพไม้และลูก

พ.ศ.ใด? 4. ทำความสะอาดไม้กบั ลูกปิงปอง

1. 2500 2. 2510

3. 2520 4. 2530

3). กีฬาเทเบลิ เทนนิส เข้ามาในทวีปเอเชยี ปคี .ศ.ใด? 8). ทกั ษะการเดาะลูกปงิ ปองเปน็ ทักษะทเ่ี ท่าไหร่
1. 1922 2. 1932
ของการเล่นกีฬาเทเบิลเทนนิส?(ไมร่ วมกบั การฝึก
3. 1942 4. 1952
สมรรถภาพทางกาย)

4). การจับไมป้ องปองมกี แี่ บบ? 1. ทักษะทห่ี น่ึง 2. ทักษะที่สอง

1. 1แบบ แบบจบั มือ 3. ทักษะท่สี าม 4. ทักษะที่สี่

2. 2แบบ แบบจับมือ แบบจับปากกา

3. 3แบบ แบบจบั มือ แบบจับปากกา แบบจบั ไม้

เทนนสิ

4. 4แบบ แบบจบั มือ แบบจับคอปเพลิง แบบสอง

นว้ิ แบบจบั ไมเ้ ทนนสิ 9).จากภาพนักกีฬาจบั ไมแ้ บบใดและฝกึ ทกั ษะใด?

1. จบั แบบจับมือ เดาะลกู ปิงปองหนา้ โฟรแ์ ฮนด์
5). ชือ่ เรยี กอีกชอ่ื หน่งึ ของกีฬาเทเบลิ เทนนิสคือ 2. จับแบบปากกา เดาะลูกปิงปองหน้าโฟร์แฮนด์
อะไร? 3. จบั แบบไม้เทนนิส เดาะลกู ปิงปองหน้าโฟร์แฮนด์
1. ปิ๊ก-ปอก 2. ปอ๊ กแปก๊

3. ป๊กุ ปิ๊ก 4. ปงิ ปอง

10). การเลน่ กีฬาเทเบิลเทนนิสมีประโยชน์อยา่ งไร?
6). จากปพี .ศ.ข้อทีส่ าม นักเรียนคิดว่ามีหลกั ฐาน 1. ใช้เวลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชน์
อะไรชใี้ ห้เห็นวา่ กฬี าเทเบลิ เทนนิสเขา้ มาในประเทศ 2. สามารถนำไปแข่งเดิมพันกับวัยรุ่นในชมุ ชนุ ได้
ไทย? 3. นำทักษะไปจีบสาว
1, เพราะหลักฐานช้ีวา่ มกี ีฬาเทนนิสเขา้ มาจึกมีการ 4. ไม่มีประโยชน์อะไร
เล่นกฬี าเทเบลิ เทนนสิ
2. เพราะมีการก่อนตัง้ สมาคมเทเบิลเทนนิสแห่ง
ประเทศไทยในปนี ้ัน
3. มกี ารก่อต้ังสมาคมเทเบลิ เทนนสิ แห่งประเทศไทย
หลังจากนนั้ หน่งึ ปี
4. เพราะมีชาวจนี เข้ามาเผยแพรก่ ารเล่นเทเบลิ
เทนนสิ













นางสาวปณั ฑิตา พมุ่ พวง 624189030
นายสุภกณิ ห์ นลิ สมบลู ณ์ 624189060
นายเสฏฐวฒุ ิ จิตราคม 624189063
หมเู่ รยี น62/5

แผนจดั การเรยี นร้ทู ่ี1

นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี6 ภาคเรยี นที่2 ปีการศกึ ษา2564 สาระการเรยี นรทู้ ่ี4

เร่อื งการปฐมพยาบาล จำนวน 2ช่วั โมง

สาระสำคัญ

นกั เรยี นเข้าใจการปฐมพยาบาลกระดูกหักในรูปแบบตา่ ง ๆจากการฝึกซอ้ มหรือแขง่ กีฬา และสามารถ
ปฏิบตั กิ ารเข้าเฝือกในรปู แบบตา่ งๆอีกดว้ ย เพ่ือตอ่ ยอดใหน้ ักเรยี นสามารถนำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั เมอื่ เกิด
อุบตั ิเหตุจากทอ้ งถนนหรือจากการฝึกซ้อม

วตั ถปุ ระสงค์

1. นักเรยี นสามารถเขา้ ใจขน้ั ตอนการปฐมพยาบาลเร่อื งกระดูกหักได้
2. นกั เรยี นสามารถปฏิบตั ิอธิบายขั้นตอนการปฐมพยาบาลกระดูกหักได้ถูกต้อง
3. นักเรยี นสามารถนำข้นั ตอนไปใชเ้ มอื่ เกิดเหตกุ ารณ์จริง อุบัติเหตบุ นทอ้ งถนน หรือเพอ่ื นในชัน้ เรียน

เกิดอบุ ตั ิเหตุกระดูกหักจากการฝกึ ซ้อม
เน้ือหาสาระ

1. ความหมายของการปฐมพยาบาล
2. การปฐมพยาบาลกระดกู หกั
3. การเข้าเฝือก
การปฐมพยาบาล หมายถึง การให้ความชว่ ยเหลือเบื้องตน้ ตอ่ ผปู้ ระสบอนั ตราย ผู้บาดเจ็บจากอุบัตเิ หตุ
หรอื การเจ็บป่วยในสถานทเ่ี กิดเหตุ โดยใช้เครื่องมือเท่าท่ีจะหาได้ เพ่ือลดอนั ตรายหรือป้องกนั มใิ หเ้ กิดอันตราย
เพมิ่ ขนึ้ กบั ผปู้ ระสบอนั ตรายก่อนนำสง่ ต่อแพทย์เพื่อทำการรักษาต่อไป

กระดูกหกั เป็นอนั ตรายมาก การที่กระดกู หักน้ัน ร่างกายอาจจะมีบาดแผลหรือไม่มกี ็ไดแ้ ละการหักของ
กระดูกอาจจะมีท้ังลักษณะหักออกจากกันเหมือนถกู ตดั หรอื อาจจะมีลกั ษณะแตกเดาะ ร้าวกไ็ ด้ ซึ่งสาเหตุของ
กระดูกหักเกดิ ข้ึนได้หลายกรณี เชน่ ถูกรถชน ตกจากท่ีสงู เลน่ กีฬาถูกของหนักทบั หกล้ม ฯลฯ อาการ ผู้ปว่ ย
กระดูกหกั จะมลี ักษณะอาการแตกต่างกนั ไปตามตำแหน่งของกระดกู ที่หักแต่ลักษณะอาการโดยทวั่ ๆ ไป ท่ี
สามารถสงั เกตไดม้ ีดังน้ี

