The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วงจรพัลส์และสวิตชิง สัปดาห์ที่ 18

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by naihoi2016, 2021-04-01 23:37:18

วงจรพัลส์และสวิตชิง สัปดาห์ที่ 18

วงจรพัลส์และสวิตชิง สัปดาห์ที่ 18

448

แผนการจดั การเรียนรู้ แบบมุง่ เน้นสมรรถนะอาชพี

และบูรณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหสั วิชา 20105-2006 วชิ า วงจรพลั ส์และสวติ ชงิ

หนว่ ยที่ 13 ช่ือหนว่ ย การซงิ โครไนซ์และไดอะแกรมเวลา

ชอ่ื เร่ือง การซิงโครไนซแ์ ละไดอะแกรมเวลา จานวน 4 ชั่วโมง

1. สาระสาคัญ

ในระบบการทางานทางด้านคอมพิวเตอร์ หรือระบบควบคุมการทางานในอุปกรณ์ไฟฟ้าและ

อิเล็กทรอนิกส์ชนิดต่างๆ ท่ีมีการทางานหลายงานพร้อมกัน หากการทางานเหล่านั้นเป็นอิสระไม่เก่ียวข้องกัน

โดยส้ินเชิง จะไม่เกิดปัญหาใดๆ ในระบบการทางาน แต่ในความเป็นจริงแล้วงานเหล่านั้นต้องใช้ทรัพยากร

ร่วมกันไม่มากก็น้อย ดังนั้นการทางานของงานหนึ่ง อาจมีผลกระทบทางอ้อมต่ออีกงานหนึ่ง โดยผ่านทาง

ทรัพยากรที่ใช้ร่วมกัน หรือในการทางานบางอย่างระบบการทางานจาเป็นต้องสัมพันธ์และเก่ียวข้องกัน เพ่ือมิ

ให้งานต่างๆ ส่งผลกระทบกันอันจะก่อให้เกิดความเสียหายข้ึนได้ ต่อส่วนของระบบปฏิบัติการ หรือระบบ

ควบคุม จะต้องทาการควบคุมส่วนที่มีผลกระทบร่วมกันให้มีการทางานที่สัมพันธ์กันระหว่างแต่ละงาน หน้าท่ี

ควบคมุ ใหม้ ีการทางานทีส่ มั พนั ธ์กนั น้ถี ูกเรยี กว่า การซิงโครไนซ์ (Synchronization) หรอื การทาใหพ้ ร้อมกนั

2. สมรรถนะอาชีพประจาหน่วย
ด้านความรู้
1. อธิบายหลกั การทางานการซิงโครไนซ์ได้
2. อธิบายการควบคุมระบบการทางานทางดิจติ อลได้
3. คานวณหาค่าเวลาและความถข่ี องสัญญาณได้
ดา้ นทกั ษะและการประยุกตใ์ ช้
1. ต่อวงจรตามแบบท่ีกาหนดใหไ้ ด้อย่างถกู ต้อง
2. บันทกึ ผลการทดลองได้อยา่ งถูกตอ้ ง
ด้านคุณธรรม/ จริยธรรม/ และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์และบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพียง
1. เกดิ ความขยันขันแขง็ ในการปฏบิ ัตงิ าน

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
3.1 จดุ ประสงค์ท่ัวไป

1. เพื่อให้มคี วามร้เู กยี่ วกบั การซิงโครไนซ์
2. เพ่อื ใหม้ ีทกั ษะในการทดลองใช้งานของการซงิ โครไนซ์
3. สามารถนาความรู้การซิงโครไนซไ์ ปประยุกตใ์ ชง้ านได้อย่างเหมาะสม

