The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนที่ 13 การตรวจวัดสมบัติของดิน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ernginthiraseeonsaeng, 2023-11-25 11:12:15

แผนที่ 13 การตรวจวัดสมบัติของดิน

แผนที่ 13 การตรวจวัดสมบัติของดิน

แผนการจัดการเรียนรูที่13 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รายวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2566 หนวยการเรียนรูที่ 7 โลกและการเปลี่ยนแปลง เวลา 14 ชั่วโมง เรื่อง การตรวจวัดสมบัติของดิน เวลา 2 ชั่วโมง ครูผูสอน นางสาวอินทิรา สีออนแสง โรงเรียนกุดจับประชาสรรค 1. มาตรฐานการเรียนรู ว 3.2 เขาใจองคประกอบและความสัมพันธของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกและบน ผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟาอากาศและภูมิอากาศโลก รวมทั้งผลตอสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดลอม ตัวชี้วัด ม.2/6 อธิบายลักษณะของชั้นหนาตัดดินและกระบวนการเกิดดิน จากแบบจำลอง รวมทั้งระบุปจจัยที่ ทำใหดินมีลักษณะและสมบัติแตกตางกัน ม.2/7 ตรวจวัดสมบัติบางประการของดิน โดยใชเครื่องมือที่เหมาะสมและนำเสนอแนวทางการใช ประโยชนดินจากขอมูลสมบัติของดิน 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด ดินเกิดจากหินที่ผุพังตามธรรมชาติผสมคลุกเคลากับอินทรียวัตถุที่ไดจากการเนาเปอยของซากพืชซาก สัตวทับถมเปนชั้น ๆ บนผิวโลก ชั้นดินแบงออกเปนหลายชั้น ขนานหรือเกือบขนานไปกับผิวหนาดิน แตละชั้นมี ลักษณะแตกตางกันเนื่องจากสมบัติทางกายภาพ เคมี ชีวภาพ และลักษณะอื่น ๆ เชน สี โครงสราง เนื้อดิน การ ยึดตัวความเปนกรด-เบส สามารถสังเกตไดจากการสำรวจภาคสนาม การเรียกชื่อชั้นดินหลักจะใชอักษร ภาษาอังกฤษตัวใหญ ไดแก O, A, E, B, C, R ชั้นหนาตัดดิน เปนชั้นดินที่มีลักษณะปรากฏใหเห็นเรียงลำดับเปนชั้นจากชั้นบนสุดถึงชั้นลางสุด ปจจัยที่ทำใหดินแตละทองถิ่นมีลักษณะและสมบัติแตกตางกัน ไดแก วัตถุตนกำเนิดดิน ภูมิอากาศ สิ่งมีชีวิตในดิน สภาพภูมิประเทศ และระยะเวลาในการเกิดดิน สมบัติบางประการของดิน เชน เนื้อดิน ความชื้นดิน คาความเปนกรด-เบส ธาตุอาหารในดิน สามารถ นำไปใชในการตัดสินใจถึงแนวทางการใชประโยชนที่ดิน โดยอาจนำไปใชประโยชนทางการเกษตรหรืออื่น ๆ ซึ่ง ดินที่ไมเหมาะสมตอการทำการเกษตร เชน ดินจืด ดินเปรี้ยว ดินเค็มและดินดาน อาจเกิดจากสภาพดินตาม ธรรมชาติหรือการใชประโยชนจะตองปรับปรุงใหมีสภาพเหมาะสม เพื่อนำไปใชประโยชน