- อาการทวั่ ๆ ไปอาจจะชอ็ กมีอาการตกเลือดและมไี ข้

- อาการเฉพาะตำแหน่งที่กระดูกหัก จะเจ็บปวดและบรเิ วณดังกล่าวจะมีอาการบวมรอ้ น มีอาการ
ผดิ ปกติ เชน่ โกง่ หรือโค้งนูนออกมาหากเปน็ กระดูกแตกก็จะไดย้ ินเสยี งกรอบแกรบเม่ือบิดหรอื โยก
บริเวณน้นั

การปฐมพยาบาล ผทู้ ก่ี ระดูกหักจะมีอาการเจบ็ ปวดมาก การปฐมพยาบาลจะช่วยลดอนั ตรายที่อาจจะ
ไดร้ บั ใน

อนาคต เพราะหากได้รบั การปฐมพยาบาลท่ีถกู วิธกี ็จะทำใหก้ ระดูกเข้าที่ได้งา่ ยและไม่เป็นผู้พิการ ดงั นั้น ผ้ปู ว่ ย
กรณนี ี้จงึ ควรได้รบั การปฐมพยาบาลเร่งดว่ น โดยปฏบิ ตั ิ ดังน้ี

1. หากผู้ป่วยเป็นลม ควรรกั ษาใหฟ้ น้ื และถา้ หากมีบาดแผลเลือดออกกจ็ ะต้องห้ามเลือดก่อนและล้าง
แผลใหส้ ะอาด

2. การจับบรเิ วณทห่ี ักตอ้ งทำอย่างระมัดระวัง และถา้ หากเป็นในท่สี ำคัญและไม่ดสี ามารถเคลื่อนย้ายได้
เพยี งลำพัง รวมทัง้ ไมแ่ น่ใจในอาการก็ไม่ควรเคลื่อนยา้ ยผู้ป่วย

3. หากจำเป็นตอ้ งถอดเสื้อผา้ ควรใช้วิธีตดั ใหข้ าด
4. ควรทำอย่างรวดเรว็ แล้วรบี นำสง่ แพทย์ โดยการเคลอ่ื นย้ายทถี่ กู ต้องและระมัดระวัง
การเขา้ เฝือก การช่วยเหลอื ผู้ป่วยกระดกู หักในขั้นตน้ นนั้ ผปู้ ฐมพยาบาลจำเปน็ จะตอ้ งรจู้ ักวธิ ีเข้าเฝอื ก
เพื่อชว่ ยใหผ้ ปู้ ่วยเคล่อื นไหวได้สะดวกขึน้ ก่อนนำผ้ปู ่วยส่งถึงมือแพทย์ เลือกท่ใี ชก้ บั ผู้ปว่ ยมีหลายประเภท ดงั นี้

1. เฝือกธรรมชาตคิ ือ เฝอื กท่ีมีอยูใ่ นตัวของผูป้ ว่ ย ได้แก่ อวัยวะหรือกระดูกท่ีอยู่ใกลเ้ คยี งกับกระดูกท่หี กั
เพ่ือขดั เปน็ เฝือกชัว่ คราวไปก่อน เชน่ กระดูกต้นแขนหักก็ใชล้ ำตวั ส่วนอกเป็นเฝือกเป็นต้น

2. เฝอื กสำเรจ็ รูป ได้แก่ เฝือกที่ทำไว้แล้ว ซงึ่ อาจทำดว้ ยไม้ พลาสตกิ หรอื เหล็กกลา้
3. เฝอื กชวั่ คราว ได้แก่ เฝอื กที่หาได้จากวสั ดุงา่ ยๆ ในบรเิ วณที่เกิดเหตุ เช่น กระดาน ไมบ้ รรทัด คนั ร่ม

หรอื กงิ่ ไม้เป็นตน้
คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

1. ซ่อื สัตย์สุจริต
2. มีวินยั
3. ใฝเ่ รียนรู้
4. มจี ิตสาธารณะ
ผลท่ีคาดหวัง

รอ้ ยละ80ของนักเรยี นในชัน้ เรียนสามารถเขา้ ใจ อธิบาย และปฏิบัตกิ ารปฐมพยาบาลกระดกู หัก ทเี่ กิด
จากอบุ ตั เิ หตุ หรือเกิดจากการเล่นกีฬาได้อย่างถกู ตอ้ ง

กระบวนการจดั การเรยี นรู้

สาระการเรยี นรู้ กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ผลลพั ธ์การเรียนรู้

การปฐมพยาบาล หมายถงึ การ ชวั่ โมงท่ี1 1. นักเรยี นสามารถเข้าใจข้นั ตอน

ให้ความชว่ ยเหลือเบอ้ื งต้นต่อผู้ ขน้ั เตรยี ม การปฐมพยาบาลเร่ืองกระดูกหกั

ประสบอันตราย ผู้บาดเจ็บจาก 1.ครูเชค็ ช่ือ ตรวจความพร้อมของ ได้

อบุ ัตเิ หตหุ รอื การเจ็บปว่ ยใน นกั เรียน 2. นักเรียนสามารถปฏบิ ัติอธิบาย

สถานทเี่ กดิ เหตุ โดยใช้เครื่องมอื 2.แบบทดสอนกอ่ นเรียน10ข้อ ขน้ั ตอนการปฐมพยาบาล

เทา่ ท่จี ะหาได้ เพอื่ ลดอนั ตราย 3.ครสู อบถามประสบการณ์การ กระดูกหักไดถ้ ูกต้อง

หรือปอ้ งกันมใิ ห้เกดิ อันตรายเพ่ิม เกิดอบุ ัติเหตขุ องนักเรยี นวา่ มี 3. นกั เรียนสามารถนำขน้ั ตอนไป

ขึ้นกบั ผปู้ ระสบอันตรายก่อน นักเรียนคนไหนกระดูกหกั ให้ ใชเ้ มื่อเกิดเหตุการณจ์ รงิ อุบตั ิเหตุ

นำส่งต่อแพทย์เพื่อทำการรักษา ออกมาเล่าประสบการณ์ของ บนท้องถนน หรอื เพ่อื นในช้ัน

ต่อไป นักเรยี นโดยคำนึงถึงความสมัคร เรยี นเกดิ อบุ ัติเหตุกระดกู หักจาก

กระดูกหักเปน็ อนั ตรายมาก การที่ ใจ การฝกึ ซ้อม

กระดูกหักนัน้ ร่างกายอาจจะมี 4.ถามนักเรยี นเกีย่ วการปฐม

บาดแผลหรือไม่มีก็ไดแ้ ละการหัก พยาบาลกระดูกหัก เพ่ือดวู า่

ของกระดูกอาจจะมีทั้งลกั ษณะ นักเรียนมีความเขา้ มากน้อย

หกั ออกจากกนั เหมือนถูกตดั หรอื เพียงใด

อาจจะมลี กั ษณะแตกเดาะ ร้าวก็ 5.แบง่ กล่มุ นักเรยี น5คน6กล่มุ

ได้ ซึง่ สาเหตุของกระดูกหัก ขน้ั อธบิ ายและสาธติ

เกดิ ขึน้ ไดห้ ลายกรณี เชน่ ถูกรถ จดั อบรมการปฐมพยาบาลกระดูก

ชน ตกจากท่สี งู เล่นกีฬาถูกของ จากจากหน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้องกับ

