The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1133-วิจัยในชั้นเรียนPBL-ภัคจิรา สานู

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 133 ภัคจิรา สานู, 2024-01-30 09:44:25

วิจัยในชั้นเรียนPBL

1133-วิจัยในชั้นเรียนPBL-ภัคจิรา สานู

46 แบบประเมินความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) แผนการจัดการการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานเพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา เรื่อง ผลที่เกิดจากการเปลี่ยนสถานะของสาร รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยผู้เชี่ยวชาญ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การละลายของสารในน้ า จ านวน 3 ชั่วโมง ที่ รายการประเมิน ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ∑R IOC คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 ความสอดคล้อง 1. มาตราฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้เป็นไปตามหลักสูตร +1 +1 +1 +3 1.00 มีความสอดคล้อง 1.2 ตัวชี้วัดสอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ +1 +1 +1 +3 1.00 มีความสอดคล้อง 2. สาระส าคัญ 2.1 สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ +1 +1 +1 +3 1.00 มีความสอดคล้อง 2.2 สอดคล้องกับตัวชี้วัด +1 0 +1 +2 0.67 มีความสอดคล้อง 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ +1 +1 +1 +3 1.00 มีความสอดคล้อง 3.2 สอดคล้องกับตัวชี้วัด +1 +1 +1 +3 1.00 มีความสอดคล้อง 3.3 สอดคล้องกับสาระส าคัญ +1 +1 +1 +3 1.00 มีความสอดคล้อง 3.4 สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ +1 +1 +1 +3 1.00 มีความสอดคล้อง 4. สาระส าคัญ 4.1 สอดคล้องกับสาระส าคัญ +1 +1 +1 +3 1.00 มีความสอดคล้อง 4.2 สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้แลตัวชี้วัด +1 +1 +1 +3 1.00 มีความสอดคล้อง 5. ชิ้นงาน/ภาระงาน 5.1 สอดคล้องกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ +1 +1 +1 +3 1.00 มีความสอดคล้อง 6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ 6.1 สอดคล้องในขั้นการระบุปัญหา +1 +1 +1 +3 1.00 มีความสอดคล้อง 6.2 สอดคล้องในขั้นรวบรวมข้อมูลและแนวคิด +1 +1 +1 +3 1.00 มีความสอดคล้อง 6.3 สอดคล้องในขั้นออกแบบวิธีการแก้ปัญหา +1 +1 +1 +3 1.00 มีความสอดคล้อง 6.4 สอดคล้องในขั้นวางแผนและด าเนินการแก้ปัญหา +1 +1 +1 +3 1.00 มีความสอดคล้อง 6.5 สอดคล้องในขั้นทดสอบ ประเมินผลและปรับปรุง แก้ไข +1 +1 +1 +3 1.00 มีความสอดคล้อง 6.6 สอดคล้องในขั้นน าเสนอวิธีการแก้ปัญหา/ผลของ ชิ้นงาน +1 +1 +1 +3 1.00 มีความสอดคล้อง 7. สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ 7.1 สอดคล้องกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ +1 +1 +1 +3 1.00 มีความสอดคล้อง 8. การวัดและประเมินผล 8.1 สอดคล้องกับกระบวนการจัดการเรียนรู้


47 ภาคผนวก ค ค่าความยากง่าย ค่าอ านาจจ าแนก และค่าความเชื่อมั่น ของวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์


48 ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือของผู้เชี่ยวชาญ การหาค่าดัชนีความสอดคล้องของแบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ (Index of Item Objective Congruence: IOC) เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยผู้เชี่ยวชาญ ข้อที่ คะแนนของผู้เชี่ยวชาญ รวม ค่า IOC แปลผล หมายเหตุ คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 1 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ - 2 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ - 3 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ - 4 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ - 5 0 +1 +1 2 0.67 ใช้ได้ - 6 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ - 7 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ - 8 +1 +1 0 2 0.67 ใช้ได้ - 9 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ - 10 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ - 11 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ - 12 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ - 13 +1 0 +1 2 0.67 ใช้ได้ - 14 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ - 15 +1 0 +1 2 1 ใช้ได้ - 16 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ - 17 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ - 18 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ - 19 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ - 20 +1 +1 0 2 0.67 ใช้ได้ -


49 ค่าความยากง่าย ค่าอ านาจจ าแนก และค่าความเชื่อมั่น ของแบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ตาราง ค่าความยากง่าย (p) ค่าอ านาจจ าแนก (r) ข้อสอบข้อที่ ค่าความยากง่าย (p) ค่าอ านาจจ าแนก (r) 1 .44 .50 2 .63 .21 3 .56 .25 4 .44 .34 5 .69 .23 6 .56 .38 7 .31 .38 8 .69 .34 9 .50 .23 10 .31 .25 11 .56 .25 12 .75 .38 13 .75 .50 14 .75 .34 15 .38 .50 16 .69 .38 17 .75 .38 18 .63 .50 19 .31 .35 20 .63 .25 ค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอบบาค (Reliability Cronbach’s Alpha Coefficient) = .74


50 ภาคผนวก ง แผนการจัดการเรียนรู้และแบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา ทางวิทยาศาสตร์ตาม รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน


51 แผนการจัดการเรียนรู้1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว15101 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ จ านวน 9 ชั่วโมง ครูผู้สอน นางสาวภัคจิรา สานู 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิด สารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2. ตัวชี้วัด ว 2.1 ป.5/1 อธิบายการเปลี่ยนสถานะของสสาร เมื่อท าให้สสารร้อนขึ้นหรือเย็นลง โดยใช้หลักฐาน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) อธิบายการเปลี่ยนสถานะของสสาร เมื่อท าให้สสารร้อนขึ้นหรือเย็นลงได้ (K) 2) ใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาสาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการทดลอง การเปลี่ยนสถานะของสสารได้(P) 3) รับผิดชอบและมุ่งมั่นในการท างานที่ได้รับมอบหมาย (A) 4. สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด การเปลี่ยนสถานะของสสารเป็นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เมื่อเพิ่มความร้อนให้กับสสารถึงระดับหนึ่ง จะท าให้สสารที่เป็นของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว เรียกว่า การหลอมเหลวและเมื่อเพิ่มความร้อนต่อไปจนถึง อีกระดับหนึ่งของเหลวจะเปลี่ยนเป็นแก๊ส เรียกว่า การกลายเป็นไอ แต่เมื่อลดความร้อนลงถึงระดับหนึ่งแก๊สจะ เปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว เรียกว่าการควบแน่น และถ้าลดความร้อนต่อไปอีกจนถึงระดับหนึ่งของเหลวจะ เปลี่ยนสถานะเป็นของแข็งเรียกว่า การแข็งตัว สสารบางชนิดสามารถเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นแก๊สโดยไม่ ผ่านการเป็นของเหลว เรียกว่า การระเหิด ส่วนแก๊สบางชนิดสามารถเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง โดยไม่ผ่านการ เป็นของเหลว เรียกว่า การระเหิดกลับ 5. กิจกรรมการจัดการเรียนรูปแบบปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) ขั้นที่ 1 ก าหนดปัญหา 1.1 ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนโดยการให้นับเลข จากนั้นนั่งตามกลุ่มที่ตัวเองนับ แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเติม ข้อความใต้ภาพให้สัมพันธ์กัน


