ก
ก
คำนำ
เอกสารประกอบการเรียน วิชา เทคโนโลยี2 (ง22101) เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและ
อินเทอร์เน็ตเล่มนี้ เป็นรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 จัดทาขึ้นเพ่ือสง่ เสริมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ให้สามารถพัฒนาความรู้
ความเข้าใจ เก่ียวกับการส่ือสารข้อมูลและอินเทอร์เน็ต ผู้จัดทาได้ศึกษาเอกสารหลักสูตร มาตรฐาน
การเรียนรู้ ตัวช้ีวัดช้ันเรียน การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ แล้วจึงนาองค์ความรู้ จัดทาเป็น
นวัตกรรมประเภทเอกสารประกอบการเรียน เอกสารประกอบการเรียนเล่มน้ี ได้จดั เรียงเนือ้ หาให้ง่าย
มีรูปภาพประกอบ นกั เรียนสามารถนาไปศกึ ษาดว้ ยตนเองและประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจาวันได้
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและอินเทอร์เน็ต ประกอบด้วยเนื้อหา
ท้ังหมด 7 เลม่ ดงั น้ี
เลม่ ท่ี 1 พัฒนาการของการสื่อสารขอ้ มูล
เลม่ ที่ 2 เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์
เลม่ ที่ 3 โปรโตคอลและอุปกรณส์ ือ่ สารในระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์
เล่มที่ 4 เทคโนโลยีในการรับสง่ ขอ้ มูลในเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์
เล่มท่ี 5 พัฒนาการของอินเทอรเ์ นต็
เล่มท่ี 6 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เนต็
เล่มที่ 7 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
โดยเอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้เป็นเล่มท่ี 4 ผู้เรียนจะได้ศึกษา เร่ือง เทคโนโลยีการ
รับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบใช้สายและแบบไร้สาย นักเรียนควรอ่านคาแนะนาการใช้ให้
เขา้ ใจก่อนเป็นลาดับแรก และปฏิบตั ิตามดว้ ยความซ่ือสตั ย์ เพื่อให้เป็นผลดีแก่นักเรียนในการสรา้ งองค์
ความรู้ท่ีย่ังยืนต่อไป ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารประกอบการเรียนเล่มน้ี จะเป็นประโยชน์กับ
ตัวนกั เรยี น ไดส้ รา้ งองคค์ วามรูด้ ว้ ยตนเองและส่งผลใหน้ ักเรียนมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนสงู ข้นึ
นางกันตพร ผวิ พรรณ
ข
สำรบญั
เร่อื ง หนา้
คานา ก
สารบัญ ข
สารบัญภาพ ค
คาแนะนาสาหรับครู ง
คาแนะนาสาหรับนักเรียน จ
มาตรฐานการเรยี นรู้ 1
จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1
สาระสาคญั 2
แบบทดสอบก่อนเรยี น 3
ใบความรทู้ ่ี 4.1 เรอ่ื ง เทคโนโลยกี ารรับสง่ ขอ้ มลู ในเครือข่ายคอมพวิ เตอร์แบบใชส้ าย 6
ใบความรทู้ ี่ 4.2 เรอ่ื ง เทคโนโลยกี ารรบั ส่งข้อมลู ในเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์แบบไรส้ าย 9
ใบงานท่ี 4.1 เรื่อง เทคโนโลยกี ารรับสง่ ข้อมลู แบบใชส้ าย 14
ใบงานที่ 4.2 เรือ่ ง เทคโนโลยีการรับส่งข้อมลู แบบไรส้ าย 16
แบบทดสอบหลงั เรียน 18
บรรณานุกรม 21
ภาคผนวก 22
23
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 24
แนวการตอบคาถามใบงานท่ี 4.1 26
แนวการตอบคาถามใบงานที่ 4.2 27
เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น
ค
สำรบัญภำพ หนา้
6
ภาพที่ 7
ภาพท่ี 4.1 สายตีเกลยี วค่แู บบไมป่ ้องกนั สัญญาณรบกวน หรือชนดิ ไมห่ ุ้มฉนวน 7
ภาพท่ี 4.2 สายตีเกลยี วคแู่ บบปอ้ งกนั สัญญาณรบกวนหรอื ชนดิ หุม้ ฉนวน 8
ภาพที่ 4.3 ลกั ษณะสายโคแอกซ์ 9
ภาพท่ี 4.4 สายใยแก้วนาแสง 9
ภาพที่ 4.5 การเชือ่ มต่อคอมพวิ เตอรส์ องเครื่องโดยผ่านพอร์ตไออาร์เอ 10
ภาพที่ 4.6 การส่งสัญญาณคลน่ื วิทยุในอากาศ 10
ภาพท่ี 4.7 การสง่ ข้อมลู แบบไรส้ ายโดยใช้คล่นื ไมโครเวฟ 11
ภาพที่ 4.8 การสง่ ข้อมูลแบบไรส้ ายโดยใช้ดาวเทยี ม 12
ภาพท่ี 4.9 อปุ กรณ์สง่ ข้อมลู แบบแลนไรส้ าย (Wi-Fi) 13
ภาพท่ี 4.10 อุปกรณส์ ่งขอ้ มูลแบบไรส้ ายบลูทธู
ภาพที่ 4.11 อุปกรณ์ส่งข้อมลู แบบไร้สาย NFC
ง
คาแนะนาสาหรับครู
1. เนื้อหาในเอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเทคโนโลยี2 เร่ือง การส่ือสารข้อมูลและ
อินเทอร์เน็ต เล่มที่ 4 เทคโนโลยีในการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยเน้ือหา
เกี่ยวกับเทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบใช้สาย เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลใน
เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์แบบไรส้ าย
2. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน ครูควรแจ้งเนื้อหาในเอกสารประกอบการเรียน
สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ เพ่ือให้นักเรียนรู้แนวทางและขอบเขตการ
เรียนรู้ในเรอื่ งท่จี ะเรยี นและเป็นการเตรียมความพรอ้ มก่อนเรียน
3. เม่ือนักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนเสร็จแล้ว ครูตรวจคาตอบ จากนั้นบันทึกคะแนนไว้
เพ่อื เปน็ ข้อมูลในการประเมินผล
4. ครูให้นักเรียนศึกษาเน้ือหาในเอกสารประกอบการเรียน และทาใบงานตามลาดับ เริ่มต้ังแต่
ใบงานที่ 4.1 และใบงานท่ี 4.2 โดยใช้เวลาตามทีก่ าหนด
5. ครตู รวจใบงานทีน่ ักเรยี นนาส่ง และบนั ทกึ คะแนนไว้เพื่อเป็นขอ้ มูลในการประเมนิ ผล
6. เมื่อศึกษาเนื้อหาและทาใบงานแล้ว ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน เสร็จแล้วครูเฉลย