หนกั ทับ หกล้ม ฯลฯ อาการ การปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้

ผูป้ ว่ ยกระดูกหักจะมลี ักษณะ วทิ ยากร สือ่ พาวเวอรพ์ อยต์ และ

อาการแตกต่างกันไปตามตำแหน่ง วิดโิ อการปฐมพยาบาลกระดกู หกั

ของกระดูกที่หักแต่ลกั ษณะ ข้ันปฏบิ ัติ

อาการโดยท่ัวๆ ไป ท่ีสามารถ นกั เรยี นทกุ กล่มุ จะได้ฝกึ

สงั เกตได้มดี งั น้ี ปฏบิ ตั ิการปฐมพยาบาลกระดูหกั

-อาการทว่ั ๆ ไปอาจจะชอ็ กมี และการเขา้ เฝือก

อาการตกเลือดและมีไข้ ขั้นนำไปใช้

-อาการเฉพาะตำแหน่งท่ี ใหน้ ักเรยี นแต่ละกลมุ่ อดั วิดิโอการ

กระดูกหกั จะเจ็บปวดและบริเวณ ปฐมพยาบาลกระดูกหกั แล้วให้

ดังกลา่ วจะมีอาการบวมรอ้ น มี แชรล์ งในกล่มุ ไลนท์ ่ีมวี ิทยากร

อาการผดิ ปกติ เชน่ โกง่ หรอื โคง้ และครูอยใู นกลุ่มนัน้ ดว้ ย

นูนออกมาหากเป็นกระดกู แตกก็ ขนั้ สรุป

จะได้ยนิ เสียงกรอบแกรบเมอื่ บดิ 1.วิทยากรจะสรุปเน้อื หาที่

หรอื โยกบริเวณนัน้ บรรยายอกี ครัง้ และมอบเกยี รติ

บัตรเพอื่ ประกาศวา่ นกั เรยี นมี

การปฐมพยาบาล ผทู้ ก่ี ระดกู หกั ความรู้เพยี งพอในการปฐพยาบาล

จะมีอาการเจ็บปวดมาก การปฐม กระดูกหกั

พยาบาลจะช่วยลดอันตรายที่ 2.ปลอ่ ยพกั

อาจจะได้รบั ใน

อนาคต เพราะหากได้รบั การปฐม ชั่วโมงท2ี่

พยาบาลทถี่ ูกวธิ ีก็จะทำให้กระดูก ขั้นเตรยี ม

เขา้ ทไี่ ด้ง่ายและไม่เปน็ ผู้พิการ สอบถามเน้ือหาท่ีนักเรียนเข้า

ดงั นน้ั ผปู้ ว่ ยกรณนี ี้จึงควรได้รับ อบรมเมื่อชัว่ โมงท่ผี า่ นมา ว่า

การปฐมพยาบาลเรง่ ด่วน โดย นกั เรียนมีความเขา้ ใจมากน้อย

ปฏบิ ัติ ดงั น้ี เพยี งใด

1. หากผปู้ ่วยเปน็ ลม ควรรักษาให้ ขั้นอธิบายและสาธติ

ฟืน้ และถา้ หากมบี าดแผล ครูอธิบายการเขา้ เฝือกอกี ครั้งโดย

เลอื ดออกกจ็ ะต้องหา้ มเลอื ดก่อน ใช้วิดโิ อทีน่ กั เรียนแต่ละกลุ่มอัดมา

และลา้ งแผลใหส้ ะอาด ลงในกลุ่มไลน์

2. การจบั บรเิ วณท่หี ักต้องทำ ขั้นปฏบิ ัติ

อยา่ งระมัดระวัง และถา้ หากเปน็ ใหน้ กั เรยี นชว่ ยกันวเิ คราะห์

ในทีส่ ำคญั และไมด่ สี ามารถ รูปแบบการเข้าเฝอื กของแตล่ ะ

เคลอ่ื นยา้ ยไดเ้ พยี งลำพัง รวมท้งั กลมุ่ มาเขยี นลงในกระดาษชารท์ ท่ี

ไม่แนใ่ จในอาการก็ไม่ควร ครูเตรียมไว้

เคลื่อนย้ายผู้ป่วย นกั เรยี นในกล่มุ ช่วยกันตกแต่งให้

3. หากจำเป็นตอ้ งถอดเสือ้ ผ้า สวยงาม

ควรใช้วิธตี ัดให้ขาด ขน้ั นำไปใช้

4. ควรทำอย่างรวดเรว็ แล้วรบี นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มออกมา

นำสง่ แพทย์ โดยการเคล่อื นย้ายที่ อภปิ รายสรุปเร่อื งการปฐม

ถูกต้องและระมัดระวัง พยาบาลกระดูกหัก

การเขา้ เฝือก การช่วยเหลอื ผู้ป่วย ครใู หน้ ักเรยี นประดษิ ฐเ์ ฝือกจาก

กระดูกหักในขัน้ ต้นนั้น ผปู้ ฐม วสั ดุเหลอื ใช้

พยาบาลจำเป็นจะต้องรู้จักวิธี แบบทดสอบหลงั เรียน10ข้อ

เขา้ เฝือก เพ่ือช่วยให้ผปู้ ่วย ขั้นสรปุ

เคลอื่ นไหวได้สะดวกข้ึน ก่อนนำ 1.ครสู รปุ เน้อื หาที่เรยี นมาทัง้ หมด

ผู้ป่วยสง่ ถึงมอื แพทย์ เลือกท่ีใช้ 2.สอบถามความเขา้ ใจนักเรียน

กับผู้ป่วยมีหลายประเภท ดงั นี้ 3.ปลอ่ ยนักเรียนเตรียมเรยี นวิชา

ต่อไป

1. เฝือกธรรมชาตคิ ือ เฝือก
ท่มี ีอยู่ในตัวของผปู้ ่วย ได้แก่
อวยั วะหรือกระดูกที่อยูใ่ กล้เคียง
กับกระดูกท่ีหัก เพ่ือขัดเปน็ เฝือก
ชวั่ คราวไปก่อน เช่น กระดกู ต้น
แขนหักกใ็ ชล้ ำตัวสว่ นอกเป็น
เฝือกเปน็ ตน้

2. เฝอื กสำเรจ็ รูป ได้แก่
เฝือกท่ีทำไว้แลว้ ซึง่ อาจทำด้วยไม้
พลาสติก หรือเหล็กกลา้

