The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kamget.28, 2022-09-14 01:47:37

เเกม3

เเกม3

โรงพยาบาลทุ่งสง

ควนไม้แดง

Insert the Sub Title of Your Presentation











ภาวะข้อตดิ แขง็

สาเหตุ

ภาวะขอ้ ตืดแขง็ เกิดจากการไม่ไดใ้ ชง้ านหรือไมไ่ ดเ้ คล่ือนไหวตามปกติ ทา
ให้เกิดการดึงร้ังของเน้ือเย่ืออ่อนรอบขอ้ ต่อ เอ็น กลา้ มเน้ือ และขอ้ ต่อยดึ มาก
ที่สุดคือ ขอ้ ไหล่ และจะติดอยใู่ นท่าท่ีบิดเขา้ ใน และแขนมกั จะติดอยใู่ นท่าคว่า
มือ

การดูแล

-จดั ทา่ นอนตะแคงซา้ ย นอนตะแคงขวา นอนหงาย สลบั ไปมา ตามความ
เหมาะสม

-กิจกรรมที่ทาให้มีการเคล่ือนไหวรอบขอ้ ต่อตา่ งๆ อยา่ งสม่าเสมอ

ภาวะท้องผกู

ผูป้ ่ วยโรคหลอดเลือดสมองมกั มีปัญหาเรื่องทอ้ งผูกเกือบทุกราย
สาเหตุของทอ้ งผกู เช่น การขบั ถ่ายชา้ โดยเฉพาะผูม้ ีการเคลื่อนไหว
ร่างกายน้อย ถ่ายอุจจาระไม่หมด จากความตึงของกล้ามเย้ือลดลง
การด่ืมน้านอ้ ย การไดร้ ับยาบางชนิด

การดูแล

-ใหผ้ ปู้ ่ วยด่ืมน้าประมาณวนั ละ 2,000 มล.
-รับประทานอาหารที่มีกากใย เช่น ผกั และผลไม้
-ฝึกการขบั ถ่ายใหเ้ ป็นเวลา
-กระตนุ้ ให้ร่างกายมีการกระตนุ้ เท่าท่ีจาเป็น

การเกดิ อุบตั เิ หตุ ONLINE DIAGNOSIS

สาเหตุ

ในผปู้ ่ วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีอาการอ่อนแรงคร่ึงซีก อาจเกิดอบุ ตั ิเหตุได้ เช่น หกลม้ ตกเตียง แขนขาครูดขณะเคลื่อนยา้ ย
เนื่องจากการขาดการรับรู้สมั ผสั และการมองเห็นผิดปกติหรือจากการทรงตวั ของผปู้ ่ วยไม่ดี

การดูแล

- ผดู้ ูแลจะตอ้ งคอยช่วยเหลือเม่ือผปู้ ่ วยมีการเปลี่ยนอิริยาบถ เช่น การเขา้ ห้องนา การเดินข้ึน-ลงบนั ได หรือในกิจกรรมที่ผปู้ ่ วยไม่
สามารถกระทาไดเ้ อง
-ผดู้ ูแลจดั ส่ิงแวดลอ้ มภายในบา้ นเพ่อื ป้องกนั อบุ ตั ิเหตุ เช่น เกบ็ ส่ิงของท่ีอาจเกิดอนั ตรายให้พน้ มอื ไมว่ างของเกะกะบนพ้ืนหรือ
ทางเดิน
-ยกเหลก็ ก้นั เตียง ข้ึนทุกคร้ังเพอ่ื ป้องกนั การพลดั ตกเตียง
-ล็อครถเขน็ ทุกคร้ังที่ข้ึน-ลงจากเตียงและเคล่ือนคลา้ ยอยา่ งถูกวิธี

ALLPPT.com

- ในระยะแรกอาจทาราวเดินให้ผปู้ ่ วยเกาะ ถา้ ผปู้ ่ วยเดินในราวไดม้ นั่ คงดีแลว้ จึงเดินนอกราว หรือมีเครื่องช่วยเดินใน
การเดิน เช่น ไมเ้ ทา้ ขาเดียว ไมเ้ ทา้ สามขา ไมเ้ ทา้ สี่ขา

การป้องกนั ไมใ่ ห้โรคกลบั เป็ นซา้ การรบั ประทานยาอยา่ ง
สม่าเสมอ

การรับประทานยา

- ควรรับประทานยาตามแผนการรักษาของแพทยอ์ ย่าง
เคร่งครัด เข่น ยาลดความดนั ยาโรคหัวใจ ยาลดไขมนั ใน
เลือด ยารักษาโรคเบาหวาน เป็นตน้

- รับประทานยาสาหรับโรคหลอดเลือดสมอง เช่น ยา
ตา้ นเกร็ดเลือด ยาตา้ นการแข็งตวั ของเลือด เป็ นตน้ โดย
รับประทานอยา่ งเคร่งครัด และสงั เกตอาการขา้ งเคียงของยา