3. จุดประสงคการเรียนรู 1. นำเสนอแนวทางการใชประโยชนดินจากขอมูลลักษณะและสมบัติของดินที่ตรวจวัดได(K) 2. สังเกตและตรวจวัดเนื้อดิน ความชื้นในดิน คาความเปนกรด-เบสของดิน และธาตุอาหารในดิน (P) 3. มีความรับผิดชอบในการทำงาน (A) 4. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทักษะแหงศตวรรษที่ 21 1. การสังเกต 2. การใชจำนวน 3. การจัดกระทำและสื่อความหมายขอมูล 4. การลงความเห็นจากขอมูล 5. การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป 1. ดานการคิดอยางมีวิจารณญาณและการแกปญหา 2. ดานการสื่อสาร สารสนเทศและการรูเทาทันสื่อ 3. ดานความรวมมือ การทำงานเปนทีมและภาวะผูนำ 4. ดานการทำงาน การเรียนรู และการพึ่งตนเอง 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค - มีวินัย - ใฝเรียนรู - มุงมั่นในการทำงาน 6. สาระการเรียนรู สมบัติบางประการของดิน ไดแก เนื้อดิน ความชื้นในดิน ความเปนกรด-เบสของดิน ธาตุอาหารในดิน เปนขอมูลที่สามารถนำไปใชในการตัดสินใจถึงแนวทางการใชประโยชนที่ดิน เชน ในทางการเกษตรหรืออื่น ๆ ได และในกรณีที่ตองการปรับปรุงคุณภาพดินเพื่อนำไปใชประโยชน ควรหาแนวทางการปรับปรุงคุณภาพดินดวย วิธีการที่เหมาะสม 7. กระบวนการจัดการเรียนรู ใชวิธีการสอนแบบ POE มีรายละเอียดดังนี้ 1. ขั้นทำนาย (Prediction) 1. ครูเกริ่นนำในประเด็นดังตอไปนี้ ที่ผานมาเราไดทราบมาแลววาดินแตละพื้นที่อาจจะมีลักษณะและสมบัติทั้งที่เหมือนและแตกตางกัน เชนมีสีดิน เนื้อดิน ความชื้นในดินที่แตกตางกัน ซึ่งสามารถเชื่อมโยงไปถึงวัตถุที่เปนตนกำเนิดดินได เชนสีดิน และเนื้อดิน จะมีความสัมพันธกับชนิดของแรที่เปนตนกำเนิดดิน และสีดินก็จะมีความสัมพันธกับปริมาณ อินทรียวัตถุและความชื้นในดิน สมบัติของดินที่นาสนใจอีกอยางคือความเปนกรด-เบสของดิน ซึ่งมีผลตอการดูดซึมแรธาตุอาหาร น้ำ และการเจริญเติบโตของพืช พืชบางชนิดจะเจริญเติบโตไดดีในความเปนกรด-เบสที่เหมาะสม ดังนั้นความเปน กรด-เบสของดินมีความสำคัญตอการเพาะปลูกเปนอยางมาก