52 1.2 ครูตั้งค าถามให้นักเรียนตอบค าถามในประเด็นต่อไปนี้ -เครื่องท าน้ าแข็ง ท าให้น้ ากลายเป็นน้ าแข็งเรียกว่าอย่างไร (แนวค าตอบ การแข็งตัว) -ท าไมน้ าจึงกลายเป็นน้ าแข็งได้ (แนวค าตอบ เพราะเกิดการแข็งตัว จึงเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นของแข็ง) 1.3 นักเรียนช่วยกันก าหนดปัญหาเพื่อค้นหาค าตอบของปัญหาดังต่อไปนี้ - เราจะมีวิธีการตรวจสอบค าตอบในแต่ละสถานการณ์ปัญหาได้อย่างไร (แนวค าตอบ ท าการทดลองเพื่อศึกษาและหาค าตอบ) 2. ขั้นท าความเข้าใจกับปัญหา 2.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิด ท าความเข้าใจกับสถานการณ์ปัญหาว่าเราจะใช้อุปกรณ์ใดบ้างใน การทดลอง ( อุปกรณ์การทดลอง ดังนี้ น้ าเปล่า 1 ขวด, กะละมัง 1 ใบ, เกลือแกง 1 ถุง, ช้อนโต๊ะ 1 คัน, น้ าแข็งป่น 2 ถุง, น้ าแข็งก้อน 1 ถุง, ไม้ขีดไฟ 1 กลัก, หลอดทอลอง 1 หลอด, กระจกนาฬิกา 1 อัน, ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์ 1 ชุด, ตะแกรงวางหลอดทดลอง 1 อัน, บีกเกอร์ขนาด 250 มิลลิลิตร 1 ใบ) 2.2 นักเรียนออกแบบการทดลองร่วมกัน โดยใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ครูเตรียมให้อย่างหลากหลาย ซึ่งนักเรียน จะพิจารณาเลือกอุปกรณ์การทดลองให้เข้ากับปัญหาที่ตั้งไว้และได้ค าตอบของปัญหานั้น 3. ขั้นด าเนินการศึกษาค้นคว้า 3.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาใบกิจกรรม เรื่อง การเปลี่ยนสถานะของสสาร 3.2 ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมการทดลองตามใบบันทึกการ ทดลอง จากนั้นครูแนะน าอุปกรณ์ในการทดลองและข้อควรระวังในการทดลอง 3.3 นักเรียนแต่ละกลุ่ม ออกแบบขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า ทดลอง เพื่อปฏิบัติกิจกรรมการ เรียนรู้ เรื่อง การเปลี่ยนสถานะของสสาร 3.4 นักเรียนแต่ละกลุ่ม ปฏิบัติกิจกรรม เรื่อง การเปลี่ยนสถานะของสสาร ตามขั้นตอนที่นักเรียนแต่ละ กลุ่มได้ออกแบบไว้


53 4. ขั้นสังเคราะห์ความรู้และสรุป 4.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มน าข้อมูลที่ได้จากการศึกษาทดลอง มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันในกลุ่ม 4.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันคิดพิจารณาต่อไปว่าความรู้ที่ได้มามีความถูกต้องสมบูรณ์และ ครบถ้วนตาม ประเด็นที่ต้องการศึกษาหรือไม่ ถ้าข้อมูลยังไม่เพียงพอก็ร่วมกันอภิปรายและช่วยกันศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม 5. ขั้นสรุปและประเมินค่าของค าตอบ 5.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายข้อมูลของกลุ่มตนเองและกลุ่มอื่นๆ ว่าข้อมูลที่ได้นั้นมีความ ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์หรือไม่ โดยครูให้ค าแนะน าเพิ่มเติม 5.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันสรุปความรู้ในภาพรวมปัญหาจากการปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง เรื่อง การ เปลี่ยนสถานะของสสาร ซึ่งนักเรียนควรสรุปได้ดังนี้ 1. เมื่อมีการเพิ่มหรือลดความร้อนให้กับน้ าจนถึงระดับหนึ่ง น้ าจะเกิดการเปลี่ยนสถานะและสามารถท าให้ น้ ากลับคืนสู่สถานะเดิมได้ เมื่อมีการเพิ่มหรือลดความร้อนให้กับน้ าจนถึงระดับหนึ่ง 2. สสารแต่ละสถานะสามารถเปลี่ยนเป็นสถานะอื่นได้ โดยมีความร้อนเป็นปัจจัยส าคัญ เพราะการเพิ่ม หรือลดความร้อนให้กับสสารจนถึงระดับหนึ่งจะท าให้สสารเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง ขนาด ปริมาณ และสถานะ ไป แต่ยังคงเป็นสสารชนิดเดิมและสามารถท าให้สสารกลับคืนสู่สถานะเดิมได้อีกครั้ง เมื่อมีการเพิ่มหรือลดความ ร้อน 6. ขั้นน าเสนอและประเมินผลงาน 6.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปผลการทดลองของกลุ่ม เพื่อน าเสนอหน้าชั้นเรียน 6.2 นักเรียนน าเสนอผลการทดลองหน้าชั้นเรียน 6.3 นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและประเมินผลงานของนักเรียนแต่ละกลุ่มให้กับสสารจนถึงระดับ หนึ่ง 6. แหล่งเรียนรู้ / สื่อการสอน / วัสดุอุปกรณ์ /เอกสารประกอบการเรียน 1. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 2. อุปรกณ์การทดลอง ได้แก่ น้ าเปล่า 1 ขวด, กะละมัง 1 ใบ, เกลือแกง 1 ถุง, ช้อนโต๊ะ 1 คัน, น้ าแข็งป่น 2 ถุง, น้ าแข็งก้อน 1 ถุง, ไม้ขีดไฟ 1 กลัก, หลอดทอลอง 1 หลอด, กระจกนาฬิกา 1 อัน, ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์ 1 ชุด, ตะแกรงวางหลอดทดลอง 1 อัน, บีกเกอร์ขนาด 250 มิลลิลิตร 1 ใบ