คาตอบและใหน้ กั เรยี นตรวจคาตอบ จากน้ันบันทึกคะแนนไว้เพ่ือเป็นข้อมูลในการประเมนิ ผล
7. หากคะแนนทดสอบหลังเรียนของนักเรียนไม่ผ่านจุดประสงค์ ให้นักเรียนนาเอกสาร
ประกอบการเรียนไปศึกษาต่อด้วยตนเอง เม่ือมีเวลาว่างหรือเข้าไปศึกษาจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
(E-Book) โดยเขา้ ไปท่ีเว็บไซต์ https://sites.google.com/view/comtechno2/ เมื่อศึกษาจนเขา้ ใจ
ใหน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบหลังเรยี นอกี คร้ัง
8. ขณะนักเรียนศึกษาความรู้และทาใบงานจากเอกสารประกอบการเรียน ครูควรให้คาแนะนา
และอธบิ ายเมือ่ นกั เรียนมปี ัญหาหรอื ข้อสงสัย
จ
คาแนะนาสาหรับนักเรียน
1. ให้นักเรียนศึกษาขอบเขตของเน้ือหาที่จะเรียนจากสาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้
สาระสาคัญ ให้เข้าใจก่อนทาการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
2. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนเม่ือเสร็จแล้ว ส่งกระดาษคาตอบให้ครูตรวจและบันทึก
คะแนนไว้เพอ่ื เปน็ ขอ้ มลู ในการประเมนิ ผล
3. ให้นักเรียนศึกษาเน้ือหาในเอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเทคโนโลยี2 เรื่อง การสื่อสาร
ข้อมูลและอินเทอร์เน็ต เล่มที่ 4 เทคโนโลยีในการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย
เน้ือหาเกี่ยวกับเทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบใช้สาย เทคโนโลยีการรับส่ง
ข้อมลู ในเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์แบบไร้สาย
4. นักเรียนทาใบงานตามลาดับ เร่ิมต้ังแต่ใบงานที่ 4.1 และใบงานที่ 4.2 แล้วนาส่งให้ครูตรวจ
และบันทึกคะแนนไว้เพอ่ื เป็นขอ้ มูลในการประเมินผล
5. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน ตรวจคาตอบ แล้วส่งคืนกระดาษคาตอบให้ครูบันทึก
คะแนนไว้เพอ่ื เปน็ ข้อมลู ในการประเมินผล
6. หากคะแนนทดสอบหลังเรียนของนักเรียนไม่ผ่านจุดประสงค์ ให้นักเรียนนาเอกสาร
ประกอบการเรียนไปศึกษาต่อด้วยตนเองเม่ือมีเวลาว่าง หรือเข้าไปศึกษาจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
(E-Book) โดยเขา้ ไปท่ีเว็บไซต์ https://sites.google.com/view/comtechno2/ เม่ือศึกษาจนเข้าใจ
ใหน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบหลังเรียนอีกครง้ั
7. ขอให้นักเรียนมีความต้ังใจในการศึกษาหาความรู้จากเอกสารประกอบการเรียน และมีความ
ซือ่ สัตย์ ไมเ่ ปิดดูแนวการตอบใบงาน และเฉลยคาตอบก่อน เพ่ือจะไดท้ ราบความสามารถในการเรียนรู้
ของตนเอง และมีความรู้ในเรื่องท่ศี ึกษาอย่างแทจ้ ริง
1
เอกสำรประกอบกำรเรียน
เรื่อง กำรสอื่ สำรข้อมูลและอินเทอรเ์ น็ต
เลม่ ท่ี 4 เทคโนโลยใี นกำรรบั สง่ ขอ้ มูลในเครอื ขำ่ ยคอมพวิ เตอร์ เวลำเรยี น 4 ชั่วโมง
มำตรฐำนกำรเรยี นรู้
มาตรฐาน ง 3.1เข้าใจ เหน็ คุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยสี ารสนเทศในการสืบคน้ ข้อมูล
การเรียนรู้ การส่ือสาร การแก้ปัญหา การทางาน และอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมี
คณุ ธรรม
ตัวชีว้ ัด
ง 3.1 ม.2/1 อธบิ ายหลักการเบือ้ งตน้ ของการส่อื สารข้อมลู และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
จดุ ประสงค์กำรเรยี นรู้
1. จาแนกประเภทของเทคโนโลยีการรับสง่ ข้อมลู ในเครอื ข่ายคอมพวิ เตอรไ์ ด้
2. บอกคุณลักษณะของสอ่ื หรือตัวกลางแต่ละชนิดในระบบการส่อื สารข้อมลู ได้
3. อธบิ ายขอ้ ดี ข้อเสยี ของเทคโนโลยีการรับสง่ ข้อมลู ในเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ได้
4. อธิบายการรบั ส่งข้อมูลของเทคโนโลยแี ตล่ ะประเภทได้
2
สำระสำคญั
เทคโนโลยีในการส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก ได้แก่
เทคโนโลยีในการรบั สง่ แบบใชส้ าย และ เทคโนโลยกี ารรบั สง่ แบบไร้สาย
เทคโนโลยีการส่งข้อมลู แบบใช้สาย แบง่ ตามชนิดของสายสอื่ สารได้ 3 ชนิด คือ สายตเี กลียวคู่
(twisted pair cable) สายโคแอกซ์ (coaxial cable) สายใยแก้วนาแสง (fiber optic cable)
เทคโนโลยกี ารสง่ ข้อมูลแบบไรส้ าย อาศัยคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้าเปน็ สอ่ื กลางนาสญั ญาณซง่ึ สามารถ
แบ่งตามช่วงความถ่ีของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าได้ 4 ชนิด คือ อินฟราเรด (Intrared) คลื่นวิทยุ (radio
frequency) ไมโครเวฟ (microwave) ดาวเทยี ม (satellite)
3
แบบทดสอบก่อนเรยี น
เร่อื ง เทคโนโลยีในการรบั ส่งข้อมลู ในเครือข่ายคอมพวิ เตอร์
รายวชิ า เทคโนโลย2ี รหัสวชิ า ง22101
กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 จานวน 10 ข้อ 10 คะแนน
คำช้ีแจง
1. แบบทดสอบเป็นแบบเลอื กตอบ จานวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ใช้เวลาในการทดสอบ 10 นาที
2. เลอื กคาตอบท่ถี กู ตอ้ งทส่ี ดุ เพียงขอ้ เดียว แล้วทาเครอ่ื งหมายกากบาท (X)
ลงในกระดาษคาตอบ
1. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ส่ือกลางประเภทมีสาย
ก. ไมโครเวฟ
ข. สายโคแอกซ์
ค. สายตีเกลยี วคู่
ง. สายใยแก้วนาแสง
2. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ลักษณะของสายตเี กลียวคู่