449

3.2 จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. อธบิ ายหลกั การทางานการซิงโครไนซ์ได้ (ด้านพุทธพิ สิ ยั )
2. อธบิ ายการควบคมุ ระบบการทางานทางดิจิตอลได้ (ด้านพุทธิพสิ ยั )
3. คานวณหาค่าเวลาและความถี่ของสัญญาณได้ (ดา้ นพทุ ธิพิสัย)
4. ตอ่ วงจรตามแบบท่กี าหนดให้ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง (ด้านทักษะพิสยั )
5. บนั ทึกผลการทดลองได้อย่างถูกต้อง (ดา้ นทักษะพิสยั )
6. เกิดความขยันขนั แข็งในการปฏบิ ตั งิ าน (ด้านจิตพิสยั )

4. เนื้อหาสาระการสอน/การเรยี นรู้

4.1 ดา้ นความรู้
1. การซิงโครไนซ์
2. การใชง้ านของการซิงโครไนซ์
3. เวลาและความถ่สี ัญญาณนาฬกิ า
4. ไดอะแกรมเวลาดิจิตอล
5. ไดอะแกรมเวลาดิจิตอลควบคุมด้วย
6. สัญญาณนาฬกิ า
7. บทสรุป

4.2 ด้านทกั ษะหรือปฏบิ ัติ
1. การทดลองที่ 13 การซิงโครไนซแ์ ละไดอะแกรมเวลา
2. แบบทดสอบบทท่ี 13

4.3 ด้านคณุ ธรรม/จรยิ ธรรม/จรรยาบรรณ/บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพียง
1. ใชเ้ ครอื่ งมือในการทดสอบได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม

5. กจิ กรรมการเรยี นการสอนหรือการเรยี นรู้

ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมครู ข้ันตอนการเรยี นหรือกิจกรรมของผูเ้ รียน

ข้ันเตรียม(10 นาที) ข้นั เตรยี ม(10 นาที)

1. ผู้สอนจัดเตรยี มเอกสาร พร้อมกับแนะนารายวิชา 1. ผู้เรยี นเตรยี มหนังสอื และฟังผูส้ อนแนะนารายวิชา

วิธีการให้คะแนนและการประเมินผลที่ใช้กับวิชา วิธีการให้คะแนนและการประเมินผลที่ใช้กับวิชา

วงจรพัลส์และสวติ ชงิ วงจรพัลส์และสวติ ชงิ

2. ผู้สอนช้ีแจงเร่ืองที่จะศึกษาและจุดประสงค์เชิง 2. ผู้เรียนฟังผู้สอนชี้แจงเร่ืองที่จะศึกษาและ

พฤติกรรมประจาหน่วยท่ี 13 เร่ือง การซิงโครไนซ์ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมประจาหน่วยที่ 13 เรื่อง

และไดอะแกรมเวลา การซิงโครไนซแ์ ละไดอะแกรมเวลา

450

ขนั้ การสอน(210 นาที) ข้ันการสอน(210 นาที)

1. ผูส้ อนอธบิ ายเน้อื หาวชิ าวงจรพลั ส์และสวิตชิง 1. ผู้เรียนฟังผู้สอนอธิบายเนื้อหาวิชาวงจรพัลส์

หน่วยที่ 13 เร่ือง การซิงโครไนซแ์ ละไดอะแกรม และสวิตชิงหน่วยที่ 13 เรื่อง การซิงโครไนซ์และ

เวลา ไดอะแกรมเวลา

2. ผ้สู อนให้ผูเ้ รยี นเปดิ หนงั สือเรียนวงจรพัลส์และสวิ 2. ผู้เรียนเปิดหนังสือเรียนวิชาวงจรพัลส์และสวิตชงิ
ตชิงหนว่ ยท่ี 13 เรือ่ ง การซิงโครไนซแ์ ละไดอะแกรม หน่วยที่ 13 เรื่อง การซิงโครไนซ์และไดอะแกรม
เวลา
เวลาและอธบิ ายเน้ือหาใหผ้ ้เู รียนฟงั
3. ผู้เรียนทาใบงานที่ 13 เรื่อง การซิงโครไนซ์และ
3. ผู้สอนให้ผู้เรียนทาใบงานท่ี 13 เร่ือง การ ไดอะแกรมเวลา
ซงิ โครไนซแ์ ละไดอะแกรมเวลา