2. นักเรียนตอบคำถามในประเด็นตอไปนี้ 2.1 นักเรียนทราบแลววาดินและชั้นดินในแตละพื้นที่มีลักษณะและสมบัติแตกตางกัน สมบัติของดิน ดังกลาวมีวิธีการตรวจวัดอยางไร (นักเรียนตอบไดอยางอิสระ) 2.2 ถาตองการวัดความเปนกรด-เบสของดินจะตองตรวจวัดดวยอะไร (นักเรียนตอบไดอยางอิสระ) 2. ขั้นสังเกต (Observation) 1. นักเรียนแบงกลุม ออกเปน 4 กลุม 2. นักเรียนศึกษาวิธีการดำเนินกิจกรรมและลงมือทำกิจกรรมที่ 7.6 การตรวจวัดสมบัติของดินมีวิธีการ อยางไร จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร ม.2 เลม 2 หนา 154 3. นักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายและบันทึกผลการทำกิจกรรมลงในแบบบันทึกกิจกรรม 4. นักเรียนแตละกลุมนำเสนอผลการทำกิจกรรมที่ 7.6 การตรวจวัดสมบัติของดินมีวิธีการอยางไรหนา ชั้นเรียน 5. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายผลทำกิจกรรมที่ 7.6 การตรวจวัดสมบัติของดินมีวิธีการอยางไร เพื่อใหไดขอสรุปดังนี้ 5.1 ดินที่ตรวจวัดไดมีเนื้อดิน ความชื้นในดิน คาความเปนกรด-เบส และธาตุอาหารในดินเปน อยางไร (ดินในแตละพื้นที่อาจมีเนื้อดิน ความชื้นในดิน ความเปนกรด-เบสของดิน และธาตุอาหารในดินที่ แตกตางกัน) 5.2 ดินบริเวณที่เก็บตัวอยางมีลักษณะและสมบัติของดินเหมาะสมกับการนำไปใชประโยชนหรือไม อยางไร 3. ขั้นอธิบาย (Explanation) 1. นักเรียนแตละกลุมศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมในหนังสือเรียนหนา 159-161 นักเรียนแตละกลุมสง ตัวแทนกลุมจับสลากคำถาม 2 คำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษาเพิ่มเติม 1.1 ดินในแตละพื้นที่มีลักษณะและสมบัติอะไรบางที่แตกตางกัน (ดินในแตละพื้นที่อาจมี ลักษณะและสมบัติที่แตกตางกันออกไป เชน เนื้อดิน ความชื้นในดิน ความเปน กรด–เบส ของดิน ธาตุอาหาร ในดิน) 1.2 ลักษณะและสมบัติตาง ๆ ของดินในแตละพื้นที่เชื่อมโยงไปถึงสิ่งใดของวัตถุตนกำเนิดดิน หรือองคประกอบของดินไดบาง (ลักษณะและสมบัติตาง ๆ ของดินในแตละพื้นที่สามารถเชื่อมโยงไปถึงชนิดของ วัตถุตนกำเนิดดินหรือปริมาณองคประกอบของดินได เชน สีดิน เนื้อดิน ความเปนกรด-เบสของดิน มี ความสัมพันธกับองคประกอบแรธาตุของวัตถุตนกำเนิดดิน หรือสีดินมีความสัมพันธกับปริมาณอินทรียวัตถุในดิน และความชื้นในดิน) 1.3 เพราะเหตุใดดินแตละชนิดจึงมีเนื้อดินแตกตางกัน (การที่ดินแตละชนิดมีเนื้อดินแตกตาง กัน เพราะเนื้อดินเปนลักษณะทางกายภาพของดินที่มีสัดสวนโดยน้ำหนักของตะกอนทราย ทรายแปง และดิน เหนียว ตะกอนทั้ง 3 ขนาดนี้เมื่อรวมตัวกันในสัดสวนตางกันจะเกิดเปนดินชนิดตาง ๆ ซึ่งมีเนื้อดินแตกตางกัน