การไมส่ บู บหุ ร่ี

การจดั เตรียมอาหาร สาหรับผปู้ ่ วยโรคหลอดเลือดสมอง



การดูแลด้านจติ ใจ



การช่วยเหลือกจิ วตั รประจาวนั

1.การอาบนา้

- เป็ นวิธีทาความสะอาดร่างกายท่ีดีและหมดจดท่ีสุด มีผล
พลอยไดด้ ้านการเคลื่อนไหวร่างกายและการไหลเวียนโลหิต
อย่างชัดเจน อน่ึงเม่ือผูป้ ่ วยอาบน้าแล้วเกิดความสดชื่น จะ
เกิดผลดา้ นจิตใจตามมาอยา่ งมาก ดงั น้นั ควรกระตุน้ ให้อาบน้า
ทุกราย ยกเวน้ ผูป้ ่ วยท่ีไม่สามารถไปห้องน้าได้ หรือมีปัญหาที่
จะก่อให้เกิดการแทรกซ้อนจากการอาบน้ า เช่นมีผลใน
ตาแหน่งท่ีหลีกเลียงน้าจากการอาบน้าไมไ่ ด้ เป็ นตน้

2.การแปรงฟัน

- การแปรงฟันหรือการทาความสะอาดช่องปาก ปกติบุคคล
ท่ัวไป ใช้วิธี แปรงฟั น หากผู้ป่ วยโรคหลอดเลือดสมอง
รับประทานอาหารทางปากก็ควรแปรงฟัน เช่น บุคคลทวั่ ไป แต่
การแปรงฟันอาจตอ้ งมีผดู้ ูแลช่วยเหลือตามสภาพ ส่วนผปู้ ่ วยท่ีไม่
รู้สึกตวั หรือรับประทานอาหารทางสายควรดูแลช่องปากโดยการ
ใชผ้ า้ หรือสาลีชุบน้ายาเชด็ ปากหรือชุบน้าเกลือ แลว้ ใชค้ ีมคีบสาลี
น้นั เขา้ ไปเชด็ ทาความสะอาดในช่องปาก

3.การเช็ดตวั

- ทาไมผปู้ ่ วยท่ีไปอาน้าไมไ่ ด้ ควรใชส้ บู่อ่อนและเช็ดสบู่
ออกให้หมด หลงั จากน้นั เช็ดตวั ให้แห้ง โดยเฉพาะจุดท่ีอบั
ช้ืนง่าย เช่น รักแร้ ใตร้ าวนม ขาหนีบ ซอกกน้ เป็ นตน้ แลว้
จึงโรยแป้งหรือหากจะใชค้ รีมหรือโลชน่ั ก็ไดต้ ามปกติ เพื่อ
ป้องกนั ผิวแหง้ หรือคนั ได้

4.การชาระล้างบริเวณทวารหนัก 5.การชาระล้างบริเวณ
อวยั วะสืบพนั ธ์
- หากผปู้ ่ วยอาบน้าการชาระบริเวณน้ีก็
ทาเช่นปกติ แต่หากเช็ดตวั หรือผูป้ ่ วยท่ีถ่าย - ก า ร ติ ด เ ช้ื อ ร ะ บ บ ท า ง เ ดิ น
อุจจาระบนเตียงควรล้างทวารโดยใช้หม้อ ปัสสาวะสามารถเกิดข้ึนไดใ้ นผูป้ ่ วยท่ี
นอนรองกน้ ไว้ ลา้ งชาระดว้ ยน้าและสบู่ ใช้ คาสายสวนปัสสาวะหรือในผูป้ ่ วยท่ี
มือหรื อคีมชนิดยาวคีบสาลีเช็ดบริ เวณทวาร เคลื่อนไหวร่างกายไม่สะดวก อาจเกิด
แลว้ ลา้ งดว้ ยน้าสะอาด ซบั สาลีแห้งหรือผา้ การคงั่ คา้ งของปัสสาวะมากจนทาให้
แห้งอีกคร้ังหน่ึง และไม่ควรโรยแป้งก่อน กระเพาะปัสสาวะยืดขยาย ทาให้
ซบั ผิวหนงั ให้แห้ง เพราะจะทาให้ผิวหนัง ปัสสาวะเหลือค้าง เป็ นแหล่งสะสม
อบั ช้ืนไดง้ า่ ย แบคทีเรีย ในผสู้ ูงอายมุ ีโอกาสติดเช้ือ
ระบบทางเดินปัสสาวะไดง้ ่าย จากภูมิ
ตา้ นทานลดลง ประกอบกบั ปัสสาวะ
คา้ ง