3. เฝอื กช่วั คราว ได้แก่
เฝอื กที่หาไดจ้ ากวัสดุงา่ ยๆ ใน
บริเวณทีเ่ กิดเหตุ เชน่ กระดาน
ไมบ้ รรทัด คันร่มหรือกง่ิ ไม้เป็นตน้

สอ่ื แหล่งการเรยี นรู้

1. โรงยมิ
2. วิยากรให้ความร้เู รื่องการปฐมพยาบาลกระดกู หัก
3. ไม้ที่มคี วามยาว 1.20เมตร จำนวน15ชิ้น และ1เมตร จำนวน15ชิน้
4. ผา้ สามเหลีย่ ม จำนวน 30 ผนื
5. สือ่ พาวเวอร์พอยต์
6. วิดโิ อการสาธิตการปฐมพยาบาลกระดูกหัก
7. โน๊ตบคุ๊
การวดั และประเมนิ ผล

1. ครูมใี บเชค็ ช่ือการเข้าร่วมกจิ กรรมอบรม
2. ครสู งั เกตุพฤติกรรมการให้ความร่วมมือของนักเรียน
3. เกยี รติบัตรการเขา้ อบรมการปฐมพยาบาลกระดูกหกั
4. ครมู แี บบประเมินการเขา้ ร่วมกจิ กรรมการอบรมว่ามีความน่าสนใจเพียงใด
5. แบบทดสอบกอ่ น-หลงั เรยี น
6. ช้นื งานกระดาษชารท์ -วดิ ิโอ
ช้ินงาน/ภาระงาน

1. นกั เรียนอดั วิดโิ อการปฐมพยาบาลกระดูกหกั
2. อภปิ รายสรปุ เรอ่ื งการปฐมพยาบาลกระดูกหกั
3. ประดิษฐ์เฝือกจากวสั ดุเหลอื ใช้
การบูรณาการ

1. วชิ าภาษาไทย ทกั ษะการ ฟัง พดู อ่าน เขียน
2. วชิ าลูกเสอื -เนตรนารี การใช้ผา้ สามเหลยี่ ม
3. วิชาศิลปะ การอออกแบบกระดาษชาร์ท
4. วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ประดษิ ฐ์เฝือกวัสดุเหลอื ใช้
5. วชิ าโฟโตก้ ราฟฟิก การตัดต่อวดิ ิโอ

บันทกึ ผลหลังการสอน
ปัญหาที่พบ / อุปสรรค
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
____________________________________________________________
ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
____________________________________________________________

ลงชื่อ..................................................
(……......................................………)
วนั ………..เดือน…………พ.ศ…………..

แบบประเมินทักษะ

เกณฑ์ให้
คะแนน มากทสี่ ุด 5 มาก 4 ปานกลาง 3 น้อย 2 น้อยทสี่ ดุ 1
รายการ
ประเมนิ
ตงั้ ใจรบั ความรู้
ในการอบรม
ทดลองปฏบิ ตั ิ
ทกั ษะการ
เข้าเฝอื ก
วิดิโอมีความ
นา่ สนใจ เขา้ ใจ
งา่ ย
ชว่ ยเหลือเพ่อื น
ในกล่มุ
ชิ้นงานเฝอื กใช้
งานได้

แบบทดสอบก่อน-หลงั เรียนวชิ าพลศึกษา
เรอ่ื งการปฐมพยาบาลกระดูกหักจากอบุ ตั ิเหตุและการเล่นกีฬา
เลือกคำตอบท่ีถูกเพยี งขอ้ เดียว

1. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ความสำคญั ของการปฐมพยาบาล
ก. ชว่ ยรักษาชวี ิตของผปู้ ่วย
ข. ป้องกนั ไม่ให้ผู้ป่วยได้รับอันตรายมากขึน้
ค. บรรเทาอาการเจบ็ ปวดของผูป้ ว่ ยได้รับอันตราย
ง. ชว่ ยใหผ้ ู้ป่วยไมเ่ สยี ค่าใช้จา่ ยมากข้ึน

2. ข้อใดไม่ใชป่ ระโยชน์ของการปการปฐมพยาบาลผปู้ ว่ ยอุบตั เิ หตุจากการเลน่ กฬี าเบื้องตน้
ก. เพอ่ื ช่วยพยงุ ชีวิตของผู้ป่วยได้รบั อนั ตราย
ข. ให้ผปู้ ่วยคลายความทกุ ข์ทรมานและไมใ่ ห้มีการบาดเจบ็ มากขึ้นไปอีก
ค. นำมาใช้ในการช่วยเหลอื ตนเอง
ง. ช่วยใหผ้ ปู้ ว่ ยฟืน้ ตวั เร็ว

3. ขอ้ ใดคือความหมายของการปฐมพยาบาล
ก. การรักษาพยาบาลใหห้ ายจากโรคภยั ไข้เจ็บ
ข. การปอ้ งกนั ไม่ใหไ้ ด้รับอนั ตรายจากอุบัตเิ หตุ
ค. การใหค้ วามช่วยเหลือผู้ปว่ ยเบ้ืองตน้ ก่อนนำสง่ โรงพยาบาล
ง. การชว่ ยหมอหรอื พยาบาล ในการดูแลและรักษาผ้ปู ่วย

4. ผ้ปู ฐมพยาบาลที่ดคี วรมีคุณสมบัติท่สี ำคัญท่สี ุดอย่างไร
ก. มวี ุฒภิ าวะสูงมาก
ข. มีมนษุ ยสัมพนั ธท์ ่ีดี
ค. มีความรบั ผิดชอบสูง
ง. มีความร้ตู ามหลกั การปฐมพยาบาลเปน็ อย่างดี

5. หากไดร้ บั อุบตั เิ หตแุ ขนหักควรปฐมพยาบาลอย่างไร
ก. รอให้ญาติพาไปหาหมอ
ข. ใสย่ าทแี่ ผล
ค. รีบพาไปหาหมอทนั ที
ง. ดามด้วยไม้แล้วขันชะเนาะ

6. ผูบ้ าดเจ็บอาการกระดูกหกั ห้ามทำส่งิ ใด
ก. ประคองและจบั ส่วนทบี่ าดเจ็บอยา่ งมั่นคง
ข. เคล่อื นย้ายผ้บู าดเจ็บโดยไมจ่ ำเป็น
ค. เขา้ เฝือก
ง. ใช้ผ้าคลอ้ งคอถา้ กระดกู หักโผลอ่ อกมานอกเน้ือ

7. รูปแบบของเฝือกมีก่ีรูปแบบ
ก. 1รปู แบบ คอื เฝือกไม้
ข. 2รปู แบบ คือเฝือกธรรมชาติ เฝอื กสำเร็จรปู
ค. 3รปู แบบ คือ เฝือกธรรมชาติ เฝอื กสำเร็จรปู เฝอื กชัว่ คราว
ง. เฝอื กสำเร็จรูป เฝอื กธรรมชาติ เฝอื กช่วั คราว เฝือกเหล็ก