54 7. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการประเมิน เกณฑ์การประเมิน K อธิบายการเปลี่ยนสถานะของสสาร เมื่อท า ให้สสารร้อนขึ้นหรือเย็นลงได้ - สังเกตความสามารถใน การตอบค าถาม -ก า รน าเ สนอหน้ าชั้น เรียน ผ่านเกณฑ์การประเมิน ระดับดีขึ้นไป P ใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ เกี่ยวข้องกับการทดลอง การเปลี่ยนสถานะ ของสสารได้ -ตรวจผลการท ากิจกรรม เรื่องการเกิดเสียงสูงเสียง ต่ า ผ่านเกณฑ์การประเมิน ระดับดีขึ้นไป A รับผิดชอบและมุ่งมั่นในการท างานที่ได้รับ มอบหมาย - สังเกตพฤติกรรมการ ท างาน ผ่านเกณฑ์การประเมิน ระดับดีขึ้นไป


55 ใบบันทึกการทดลองที่ 1 เรื่อง การเปลี่ยนสถานะของสสาร กลุ่มที่.................. ค าชี้แจง : ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการทดลองพร้อมทั้งตอบค าถามต่อไปนี้ การเพิ่มหรือลดความร้อนมีผลต่อการเปลี่ยนสถานะของสสารหรือไม่ 1.ปัญหาการทดลอง ................................................................................................................... ................................................................. .............................................................................................................................................. ...................................... ....................................................................................................................................... ............................................. 2. ขั้นวิเคราะห์ปัญหา .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... 3. วิธีการแก้ปัญหา ......................................................................................................................................... ........................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... 4. ขั้นตรวจสอบผลลัพธ์ ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................. ................................................................... สรุปผลการทดลอง ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ....................................................................................................................................................................................


56 ค าถามการทดลอง 1.ความร้อนเป็นปัจจัยส าคัญของการเปลี่ยนสถานะของสสารหรือไม่ เพราะอะไร .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... 2. ยกตัวอย่างการเปลี่ยนสถานะของสสารในชีวิตประจ าวันมา 3 ตัวอย่าง ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................... ............................................................. 3. การเปลี่ยนสถานะกลับไปกลับมาได้ของสารเรียกว่าอย่างไรบ้าง ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................................................ ........................ 4. จากสิ่งที่ค้นพบ สรุปได้อย่างไร .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. .......................................................


57 แผนการจัดการเรียนรู้2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว15101 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ จ านวน 9 ชั่วโมง ครูผู้สอน นางสาวภัคจิรา สานู 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคหลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง สถานะของสสาร การเกิด สารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2. ตัวชี้วัด ว 2.1 ป.5/1 อธิบายการเปลี่ยนสถานะของสสาร เมื่อท าให้สสารร้อนขึ้นหรือเย็นลงโดยใช้หลักฐานเชิง ประจักษ์ 3. สาระส าคัญ การเปลี่ยนสถานะของสสารเป็นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เมื่อเพิ่มความร้อนให้กับสสารถึงระดับหนึ่ง จะท าให้สสารที่เป็นของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว เรียกว่า การหลอมเหลวและเมื่อเพิ่มความร้อนต่อไปจนถึง อีกระดับหนึ่งของเหลวจะเปลี่ยนเป็นแก๊ส เรียกว่า การกลายเป็นไอ แต่เมื่อลดความร้อนลงถึงระดับหนึ่งแก๊สจะ เปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว เรียกว่าการควบแน่น และถ้าลดความร้อนต่อไปอีกจนถึงระดับหนึ่งของเหลวจะ เปลี่ยนสถานะเป็นของแข็งเรียกว่า การแข็งตัว สสารบางชนิดสามารถเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นแก๊สโดยไม่ ผ่านการเป็นของเหลว เรียกว่า การระเหิด ส่วนแก๊สบางชนิดสามารถเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง โดยไม่ผ่านการ เป็นของเหลว เรียกว่า การระเหิดกลับ 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) อธิบายเกี่ยวกับผลของการเปลี่ยนสถานะของสสารในชีวิตประจ าวันได้ (K) 2) ใช้ทักษะการสังเกตประกอบการวิเคราะห์และยกตัวอย่างการเปลี่ยนสถานะของสสารในชีวิตประจ าวันได้ (P) 3) รับผิดชอบและมุ่งมั่นในการท างานที่ได้รับมอบหมาย (A)


58 5. ตารางแสดงกิจกรรมการเรียนรู้ แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน PBL(Problem–based Learning) 1. ขั้นก าหนดปัญหา 1.1 ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนโดยการให้จับสลากเลือกสีกลุ่ม แล้วศึกษาสถานการณ์ปัญหาต่อไปนี้ สถานการณ์ ปัญหาที่ 1 ช็อคโกแลตแปลงร่าง สถานการณ์ปัญหาที่ 2 น้ าที่หายไป สถานการณ์ปัญหาที่ 3 ลูก เหม็นที่เปลี่ยนไป 1.2 ครูตั้งค าถามให้นักเรียนตอบค าถามในประเด็นต่อไปนี้ - หากต้องการเปลี่ยนรูปร่างของช็อคโกแลตที่เป็นแท่งให้เป็นรูปร่างอื่นจะต้องท า อย่างไร (แนวค าตอบ น าช็อคโกแลตไปละลายและเทใส่พิมพ์) - ท าไมน้ าที่เราต้มไว้จึงมีปริมาณลดลง ( แนวค าตอบ เพราะความร้อนท าให้น้ าระเหยออกไปหมด ) 1.3 นักเรียนช่วยกันก าหนดปัญหาเพื่อค้นหาค าตอบของปัญหาดังต่อไปนี้ - เราจะมีวิธีการตรวจสอบค าตอบในแต่ละสถานการณ์ปัญหาได้อย่างไร (แนวค าตอบ ท าการทดลองเพื่อศึกษาและหาค าตอบ) 2. ขั้นท าความเข้าใจกับปัญหา 2.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิด ท าความเข้าใจกับสถานการณ์ปัญหาว่าเราจะใช้อุปกรณ์ใดบ้างใน การทดลอง ( อุปกรณ์การทดลอง ดังนี้ บีกเกอร์ขนาด 250 มิลลิลิตร 5 ใบ , บีกเกอร์ขนาด 500 มิลลิลิตร 5 ใบ , ลูกเหม็น 10 ก้อน ,ตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กั้นลม 5 ชุด , จานแก้ว 5 ใบ , ขวดแก้ว 5 ขวด , กระดาษฟอยล์ 5 แผ่น , ช็อค โกแลต 250 กรัม 5 แท่ง) 2.2 นักเรียนออกแบบการทดลองร่วมกัน โดยใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ครูเตรียมให้อย่างหลากหลาย ซึ่งนักเรียน จะพิจารณาเลือกอุปกรณ์การทดลองให้เข้ากับปัญหาที่ตั้งไว้และได้ค าตอบของปัญหานั้น 3. ขั้นด าเนินการศึกษาค้นคว้า 3.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาใบกิจกรรม เรื่อง การหลอมเหลว การกลายเป็นไอ การระเหิด