ขัน้ สรุป(20 นาที) ขน้ั สรปุ (20 นาที)

1. ผูส้ อนให้ผเู้ รยี นทาแบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 13 1. ผเู้ รียนร่วมกันสรปุ เนื้อหาที่ไดเ้ รยี นใหม้ ีความ

2. ผสู้ อนและผเู้ รียนรว่ มกนั สรุปเน้ือในหนว่ ยเรียนท่ี เขา้ ใจในทิศทางเดียวกัน

13 เร่ือง การซิงโครไนซแ์ ละไดอะแกรมเวลา 2. ผ้เู รยี นทาแบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 13

6. สอ่ื การเรียนการสอน/การเรยี นรู้

6.1 ส่อื สิ่งพิมพ์
1. เอกสารประกอบการสอนวิชา วงจรพัลส์และสวิตชิง
2. ใบงานท่ี 13 การซิงโครไนซแ์ ละไดอะแกรมเวลา
3. แบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 13
4. หนงั สือเรยี นวิชา วงจรพลั ส์และสวติ ชงิ

6.2 ส่อื โสตทศั น์
1. Power Point เรอื่ งการซงิ โครไนซแ์ ละไดอะแกรมเวลา

6.3 สือ่ ของจรงิ
1. อุปกรณจ์ ากการทดลองใบงานท่ี 13

7. แหลง่ การเรียนการสอน/การเรยี นรู้

7.1 ภายในสถานศึกษา

1. หอ้ งสมดุ วทิ ยาลัยเทคนิคสว่างแดนดิน
2. ห้องอินเตอรเ์ น็ตวทิ ยาลยั เทคนคิ สวา่ งแดนดนิ

451

7.2 ภายนอกสถานศกึ ษา

1. ห้องสมดุ เฉลมิ พระเกียรติอาเภอสว่างแดนดิน
2. ห้องสมุดประชาชนเฉลิมราชกมุ ารอี าเภอสว่างแดนดนิ

8. งานทีม่ อบหมาย

8.1 ก่อนเรยี น
1. ผูเ้ รียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน

8.2 ขณะเรียน
1. ศึกษาเนื้อหา ในบทท่ี 13 เรอ่ื ง การซิงโครไนซแ์ ละไดอะแกรมเวลา
2. รายงานผลหน้าชน้ั เรยี น
3. ปฏิบัตใิ บปฏิบตั ิงานท่ี 13 เร่อื ง การซิงโครไนซแ์ ละไดอะแกรมเวลา
4. สรปุ ผลการทดลอง

8.3 หลงั เรียน
1. ทาแบบฝกึ หดั บทที่ 13

9. ผลงาน/ชน้ิ งาน ที่เกิดจากการเรียนรู้ของผเู้ รยี น

1. แบบฝกึ หดั บทท่ี 13 ใบปฏบิ ตั งิ านท่ี 13
2. ตรวจผลงาน

10. เอกสารอ้างองิ

1. พันธศ์ ักดิ์ พฒุ ิมานติ พงศ์. วงจรพัลส์และสวติ ชิง. : ศูนย์สง่ เสรมิ อาชวี ะ (ศสอ)

11. การบูรณาการ/ความสัมพนั ธก์ บั รายวิชาอืน่

1. บูรณาการกับวชิ าวงจรไฟฟา้ กระแสสลับ
2. บรู ณาการกบั วชิ าอปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกสแ์ ละวงจร

12. หลกั การประเมินผลการเรยี น

12.1 กอ่ นเรียน
1. ความรเู้ บอื้ งต้นกอ่ นการเรียนการสอน

12.2 ขณะเรยี น
1. สังเกตการทางาน

12.3 หลังเรยี น
1. ตรวจแบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 13
2. ตรวจใบงานท่ี 13