ก. มรี าคาแพงมาก
ข. ตดิ ตั้งงา่ ยน้าหนกั เบา
ค. ทาจากลวดทองแดงหมุ้ ดว้ ยฉนวนพลาสติก 2 เส้น
ง. สามารถสง่ ขอ้ มลู ได้ 100 Mbps ในระยะทางไม่เกนิ 100 เมตร
3. ข้อใดคอื ขอ้ ดขี องสายโคแอกซ์ (Coaxial cable)
ก. มรี าคาถูก
ข. ปอ้ งกันสัญญาณรบกวนไดด้ ี
ค. ขนาดของสายสัญญาณคอ่ นขา้ งเล็ก ติดตงั้ ง่าย
ง. สามารถสง่ ข้อมลู ได้ 100 Mbps ในระยะทางไม่เกนิ 100 เมตร
4. ตวั นาชนิดใดที่นยิ มใช้ทาเป็นวัสดใุ นการรบั - สง่ ขอ้ มูล
ก. ทอง
ข. เงิน
ค. ตะกั่ว
ง. ทองแดง
4
5. สายชนิดใดท่ีเปน็ ตวั กลางในการรบั สง่ ขอ้ มลู ไดเ้ รว็ ท่สี ดุ
ก. Microware
ข. Coaxial Cable
ค. Fiber Optic Cable
ง. Twisted Pair Cable
6. ในปจั จุบันสอื่ กลางแบบใด ท่นี ิยมใช้ ในการเชื่อมตอ่ ในระบบเครอื ข่าย
ก. สายยทู พี ี
ข. สายเอสทพี ี
ค. สายโคแอกซ์
ง. สายใยแกว้ นาแสง
7. บลูทูธ (Bluetooth) เป็นเทคโนโลยีการสอ่ื สารที่อาศยั ส่ือกลางไรส้ ายในขอ้ ใด
ก. อนิ ฟราเรด
ข. ดาวเทยี ม
ค. คลน่ื วิทยุ
ง. ไมโครเวฟ
8. เพราะเหตใุ ดบลทู ธู (Bluetooth)จึงเป็นเทคโนโลยที ไ่ี ด้รบั ความนยิ มสงู สุดในปัจจบุ ัน
ก. สามารถใชใ้ นการส่งถา่ ยโอนขอ้ มูลสาหรบั อปุ กรณ์พกพาไดส้ ะดวก
ข. สามารถส่งในแนวเส้นตรงและเหมาะสาหรบั การส่งขอ้ มูลในระยะไม่ไกล
ค. เหมาะสาหรบั การสง่ สญั ญาณเปน็ ทอดๆ และใช้ประโยชนด์ า้ นโทรคมนาคม
และการทาอาหาร
ง. เหมาะสาหรับการติดตอ่ ส่ือสารในระยะไม่เกิน 33 ฟุต สามารถส่งสัญญาณ
ผา่ นสิง่ กีดขวางได้
9. สือ่ กลางไรส้ ายในขอ้ ใดเป็นการสือ่ สารทพ่ี ัฒนาตอ่ เน่ืองมาจากขอ้ จากดั ของการสอ่ื สาร
ดว้ ยคลื่นไมโครเวฟ
ก. ดาวเทียม
ข. คลื่นวิทยุ
ค. อนิ ฟราเรด
ง. ไมโครเวฟและคล่ืนวทิ ยุ
10. ระบบจพี เี อส (Global Positioning System : GPS) มีประโยชน์อย่างไร
ก. ตรวจสอบตาแหน่งทีอ่ ยบู่ นพน้ื ผวิ โลก
ข. สามารถสง่ สัญญาณผ่านส่ิงกดี ขวางได้
ค. สามารถถา่ ยโอนข้อมลู ไดง้ า่ ยและสะดวกรวดเร็ว
ง. อานวยความสะดวกในการโทรคมนาคม และการทาอาหาร
5
กระดำษคำตอบแบบทดสอบก่อนเรียน
ชอื่ -นามสกลุ ...........................................ชัน้ ....................เลขท.่ี ...........
ข้อ ก ข ค ง เกณฑ์การประเมิน
1 ตอบถกู ขอ้ ละ 1 คะแนน
2 ตอบผดิ ขอ้ ละ 0 คะแนน
3
4 เกณฑ์การประเมิน
5 ดี ได้คะแนน 7-10 คะแนน
6 พอใช้ ไดค้ ะแนน 5-6 คะแนน
7 ปรับปรุง ไดค้ ะแนน 0-4 คะแนน
8
9 คะแนน 7-10 คะแนน ถือวา่ ผ่าน
10 คะแนน 0-6 คะแนน ถือว่า ไม่ผา่ น
สรุปผลกำรประเมนิ
รวมคะแนน............คะแนน
ผา่ น ไมผ่ า่ น
ลงช่ือ........................................ผตู้ รวจ
(นางกันตพร ผิวพรรณ)
6
ใบควำมรทู้ ่ี 4.1
เทคโนโลยีกำรรับส่งข้อมูลในเครอื ขำ่ ยคอมพวิ เตอรแ์ บบใช้สำย
เทคโนโลยใี นการสง่ ข้อมลู ผา่ นเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก ไดแ้ ก่
เทคโนโลยีในการรับสง่ แบบใช้สาย และ เทคโนโลยกี ารรับส่งแบบไร้สาย ดงั นี้
เทคโนโลยีกำรรบั สง่ ขอ้ มูลแบบใชส้ ำย
เทคโนโลยีการสง่ ขอ้ มูลแบบใชส้ าย แบ่งออกตามชนดิ ของสายสื่อสารได้ 3 ชนดิ ดังน้ี
1.สำยตีเกลียวคู่ (twisted pair cable) ประกอบด้วยเส้นทองแดง 2 เส้นท่ีหุ้มด้วยฉนวน
พลาสติก พันบิดกันเป็นเกลียว เพ่ือลดการบกวนจากคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า จากสายข้างเคียงภายใน
เคเบิลเดียวกัน หรือจากภายนอก เนื่องจากสายตีเกลียวคู่น้ียอมให้สัญญาณไฟฟ้าความถี่สูงผ่านได้
สาหรับอัตราการส่งข้อมูลผ่านสายตีเกลียวคู่จะขึ้นอยู่กับความหนาของสาย คือ สายทองแดงท่ีมีเส้น
ผ่านศูนย์กลางกว้าง จะสามารถส่งสัญญาณไฟฟ้ากาลังแรงได้ ทาให้ส่งข้อมูลได้อัตราเร็วสูง โดยท่ัวไป
ใช้สาหรับการส่งข้อมูลแบบดิจิทัล สามารถส่งข้อมูลได้ถึง 100 เมกะบิตต่อวินาที ในระยะทางไม่เกิน
ร้อยเมตร เน่ืองจากมีราคาไม่แพงมาก ใช้ส่งข้อมูลได้ดีจึงมีการใช้งานอย่างกว้างขวาง สายตีเกลียวคู่มี
2 ชนดิ ดังน้ี
1.1 สำยเก ลียวคู่ แ บ บ ไม่ ป้ องกัน สัญ ญ ำณ รบ กวน ห รือช นิ ดไม่หุ้ ม ฉน วน
(Unshielded Twisted Pair : UTP) เป็นสายตีเกลียวคู่ท่ีไม่มีฉนวนช้ันนอก ทาให้สะดวกในการ
โค้งงอ แต่สามารถป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อยกว่าสายตีเกลียวคู่ชนิดหุ้มฉนวน
(STP) ใช้ในระบบวงจรโทรศัพท์แบบดั้งเดิม ปัจจุบันมีการปรับคุณสมบัติให้ดีขึ้น สามารถใช้กับ
สัญญาณความถสี่ ูงได้ และเนือ่ งจากมรี าคาสงู จึงนยิ มใช้ในการเชือ่ มต่ออุปกรณใ์ นเครอื ขา่ ย
ภาพที่ 4.1 สายตีเกลยี วคแู่ บบไม่ป้องกนั สัญญาณรบกวน หรอื ชนดิ ไม่หมุ้ ฉนวน
ที่มา : https://beerdota.wordpress.com/เทคโนโลยกี ารรบั ส่งขอ้ มลู ,สบื คน้ เม่ือวันท่ี 12 ธันวาคม 2558.
7
1.2 สำยตีเกลียวคู่แบบป้องกันสัญญำณรบกวนหรือชนิดหุ้มฉนวน (Shielded
Twisted Pair : STP) เป็นสายตีเกลียวคู่ท่ีชั้นนอกหุ้มด้วยลวดถักท่ีหนา เพ่ือป้องกันการรบกวนของ
คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า รองรับความถี่ของการส่งข้อมูลได้สูงกว่าสายตีเกลียวคู่แบบไม่ป้องกันสัญญาณ
รบกวน แตม่ รี าคาแพงกว่า
ภาพที่ 4.2 สายตีเกลียวคแู่ บบปอ้ งกันสญั ญาณรบกวน หรือชนดิ หมุ้ ฉนวน
ท่ีมา : https://beerdota.wordpress.com/เทคโนโลยีการรบั ส่งขอ้ มลู ,สบื คน้ เมอ่ื วันท่ี 12 ธันวาคม 2558.