59 3.2 ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมการทดลองตามใบบันทึกการ ทดลอง จากนั้นครูแนะน าอุปกรณ์ในการทดลองและข้อควรระวังในการทดลอง 3.3 นักเรียนแต่ละกลุ่ม ออกแบบขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า ทดลอง เพื่อปฏิบัติกิจกรรมการ เรียนรู้ เรื่อง การหลอมเหลว การกลายเป็นไอ การระเหิด 3.4 นักเรียนแต่ละกลุ่ม ปฏิบัติกิจกรรม เรื่อง การหลอมเหลว การกลายเป็นไอ การระเหิด ตามขั้นตอนที่ นักเรียนแต่ละกลุ่มได้ออกแบบไว้ 4. ขั้นสังเคราะห์ความรู้และสรุป 4.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มน าข้อมูลที่ได้จากการศึกษาทดลอง มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันในกลุ่ม 4.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันคิดพิจารณาต่อไปว่าความรู้ที่ได้มามีความถูกต้องสมบูรณ์และ ครบถ้วนตาม ประเด็นที่ต้องการศึกษาหรือไม่ ถ้าข้อมูลยังไม่เพียงพอก็ร่วมกันอภิปรายและช่วยกัน ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม 5. ขั้นสรุปและประเมินค่าของค าตอบ 5.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายข้อมูลของกลุ่มตนเองและกลุ่มอื่นๆ ว่าข้อมูลที่ได้นั้นมีความ ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์หรือไม่ โดยครูให้ค าแนะน าเพิ่มเติม 5.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันสรุปความรู้ในภาพรวมปัญหาจากการปฏิบัติกิจกรรมการ ทดลอง เรื่อง การ หลอมเหลว การกลายเป็นไอ การระเหิด ซึ่งนักเรียนควรสรุปได้ดังนี้ 1. เมื่อเราต้องการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของช็อคโกแลตสามารถท าได้โดยเพิ่มอุณหภูมิให้กับช็อคโกแลต จะ สังเกตได้ว่า ช็อคโกแลต หลอมเหลวจึงสามารถเทช็อคโกแลตใส่พิมพ์ใหม่ได้ทันที 2. เมื่อเราน าน้ าไปต้ม (เพิ่มความร้อน) จนน้ าเดือด จะสังเกตได้ว่า น้ าเกิดการระเหย กลายเป็นไอน้ าท าให้ ปริมาณของน้ าในบีกเกอร์ลดลงเมื่อเวลาผ่านไป 3. เมื่อทิ้งลูกเหม็นไว้ในภาชนะที่เปิด จะสังเกตได้ว่าลูกเหม็นมีขนาดเล็กลงกว่าเดิม หากเพิ่ม ความร้อน ให้กับลูกเหม็นจะเกิดการระเหิดกลายเป็นไอทันทีโดยไม่ผ่านการเป็นของเหลว 6. ขั้นน าเสนอและประเมินผลงาน 6.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปผลการทดลองของกลุ่ม เพื่อน าเสนอหน้าชั้นเรียน 6.2 นักเรียนน าเสนอผลการทดลองหน้าชั้นเรียน 6.3 นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและประเมินผลงานของนักเรียนแต่ละกลุ่ม


60 6. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 1. ใบงานสถานการณ์ปัญหาที่ 1 ช็อคโกแลตแปลงร่าง สถานการณ์ปัญหาที่ 2 น้ าที่หายไป สถานการณ์ปัญหาที่ 3 ลูกเหม็นที่เปลี่ยนไป 2. ใบกิจกรรม เรื่อง การหลอมเหลว การกลายเป็นไอ การระเหิด 3. อุปกรณ์การทดลอง ดังนี้ - บีกเกอร์ขนาด 250 มิลลิลิตร 5 ใบ - บีกเกอร์ขนาด 500 มิลลิลิตร 5 ใบ - ลูกเหม็น 10 ก้อน - ตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กั้นลม 5 ชุด - จานแก้ว 5 ใบ - ขวดแก้ว 5 ขวด - กระดาษฟอยล์ 5 แผ่น - ช็อคโกแลต 250 กรัม 5 แท่ง 4. แบบฝึกหัดทักษะการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ 2 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีการ/เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน 1. ด้านพุทธพิสัย (K) อธิบายการเปลี่ยนสถานะ ของ สสารเมื่อท าให้สสารร้อน ขึ้นหรือ เย็นลงได้ - แ บ บ ฝึ ก หั ด ทั ก ษ ะ ก า ร คิ ด แก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ๒ นักเรียนผ่านเกณฑ์ประเมินอยู่ ใน ระดับ ดีขึ้นไป 2. ด้ านทักษะพิสัย/ทักษะก า ร แก้ปัญหา (P) ปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสถานะ ของสสาร ได้ - ใบกิจกรรม เรื่องการ หลอมเหลว การกลายเป็นไอ การระเหิด - แบบสังเกตพฤติกรรมการ ทดลอง นักเรียนผ่านเกณฑ์ประเมินอยู่ ใน ระดับ ดีขึ้นไป 3. ด้านเจตคติ (A) มีความรับผิดชอบต่องานที่ ได้รับ มอบหมายได้ทั้งในการ เรียน การ ปฏิบัติกิจกรรม - สังเกตพฤติกรรมระหว่าง การ ปฏิบัติกิจกรรมการ ทดลองและ การส่งงาน นักเรียนผ่านเกณฑ์ประเมินอยู่ ใน ระดับ ดีขึ้นไป


61 ใบงานที่ 2 ค าชี้แจง : ให้นักเรียนศึกษาสถานการณ์ปัญหาดังต่อไปนี้ แล้วตอบค าถาม สถานการณ์ปัญหาที่ 1 ช็อคโกแลตแปลงร่าง คุณพ่อซื้อช็อคโกแลตมาเพื่อเป็นของขวัญในวันแห่งความรักให้กับคุณแม่ ซึ่งช็อคโกแลตที่คุณพ่อต้องการเป็นช็อค โกแลตรูปดอกกุหลาบ เมื่อไปถึงร้านค้าปรากฏว่า ไม่มีช็อคโกแลตที่คุณพ่อต้องการ สถานการณ์ปัญหาที่ 2 น้ าที่หายไป คุณแม่เข้าไปท าอาหารที่ครัวแล้วสังเกตว่า น้ าแกงที่ต้มไว้ในหม้อต้มมีปริมาณลดลงจากเดิมหลังจากที่ต้มแกงทิ้งไว้ 15 นาที แต่พอเปิดดูที่กระติกน้ าร้อนไฟฟ้าที่ต้มไว้กับพบว่าน้ ายังมีปริมาณเท่าเดิม สถานการณ์ปัญหาที่ 3 ลูกเหม็นที่เปลี่ยนไป จ๊ะจ๋าสังเกตลูกเหม็นที่ตนเองวางไว้ในตู้เก็บของพบว่าลูกเหม็นมีขนาดเล็กลง กว่าเดิม จึงเกิดความสงสัย วัoต่อมา จ๊ะจ๋า จึงน าลูกเหม็นไปวางที่ห้องน้ าแล้วท าการสังเกตจดบันทึกหลังจากเข้าห้องน้ าในตอนเช้าของทุก ๆ วันพบว่า ลูกเหม็นมีขนาดเล็กลงในทุกๆวัน จนถึงวันที่ 10 จ๊ะจ๋าไม่เห็นลูกเหม็นเลย 1. จากสถานการณ์ที่ 1 ปัญหาคืออะไร ............................................................................................................................. ....................................................... ..................................................................................................................................... ............................................... .................................................................................................................................................................................... 2. จากสถานการณ์ที่ 2 ปัญหาคืออะไร ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ................................................................................................................................................. ................................... 3. จากสถานการณ์ที่ 3 ปัญหาคืออะไร .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. .......................................................