โดยขนาดตะกอนทรายจะมีขนาดใหญที่สุด รองลงมาคือทรายแปงและดินเหนียวตามลำดับ เนื้อดินแตละพื้นที่มี ลักษณะแตกตางกันเนื่องจากปจจัยหลักที่สำคัญ คือ ชนิดของวัตถุตนกำเนิดดินที่เปนหินและแรตางชนิดกัน) 1.4 ความชื้นในดินคืออะไร มีความสำคัญอยางไร (ความชื้นในดินเปนสัดสวนระหวางมวลของ น้ำในดินกับมวลของดินแหง โดยทั่วไปสัดสวนนี้มีคาระหวาง 0.05-0.5 กรัม/กรัม ความชื้นในดินเปน ความสามารถในการอุมน้ำของดิน ใชอธิบายความสามารถของดินในการใหธาตุอาหารและน้ำแกพืช ซึ่งจะมีผล ตอการเจริญเติบโตของพืช) 1.5 ดินในแตละพื้นที่มีความเปนกรด-เบส แตกตางกันเนื่องดวยปจจัยใด (ดินในแตละพื้นที่อาจ มีความเปนกรด-เบส แตกตางกัน เนื่องดวยปจจัยหลักคือชนิดของวัตถุตนกำเนิดดินที่ประกอบดวยแรที่แตกตาง กัน และขึ้นอยูกับปจจัยในการเกิดดินในพื้นที่ นอกจากนั้นการเนาเปอยของซากพืชและซากสัตวในดิน การใส ปุยเคมีในดินก็จะมีผลตอคาความเปนกรด-เบส ของดินได) 1.6 ยกตัวอยางลักษณะดินที่ไมเหมาะสมตอการเพาะปลูก (ดินที่ไมเหมาะสมตอการเพาะปลูก มีอยูหลายชนิด เชน ดินจืด ดินเปรี้ยว ดินเค็ม และดินดาน ดินดังกลาวนี้อาจเกิดขึ้นไดทั้งจากสภาพดินตาม ธรรมชาติหรือจากการใชประโยชนของมนุษย) 1.7 ดินเปรี้ยวมีลักษณะเปนอยางไร และจะมีวิธีการปรับปรุงดินเปรี้ยวอยางไร (ดินเปรี้ยวเปน ดินที่มีความเปนกรดมากเกินไป ดินที่มีความเปนกรดมากทำใหธาตุเหล็กและอะลูมิเนียมละลายออกมาอยูในดิน มากจนถึงระดับที่เปนอันตรายตอพืชที่ปลูก วิธีการปรับปรุงดินเปรี้ยวมีหลายวิธี เชน การใชน้ำชะลางความเปน กรดในดิน หรือการขังน้ำไวในดินนาน ๆ แลวระบายออก การใสปูนมารล ปูนขาว หินปูนบด หรือหินปูนฝุนโดย ผสมเขากับดินในอัตราสวนที่เหมาะสม หรือใชน้ำชะลางความเปนกรดในดินควบคูไปดวย) 1.8 ดินเค็มมีลักษณะเปนอยางไร และจะมีวิธีการปรับปรุงดินเค็มอยางไร (ดินเค็มเปนดินที่มี ปริมาณเกลือที่ละลายไดในน้ำมากจนเปนอันตรายตอพืช พืชจะเกิดการขาดน้ำและไดรับธาตุที่เปนสวนประกอบ ของเกลือที่ละลายออกมามากจนเกินไป ทำใหพืชมีผลผลิตต่ำหรือไมไดผลผลิต การปรับปรุงดินเค็มอาจใชการไถ กลบพืชปุยสด ปุยอินทรีย หรือใสวัตถุปรับปรุงดิน เชน แกลบ) 2. นักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายและตอบคำถามที่จับสลากไดหนาชั้นเรียน โดยมีครูชวยอธิบาย เพิ่มเติมหากคำตอบยังไมสมบูรณ 3. ครูสรุปและอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับ 8. สื่อการเรียนรู/แหลงเรียนรู 1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) สสวท. 2. แบบบันทึกกิจกรรม กิจกรรมที่ 7.6 การตรวจวัดสมบัติของดินมีวิธีการอยางไร 3. อุปกรณในการทำกิจกรรม


9. การวัดและการประเมิน ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑที่ใชในการประเมิน 1. สังเกตและตรวจวัดเนื้อ ดิน ความชื้นในดิน คา ความเปนกรด-เบสของดิน และธาตุอาหารในดิน (P) การตอบคำถามในชั้นเรียน และตรวจกิจกรรมที่ 7.6 การตอบคำถามในชั้นเรียน กิจกรรมที่ 7.6 ไดคะแนนไมต่ำกวารอยละ 70 ถือวาผาน 2. นำเสนอแนวทางการใช ประโยชนดินจากขอมูล ลักษณะและสมบัติของดิน ที่ตรวจวัดได (P) การตอบคำถามในชั้นเรียน และตรวจแบบบันทึก กิจกรรมที่ 7.6 การตอบคำถามในชั้นเรียน แบบบันทึกกิจกรรม 7.6 ไดคะแนนไมต่ำกวารอยละ 70 ถือวาผาน 3. มีความรับผิดชอบใน การทำงาน (A) แบบสังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม ผานเกณฑการประเมินอยูใน ระดับดีขึ้นไป