8. การเขาเฝือกชว่ั คราวมีประโยชนอยา่ งไร
ก. ลดความเจบ็ ปวด
ข. ปองกนั เส้นเลือดถูกทำลายจากกระดกู ทีห่ ัก
ค. เพอื่ ความสะดวกในการเคล่อื นย้ายผู้ปว่ ย
ง. ถกู ทุกขอ

9. การใชผ้าแถบ 3 ผนื พนั รอบทรวงอกเป็นการเขาเฝือกช่วั คราวกรณีใด
ก. กระดกู ซี่โครงหกั
ข. กระดกู สนั หลงั หัก
ค. กระดกู ต้นแขนหัก
ง. กระดกู ไหปลาราหกั

10. การจบั ขอ้ ศอกผ้ปู ่วยทำมุมต้ังฉากกับแขนแลวใชไม้แผ่นความยาวเทากับต้นแขนผ้บู าดเจบ็ วางทาบ
ทต่ี น้ แขนต้งั แตไ่ หลถึงศอกแล้วผูกดวยผา้ 2 ชน้ิ เป็นการเข้าเฝือกช่ัวคราวกรณีใด
ก. กระดูกซโี่ ครงหกั
ข. กระดกู ตน้ แขนหัก
ค. กระดกู ปลายแขนหัก
ง. กระดกู ไหปลาราหัก

บทสรุปแผนการสอน

1. รายระเอียดเกี่ยวกบั แผนการสอน

1.1 ชื่อเร่ือง : การปฐมพยาบาล

1.2 คณะผูจ้ ดั ทำ

1. นางสาวปณั ฑติ า พุ่มพวง 624189060 หมู่เรียน 62/5

2. นายสุภกิณห์ นลิ สมบรู ณ์ 624189060 หมเู่ รียน 62/5

3. นายเสฏฐวุฒิ จติ ราคม 624189060 หมเู่ รยี น 62/5

2. สรุปแผนการสอน

2.1 ความสำคญั และท่ีมาของปัญหา

การปฐมพยาบาล หมายถึง การให้ความชว่ ยเหลอื เบ้ืองตน้ ตอ่ ผู้ประสบอนั ตราย ผบู้ าดเจ็บจาก
อบุ ตั ิเหตหุ รือการเจบ็ ป่วยในสถานท่ีเกิดเหตุ โดยใชเ้ ครือ่ งมือเท่าทจ่ี ะหาได้ เพื่อลดอนั ตรายหรือปอ้ งกันมิใหเ้ กดิ
อนั ตรายเพิ่มขึน้ กบั ผู้ประสบอันตรายก่อนนำสง่ ตอ่ แพทยเ์ พ่ือทำการรักษาต่อไป

กระดูกหักเปน็ อนั ตรายมาก การทก่ี ระดูกหักน้นั ร่างกายอาจจะมบี าดแผลหรือไม่มีก็ไดแ้ ละการหัก
ของกระดูกอาจจะมีท้งั ลักษณะหกั ออกจากกันเหมือนถูกตดั หรอื อาจจะมีลักษณะแตกเดาะ รา้ วก็ได้ ซึ่งสาเหตุ
ของกระดูกหักเกิดข้ึนได้หลายกรณี เช่น ถกู รถชน ตกจากที่สงู เล่นกีฬาถูกของหนักทับ หกล้ม ฯลฯ

2.2 วัตถปุ ระสงค์ของแผนการสอน

วคั ถุประสงค์หลกั ของแผนการสอนการปฐมพยาบาล

กรณศี กึ ษา : นักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 คือ เพ่ือให้นักเรียนเขา้ ใจการปฐมพยาบาล
กระดูกหกั ในรปู แบบตา่ ง ๆจากการฝกึ ซ้อมหรือแข่งกีฬา และสามารถปฏิบัติการเข้าเฝอื กในรูปแบบต่างๆอีก
ด้วย เพื่อต่อยอดใหน้ ักเรยี นสามารถนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวัน เม่ือเกิดอบุ ัติเหตุจากท้องถนนหรอื จากการ
ฝกึ ซ้อม

2.3 ผลการศึกษา

จากการสอนเร่ือง การปฐมพยาบาล : นกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6

ซ่งึ เปน็ การบูรณาการการมสี ่วนร่วมในการช่วยเหลอื ผู้อน่ื และทักษะใน การปฐมพยาบาลเบือ่ งตน้
อย่างมีประสิทธภิ าพ สามารถสรปุ ผลดำเนินงานตามวตั ถุประสงค์ไดด้ งั น้ี

1. สรา้ งกระบวนการมสี ว่ นรว่ มในการเรียนและการสอนของนกั เรยี นทุกคนในชั้นเรยี น โดยอธบิ าย
ทฤษฎีการปฐมพยาบาลเบื่องต้น และถามกับนักเรียนทุกคนวา่ มีใครว่ายไม่ไมเ่ ป็น

2. การกคู้ นื สภาพร่างกายและจติ ใจของนักเรยี นทเ่ี คยเกิดอาการบาดเจบ็ ทางการเล่นกีฬาและทางด้าน
อื่นๆ

3. การจัดกลุ่มและดำเนนิ การตามแผนการสอน

3.1) ครอู ธบิ าย สาธิตทักษะการปฐมพยาบาลเบ่ืองต้น และอธิบายอุปกรณ์ในการช่วยเหลือพืน้ ฐาน

3.2) แบง่ กลมุ่ ใหเ้ ท่า ๆ กนั แตล่ ะกล่มุ จะมนี ักเรียนที่มีคาวรู้และไม่ดีอย่ดู ว้ ยกัน

3.3) จำลองสถานการณก์ ารการบาทเจ็บ แล้วใหน้ ักเรยี นใชท้ ักษะการปฐมพยาบาลเบ่ืองต้น

4. การประเมนิ การมที ักษะในการปฐมพยาบาลเบ่อื งต้น และการแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้า ในนักเรียน
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6

นักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 6 มีความรู้ความเข้าใจในการปฐมพยาบาลเบื่องต้น และตระหนกั ถงึ อันตรายนใน
การเลน่ กีฬาอย่างไมร่ ะมดั ระวงั เชน่ กนั เมื่อจำลองสถานการณ์ที่จะต้องชว่ ยเหลือผบู้ าทเจ็บ พบว่านักเรยี นมี
สตแิ ละการตดั สินใจท่เี ดด็ ขาดในการช่วยเหลอื และเลือกอุปกรณก์ ารช่วยเหลือได้อย่างมีสติ