62 ใบบันทึกการทดลองที่ 2 เรื่อง การหลอมเหลว การกลายเป็นไอ การระเหิด กลุ่มที่.................. ค าชี้แจง : ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการทดลองพร้อมทั้งตอบค าถามต่อไปนี้ 1. จากสถานการณ์ ทั้ง 3 สถานการณ์ นักเรียนมีวิธีการตรวจสอบปัญหานั้นอย่างไร ................................................................................................................................................................ .................... .............................................................................................................................. ...................................................... 2. จากสถานการณ์ ทั้ง 3 สถานการณ์นักเรียนมีแนวทางในการแก้ปัญหาอย่างไร สถานการณ์ปัญหาที่1 ................................................................................................................ .................................................................... สถานการณ์ปัญหาที่ 2 ............................................................................................................................. ....................................................... สถานการณ์ปัญหาที่ 3 ............................................................................................................................. ....................................................... 3. วิธีการแก้ปัญหา .................................................................................................................................................. .................................. .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... 4. ขั้นตรวจสอบผลลัพธ์ ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................... ......................................................... สรุปผลการทดลอง ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................... ..................................................... ....................................................................................................................................................................................


63 ค าถามการทดลอง 1. เมื่อเพิ่มความร้อนให้กับช็อคโกแลต น้ า และ ลูกเหม็น ผลการสังเกตเป็นอย่างไร .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... 2. จากการทดลองช็อคโกแลต น้ า และ ลูกเหม็น มีการเปลี่ยนสถานะได้อย่างไรบ้าง ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................................ ........................................ ............................................................................................................... ..................................................................... 3. จากกิจกรรมนี้ค้นพบอะไรได้บ้างเกี่ยวกับการเปลี่ยนสถานะของช็อคโกแลต น้ า และ ลูกเหม็น ................................................................................................... ................................................................................. ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... 4. จากสิ่งที่ค้นพบ สรุปได้อย่างไร ................................................................................................................................................................ .................... ................................................................................................................ .................................................................... ............................................................................................................................. .......................................................


64 แผนการจัดการเรียนรู้3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว15101 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ จ านวน 9 ชั่วโมง ครูผู้สอน นางสาวภัคจิรา สานู 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสาร กับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคหลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง สถานะของสสาร การเกิด สารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2. ตัวชี้วัด ว 2.1 ป.5/2 อธิบายการละลายของสารในน้ า โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ 3.สาระส าคัญ เมื่อใส่สารลงในน้ าแล้วสารนั้นรวมเป็นเนื้อเดียวกันกับน้ าทั่วทุกส่วน แสดงว่าสารเกิดการละลาย เรียกสาร ผสมที่ได้ว่าสารละลาย ซึ่งจะประกอบด้วยตัวท าละลาย และตัวละลายหรือตัวถูกละลาย โดยตัวท าละลายจะมี ปริมาณมากกว่าตัวละลายเสมอ เมื่อสารเกิดการละลาย สารแต่ละชนิดยังคงแสดงสมบัติของสารเดิมไม่ได้เกิดสาร ใหม่ เช่น น้ าผสมเกลือ เป็นต้น 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายการละลายของสารในน้ าได้ (K) 2. ปฏิบัติกิจกรรมการละลายของสารในน้ าได้ (P) 3. เลือกสารที่สนใจมาศึกษาการละลายของสารชนิดนั้นได้ (P) 5. ตารางแสดงกิจกรรมการเรียนรู้ แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน PBL(Problem–based Learning) 1. ขั้นก าหนดปัญหา 1.1 นักเรียนสังเกตแก้วน้ าที่ครูถือมา ทั้ง 3 ใบ โดย


65 ใบที่ 1 เป็น น้ า + แป้งมัน ใบที่ 2 เป็น น้ า + สีผสมอาหาร ใบที่ 3 เป็น น้ า + น้ ามันพืช 1.2 ครูตั้งค าถามให้นักเรียนตอบค าถามในประเด็นต่อไปนี้ - นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้างในแก้วน้ าทั้ง 3 ใบ (แนวค าตอบ แก้วใบที่ 1 มีสีขาว แก้วใบที่ 2 มีสีฟ้า แก้วใบที่ 3 มีน้ ามันลอยอยู่ ด้านบน) - นักเรียนคิดว่าแก้วแต่ละใบมีสารใดบ้าง (แนวค าตอบ ใบที่ 1 น้ ากับแป้ง ใบที่ 2 น้ า กับ น้ าแดง ใบที่ 3 น้ ากับน้ ามัน) - ท าไมแก้วใบที่ 3 จึงไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง นักเรียนคิดว่าอย่างไร (แนวค าตอบ แก้วใบที่ 3 ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง เพราะน้ ามันไม่ละลายลงไปในน้ า เพราะน้ ามันมีความหนาแน่น น้อยกว่าน้ า) 1.3 นักเรียนช่วยกันก าหนดปัญหาเพื่อค้นหาค าตอบของปัญหาดังต่อไปนี้ - เราจะรู้ได้อย่างไรว่าสารชนิดใดที่จะละลายได้บ้างและสามารถสังเกตได้อย่างไร 2. ขั้นท าความเข้าใจกับปัญหา 2.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิด ท าความเข้าใจกับสถานการณ์ปัญหาว่าเราจะใช้ อุปกรณ์ใดบ้างใน การทดลอง 2.2 นักเรียนออกแบบการทดลองร่วมกัน โดยใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ครูเตรียมให้อย่างหลากหลาย ซึ่งนักเรียน จะพิจารณาเลือกอุปกรณ์การทดลองให้เข้ากับปัญหาที่ตั้งไว้และได้ค าตอบของปัญหานั้น (อุปกรณ์การทดลอง ดังนี้ เกลือ 1 ถุง, น้ าตาลทราย 1 ถุง, แป้งมัน 1 ถุง, น้ ามันพืช 1 ขวด, น ้าเปล่า 100, บีก เกอร์ขนาด 250 มิลลิลิตร 5 ใบ, กระบอกตวง ขนาด 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร 5 ใบ, แท่งแก้วคนสาร 5 แท่ง, ช้อน ตักสารเบอร์ 2 คัน, ตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กั้นลม 1 ชุด) 3. ขั้นด าเนินการศึกษาค้นคว้า 3.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้และใบบันทึกการทดลอง เรื่อง การละลายของสารในน้ า 3.2 ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมการทดลองตามใบบันทึกการ ทดลอง จากนั้นครูแนะน าอุปกรณ์ในการทดลองและข้อควรระวังในการทดลอง