13. รายละเอยี ดการประเมินผลการเรียน

จุดประสงคข์ ้อที่ 1 อธิบายหลกั การทางานการซิงโครไนซไ์ ด้
1. วธิ กี ารประเมิน : ทดสอบ

452

2. เคร่ืองการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถอธิบายหลกั การทางานการซิงโครไนซ์ได้
4. เกณฑ์การผา่ น : อธบิ ายหลกั การทางานการซิงโครไนซ์ได้ จะได้ 1.5 คะแนน
จดุ ประสงคข์ อ้ ท่ี 2 อธิบายการควบคุมระบบการทางานทางดจิ ติ อลได้
1. วธิ กี ารประเมนิ : ทดสอบ
2. เคร่ืองการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถอธบิ ายการควบคุมระบบการทางานทางดจิ ิตอลได้
4. เกณฑ์การผา่ น : อธบิ ายการควบคุมระบบการทางานทางดจิ ิตอลได้ จะได้ 1.5 คะแนน
จุดประสงค์ขอ้ ที่ 3 คานวณหาค่าเวลาและความถ่ขี องสญั ญาณได้
1. วธิ กี ารประเมนิ : ทดสอบ
2. เครื่องการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถคานวณหาค่าเวลาและความถ่ขี องสัญญาณได้
4. เกณฑ์การผา่ น : คานวณหาค่าเวลาและความถข่ี องสัญญาณได้ จะได้ 2 คะแนน
จุดประสงค์ขอ้ ที่ 4 ต่อวงจรตามแบบท่กี าหนดให้ไดอ้ ย่างถกู ต้อง
1. วิธกี ารประเมนิ : ทดสอบ
2. เคร่อื งการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถตอ่ วงจรตามแบบท่ีกาหนดใหไ้ ดอ้ ย่างถูกตอ้ ง
4. เกณฑ์การผา่ น : ต่อวงจรตามแบบท่ีกาหนดให้ไดอ้ ย่างถูกต้อง จะได้ 2 คะแนน
จุดประสงคข์ อ้ ที่ 5 บนั ทกึ ผลการทดลองได้อยา่ งถกู ต้อง
1. วธิ กี ารประเมนิ : ทดสอบ
2. เครื่องการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถบนั ทกึ ผลการทดลองได้อย่างถกู ต้อง
4. เกณฑ์การผ่าน : บันทกึ ผลการทดลองได้อยา่ งถกู ต้อง จะได้ 2 คะแนน

453

14. แบบทดสอบก่อนเรยี น

หนว่ ยการสอนที่ 13. ช่ือหน่วยการสอน การซงิ โครไนซแ์ ละไดอะแกรมเวลา

วัตถปุ ระสงค์ เพือ่ ประเมินความรพู้ ื้นฐานเกยี่ วกับการซิงโครไนซแ์ ละไดอะแกรมเวลา

ข้อคาถาม

ตอนที1่ จงเลือกคาตอบท่ีถูกตอ้ งที่สดุ

1. การซงิ โครไนซค์ อื อะไร

ก. การควบคุมใหเ้ กดิ การทางานทีเ่ ป็นลาดับ ข. การควบคุมใหม้ กี ารทางานอยา่ งตอ่ เน่ือง

ค. การควบคมุ ให้มกี ารทางานทส่ี ัมพันธ์กนั ง. ถกู ทุกข้อ

2. การทางานทีใ่ ช้การสง่ รหัสขอ้ มลู เตรยี มพรอ้ มไปพรอ้ มกับข้อมลู ข่าวสารแบบน้ีเรยี กระบบนว้ี า่ อะไร