การดูแลโดยการ วางแผนจดั เวลาในการ
ขับถ่ายปัสสาวะ อย่างน้อยทุก 2
กระตุ้นให้ดื่มนา้ วนั ละ 2,000-3,000 Online Doctor ช่ัวโมงหรือตามความเหมาะสม
มล. ถ้าไม่มขี ้อห้าม
ในผู้ป่ วยแต่ละราย
.
กรณใี ส่สายสวนปัสสาวะ ระวงั
ทาความสะอาดอวยั วะสืบพนั ธ์ ไม่ให้สายปัสสาวะหักงอหรือ
ทวารหนักทุกคร้ังหลงั การขบั ถ่าย
นอนทบั สาย
ผู้ป่ วยและผ้ดู ูแลสังเกตและประเมิน
อาการคงั่ ค้างของปัสสาวะในกระเพาะ ถ้าใส่สายสวนปัสสาวะให้ตดิ พลาสเตอร์ตรึงสาย
ปัสสาวะให้แน่นกับหน้าขาเพอื่ ลดการรพคายเคือง
ปัสสาวะ โดยการใช้มือคลาบริเวณ และลดการดงึ ร้ังจากการเคลื่อนไหวของสาย ควร
หัวหน่าว หากพบว่ากระเพาะปัสสาวะเร่ิม เปล่ียนพลาสเตอร์ทุกวัน เพราะการติดตาแหน่ง

ตึงจะต้องให้ผ้ปู ่ วยถ่ายปัสสาวะ เดมิ นานๆ อาจเป็ นแผลได้

ป้องกนั การตดิ เชื้อใน เม่ือสังเกตพบว่าปัสสาวะขุ่น-เข้ม หรือเป็ นตะกอนควรดื่มน้า
ระบบทางเดนิ ปัสสาวะ มากๆ เพ่ือระบายสิ่งตกค้าง และทาให้ปัสสาวะใสขนึ้

ควรเปลย่ี นสายสวนปัสสาวะทุกเดือนหรือทุกคร้ังที่มี
ปัญหาในการระบายปัสสาวะ ชาระล้างบริเวณช่อง
ปัสสาวะและบริเวณโดยรอบให้สะอาดอยู่เสมอ

เปลี่ยนถุงรองรับปัสสาวะต้องสะอาดและปราศจากเชื้อทุก
ข้ันตอน ดงั น้ันจุกเปิ ด-ปิ ดน้ัน หลงั เทปัสสาวะออกแล้วต้องปิ ด
สนทิ ทุกคร้ัง เพื่อป้องกนั เชื้อโรคผ่านเข้าสู่ร่างกาย

ถุงรองรับปัสสาวะต้องอยู่ในระดบั ต่ากว่ากระเพาะปัสสาวะ
หรือต่ากว่าท้องน้อยของผู้ป่ วยเสมอ หากจาเป็ นต้องยกให้ถุงสูง
กว่าท้องน้อยผู้ป่ วย กค็ วรหักพับสายปัสสาวะส่วนใดส่วนหน่ึง
ไว้ก่อนเพื่อป้องกนั ไม่ให้ปัสสาวะไหลย้อน ซ่ึงจะทาให้ตดิ เชื้อ

กรณปี ัสสาวะราด - เนื่องจากปัสสาวะโดยไม่รู้ตวั กล้นั ปัสสาวะไม่ได้หรือรองปัสสาวะไม่
ทนั น้นั จะทาให้เกิดผวิ หนงั ช้ืนแฉะ เปื่ อยแดงและคนั เป็ นเหตุให้เกิดแผล
หรือมีเช้ือราได้ สามารถดูแลโดยวิธีต่างๆไดด้ งั น้ี

การดูแลโดยการใส่ผ้าอ้อม

- ควรเปล่ียนผา้ ออ้ มทุกคร้ังท่ีปัสสาวะ หรือหาก
เป็ นผา้ ออ้ มที่สามารถซับปัสสาวะไดห้ ลายคร้ัง ก็
ควรพิจารณาเปลี่ยนโดยดูจากปริมาณปัสสาวะใน
แตล่ ะคร้ัง.
- หลงั เปล่ียนผา้ อ้อมควรเช็ดผิวหนังให้สะอาด
แลว้ เช็ดผิวหนงั ใหแ้ ห้งก่อนห่อผา้ ออ้ ม
- การใส่ผา้ ออ้ มบางคร้ังตอ้ งพกั ผิวหนงั ให้สัมผสั
กบั อากาศบา้ ง เพือ่ ป้องกนั การอบั ช้ืน

การจดั ท่า

เน่ืองจากผปู้ ่ วยมกั จะนอนในท่าใดท่าหน่ึงนานๆ ซ่ึงอ, าจทาใหเ้ กิดภาวะแทรกซอ้ น ดงั น้นั การจดั ท่าทาง
ผปู้ ่ วยที่ถูกตอ้ งจึงเป็ นวธิ ีการหน่ึงในการป้องกนั ภาวะแทรกซอ้ นที่จะเกิดข้ึนได้ เช่น ภาวะแขง็ เกร็งของ
กลา้ มเน้ือ การผิดรูปของขอ้ ตา่ งๆ เกิดอาการขอ้ ติด การเกิดแผลกดทบั เป็ นตน้





































Thank You

Insert the Sub Title of Your Presentation


Click to View FlipBook Version