2.4 ขอ้ เสนอแนะที่ได้จากการิจัย

จากการสอนนักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 พบว่า นกั เรียนมคี วามร้ใู นการการปฐมพยาบาลเบอื่ งตน้
น้อยและทำการปฐมพยาบาลเบื่องต้น อย่างไม่ถูกต้อง แตย่ ังมีนักเรียนส่วนหนึ่งยงั มีความรคู้ วามสามารถใน
การปฐมพยาบาลเบอ่ื งตน้ และมกี ารนำความรู้มาชว่ ยเหลือแบ่งปนั ใหก้ ับเพื่อนในชนั้ เรยี น และใหค้ วาม
ร่วมมือเปน็ อย่างดี

2.5 การนำไปใช้ประโยชน์

1. สามารถนำไปปรบั ใชก้ ับ ตนเองและผูอ้ ืน่ ได้

2. สามารถนำไปใชภ้ ายในชวี ิประจำวนั ได้

3. สามรถนำความรูไ้ ปเผยแผใ่ ห้แก่ผ้อู ่ืนได้

4. สามารถนำไปชว่ ยเหลอื ผทู้ ่ีเกิดอาการบาทเจ็บได้





การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ Student-Centred Approsch

แบ่งออกเปน็ 3รปู แบบ คือ

1. Student-Centtred Class ผสู้ อนจะเป็นผ้เู ตรยี มเนื้อหา วัสดุ อปุ กรณ์ สอื่ การเรียนการสอน ผูเ้ รียน
เป็นผู้ดำเนนิ กิจกรรมการเรียนตามคำสั่งหรือ คำแนะนำจากผ้สู อนส่วนมากเปน็ กิจกรรมแบบกลมุ่
หรือกิจกรรมคูก่ ับเพื่อนโดยเน้นปฏิสัมพันธ์ในชน้ั เรยี นเป็นสำคัญ

2. Learner-based Teaching ผู้สอนกระต้นุ หรือมอบหมายงานให้ผูเ้ รียนผลติ ส่ือ เนื้อหาของเรื่องที่
เรยี นข้นึ มา โดยใชค้ วามรู้ ประสบการณ์ และความชำนาญของผู้เรยี นเป็นฐานในการสรา้ งสอ่ื

3. Learner Independence เปน็ แบบท่ผี ู้เรียนจะเป็นอสิ ระ จากการเรียนในห้องเรยี นปกติ ผเู้ รียน
สามารถเลือกใช้ส่ือทจ่ี ดั สรรไว้ในหอ้ งศนู ย์การเรยี นรู้ แลว้ เลอื กทำงานหรอื ปฏิบัตติ ามความตอ้ งการ
ความสนใจของตน ผเู้ รียนอาจมีคนเดยี ว หรือเรียนเปน็ คู่กับเพื่อนก็ได้ ท้งั น้ี ตั้งงอย่ภู ายใต้เงอ่ื นไขหรอื
สัญญาการเรยี นระหวา่ งผูส้ อนกับผู้เรียน

จดุ ประสงค์

1. นักเรยี นจะไดเ้ รยี นรทู้ ำความเขา้ ใจประวตั ิความเป็นมาของกีฬาฟุตซอล
2. นกั เรยี นสามารถพฒั นาสมรรถภาพทางกายได้ดว้ ยตนเอง
3. นักเรยี นสามารถมีทกั ษะการเลน่ กีฬาฟุตซอลได้
4. นักเรยี นเกดิ ความรกั สามัคคี มปี ฏสิ ัมพนั ธ์ท่ีดีกับเพ่ือนในชั้นเรยี น
5. นกั เรียนมคี วามรับผิดชอบ รู้หนา้ ท่ี ท่ีได้รับมอบหมาย
6. นักเรียนสามารถนำทกั ษะกีฬาฟตุ ซอลไปพฒั นาสมรรถภาพทางกายในชวี ติ ประจำวนั ได้
การจัดสภาพแวดลอ้ งการเรียนในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

นกั เรียนมสี ว่ นร่วมในการเรียนการสอนและสามารถจัดกจิ กรรมโดยสร้างสรรค์เกมนนั ทนาการ
เกี่ยวกบั การเลน่ กฬี าฟตุ ซอล เชน่ เกมตอบคำถามเกีย่ วกับกฬี า เกมลิงชิงบอล เปน็ การสรา้ งบรรยากาศในช้ัน
เรยี น

สาระการเรียนรู้

1. การยดื เหยยี ดกล้ามเน้อื กอ่ นและหลงั การฝึกทักษะการแปบอล
2. การฝกึ สมรรถภาพทางกายพื้นฐาน การวง่ิ รอบสนาม การฝึกความคล่องตัวโดยการวงิ่ ซิกแซก หรอื การ

ว่ิงจากจกุ มาร์คแล้ววิ่งสปีดกลับมา ตารางเก้าช่อง เพ่อื ทักษะความคลอ่ งแคล่วว่องไวทำใหร้ ะบบ
หายใจและระบบไหลเวียนโลหิตทำงานดีขน้ึ
3. ฝึกความรบั ผดิ ชอบในการดรู ักษาอกุ ปกรณต์ า่ งๆ กรวยมาร์ค ลูกฟุตซอล ตลอดจนการรู้หนา้ ทโ่ี ดยการ
แบ่งเวรดแู ลทำความสะอาดสนามละโรงยิม
4. มุมใหค้ วามรู้เก่ียวกบั ประวัตคิ วามเปน็ มา ทกั ษะการเลน่ กีฬาฟุตซอล กตกิ าการเลน่ ฟตุ ซอล และ
บอร์ดเชดิ ชูเกียรตนิ ักเรียนทมี่ ีทักษะกีฬาฟตุ ซอลท่มี ผี ลงาน มเี ชื่อเสยี งให้กบั โรงเรียน เพือ่ เป็นการปลุก
ระดมการออกกำลงั กายเชิงทักษะกีฬาสำหรับนกั เรยี ที่มีความสนใจ

สอื่ /ตำรา

1. ส่ือวิดิโอเกยี่ วกบั ทักษะการเล่นกฬี าฟุตซอล
2. สอ่ื โปรสเตอรเ์ ก่ยี วกีฬาฟุตซอล
3. หนงั สือรายวิชาฟุตซอล
กระบวนการสอน

1. ใชก้ ระบวนการฝึกขนั้ พ้นื ฐานของกีฬาฟุตซอลโดยจะแบ่งการเรียนรเู้ ปน็ แบบกลุ่ม การเรียนรจู้ ะถกุ
จัดเปน็ แบบฐาน เป็น5ฐาน เป็นการฝึกสมรรถภาพทางกาย2ฐาน และฝึกการแปบอล3ฐาน ดังน้ี
- ฐานว่ิงเก็บของ
- ฐานวง่ิ 50เมตร
- ฐานแปบอล
- ฐานแปบอลให้ตรงเปา้
- ฐาน เล้ยี งลูกบอลอ้อมหลกั