ก. ระบบพรอ้ มกนั ข. ระบบไม่พร้อมกนั ค. ระบบทางานตอ่ เน่ือง ง. ระบบทางานเป็นลาดบั

3. ข้อใดไมใ่ ช่การใช้งานแบบพ้ืนฐานของการซิงโครไนซ์

ก. ใชในการตดั สินการทางานของความต้องการที่ไม่ตรงกัน

ข. ใชใ้ นการอานวยความสะดวกใหก้ ับระบบทางานแตล่ ะงาน

ค. ใชใ้ นการส่มุ ตัวอย่างสญั ญาณทไี่ มต่ รงกันดว้ ยสญั ญาณนาฬิกา

ง. ใช้ในการสง่ ผ่านสัญญาณทไ่ี ม่ตรงกนั ระหว่างขอบเขตของสัญญาณนาฬกิ าสองค่า

4. การซิงโครไนซ์ใชส้ ัญญาณชนดิ ใดมาควบคุมในระบบการทางาน

ก. กระตนุ้ ข. นาฬิกา ค. คลืน่ พัลส์ ง. คล่ืนส่เี หลยี่ ม

5. การทาให้เกิดการซิงโครไนซ์ควบคุมการทางานท่ีต้นทางและปลายทาง โดยใช้เวลาอะไรในการทางาน

รว่ มกัน

ก. เวลามาตรฐานตอนกลาง (CST) ข. โปรโตคอลเวลาเครือขา่ ย(NTP)

ค. เวลามาตรฐานสากลรว่ มกนั (UTC) ง. เวลามาตรฐานโลกท่ีกรีนวิช (GMT)

6. จากข้อ 5 ถูกนาไปประยุกตใ์ ช้งานในดา้ นใด

ก. วิทยาศาสตร์ด้านคอมพวิ เตอร์ ข. โทรคมนาคม

ค. มลั ตมิ เี ดยี ง. ถกู ทกุ ข้อ

7. จากรูปเมื่อนาไปใช้งานกบั การซิงโครไนซ์จะมีคณุ สมบัตเิ ปน็

สญั ญาณอะไร

0 5 10 15 20 25 t(ms) ก. สญั ญาณพลั ส์ ข. สัญญาณควบคุม
ค. สัญญาณนาฬิกา ง. สัญญาณสเ่ี หล่ียม

8. จากรูปขอ้ 7 สญั ญาณ 1 รอบคลื่นจะมเี วลาเท่าไหร่

ก. 5 ms ข. 10 ms ค. 15 ms ง. 20 ms

454

9. จากรูปข้อ 7 สัญญาณจะมีความถี่เทา่ ไหร่

ก. 50 Hz ข. 66.67 Hz ค. 100 Hz ง. 200 Hz

10. ไดอะแกรมเวลาดิจติ อลคอื อะไร

ก. ผังเวลาทีเ่ ขยี นเรียงเปน็ ลาดับกันไปในรปู สัญญาณพัลส์

ข. ตารางกาหนดเวลาในการทางานของระบบควบคมุ

ค. ค่าลอกจกิ 0 และ 1 ทเี่ ขยี นไว้ในตารางความจริง

ง. ลาดับเวลาของสัญญาณดจิ ติ อล

ตอนท่2ี อธิบายให้ได้ใจความสมบูรณแ์ ละแสดงวธิ ที าใหถ้ ูกต้องสมบูรณ์

1. การซิงโครไนซ์คอื อะไรมีหลกั การทางานอย่างไร

2. การควบคมุ ระบบการทางานทางดิจติ อลแบง่ ออกได้เป็นกีร่ ะบบ มหี ลกั การทางานอยา่ งไร

3. จากรปู จงหาเวลาและความถ่ีของสัญญาณ

1

0 10 20 t (µF)

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

ขอ้ 1 ข้อ2 ขอ้ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ขอ้ 7 ขอ้ 8 ขอ้ 9 ขอ้ 10

455

15. แบบทดสอบหลงั เรียน

หน่วยการสอนที่ 13. ช่ือหนว่ ยการสอน การซิงโครไนซ์และไดอะแกรมเวลา

วตั ถุประสงค์ เพื่อ ประเมินความรู้พ้นื ฐานเกีย่ วกับการซิงโครไนซแ์ ละไดอะแกรมเวลา