2.สำยโคแอกซ์ (coaxial cable) มีลักษณะเช่นเดียวกับสายที่ต่อมาจากเสาอากาศ
ประกอบด้วยลวดทองแดงท่ีเป็นแกนหลักหุ้มด้วยฉนวนชั้นหน่ึง เพ่ือป้องกันกระแสไฟฟา้ รวั่ จากนน้ั จะ
หุ้มด้วยตัวนาซ่ึงทาจากลวดทองแดงถักเป็นเปียเพ่ือป้องกันการรบกวนของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า และ
สัญญาณรบกวนอ่ืนๆ ก่อนจะหุ้มด้วยฉนวนพลาสติกสัญญาณไฟฟ้าสามารถผ่านได้สูงมาก นิยมใช้เป็น
ชอ่ งส่ือสารสัญญาณเช่ือมโยงผ่านใตท้ ะเลและใต้ดิน สายโคแอกซ์ท่ีใช้ท่ัวไปมี 2 ชนิด คอื 50 โอห์ม ซึ่ง
ใชส้ ่งขอ้ มูลสญั ญาณดิจิทัล และชนิด 75 โอหม์ ซึ่งใช้ส่งข้อมูลสญั ญาณแอนะลอ็ ก
ภาพท่ี 4.3 ลกั ษณะสายโคแอกซ์
ทีม่ า : https://beerdota.wordpress.com/เทคโนโลยีการรบั สง่ ข้อมูล,สืบค้นเมือ่ วันท่ี 12 ธันวาคม 2558.
8
3.สำยใยแก้วนำแสง (fiber optic cable) หรือเส้นใยแก้วนาแสง แกนกลางของสาย
ประกอบด้วยเส้นใยแก้วหรือเส้นพลาสติกขนาดเล็กภายในกลวงหลายๆ เส้นอยู่รวมกัน เส้นใยแต่ละ
เส้นมีขนาดเล็กประมาณเส้นผมของมนุษย์ เส้นใยแต่ละเส้นห่อหุ้มด้วยเส้นใยอีกชนิดหนึ่งก่อนจะหุ้ม
ชั้นนอกสุดดว้ ยฉนวน การส่งข้อมูลผ่านทางส่อื กลางชนิดน้ีจะแตกตา่ งจากชนิดอน่ื ๆ ซงึ่ จะใช้เลเซอร์วิ่ง
ผ่านกลวงของเส้นใยแต่ละเส้น และอาศัยหลักการหักเหของแสง โดยใช้เส้นใยช้ันนอกเป็นกระจก
สะท้อนแสง สามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราความหนาแน่นของสัญญาณข้อมูลท่ีสูงมาก และไม่มีการ
ก่อกวนของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า ทาให้สามารถส่งข้อมูลท้ังตัวอักษร ภาพ กราฟิก เสียง หรือวีดิทัศน์ได้
ในเวลาเดยี วกัน แต่ยังมีขอ้ เสียเน่ืองจากการบิดงอของสายสัญญาณจะทาให้เส้นใยหัก จึงไม่สามารถใช้
สื่อกลางนี้เดินทางตามมุมตึกได้ สายใยแก้วนาแสง มีลักษณะพิเศษที่ใช้สาหรับเช่ือมโยงแบบจุดไปจุด
จงึ เหมาะทจ่ี ะใชก้ บั การเช่ือมโยงระหวา่ งอาคารกับอาคารหรือระหว่างเมืองกับเมือง
ภาพท่ี 4.4 สายใยแก้วนาแสง
ที่มา : https://beerdota.wordpress.com/เทคโนโลยกี ารรับสง่ ขอ้ มูล,สบื ค้นเมอื่ วนั ท่ี 12 ธันวาคม 2558.
9
ใบควำมรทู้ ี่ 4.2
เทคโนโลยกี ำรรบั สง่ ข้อมลู ในเครอื ข่ำยคอมพวิ เตอรแ์ บบไรส้ ำย
เทคโนโลยีกำรรับสง่ ข้อมูลแบบไร้สำย
เทคโนโลยกี ารสง่ ขอ้ มูลแบบไร้สาย อาศัยคล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ เป็นสอื่ กลางนาสญั ญาณซึ่งสามารถ
แบง่ ตามชว่ งความถี่ของคลนื่ แม่เหล็กไฟฟ้าได้ 4 ชนดิ ดังน้ี
1.อินฟรำเรด (Intrared) เป็นลักษณะของคล่ืนท่ีใช้ในการส่งข้อมูลระยะใกล้ๆ ในช่วงความถ่ี
ที่แคบมาก ใช้ช่องทางสื่อสารน้อย มักใช้กับการสื่อสารข้อมูลที่ไม่มีส่ิงกีดขวางระหว่างตัวส่งกับตัวรับ
สัญญาณ โดยต้องใช้วิธีการส่ือสารตามแนวเส้นตรง ระยะทางไม่เกิน 1–2 เมตร ความเร็วประมาณ
4-16 เมกกะบิตต่อนาที เช่น การส่งสัญญาณจากรีโมตคอนโทรลไปยังโทรทัศน์ การเชื่อมต่อ
คอมพิวเตอร์สองเครือ่ งโดยผ่านพอร์ตไออารด์ เี อ เปน็ ตน้
ภาพท่ี 4.5 การเชอ่ื มตอ่ คอมพวิ เตอรส์ องเคร่ืองโดยผ่านพอร์ตไออารเ์ อ
ที่มา : https://beerdota.wordpress.com/เทคโนโลยีการรับสง่ ข้อมลู ,สืบค้นเมอ่ื วนั ท่ี 15 ธันวาคม 2558.
2.คล่ืนวิทยุ (radio frequency) ใช้ส่งสัญญาณไปในอากาศ โดยมีตัวกระจายสัญญาณส่งไป
ยังตัวรบั สัญญาณ และใช้คล่นื วทิ ยุในช่วงความถ่ีต่างๆ กัน มีความเร็วต่าประมาณ 2 เมกกะบิตต่อนาที
เช่น การสื่อสารในระบบวิทยุเอฟเอ็ม (Frequency Modulation : FM) การสื่อสารในระบบวิทยุ
เอเอม็ (Amplitude Modulation : AM) การสื่อสารโดยใชร้ ะบบไรส้ ายและบลทู ธู
ภาพท่ี 4.6 การส่งสญั ญาณคลืน่ วทิ ยใุ นอากาศ
ทีม่ า : https://beerdota.wordpress.com/เทคโนโลยกี ารรับส่งข้อมลู ,สืบค้นเมอื่ วนั ท่ี 15 ธันวาคม 2558.
10
3.ไมโครเวฟ (microwave) จะใช้การส่งสัญญาณคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าไปในอากาศพร้อมกับ
ข้อมูลที่ต้องการส่ง และต้องมีสถานีท่ีทาหน้าท่ีส่งและรับข้อมูล และเนื่องจากสัญญาณไมโครเวฟจะ
เดินทางเป็นเส้นตรงไม่สามารถเลี้ยวหรือโค้งตามขอบโลกได้ จึงต้องมีการต้ังสถานีรับ-ส่งข้อมูลเป็น
ระยะๆ และส่งขอ้ มลู ตอ่ กันเป็นทอดๆ ระหว่างสถานีตอ่ สถานี จนกวา่ จะถงึ สถานีปลายทาง และแต่ละ
สถานีจะตั้งอยู่ในท่ีสงู เชน่ ดาดฟ้าของตึกสูง ยอดเขา เป็นตน้ เพื่อหลีกเลยี่ ง การชนส่ิงกดี ขวางในแนว
การเดนิ ทางของสัญญาณ เหมาะกบั การส่งขอ้ มลู ในพื้นทีห่ ่างไกล และทุรกันดาร
ภาพที่ 4.7 การส่งข้อมูลแบบไร้สายโดยใช้คลื่นไมโครเวฟ
ทีม่ า : https://beerdota.wordpress.com/เทคโนโลยีการรบั ส่งข้อมูล,สบื ค้นเม่อื วันที่ 15 ธันวาคม 2558.