2. มีการทดสอบก่อนเปล่ยี นฐานการฝกึ ทักษะ โดยใช้เกมนนั ทนาการเขา้ มาใช้ เพ่ือเปน็ การสร้าง
บรรยากาศในชน้ั เรียน

3. ฐานท่เี ปน็ การฝึกทกั ษะการแปบอลจะเปน็ แบบประเมินเพิ่ม
อุปกรณ์ในการเรียน

สนาม

สนามฟตุ ซอลต้องเป็นรปู ส่เี หล่ียมผืนผ้า ความยาวของเสน้ ข้างตอ้ งยาวกว่าความยาวของเสน้ ประตู

ความยาวต่ำสุด 25 เมตร

สงู สดุ 42 เมตร

ความกว้างต่ำสดุ 15 เมตร

สงู สุด 25 เมตร

ประตฟู ุตซอล

ประตตู ้องต้ังอยู่บนก่ึงกลางของเส้นประตูแตล่ ะด้านประกอบดว้ ย เสาประตสู องเสา มรี ะยะหา่ งกนั 3
เมตร และเชอ่ื มตอ่ กนั ด้วยคานตามแนวนอน ซ่งึ ส่วนลา่ งของคานจะอยูส่ ูงจากพื้น 2 เมตรเสาประตแู ละคาน
ประตูท้ังสองดา้ นจะมคี วามกวา้ งและความหนา 8 เซนติเมตร อาจตดิ ตาข่ายไว้ทป่ี ระตูและคานประตดู า้ นหลัง
ตาขา่ ยประตูตอ้ งทำดว้ ยป่านปอ หรือ ไนล่อน จึงอนุญาตให้ใชไ้ ดเ้ ส้นประตมู ีความกว้างเทา่ กับเสาประตูและ
คานประตู ที่เสาและคานดา้ นหลงั ประตูมลี ักษณะเป็นรูปโค้ง วัดจากรมิ ด้านบนของเสาประตูไปส่ดู า้ นนอกของ
สนามมคี วามลึกไม่น้อยกว่า 80 เซนตเิ มตร วัดจากริมด้านลา่ งของเสาประตูไปดา้ นนอกของสนามมีความลกึ ไม่
นอ้ ยกวา่ 100 เซนติเมตร

ความปลอดภัย (Safety)

ประตอู าจเป็นแบบทแ่ี ยกประกอบและโยกยา้ ยได้ แตจ่ ะตอ้ งติดตั้งไว้กับพนื้ สนามอย่างมน่ั คงและ
ปลอดภยั พ้ืนผิวของสนามแข่งขัน(Surface of the Pitch)พ้ืนผิวสนามจะตอ้ งเรียบ อาจทำด้วยไม้หรอื วสั ดุ
สังเคราะหแ์ ละต้องหลีกเลย่ี งพืน้ ผวิ สนามท่ีทำด้วยคอนกรีต หรอื ยางมะตอย

ลูกฟตุ ซอล
1. เป็นทรงกลม
2. ทำดว้ ยหนัง หรือวสั ดุอ่ืนๆท่ีเหมาะสม
3. เส้นรอบวงไมน่ ้อยกวา่ 62 เซนติเมตร และไม่เกนิ กวา่ 64 เซนติเมตร
4. ขณะเรม่ิ การแขง่ ขนั ลูกบอลตอ้ งมนี ำ้ หนักไมน่ ้อยกวา่ 400 กรมั และไมม่ ากกวา่ 440 กรมั

5. ความดันลมของลกู บอล 0.4 – 0.6 ระดับบรรยากาศ (400 – 600 กรมั ต่อตารางเซนตเิ มตร) ท่ี
ระดับนำ้ ทะเล

กรวยมาร์คเกอร์
กรวยฝึกซอ้ มกฬี า การกำหนดขอบเขต กำหนดรปู แบบของการฝึกซ้อมเหมาะสำหรับการฝึกซ้อมกีฬาต่างๆ
– ทำจากพลาสติกอย่างดีมีความยดื หยุน่ สูง
– เหนยี ว ไม่แตกเวลาถูกเหยียบ
– ทำความสะอาดสะดวก

มุมความรู้

มมุ ความรู้จะอย่ดู ้านขา้ งของสนามจะเป็นการใหค้ วามรเู้ กีย่ วกบั ประวัตคิ วามเปน็ มา ทงั้ ของ
ต่างประเทศและประวตั ิกีฬาฟตุ ซอลในประเทศไทย กฎ กตกิ าการเล่นกฬี าฟตุ ซอล และการพฒั นาสมรรถภาพ
ทางกายพื้นฐาน และการฝึกทักษะการเล่นกีฬาฟุตซอลขั้นพื้นฐาน เพ่ือใหน้ ักเรียนสามารถเรยี นรู้ ทำความ
เข้าใจได้ด้วยตนเองเปน็ การศึกษาแบบไม่ใช้หาในตำรา

จุดมุ่งหมายของกิจกรรมนันทนาการ

1. พัฒนาอารมณ์ ใหร้ ้จู กั การแสดงอารมณ์ ระงบั อารมณเ์ ม่ือมีอาการไม่พอใจ
2. สร้างประสบการณใ์ หม่
3. เสรมิ สร้างการมีสว่ นรว่ ม
ขั้นตอนการฝกึ ทักษะการเรยี นฟตุ ซอล

วงิ่ เกบ็ ของ

วัตถปุ ระสงค์ วดั ความคล่องตัว

อปุ กรณ์

1. นาฬกิ าจับเวลา
2. ทางว่ิงเรียบระหว่างเสน้ ขนาน 2 เส้น หา่ งกนั 10 เมตร ชดิ ดา้ นนอกของเส้นท้ังสองมีวงกลม

ขนาดเสน้ ผ่าศนู ยก์ ลาง 50 ซม. ถดั ออกไป จากเสน้ เรม่ิ ควรมีทางวิง่ ใหว้ งิ่ ต่อไปอีกอย่างน้อย
3 เมตร
3. ท่อนไม้ 2 ท่อน ขนาด 5 x 5 x 10 ซม.
วธิ กี าร

1. วางไมส้ องทอ่ นไว้กลางวงที่อยู่ชิดเสน้ ตรงข้ามเสน้ เริม่ ยนื ให้เทา้ ข้างหนงึ่ ชิดเสน้ เรม่ิ เมอื่ พร้อมแล้วผู้
ปลอ่ ยตวั สั่ง "ไป"

2. ว่งิ ไปหยิบท่อนไม้ในวงกลม 1 ท่อน ว่งิ กลับมาวางในวงกลมหลังเส้นเริม่ แล้วกลบั ตวั ว่งิ ไปหยบิ ทอ่ นไม้
อีกท่อนหน่ึงวง่ิ กลบั มาวางไว้ในวงกลมหลังเสน้ เรมิ่ แลว้ วงิ่ เลยไป หา้ มโยนท่อนไม้ ถ้าวางไมเ่ ข้าในวง
ตอ้ งเริ่มต้นใหม่