10. บันทึกหลังแผนการจัดการเรียนรู สรุปผลการเรียนการสอน 1. นักเรียนมีความรูความเขาใจ (K) ……………………………….………………………………..………..…………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………….…………..……………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…….. 2. นักเรียนมีความรูเกิดทักษะ (P) …………………………………………………….………………………………..……. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. นักเรียนมีเจตคติ คานิยม คุณธรรมจริยธรรม (A) ………………………………………………..………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปญหา/อุปสรรค /แนวทางแกไข ........................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………..………………………. ................................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นางสาวอินทิรา สีออนแสง) ผูสอน


บันทึกผลการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู ไดรับการพิจารณาจากฝายวิชาการแลว เสนอผูบริหาร ไมมีขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะ………………………………………………………………………………..………………………………… ลงชื่อ .................................................. หัวหนาวิชาการ (นายสมศักดิ์ วรรณขาม) วันที่................................................... เสนอผูบริหาร รับทราบ ไมมีขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะ………………………………………………………………………………..………………………………… ลงชื่อ .......................................... ผูอำนวยการโรงเรียน (นายศักดิ์ชัย พนารัตน) วันที่...................................................


กิจกรรมที่7.6 การตรวจวัดสมบัติของดินมิวิธีกำรอยางไร จุดประสงค 1. สังเกตและตรวจวัดเนื้อดิน ความชื้นในดิน ความเปนกรด-เบสของดิน ธาตุอาหารในดินโดยใช เครื่องมือที่เหมาะสม 2. วิเคราะหและนาเสนอแนวทางการใชประโยชนดินจากขอมูลลักษณะและสมบัติของดินที่ตรวจวัดได วัสดุและอุปกรณ 1. ตะแกรงรอนดินเบอร 10 9. ถาดพลาสติก 2. เครื่องชั่ง 3 แขน 10. ชุดตรวจวัดธาตุอาหารในดิน 3. กระดาษยูนิเวอรแซลอินดิเคเตอร 11. บีกเกอรขนาด 100 cm3 4. แทงแกวคนสาร 12. บีกเกอรขนาด 250 cm3 5. นาิกาจับเวลา 13. ภาชนะที่มีฝาปดสนิทหรือถุงพลาสติก 6. ไมบรรทัด 14. แกวนาพลาสติก 7. ชอนปลูก 15. กระบอกฉีดนาพรอมบรรจุนากลั่น 8. แผนพลาสติกหรือกระดาษสีขาว 16. ยางรัดของ วิธีการดำเนินกิจกรรม ตอนที่1 การสำรวจดินและการเตรียมดิน 1. ศึกษาสภาพแวดลอมทั่วไปบริเวณจุดที่ศึกษาดิน โดยกำหนดพื้นที่บริเวณผิวดินขนาด 1 ตารางเมตร บันทึก ตำแหนงที่ตั้งของพื้นที่ และบันทึกวันที่ที่ศึกษาดิน 2. สังเกตและบันทึกภูมิประเทศบริเวณจุดที่ศึกษาดิน เชน เปนที่ลาดเชิงเขา ที่ราบ ชายฝงทะเล หุบเขา 3. สำรวจและบันทึกการใชประโยชนดินบริเวณจุดที่ศึกษาดินเกี่ยวกับการเพาะปลูก เชน มีการปลูกพืชยืนตนพืช ไร นาขาว สวนผัก และบันทึกการใชประโยชนที่ดินในลักษณะอื่น ๆ 4. สำรวจและบันทึกชนิดของพืชที่ขึ้นปกคลุมดิน และสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูบริเวณผิวดินเทาที่สังเกตได 5. ถาพื้นที่ที่กำหนดไวมีหญาขึ้น ใหถอนหญาในพื้นที่ออก แลวใชชอนปลูกขุดดินใหมีความลึกประมาณ 10 เซนติเมตรและตักดินประมาณ 1,000 กรัม ใสถุงและรัดใหแนนดวยยางรัดของ หรือใสดินลงในภาชนะอื่น ๆ ที่มี ฝาปดเพื่อปองกันไมใหอากาศเขาไปไดปดฉลากถุงหรือภาชนะที่ใสดิน เขียนแสดงตำแหนงที่เก็บดินและวันที่ที่ เก็บดิน 6. แบงดินออกมาครึ่งหนึ่งละนำไปตากแดดหรือผึ่งใหแหง สวนที่เหลืออีกครึ่งหนึ่งเก็บไวเชนเดิม