4.ดำวเทียม (satellite) เป็นสถานีรับส่งสัญญาณไมโครเวฟบนดาดฟ้า ซ่ึงได้รับการพัฒนาขึ้น
มาเพื่อหลีกเลียงข้อจากัดของสถานีรับ-ส่งไมโครเวฟบนผิวโลก เพื่อใช้เป็นสถานีรับ-ส่ง สัญญาณ
ไมโครเวฟบนอวกาศ และทวนสัญญาณในแนวโคจรของโลก ซ่ึงจะต้องมีสถานีภาคพ้ืนดิน ทาหน้าที่
รับและส่งสัญญาณข้ึนไปบนดาวเทียมที่โคจรอยู่สูงจากพ้ืนโลกประมาณ 35,600 ไมล์ โดยดาวเทียม
เหล่าน้ันจะเคล่ือนที่ด้วยความเร็วท่ีเท่ากับการหมุนของโลก จึงเสมือนกับดาวเทียมนั้นอยู่น่ิงกับที่
ขณะท่ีโลกหมุนรอบตัวเอง ทาให้การส่งสัญญาณไมโครเวฟจากสถานีหน่ึงข้ึนไปบนดาวเทียมและการ
กระจายสัญญาณจากดาวเทยี มลงมายังสถานตี ามจดุ ตา่ งๆ บนผวิ โลกเปน็ ไปอยา่ งแม่นยา
ภาพท่ี 4.8 การส่งข้อมลู แบบไรส้ ายโดยใชด้ าวเทยี ม
ทม่ี า : https://beerdota.wordpress.com/เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูล,สืบคน้ เมื่อวนั ท่ี 15 ธนั วาคม 2558.
11
เทคโนโลยกี ำรส่อื สำรไร้สำย
การส่ือสารข้อมูลไร้สายเป็นองค์ประกอบสาคัญของการประมวลเคลื่อนที่ เทคโนโลยีที่สามารถ
ใช้ได้ มีความหลากหลายแตกต่างกันในแต่ละท้องถ่ิน, ระยะครอบคลุมและประสิทธิภาพ ในบาง
สถานการณ์ท่ีหลายๆผู้ใช้จะต้องสามารถที่จะเช่ือมต่อได้หลายประเภทและหลายเครือข่าย เพื่อทาให้
ง่ายขึ้น ซอฟต์แวร์จัดการ การเชื่อมต่อจะต้องถูกนามาใช้ เพื่อรับมือกับการเชื่อมต่อหลายประเภท
เหมอื นกับเปน็ เครือข่ายเสมือนเด่ียว ท่ีมีการรกั ษาความปลอดภยั อยา่ งดี
Wi-Fi
ภาพท่ี 4.9 อุปกรณส์ ง่ ข้อมูลแบบแลนไรส้ าย (Wi-Fi)
ทม่ี า : https://www.bareo-isyss.com/living-young/317-wifi.html,สืบคน้ เมอื่ วนั ที่ 15 ธนั วาคม 2558.
Wi-Fi เป็นเทคโนโลยีท่ีได้รับความนิยมท่ีช่วยให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในการแลกเปล่ียน
ข้อมูลหรือ การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบไร้สายโดยใช้คล่ืนวิทยุ คา ๆ น้ีเป็นเคร่ืองหมายการค้าของ
Wi-Fi Alliance ที่ได้ให้คานิยามของไวไฟว่าหมายถึง "ชุดผลิตภัณฑ์ใด ๆ ที่สามารถทางานได้ตาม
มาตรฐานเครือข่ายคอมพิวเตอรแ์ บบ ไร้สาย (แลนไร้สาย) ซึ่งอยูบ่ นมาตรฐาน IEEE 802.11" อย่างไรก็
ตามเน่ืองจากแลนไร้สายท่ีทันสมัยส่วนใหญ่ จะขึ้นอยู่กับมาตรฐานเหล่าน้ี คาว่า "ไวไฟ" จึงนามาใช้ใน
ภาษาอังกฤษทั่วไปโดยเป็นคาพ้องสาหรับ "แลนไร้สาย" เดิมทีไวไฟออกแบบมาใช้สาหรับอุปกรณ์
พกพาต่าง ๆ และใช้เครอื ขา่ ย LAN เท่านั้น แต่ปัจจบุ ันนิยมใชไ้ วไฟเพอ่ื ตอ่ กบั อนิ เทอรเ์ น็ต โดยอปุ กรณ์
พกพาต่าง ๆ เช่นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เครื่องเล่นเกมส์ โทรศัพท์สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต กล้องดิจิทัล
และเครื่องเสียงดิจิทัล สามารถเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ผ่านอุปกรณ์ท่ีเรียกว่า แอคเซสพอยต์ หรือ
ฮอตสปอต และบริเวณท่ีระยะทาการของแอคเซสพอยต์ครอบคลุมอยู่ที่ประมาณ 20 เมตร ในอาคาร
แตร่ ะยะนี้จะไกลกวา่ ถา้ เป็นทโ่ี ล่งแจ้ง
12
บลทู ูธ (Bluetooth)
บลูทูธ คือ เทคโนโลยีการส่ือสารไร้สายระยะใกล้แบบเครือข่ายไร้สายระยะบุคคล (wireless
personal area networks: WPAN) เป็นมาตรฐานที่ถูกออกแบบมาเพ่ือใช้ในการเช่ือมต่ออุปกรณ์ไร้
สายขนาดเล็ก เช่น โทรศพั ท์มือถือ อุปกรณ์เสริม เชน่ หูฟัง ลาโพง หรืออปุ กรณ์ส่ือสารแบบพกพา
หรอื เคลอื่ นทีร่ วมไปถงึ การเชอ่ื มตอ่ กับเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ ผ่านอปุ กรณ์ปลายทางทใ่ี หบ้ ริการ
บลูทูธ คือ เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายระยะใกล้แบบเครือข่ายไร้สายระยะบุคคล (wireless
personal area networks: WPAN) เป็นมาตรฐานที่ถูกออกแบบมาเพื่อใช้ในการเชื่อมต่ออุปกรณ์
ไร้สายขนาดเล็ก เช่น โทรศัพท์มือถือ เครื่องพีดีเอ (personal digital assistant:PDA) อุปกรณ์เสริม
เช่น หูฟัง ลาโพง อุปกรณ์สื่อสารแบบพกพาหรือเคลื่อนที่รวมไปถึงการเช่ือมต่อกับเครือข่าย
อินเทอร์เนต็ ผา่ นอุปกรณ์ปลายทางทีใ่ ห้บริการ
ข้อกาหนดบลูทูธ กาหนดช่องทางการสื่อสารสูงสุด 720 กิโลบิต/วินาที (1 Mbit/s ความจุ
gross) กับช่วงทีด่ ีทส่ี ดุ 10 เมตร (100 เมตรดว้ ย Repeater ตวั เลือก)
ภาพท่ี 4.10 อปุ กรณส์ ่งขอ้ มูลแบบไร้สายบลทู ูธ
ท่ีมา : https://sites.google.com/site/322462wirelesspan/wireless-personal-area-network/thekhnoloyi-
thi-keiywkhxng-kab-wireless-pan/bluetooth,สบื ค้นเมอ่ื วันที่ 15 ธันวาคม 2558.