ขอ้ คาถาม

ตอนที1่ จงเลอื กคาตอบทีถ่ ูกต้องทีส่ ุด

1. การซิงโครไนซ์คอื อะไร

ก. การควบคมุ ใหเ้ กดิ การทางานทเ่ี ป็นลาดบั ข. การควบคุมใหม้ ีการทางานอยา่ งต่อเน่ือง

ค. การควบคุมให้มกี ารทางานท่ีสมั พันธ์กัน ง. ถูกทกุ ข้อ

2. การทางานท่ีใช้การส่งรหัสขอ้ มูลเตรยี มพรอ้ มไปพร้อมกบั ข้อมูลขา่ วสารแบบนเ้ี รียกระบบนวี้ ่าอะไร

ก. ระบบพรอ้ มกนั ข. ระบบไมพ่ รอ้ มกนั ค. ระบบทางานต่อเนอื่ ง ง. ระบบทางานเป็นลาดบั

3. ขอ้ ใดไม่ใช่การใชง้ านแบบพืน้ ฐานของการซิงโครไนซ์

ก. ใชในการตัดสินการทางานของความต้องการท่ีไมต่ รงกนั

ข. ใชใ้ นการอานวยความสะดวกใหก้ บั ระบบทางานแต่ละงาน

ค. ใช้ในการสุม่ ตวั อยา่ งสญั ญาณท่ีไม่ตรงกนั ด้วยสญั ญาณนาฬิกา

ง. ใชใ้ นการส่งผา่ นสญั ญาณทไ่ี ม่ตรงกันระหว่างขอบเขตของสัญญาณนาฬิกาสองคา่

4. การซิงโครไนซใ์ ช้สญั ญาณชนิดใดมาควบคุมในระบบการทางาน

ก. กระต้นุ ข. นาฬกิ า ค. คล่นื พลั ส์ ง. คลน่ื สเี่ หลย่ี ม

5. การทาให้เกิดการซิงโครไนซ์ควบคุมการทางานท่ีต้นทางและปลายทาง โดยใช้เวลาอะไรในการทางาน

รว่ มกัน

ก. เวลามาตรฐานตอนกลาง (CST) ข. โปรโตคอลเวลาเครือข่าย(NTP)

ค. เวลามาตรฐานสากลร่วมกัน (UTC) ง. เวลามาตรฐานโลกที่กรนี วชิ (GMT)

6. จากขอ้ 5 ถูกนาไปประยุกตใ์ ช้งานในด้านใด

ก. วทิ ยาศาสตรด์ ้านคอมพิวเตอร์ ข. โทรคมนาคม

ค. มัลติมีเดีย ง. ถกู ทกุ ข้อ

7. จากรูปเม่ือนาไปใช้งานกับการซิงโครไนซจ์ ะมีคุณสมบัติเป็น

สญั ญาณอะไร

0 5 10 15 20 25 t(ms) ก. สญั ญาณพลั ส์ ข. สัญญาณควบคุม
ค. สญั ญาณนาฬกิ า ง. สญั ญาณสเี่ หลีย่ ม

8. จากรปู ข้อ 7 สญั ญาณ 1 รอบคลื่นจะมีเวลาเท่าไหร่

ก. 5 ms ข. 10 ms ค. 15 ms ง. 20 ms

9. จากรูปขอ้ 7 สญั ญาณจะมีความถี่เท่าไหร่

456

ก. 50 Hz ข. 66.67 Hz ค. 100 Hz ง. 200 Hz

10. ไดอะแกรมเวลาดจิ ิตอลคอื อะไร

ก. ผงั เวลาทีเ่ ขยี นเรียงเป็นลาดับกันไปในรปู สัญญาณพัลส์

ข. ตารางกาหนดเวลาในการทางานของระบบควบคมุ

ค. คา่ ลอกจกิ 0 และ 1 ทีเ่ ขียนไวใ้ นตารางความจริง

ง. ลาดบั เวลาของสัญญาณดจิ ติ อล

ตอนท่ี2 อธิบายให้ได้ใจความสมบรู ณ์และแสดงวิธที าใหถ้ ูกตอ้ งสมบูรณ์

1. การซงิ โครไนซ์คอื อะไรมีหลักการทางานอย่างไร

2. การควบคมุ ระบบการทางานทางดิจติ อลแบง่ ออกได้เปน็ กร่ี ะบบ มหี ลกั การทางานอยา่ งไร