66 3.3 นักเรียนแต่ละกลุ่ม ออกแบบขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า ทดลอง เพื่อปฏิบัติกิจกรรมการ เรียนรู้ เรื่อง การละลายของสารในน้ า 3.4 นักเรียนแต่ละกลุ่ม ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การละลายของสารในน้ าตามขั้นตอน ที่นักเรียน แต่ละกลุ่มได้ออกแบบไว้ 4. ขั้นสังเคราะห์ความรู้และสรุป 4.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มน าข้อมูลที่ได้จากการศึกษาทดลอง มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันในกลุ่ม 4.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันคิดพิจารณาต่อไปว่าความรู้ที่ได้มามีความถูกต้องสมบูรณ์และ ครบถ้วนตาม ประเด็นที่ต้องการศึกษาหรือไม่ ถ้าข้อมูลยังไม่เพียงพอก็ร่วมกันอภิปรายและช่วยกัน ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม 5. ขั้นสรุปและประเมินค่าของค าตอบ 5.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายข้อมูลของกลุ่มตนเองและกลุ่มอื่นๆว่าข้อมูลที่ได้นั้นมี ความถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์หรือไม่ โดยครูให้ค าแนะน าเพิ่มเติม 5.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันสรุปความรู้ในภาพรวมปัญหาจากการปฏิบัติกิจกรรมการ ทดลอง เรื่อง การ ละลายของสารในน้ า ซึ่งนักเรียนควรสรุปได้ดังนี้ 1. เมื่อเติมเกลือและน้ าตาลลงไปในน้ าจะสังเกตได้ว่าเกลือและน้ าตาลรวมตัวกันกับน้ าเป็น ของเหลวสีใส เนื่องจากเกลือและน้ าตาลละลายเป็นเนื้อเดียวกันกับน้ า ส่วนน้ ามันจะแยกชั้นกับน้ าไม่ ละลายในน้ า 2. เมื่อบีกเกอร์ที่เติมเกลือ และ บีกเกอร์ที่เติมน้ าตาลไปต้ม พบว่า มีคราบเกลือและน้ าตาล ทรายติดที่ก้นบีก เกอร์ 3. การละลายของสารในน้ าท าให้เกิดสารสะลาย โดยในสารละลายจะมีองค์ประกอบ 2 ส่วน คือ ตัวท าละลาย และตัวละลาย 6. ขั้นน าเสนอและประเมินผลงาน 6.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปผลการทดลองของกลุ่ม เพื่อน าเสนอหน้าชั้นเรียน 6.2 นักเรียนน าเสนอผลการทดลองหน้าชั้นเรียน 6.3 นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและประเมินผลงานของนักเรียนแต่ละกลุ่ม 6. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 2. ใบความรู้ เรื่อง การละลายของสารในน้ า


67 2. ใบกิจกรรม เรื่อง การละลายของสารในน้ า 3. อุปกรณ์การทดลอง ดังนี้ - เกลือ 1 ถุง - น้ าตาลทราย 1 ถุง - แป้งมัน 1 ถุง - น้ ามันพืช 1 ขวด - น ้าเปล่า 100 - บีกเกอร์ขนาด 250 มิลลิลิตร 5 ใบ - กระบอกตวง ขนาด 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร 5 ใบ - แท่งแก้วคนสาร 5 แท่ง - ช้อนตักสารเบอร์ 2 คัน - ตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กั้นลม 1 ชุด การวัดและประเมินผล 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีการ/เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน 1. ด้านพุทธพิสัย (K) อธิบายการละลายของสาร ในน้ าได้ - ค าถามท้ายใบกิจกรรม เรื่อง การ ละลายของสารในน้ า นักเรียนผ่านเกณฑ์ประเมินอยู่ ใน ระดับ ดีขึ้นไป 2. ด้ านทักษะพิสัย/ทักษะก า ร แก้ปัญหา (P) 1. ปฏิบัติกิจกรรมการละลายของ สารในน้ าได้ 2. เลือกสารที่สนใจมาศึกษาการ ละลายของสารชนิดนั้นได - ใบกิจกรรม เรื่อง การละลายของ สารในน้ า - แบบสังเกตพฤติกรรมการทดลอง นักเรียนผ่านเกณฑ์ประเมินอยู่ ใน ระดับ ดีขึ้นไป 3. ด้านเจตคติ (A) มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ มอบหมายได้ทั้งในการเรียน การ ปฏิบัติกิจกรรม - สังเกตพฤติกรรมระหว่าง การ ปฏิบัติกิจกรรมการ ทดลองและ การส่งงาน นักเรียนผ่านเกณฑ์ประเมินอยู่ ใน ระดับ ดีขึ้นไป


68 ใบความรู้เรื่อง การละลายของสารในน้ า ภาพการละลายของสารในน้ า เมื่อผสมสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปเข้าด้วยกัน สารที่ได้เรียกว่าสารผสม สารผสมที่ มองเห็นเป็นเนื้อ เดียวกันทั้งหมด จัดเป็นสารเนื้อเดียว ส่วนสารผสมที่มองไม่เห็นเป็นเนื้อเดียวกัน จัดเป็นสารเนื้อผสม การเปลี่ยนแปลงของสารที่ผสมกันเป็นเนื้อเดียว โดยที่แต่ละสารยังคงเป็น สารเดิม เรียกว่า การ ละลาย และสารที่ได้เรียกว่า สารละลาย สารละลายแบ่งส่วนประกอบได้ 2 ส่วนคือ 1. ตัวท าละลาย (solvent) หมายถึง สารที่มีความสามารถ ในการท าให้สารต่างๆ ละลายได้2. ตัวละลาย (solute) หมายถึง สารที่ถูกตัวท าละลายละลายให้กระจายออกไปทั่วในตัวท า ละลาย


69 ใบบันทึกการทดลองที่ 3 เรื่อง การละลายของสารในน้ า กลุ่มที่.................. ค าชี้แจง : ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการทดลองพร้อมทั้งตอบค าถามต่อไปนี้ เราจะรู้ได้อย่างไรว่าสารชนิดใดที่จะละลายได้และสามารถสังเกตได้อย่างไร 1.ปัญหาการทดลอง .................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... .............................................. .................................................................................................................................................................................... 2. ขั้นวิเคราะห์ปัญหา .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 3. วิธีการแก้ปัญหา ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 4. ขั้นตรวจสอบผลลัพธ์ ............................................................................................................................. ....................................................... .............................................................................................................. ...................................................................... .................................................................................................................................................................................... สรุปผลการทดลอง ................................................................................................................... ................................................................. .............................................................................................................. ...................................................................... ....................................................................................................................................................................................