13
NFC (Near Field Communication)
NFC (Near Field Communication) คือ เทคโนโลยีการส่ือสารข้อมูลแบบไร้สายด้วยคล่ืน
ความถ่ีในระยะใกล้ แค่ 10 เซนติเมตร ส่งผ่านข้อมูลได้แบบแตะแล้วอ่านเลย กินไฟน้อย และใช้งาน
กับอุปกรณ์ทไี่ มม่ ไี ฟฟ้าอยภู่ ายในก็ได้ โดยการใชง้ าน NFC น้ันเราต้องนาส่วนท่ีมแี ผงวงจรของ NFC มา
อยใู่ กลก้ ัน โดยตาแหนง่ ของ NFC มกั จะมีสัญลกั ษณ์ NFC อยู่
ภาพท่ี 4.11 อปุ กรณ์ส่งข้อมูลแบบไร้สาย NFC
ที่มา : https://www.iphone-droid.net/nfc-or-near-field-communication/,สืบคน้ เม่ือวนั ที่ 15 ธันวาคม 2558.
14
ใบงำนท่ี 4.1
เทคโนโลยีกำรรบั ส่งข้อมูลแบบใช้สำย
รายวิชา เทคโนโลย2ี รหสั วชิ า ง22101
กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี
คำชีแ้ จง : ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามท่ีกาหนดใหถ้ ูกต้อง (10 คะแนน)
1. สายตเี กลียวคู (Twisted pair cable) คือ
_______________________________________________________________
_______________________________________________________________
_______________________________________________________________
_______________________________________________________________
__________________________
2. สายตเี กลียวคูแบบไมปองกันสัญญาณรบกวนหรือชนดิ ไมหมุ ฉนวน (Unshielded Twisted
Pair : UTP) คอื
_______________________________________________________________
_______________________________________________________________
_______________________________________________________________
_______________________________________________________________
__________________________
3. สายตีเกลยี วคูแบบปองกันสัญญาณรบกวนหรอื ชนดิ หุมฉนวน (Shielded Twisted Pair :
STP) คือ
_______________________________________________________________
_______________________________________________________________
_______________________________________________________________
_______________________________________________________________
__________________________
15
4. สายโคแอกซ (Coaxial cable) คือ
_______________________________________________________________
_______________________________________________________________
_______________________________________________________________
_______________________________________________________________
__________________________
5. สายใยแกวนาแสง (Fiber optic cable) คือ
_______________________________________________________________
_______________________________________________________________
_______________________________________________________________
_______________________________________________________________
__________________________
ชื่อ-นามสกลุ ................................................................ช้ัน....................เลขท.ี่ ..............
เกณฑ์กำรให้คะแนน
ตอบคาถามถูกต้อง ครบถว้ น สมบูรณ์ ได้ 10 คะแนน
ตอบคาถามถกู ต้อง ครบถว้ น แตย่ งั ไมส่ มบูรณ์ ได้ 8 คะแนน
ตอบคาถามส่วนใหญ่ถูกตอ้ ง ได้ 6 คะแนน
ตอบคาถามยังไม่สมบรู ณ์ แต่ส่วนใหญ่ถูกต้อง ได้ 4 คะแนน
ตอบคาถามสว่ นใหญ่ไม่ถกู ต้อง ได้ 2 คะแนน
ตอบคาถามไมม่ สี ว่ นถูกตอ้ ง ได้ 0 คะแนน
คะแนนที่ได้…………
16
ใบงำนที่ 4.2
เทคโนโลยกี ำรรับส่งข้อมลู แบบไร้สำย
รายวชิ า เทคโนโลยี2 รหสั วิชา ง22101
กล่มุ สาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี
คำชแี้ จง : ใหน้ ักเรียนตอบคาถามท่ีกาหนดให้ถูกต้อง (10 คะแนน )
1. การรบั สง่ ข้อมูลผ่านอินฟราเรด มลี ักษณะอย่างไร
.
2. เพราะเหตใุ ด การส่งสญั ญาณไมโครเวฟจะต้องตั้งสถานีรับสง่ เปน็ จานวน
.
3. การรบั ส่งขอ้ มลู ในเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์แบบใช้สายและแบบไรส้ าย แตกตา่ งกันอย่างไร
.
ชือ่ -นามสกลุ ................................................................ชน้ั ....................เลขที่...............
17
เกณฑ์กำรให้คะแนน
ตอบคาถามถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ ได้ 10 คะแนน
ตอบคาถามถูกตอ้ ง ครบถว้ น แตย่ ังไมส่ มบูรณ์ ได้ 8 คะแนน
ตอบคาถามสว่ นใหญ่ถูกต้อง ได้ 6 คะแนน
ตอบคาถามยงั ไมส่ มบูรณ์ แต่สว่ นใหญถ่ ูกต้อง ได้ 4 คะแนน
ตอบคาถามส่วนใหญไ่ ม่ถกู ตอ้ ง ได้ 2 คะแนน
ตอบคาถามไมม่ สี ่วนถูกตอ้ ง ได้ 0 คะแนน
คะแนนทีไ่ ด้…………….