ตารางบันทึกผลการทดลอง อภิปราย/สรุปผลการทดลอง ................................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... วิธีการดำเนินกิจกรรม ตอนที่2 การตรวจวัดสมบัติของดิน การตรวจวัดเนื้อดิน 1. นำดินที่แหงมารอนดวยตะแกรงรอนดินเบอร10 เพื่อแยกซากพืชและซากสัตวออกจากเนื้อดิน 2. แบงดินออกมา 200 กรัม แลวนำไปตรวจวัดเนื้อดินดวยวิธีสัมผัสตามแผนผัง ดังภาพ 7.31 (หนา 156 หนังสือ เรียนวิทยาศาสตรสสวท.) 3. บันทึกเนื้อดินที่ตรวจวัดไดจากนั้นใหตรวจสอบวาเนื้อดินที่ตรวจวัดไดจัดอยูในกลุมดินประเภทใด โดยเทียบ เนื้อดินกับขอมูลในตาราง 7.3 (หนา 155 หนังสือเรียนวิทยาศาสตรสสวท.) และบันทึกกลุมดินที่ได


ตารางบันทึกผลการทดลอง ดิน ผลการตรวจสมบัติของดิน เนื้อดิน ความชื้น ความเปนกรด-เบส ธาตุอาหาร อภิปราย/สรุปผลการทดลอง ................................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... คำถามทายกิจกรรม ดินที่ตรวจวัดไดมีเนื้อดิน ความชื้นในดิน ความเปนกรด-เบส และธาตุอาหารอยางไร ................................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................... วิธีการดำเนินกิจกรรม ตอนที่ 3 การใชประโยชนดินจากขอมูลลักษณะและสมบัติดินที่ตรวจวัดได จากขอมูลการบันทึกการใชประโยชนดินบริเวณจุดที่ศึกษาดินจากกิจกรรมที่ 7.6 ตอนที่ 1 ใหนักเรียน สืบคนและวิเคราะหขอมูลวาดินบริเวณที่เก็บตัวอยางมีลักษณะและสมบัติของดินเหมาะสมกับการนาไปใช ประโยชนหรือไม อยางไร ในกรณีที่มีการใชดินเพื่อการเพาะปลูก ใหสืบคนและวิเคราะหขอมูลวาลักษณะของดินที่ตรวจวัดได เหมาะสมกับการเพาะปลูกพืชชนิดดังกลาวหรือไม ถามีการใชประโยชนจากดินเพื่อการเพาะปลูกที่ไมเหมาะสม ใหนักเรียนสืบคนและนาเสนอวิธีการปรับปรุงคุณภาพดินดังกลาว หรือเสนอแนะชนิดของพืชที่ควรปลูกใน บริเวณจุดที่เก็บตัวอยางดินนั้น


คำถามทายกิจกรรม 1. ดินบริเวณที่เก็บตัวอยางมีลักษณะและสมบัติของดินเหมาะสมกับการนาไปใชประโยชนหรือไม อยางไร ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. 2. ในกรณีที่มีการใชดินเพื่อการเพาะปลูก ลักษณะและสมบัติของดินที่ตรวจวัดไดเหมาะสมกับการเพาะปลูกพืช ชนิดดังกลาวหรือไม อยางไร ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. 3. ในกรณีที่มีการใชประโยชนดินเพื่อการเพาะปลูกที่ไมเหมาะสม มีวิธีการปรับปรุงคุณภาพดินอยางไร หรือควร เสนอแนะชนิดของพืชที่ควรปลูกในบริเวณจุดที่เก็บตัวอยางดินนั้นหรือไม อยางไร ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................


Click to View FlipBook Version