70 ค าถามการทดลอง 1. เมื่อผสมสารแต่ละชนิดกับน้ าแล้วคน ผลการสังเกตเหมือนกับที่อภิปรายไว้หรือไม่ อย่างไร ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. สารใดบ้างที่ผสมกับน้ าแล้วมองเห็นเป็นเนื้อเดียวกันทั้งหมด รู้ได้อย่างไร ............................................................................................................................. ....................................................... .............................................................................................................. ...................................................................... .................................................................................................................................................................................... 3. สารใดบ้างที่ผสมกับน้ าแล้วมองไม่เป็นเนื้อเดียวกันทัง้หมด หรือ เป็นเนื้อผสม รู้ได้อย่างไร ................................................................................................................................. ................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 4. จากสิ่งที่ค้นพบ สรุปได้อย่างไร ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................


71 แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ตามรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนอนุบาลหนองหานวิทยายน จังหวัดอุดรธานี รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีรหัสวิชา ว15101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ค าชี้แจง แบบทดสอบฉบับนี้เป็นแบบทดสอบชนิดปรนัย 4 ตัวเลือก จ านวน 20 ข้อ ใช้เวลา 1 ชั่วโมง ให้นักเรียนเลือก ค าตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงค าตอบเดียว แล้วท าเครื่องหมาย X ลงในกระดาษค าตอบ สถานการณ์ที่ 1 ใช้ตอบค าถามข้อ 1-4 มะลิ ทดลองสร้างลวดลายผ้าย้อมครามโดยใช้ขี้ผึ้งท าลวดลายแทนการมัดย้อม เนื่องจากขี้ผึ้งสามารถวาด ลวดลายที่ต้องการได้ง่ายกว่า แต่เมื่อน าไปย้อมสีแล้ว จะต้องแกะขี้ผึ้งออกจากผ้าให้หมดมะลิจึงทดลองหาวิธีการน า ขี้ผึ้งออกจากผ้าโดยน าไปผ่านความร้อนให้ขี้ผึ้งละลาย แล้วน าไปซักในน้ าอุณหภูมิปกติท า ท าซ้ า จนกว่าขี้ผึ้งจะ หลุดออกหมด 1. จากสถานการณ์ข้างต้นจะระบุปัญหาได้ว่าอย่างไร ก. ขี้ผึ้งไม่ละลาย ขี้ผึ้งละลายยาก ข. ผ้าแข็งติดขี้ผึ้ง ค. ขี้ผึ้งไม่ติดผ้า ง. ขี้ผึ้งเหลว 2. จากสถานการณ์ปัญหาดังกล่าวมะลิต้องศึกษาข้อมูลใดบ้างก่อนท าการทดลอง ก. วิธีแกะขี้ผึ้งออกจากผ้า ข. วิธีซักผ้ามัดย้อม ค. วิธีละลายขี้ผึ้ง ง. การย้อมผ้ามัดย้อม 3. จากสถานการณ์ปัญหาข้างต้นมีแนวทางในการแก้ไขปัญหาอย่างไร ก. ซักผ้ามัดย้อมด้วยน้ ายาซักผ้าที่มีความเข้มข้นมาก ข. ใช้น้ าร้อนต้มขี้ผึ้งในเวลาที่นานขึ้น หรือจนสังเกตได้ว่าขี้ผึ้งหลุดออกจนหมด ค. ขูดขี้ผึ้งออกจากผ้ามัดย้อม ง. แช่ผ้าที่ติดขี้ผึ้งไว้ในน้ าอุณหภูมิห้องเป็นเวลา 1 วัน 4. หากไม่มีขี้ผึ้งในการสร้างลวดลายบนผืนผ้าจะสามารถใช้สิ่งใดแทนเพราะเหตุใด ก. เทียนไข ข. พาราฟิน ค. ไฮเตอร์ ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข


72 สถานการณ์ที่ 2 ใช้ตอบค าถามข้อ 5-7 เรนนี่ท าการทดลองดอกอัญชันเปลี่ยนสี โดยต้มดอกอัญชันแล้วกรองน าน้ าอัญชันเทลงใน บีกเกอร์ 250 มิลลิลิตร จากนั้นใช้หลอดหยดดูดน้ ามะนาว 2 มิลลิลิตร หยดลงในบีกเกอร์ พบว่าน้ า อัญชันเปลี่ยนจากสีน้ าเงิน เป็นสีม่วง แล้วใช้หลอดหยดดูดน้ าสบู่หยดลงไปในบีกเกอร์ทีละ 2 มิลลิลิตร พร้อมบันทึกผลที่สังเกตได้และหยดน้ า สบู่ไปเรื่อย ๆ จนน้ าอัญชันเปลี่ยนสีจากสีม่วงเป็นสีน้ าเงิน 5. จากสถานการณ์ข้างต้นนักเรียนจะระบุปัญหาได้ว่าอย่างไร ก. สบู่เปลี่ยนสี ข. น้ าอัญชัญเปลี่ยนสี ค. น้ ามีอุณหภูมิเปลี่ยน ง. น้ ามีสารบางอย่าง 6. จากสถานการณ์ปัญหาดังกล่าวเรนนี่จะต้องทราบข้อมูลใดบ้างก่อนท าการทดลอง ก. คุณภาพสบู่ ข. อุณหภูมิน้ า ค. ความเป็นกรด เป็น เบส ง. พันธุ์ดอกอัญชัญ 7. จากสถานการณ์ปัญหาข้างต้นเรนนี่มีแนวทางในการแก้ไขปัญหาอย่างไร ก. หยดน้ าสบู่ลงในน้ าอัญชัน ข. หยดน้ ามะนาวลงบนสบู่ ค. น าสบู่ไปแช่ในน้ ามะนาว ง. น าอัญชัญไปใส่น้ ามะนาว 8. ลูกเหม็นที่วางไว้ในตู้เสื้อผ้ามีขนาดเล็กลงแสดงว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงแบบใด ก. การระเหย ข. การระเหิด ค. การควบแน่น ง. การหลอมเหลว 9. ข้อใดเกิดจากการลดความร้อนให้กับสสาร ก. น้ าแข็งแห้งระเบิดเป็นไอ ข. น้ าเดือดจนกลายเป็นไอน้ า ค. น้ าแข็งก้อนหลอมเหลวเป็นน้ า ง. ไอน้ าเกิดการควบแน่นเป็นหยดน้ า