18
แบบทดสอบหลงั เรียน
เรือ่ ง เทคโนโลยีการรับสง่ ข้อมลู ในเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์
รายวิชา เทคโนโลยี2 รหสั วชิ า ง22101
กลมุ่ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชพี และเทคโนโลยี
ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2 จานวน 10 ขอ้ 10 คะแนน
คำชี้แจง
1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ จานวน 10 ขอ้ คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ใช้เวลาในการทดสอบ 10 นาที
2. เลือกคาตอบทีถ่ กู ตอ้ งที่สดุ เพียงขอ้ เดียว แล้วทาเครอ่ื งหมายกากบาท (X)
ลงในกระดาษคาตอบ
1. ข้อใดเป็นลักษณะของสาย UTP
ก. เหมือนสายสัญญาณโทรศัพท์มีทองแดงอยตู่ รงแนวกลางหมุ้ ด้วยฉนวนและสายดิน
ข. เหมอื นสายโทรศัพท์ตามบา้ นภายในประกอบดว้ ยสายทองแดง 4 เสน้ และหุ้มดว้ ย
ฉนวนภายนอก
ค. คล้ายสายโทรศพั ทต์ ามบ้านภายในประกอบดว้ ยสายทองแดง 8 เส้น
ง. คลา้ ยสายโทรศัพท์ตามบา้ นภายในประกอบด้วยสายทองแดง 8 เสน้ ด้านนอกมฉี นวน
ห้มุ
2. สายสัญญาณประเภทใดทีม่ ีราคาแพงทสี่ ดุ
ก. Coaxial cable
ข. Fiber Optic Cable
ค. Unshielded Twisted Pair
ง. Shielded Twisted Pair
3. ขอ้ ใดไม่เปน็ ขอ้ เสยี ของสายสัญญาณโคแอกซ์
ก. มฉี นวนหนา
ข. มคี วามเร็วในการรบั ส่งข้อมูลตา่
ค. มสี ัญญาณรบกวนตา่
ง. ความคล่องตัวตา่
4. ลักษณะเด่นของสายใยแก้วนาแสงคอื ข้อใด
ก. มคี วามปลอดภัยสูง ยากตอ่ การดักข้อมลู
ข. มคี วามตา้ นทานไฟฟ้าตา่ ทาให้ส่งข้อมูลไดเ้ รว็
ค. มีราคาต่า เหมาะกบั การตดิ ต้ังดว้ ยตนเอง
ง. มคี วามยืดหยนุ่ สงู เหมาะกับการตดิ ตั้งทกุ สภาพ
19
5. สอื่ นาขอ้ มูลแบบมีสายท่ีมสี ว่ นประกอบเป็นทองแดงเปน็ คุณสมบัติของตวั กลางประเภทใด
ก.สายคู่บิดเกลยี ว
ข. สายโคแอกซ์
ค. สายใยแก้วนาแสง
ง. สายไฟฟ้าแรงสงู
6. ข้อใดเป็นสื่อนาข้อมูลแบบมีสายท่ีสามารถ รบั ส่งขอ้ มลู ไดป้ ริมาณมากกวา่ 1 กิกะไบต์/วินาที
และใชใ้ นระยะทางไกลหลายกโิ ลเมตร
ก. สายตเี กลยี วคู่
ข. สายโคแอกซ์
ค. สายไฟฟา้ แรงสงู
ง. สายใยแกว้ นาแสง
7. ข้อใดเป็นการสือ่ สารแบบไร้สายทีค่ ลอบคลุมพ้นื ที่ได้มากทส่ี ดุ
ก. อนิ ฟราเรด
ข. ดาวเทียม
ค. คลื่นวิทยุ
ง. ไมโครเวฟ
8. ข้อใดไมใ่ ช่ลกั ษณะของเครือข่ายไรส้ าย
ก. ใชส้ ัญญาณวิทยุหรือแสงเปน็ ตวั นาสญั ญาณ
ข. การสือ่ สารระหว่างอุปกรณต์ า่ งๆ
ค. ไมใ่ ช่สายสายเคเบลิ เลย
ง. ทุกขอ้ เปน็ ลักษณะของเครือขา่ ยแบบไร้สาย
9. อปุ กรณเ์ ครอื ข่ายไร้สายมหี ลกั การทางานอยา่ งไร
ก. ส่งสญั ญาณคล่นื ความถว่ี ิทยุ
ข. ส่งสัญญาณคลื่นแมเ่ หลก็
ค. ส่งสญั ญาณคล่ืนไฟฟ้า
ง. ถูกทกุ ขอ้
10. การส่งสัญญาณจากรีโมตคอนโทรลไปยังโทรทัศน์ เป็นการส่งข้อมูลด้วยเทคโนโลยีแบบ
ไร้สายชนิดใด
ก. ดาวเทยี ม
ข. คลน่ื วิทยุ
ค. ไมโครเวฟ
ง. อนิ ฟราเรด
20
กระดำษคำตอบแบบทดสอบหลงั เรยี น
ช่อื -นามสกลุ ...........................................ช้นั ....................เลขท.่ี ...........
ข้อ ก ข ค ง เกณฑ์การประเมนิ
1 ตอบถกู ข้อละ 1 คะแนน
2 ตอบผดิ ข้อละ 0 คะแนน
3
4 เกณฑ์การประเมนิ
5 ดี ไดค้ ะแนน 7-10 คะแนน
6 พอใช้ ไดค้ ะแนน 5-6 คะแนน
7 ปรบั ปรุง ไดค้ ะแนน 0-4 คะแนน
8
9 คะแนน 7-10 คะแนน ถอื ว่า ผ่าน
10 คะแนน 0-6 คะแนน ถือว่า ไมผ่ ่าน
สรปุ ผลกำรประเมิน
รวมคะแนน............คะแนน
ผา่ น ไมผ่ ่าน
ลงชอื่ ........................................ผตู้ รวจ
(นางกันตพร ผวิ พรรณ)
21
บรรณำนุกรม
กำรเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์สองเครือ่ งโดยผ่ำนพอร์ตไออำร์เอ. (2558) [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก
https://beerdota.wordpress.com/เทคโนโลยกี ารรบั ส่งข้อมูล (วันท่ีคน้ ข้อมูล : 15
ธนั วาคม 2558).
กำรสง่ ขอ้ มลู แบบไรส้ ำยโดยใชค้ ลืน่ ไมโครเวฟ. (2558) [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก
https://beerdota.wordpress.com/เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูล (วนั ท่คี น้ ข้อมลู : 15
ธันวาคม 2558).
กำรสง่ ข้อมูลแบบไรส้ ำยโดยใช้ดำวเทยี มเป็นกำรรบั สง่ สัญญำณไมโครเวฟบนอวกำศ. (2558)
[ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ ากhttps://beerdota.wordpress.com/เทคโนโลยกี ารรบั สง่ ข้อมูล
(วันทคี่ ้นข้อมลู : 15 ธันวาคม 2558).
กำรสง่ สัญญำณคลื่นวิทยุในอำกำศ. (2558) [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก
https://beerdota.wordpress.com/เทคโนโลยีการรับส่งข้อมลู (วันทค่ี น้ ข้อมูล : 15
ธันวาคม 2558).
ลกั ษณะสำยโคแอกซ.์ (2558) [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก https://beerdota.wordpress.com/
เทคโนโลยีการรบั ส่งข้อมลู (วนั ทคี่ ้นข้อมลู : 12 ธันวาคม 2558).
สำยตเี กลียวคแู่ บบป้องกนั สัญญำณรบกวน หรือชนดิ หุ้มฉนวน. (2558) [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก
https://beerdota.wordpress.com/เทคโนโลยีการรบั ส่งข้อมลู (วันทคี่ น้ ข้อมลู : 12
ธนั วาคม 2558).
สำยตเี กลียวค่แู บบไม่ป้องกันสญั ญำณรบกวน หรือชนดิ ไมห่ ุ้มฉนวน. (2558) [ออนไลน์]. เข้าถึงได้
จาก https://beerdota.wordpress.com/เทคโนโลยกี ารรบั ส่งขอ้ มูล (วนั ทค่ี น้ ข้อมลู : 12
ธนั วาคม 2558).
สำยใยแก้วนำแสง. (2558) [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก https://beerdota.wordpress.com/
เทคโนโลยีการรับส่งข้อมลู (วันทค่ี น้ ข้อมูล : 12 ธันวาคม 2558).
อารียา ศรีประเสริฐแ์ ละคณะ. (2551). หนงั สือเรยี น รำยวิชำพ้นื ฐำน เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำร
สอ่ื สำร ชัน้ มัธยมศึกษำปีที่ 2. กรุงเทพฯ : อกั ษรเจรญิ ทศั น์.
อานวย เดชชยั ศรแี ละณัฐกานต์ ภาคพรต. (2551). แบบฝึกหดั ทกั ษะ รำยวิชำพ้ืนฐำน เทคโนโลยี
สำรสนเทศ ช้นั มัธยมศึกษำปีที่ 2. กรงุ เทพฯ : วัฒนาพานิช.