วิ่ง50เมตร
วตั ถุประสงค์

การว่ิง 50 เมตร เป็นการทดสอบสมรรถภาพทางกาย เพ่ือทดสอบอตั ราการเตน้ ของหัวใจ
วธิ ีการ

ปลายเท้าขา้ งใดขา้ งหนึ่งชิดเส้นเริ่ม กม้ ตัวเล็กน้อย เมื่อได้ยินสัญญาณปล่อยตัว ใหผ้ ้ทู ดสอบออกวงิ่
เตม็ ที่จนถงึ เส้นชยั

แปบอล
การเตะลูกบอลด้วยข้างเทา้ ด้านในหรอื อาจจะเรยี กอีกอย่างหนง่ึ ว่าลูกแปนบั ว่าเป็นการเตะทีง่ า่ ยที่มี

ความแน่นอนรวดเรว็ และเมน่ ยำมากในการแขง่ ขนั ครงั้ หนงึ่ ๆผเู้ ล่นจะเตะข้างเท้าด้านในไม่น้อยกวา่ 60
เปอรเ์ ซ็นต์เพราะเตะไดใ้ นทกุ โอกาสและทุกสถานการณ์ไม่วา่ จะอยู่บนดนิ หรือลกู ลอยในอากาศแลว้ แต่ความ
ต้องการของผู้เตะแต่ต้องเปน็ ระยะสน้ั ๆใกล้ๆเชน่ การสง่ ผ่านหรือยิงประตโู ดยเฉพาะในระยะที่ไดผ้ ลแนน่ อน
และแม่นยำควรเปน็ ระยะทางไม่เกิน 20 เมต
วิธีการเตะลกู บอลด้วยข้างเท้าด้านในมกี ารเตะดงั น้ี

1. จดเท้าข้างทไี่ มไ่ ดเ้ ตะให้ไดร้ ะดับเดยี วกบั ลูกบอลปลายเท้าชี้ไปยงั ทศิ ทางทตี่ ้องการจะใหล้ ูกไปตามองท่ี
ลกู บอล

2. แบะเทา้ ข้างท่จี ะใชเ้ ตะใหป้ ลายเท้าหันออกจากตวั เปน็ มุมฉากกบั เท้าอีกข้างหนึ่งยอ่ เขา่ แบะออกข้าง
นอก

3. เหวี่ยงเทา้ ที่เตะแค่สะโพกโดยใช้แรงเหวยี่ งจากสะโพกแขนทัง้
สองเหวี่ยงไปตามจงั หวะการเหวีย่ งเทา้ ยอ่ เข่าของขาข้างท่ี
ไม่ไดเ้ ตะลงเล็กน้อยโนม้ ตวั ไปข้างหน้า

4. ก่อนเตะใหเ้ หวีย่ งเท้าไปข้างหลังตรงๆใหเ้ ทา้ ถูกลกู บอลบริเวณ
หนา้ เท้าส่วนกลาง(คือสว่ นเว้าใต้บริเวณตาตุ่มลงไป) ใชแ้ รงส่ง
จากสะโพกเปน็ จดุ หมนุ

5. เมือ่ เตะลกู บอลไปแลว้ ให้ปล่อยเทา้ ทเ่ี ตะตามลูกไปยังทศิ ทางที่
ตอ้ งการ

แปบอลให้ตรงเป้า
ในลกั ษณะนะน้ีสามารถเลือกมมุ การยงิ ได้อย่างง่าย สามารถฝึกได้โดยเปลี่ยนจากการแปบอลใหเ้ พ่ือน

เป็นแปบอลให้เขา้ ประตแู ทน โดยพยายามเลง็ ใหเ้ ข้ามุมของตาขา่ ยด้านใน

เลยี้ งลกู บอลอ้อมหลกั
วธิ ฝี กึ

1. ผู้ฝึกเขา้ แถวตอนลกึ ยนื อยู่หลงั เสน้ ทกี่ ำหนด
2. เริม่ โดยคนที่ 1ของแถวเล้ียงลกู บอลออ้ มหลัก จนถึงเส้นสง่ ลกู บอล ใหจ้ บั ลูกบอลส่งให้คนท่ี2แลว้ ไป

ต่อท้ายแถว
3. คนท่ี 2 เมื่อได้ลูกบอลแลว้ ให้ปฏิบตั ิเชน่ เดียวกับ คนท่ี ๑ ทำเช่นน้เี รือ่ ยไป จนครบทกุ คนในกล่มุ

ประโยชนข์ องการฝกึ

ทุกทักษะในการฝึกมีความสำคญั ต่อการเลน่ กีฬาฟุตซอลเป็นอยา่ งมาก เน่ืองจากกฬี าฟุตซอลต้อง
อาศัยความเร็ว ความคล่องแคล่วว่องไว และความแขง็ แรงของระบบหายใจและระบบไหลเวยี นเลือดแล้ว ยงั
ต้องมีทักษะการแปบอล การแปบอลเข้าประตู และการเล้ียงบอลซ่ึงเปน็ ทกั ษะท่สี ำคัญต่อการเลน่ ฟตุ ซอล
นอกจากน้ี นักเรยี นยังสามารถนำไปพฒั นาทางกายเพ่อื สุขภาพใหแ้ ข็งแรงในชวี ิตประจำวนั หรอื จะนำทักษะไป
พฒั นาให้เกิดความชำนาญเป็นนักกีฬาก็ย่อมได้

แผนผงั โรงยิม บอรด์ ความรู้ บอรด์ ความรู้ บอร์ดความรู้

ถงั ขยะ ตาราง9ช่อง

ตาราง9ชอ่ ง
ตาราง9ช่อง

ถงั ขยะ

ท่ีนงั่ พัก

ถงั ขยะ ห้องนา้ หญิง ถงั ขยะ ห้องเก็บอปุ กรณ์
ห้องนา้ ชาย
รายชอื่ สมาชิก

รายช่อื สมาชกิ
1.นางสาวปัณฑติ า พุ่มพวง 624189030
2.นางสาวศุจมิ าศ ไกรสนิ 624189048
3.นายศุภกร ศรีสวา่ ง 624189050
4.นายสริ วชิ ญ์ เพ่งร่งุ เรอื งวงษ์ 624189056
5.นาวสาวสุดารัตน์ สนิ ทบ 624189057
6.นายสภุ กณิ ห์ นิลสมบูรณ์ 624189060
7.นายสภุ ณฐั พ้ืนบาตร 624189061
8.นายดลพัฒน์ เกาะแก้ว 624189063
9.นายอนวุ ัฒน์ มลคล้ำ 624189069
10.นายธนพนธ์ พวงผะกา 624189070


Click to View FlipBook Version