73 10. ข้อใดกล่าวเกี่ยวกับการท าน้ าแข็งได้ถูกต้อง ก. เปลี่ยนจากของแข็งเป็นแก๊ส ข. เปลี่ยนจากของเหลวเป็นแก๊ส ค. เปลี่ยนจากของเหลวเป็นของแข็ง ง. เปลี่ยนจากแก๊สเป็นของเหลว สถานการณ์ที่ 3 ใช้ตอบค าถามข้อ 11-12 มดแดง ต้องการท าการทดลองท า เปลี่ยนน้ าให้เป็นน้ าแข็ง โดยมีอุปกรณ์ดังนี้ รายการ สารที่ใช้ อุปกรณ์ 1. เกลือ 2. น้ าหวาน หรือ น้ าอัดลม 1. กะละมัง 2. ถุงพลาสติกใส 3. หนังยาง 4. นาฬิกาจับเวลา จากนั้น มดแดง เริ่มท าการทดลอง 3 ครั้งโดยเทน้ าหวาน ปริมาณ 50 ml ลงในถุงและมัดด้วยหนังยาง น า น้ าแข็ง ปริมาณ 200 กรัมใส่ลงไปในกะละมัง โดยน าเกลือ ปริมาณ 200 กรัม 300กรัม และ 400 กรัม ตามล าดับ โรยลงไปในน้ าแข็ง เขย่ากะละมัง พร้อมจับเวลาสังเกตจนกว่าน้ าหวานเริ่มแข็งตัว 11. จากสถานการณ์ข้างต้น ก่อนที่มดแดงจะลงมือท าการทดลอง มดแดงควรระบุปัญหาการ ทดลองว่าอย่างไร ก. น้ าหวานแข็งตัวได้ช้า ข. เกลือท าให้น าหวานแข็งตัว ค. ปริมาณของเกลือท าให้น้ าหวานแข็งตัว ง. ถูกทุกข้อ 12. จากวิธีการ การแก้ปัญหาที่นักเรียนได้ออกแบบไว้ในข้อ 3 ผลการทดลองควรเป็นใน ทิศทางใด ก. ปริมาณของเกลือท าให้น้ าหวานแข็งตัวได้เร็วขึ้น ข. เกลือที่มีปริมาณมากท าให้น้ าหวานแข็งตัวได้ดีกว่าเกลือที่มีปริมาณน้อย ค. ปริมาณของเกลือไม่มีผลต่อการแข็งตัวของน้ าหวานและน้ าอัดลม ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข


74 สถานการณ์ที่ 4 ใช้ตอบค าถามข้อ 13-14 A เมื่อต้มน้ าจนเดือดจะมีไอลอยขึ้น B เมื่อตั้งแก้วน้ าเย็นจะมีหยดน้ าเกิดขึ้นภายนอกแก้ว 13. จากข้อความ A และ B คือการเปลี่ยนแปลงในข้อใด ก. A หลอมเหลว – B กลายเป็นไอ ข. A กลายเป็นไอ – B ควบแน่น ค. A ระเหิด – B ควบแน่น ง. A ระเหย – B ระเหย 14. จากค าตอบในข้อ 13 ข้อใดกล่าวถูกต้อง ก. A และ B เป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ข. A และ B เป็นการละลายของสารในน้ า ค. A และ B เป็นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ง. A เป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ส่วน B เป็นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ 15. การน าน้ าผสมกับแอลกอฮอล์ล้างแผลเป็นการเปลี่ยนแปลงในข้อใด ก. การเกิดปฏิกิริยาเคมี ข. การละลายของสารในน้ า ค. การเปลี่ยนสถานะของน้ า ง. การเปลี่ยนแปลงทางเคมี สถานการณ์ที่ 5 ใช้ตอบค าถามข้อ 16-17 1. เป็นการละลายของสารในน้ า 2. เป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี 3. เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ 16. ข้อใดเกี่ยวกับการเผากระดาษ ก. ข้อ 1 ข. ข้อ 2 ค. ข้อ 3 ง. ข้อ 1. 2. 3.


75 17.ข้อใดเกี่ยวกับการผสมน้ ากับเกลือ ก. ข้อ 1. 2. ข. ข้อ 1. 3. ค. ข้อ 2. 3. ง. ข้อ 1. 2. 3. 18.การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไม่ได้สังเกตจากข้อใด ก. ฟองแก๊ส ข. ไอน้ าที่ลอยขึ้น ค. เกิดการละลายในน้ า ง. หยดน้ าที่เกาะตามภาชนะ สถานการณ์ที่ 6 ใช้ตอบค าถามข้อ 19-20 มุกดาท าการทดลองการละลายของสารในน้ า โดยมีอุปกรณ์ดังนี้ รายการ สารที่ใช้ อุปกรณ์ 1. น้ าตาลทราย 2. ผงโกโก้ 3. แป้งมัน 4. ดินทราย 1. ขวดน้ าพลาสติก 2. ช้อน 3. น้ าสะอาด 4. กรวยกรอง จากนั้น มุกดา เริ่มท าการทดลองโดยเทน้ าตาลทราย 5 ช้อน ลงในขวดที่มีน้ าสะอาด 200 มิลลิลิตร โดยใช้ กรวยกรองช่วยกรองลงในขวดจากนั้นเขย่าขวดไปมา 10 ครั้งแล้วสังเกตผล จากนั้นท าการทดลองซ้ า เปลี่ยนจาก น้ าตาลทรายเป็นสารอื่นตามล าดับในตาราง 19. จากสถานการณ์ข้างต้น ก่อนที่มุกดาจะลงมือท าการทดลอง มุกดาควรระบุปัญหาการ ทดลองว่าอย่างไร ก. สารชนิดใดละลายในน้ า ข. สารบางชนิดสามารถละลายน้ าได้ ค. คุณภาพของน้ า ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข


76 20. จากสถานการณ์ปัญหาดังกล่าวก าหนดข้อมูลอะไรให้บ้าง ก. จ านวนการเขย่า ตราสินค้า คุณภาพสินค้า ข. วิธีการทดลอง อุปกรณ์ คุณภาพน้ า ค. สารที่ใช้ อุปกรณ์ วิธีการทดลอง ปริมาณน้ า ปริมาณสาร จ านวนการเขย่า ง. ปริมาณน้ า คุณภาพน้ า คุณภาพสินค้า แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ข้อ เฉลย ข้อ เฉลย 1 ก 11 ง 2 ค 12 ง 3 ข 13 ข 4 ง 14 ค 5 ข 15 ข 6 ค 16 ข 7 ก 17 ข 8 ข 18 ก 9 ง 19 ง 10 ค 20 ค


77 ภาคผนวก จ ภาพประกอบการวิจัย และผลงานนักเรียน


78


79


80 ประวัติย่อของผู้วิจัย ชื่อ นางสาวภัคจิรา สานู วัน เดือน ปี 8 มิถุนายน 2544 ประวัติการศึกษา ปี 2562 ส าเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอบปลาย จากโรงเรียนสตรีราชินูทิศ จังหวัดอุดรธานี ปี 2566 ก าลังศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป และชีววิทยา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ที่อยู่ปัจจุบัน 34 หมู่ 1 ต าบลโนนสูง อ าเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000 เบอร์โทรศัพท์ 098-2371500 E-mail [email protected]


Click to View FlipBook Version