22
ภาคผนวก
23
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น
เรือ่ ง เทคโนโลยีการรับสง่ ข้อมลู ในเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์
รายวิชา เทคโนโลยี2 รหัสวชิ า ง22101
กลุ่มสาระการเรยี นร้กู ารงานอาชีพและเทคโนโลยี
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 จานวน 10 ข้อ 10 คะแนน
ขอ้ คาตอบ
1ก
2ก
3ข
4ง
5ค
6ก
7ค
8ก
9ก
10 ก
24
แนวกำรตอบใบงำนท่ี 4.1
เทคโนโลยกี ำรรบั ส่งข้อมูลแบบใช้สำย
รายวิชา เทคโนโลยี2 รหสั วชิ า ง22101
กลุม่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี
คำชี้แจง : ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามที่กาหนดใหถ้ ูกต้อง (10 คะแนน)
1. สายตีเกลียวคู (Twisted pair cable) คอื
เส้นลวดทองแดง 2 เส้น ที่หุ้มด้วยฉนวนพลาสติก สามารถส่งข้อมูลได้ถึง100
Mbps ในระยะทางไม่เกิน 100 เมตร ราคาไม่แพง ใช้ส่งข้อมูลได้ดี มีการใช้งานอย่าง
กว้างขวาง
2. สายตีเกลียวคูแบบไมปองกนั สญั ญาณรบกวนหรือชนดิ ไมหมุ ฉนวน (Unshielded Twisted
Pair : UTP) คอื
เป็นสายตีเกลียวคู่ท่ีไม่มฉี นวนชั้นนอก ทาให้สะดวกในการโค้งงอ สามารถป้องกัน
การรบกวนของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า ได้น้อยกว่าสายตีเกลียวคู่ชนิดหุ้มฉนวน (STP) ใช้ใน
ระบบวงจรโทรศัพท์แบบดัง้ เดิม สามารถใช้กับสัญญาณความถ่ีสูงได้ ราคาถูก นิยมใช้ใน
การเช่อื มตอ่ อปุ กรณใ์ นเครอื ข่าย
3. ส_า_ย_ต_ีเก__ล_ีย_ว_ค_ูแ_บ_บ_ป_อ__งก_ัน__ส_ญั _ญ__า_ณ_ร_บ_ก_ว_น_ห__ร_อื _ช_น_ิด_ห_ุม_ฉ_น__ว_น_(_S_h_i_e_ld_e_d__T_w__is_te__d_P_a_i_r_:
S_T_P_)_ค_อื___________________________________________________________
รแ___บม___่กเ___ห___วล___นก็___เขปไ___อฟ___็นงฟ___สค___้าาล___ยื่นร___ตอแ___ีเงม___กร___่เลบั ห___ียค___ลวว___็กคา___ไู่ทมฟ___ี่ชถ___ฟ้ัน่ขี___้าอ__น__งรอก__อกา__งหร__รุ้มส__ับด่ง__คข้ว__ว้อย__ามล__ม__ูลวถ__ดไี่ขด__ถอ้ส__ักง_ู_งหกก__นาว__ารา่__สส__เ่งา_พ_ขย__่ือ้อต__ห__มีเก้อ__ูลลง__ไกีย__ดันว__้สคก__ูงู่แ__ากร__บวร__่บาบ__สไ_ก_มา__วย่ป__นต้อ__ขีเง__กอก__ลงัน__ีคยก__ลวา__ค่ืนร__ู่
แบบไม่ป้องกันสญั ญาณรบกวน แตม่ ีราคาแพงกวา่
________________________________________________________________
________________________________________________________________
________________________________________________________________
________________________________________________________________
______________________
25
4. สายโคแอกซ (Coaxial cable) คอื
ทั่วไปมี 2 ชนิด คือ 50 โอห์ม (ส่งสัญญาณดิจิทัล) และ 75 โอห์ม (ส่งสัญญาณ
แอนะล็อก) ประกอบด้วยลวดทองแดงท่ีมีแกนหลักหุ้มด้วยแนวนช้ันหน่ึง เพื่อป้องกัน
กระแสไฟรว่ั จากนัน้ หุ้มดว้ ยตัวนาซ่ึงทาจากลวดทองแดงถักเปยี ป้องกนั การรบกวนของ
คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า และสัญญาณรบกวนอ่ืนๆ หุ้มนอกสุดด้วนฉนวนพลาสติก นิยมใช้
เป็นช่องส่ือสารเชอื่ มโยงผา่ นใต้ทะเล และ ใตด้ นิ
5. สายใยแกวนาแสง (Fiber optic cable) คอื
ประกอบด้วยเส้นใยแก้วหรือเส้นพลาสติกขนาดเล็กภายในกลวง หลายๆ เส้นอยู่
รวมกัน เส้นใยแต่ละเส้นห่อหุ้มด้วยเส้นใยก่อนหุ้มชั้นนอกสุดด้วยฉนวน การส่งข้อมูล
ใช้เลเซอร์วิ่งผ่านช่องกลวงของเส้นใยแต่ละเส้น และอาศัยการหักเหของแสง ไม่มีการ
ก่อกวนของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า ส่งข้อมูลได้ ทั้งตัวอักษร ภาพกราฟิก เสียง หรือวีดิทัศน์
ในเวลาเดียวกัน ใช้สาหรับเช่ือมโยงแบบจุดไปจุด จึงเหมาะท่ีจะใช้กับการเชื่อมโยง
ระหวา่ งอาคารกบั อาคารหรือระหวา่ งเมอื งกับเมือง
26
แนวกำรตอบใบงำนที่ 4.2
เทคโนโลยกี ำรรับส่งขอ้ มูลแบบไรส้ ำย
รายวิชา เทคโนโลยี2 รหสั วิชา ง22101
กล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี
คำชแี้ จง : ให้นกั เรียนตอบคาถามที่กาหนดให้ถูกต้อง (10 คะแนน)
1. การรับสง่ ข้อมูลผ่านอินฟราเรด มลี กั ษณะอย่างไร
การรับส่งข้อมูลผ่านอินฟราเรด เป็นลักษณะของคล่ืนที่ใช้ในการส่งข้อมูล
ระยะใกล้ๆ ในช่วงความถี่ที่แคบมาก ไม่มีสิ่งกีดขวางระหว่างตัวส่งกับตัวรับสัญญาณ
โดยต้องใช้วธิ ีการส่อื สารตามแนวเสน้ ตรง
2. เพราะเหตุใด การส่งสญั ญาณไมโครเวฟจะต้องต้ังสถานีรบั ส่งเปน็ จานวน
การรับส่งสัญญาณไมโครเวฟจะต้องต้ังสถานีรับส่งจานวนมาก เพราะสัญญาณ
ไมโครเวฟจะเดินทางเป็นเส้นตรง ไม่สามารถเลี้ยวหรือโค้งตามขอบโลกได้ จึงต้องมีการ
ต้งั สถานีเพ่ือรับส่งเปน็ ทอดๆ ระหว่างสถานีต่อสถานี จนกวา่ จะถึงสถานปี ลายทาง
3. การรบั ส่งขอ้ มูลในเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์แบบใช้สายและแบบไรส้ าย แตกตา่ งกันอย่างไร
. การรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบใช้สายและแบบไร้สาย แตกต่างกัน
คือ การรับส่งข้อมูลแบบใช้สาย จะใช้สายส่ือสาร 3 ชนิด ได้แก่ สายตีเกลียวคู่
สายโคแอกซ์ และสายใยแก้วนาแสง ส่วนการรับส่งข้อมูลแบบไร้สาย จะต้องอาศัยคล่ืน
แม่เหล็กไฟฟ้าเป็นสื่อกลางนาสัญญาณ โดยแบ่งตามช่วงความถี่ของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า
ได้แก่ อินฟราเรด คลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ ดาวเทียม
27
เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน
เรอ่ื ง เทคโนโลยีการรับสง่ ข้อมูลในเครือข่ายคอมพวิ เตอร์
รายวชิ า เทคโนโลยี2 รหัสวชิ า ง22101
กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี
ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 จานวน 10 ข้อ 10 คะแนน
ขอ้ คาตอบ
1ง
2ข
3ค
4ก
5ข
6ง
7ข
8ค
9ก
10 ง
28