3. จากรปู จงหาเวลาและความถ่ีของสัญญาณ

1

0 10 20 t (µF)

เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น

ขอ้ 1 ข้อ2 ข้อ 3 ขอ้ 4 ขอ้ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 ขอ้ 8 ข้อ 9 ขอ้ 10

457

16. ใบความรู้ที่ 13

หนว่ ยการสอนที่ 13 ชอ่ื หน่วยการสอน การซงิ โครไนซแ์ ละไดอะแกรมเวลา

หวั ข้อเรอื่ ง การซงิ โครไนซ์และไดอะแกรมเวลา

13.1 การซงิ โครไนซ์

ในระบบการทางานทางด้านคอมพิวเตอร์ หรือระบบควบคุมการทางานในอุปกรณ์ไฟฟ้าและ
อิเล็กทรอนิกส์ชนิดต่างๆ ท่ีมีการทางานหลายงานพร้อมกัน หากการทางานเหล่าน้ันเป็นอิสระไม่เกี่ยวข้องกัน
โดยสิ้นเชิง จะไม่เกิดปัญหาใดๆ ในระบบการทางาน แต่ในความเป็นจริงแล้วงานเหล่านั้นต้องใช้ทรัพยากร
ร่วมกันไม่มากก็น้อย ดังนั้นการทางานของงานหน่ึง อาจมีผลกระทบทางอ้อมต่ออีกงานหน่ึง โดยผ่านทาง
ทรัพยากรท่ีใช้ร่วมกัน หรือในการทางานบางอย่างระบบการทางานจาเป็นต้องสัมพันธ์และเก่ียวข้องกัน เพ่ือมิ
ให้งานต่างๆ ส่งผลกระทบกันอันจะก่อให้เกิดความเสียหายขึ้นได้ ต่อส่วนของระบบปฏิบัติการ หรือระบบ
ควบคุม จะต้องทาการควบคุมส่วนที่มีผลกระทบร่วมกันให้มีการทางานที่สัมพันธ์กันระหว่างแต่ละงาน หน้าท่ี
ควบคมุ ใหม้ กี ารทางานทส่ี มั พนั ธ์กันน้ถี ูกเรยี กวา่ การซงิ โครไนซ์ (Synchronization) หรอื การทาให้พรอ้ มกนั

การซิงโครไนซ์เป็นวิธีการที่ทาให้เกิดการกาหนดค่า การบังคับ หรือการเรียงลาดับของเหตุการณ์บน
สัญญาณข้อมูลข่าวสาร ในการออกแบบระบบดิจิตอลการซิงโครไนซ์ทาให้แน่ใจว่าการทางานท่ีเกิดข้ึนเป็นไป
ตามลาดับท่ีถูกต้อง และในกรณีท่ีต้องใช้ความระมัดระวัง (Critical) ในการทางานต้องแน่ใจได้ว่าการทางาน
ของระบบมีความถูกต้องและน่าเช่ือถือ ในทางหลักฟิสิกส์แล้วการใช้การซิงโครไนซ์จะทาให้ระบบมีขนาดใหญ่
ข้ึน และทาให้ความเร็วในการทางานของระบบเพิ่มขึ้น หรือเป็นประโยชน์ต่อการทดสอบที่เกิดขึ้น เม่ือนาการ
ซิงโครไนซ์มาใช้งานจะมีบทบาทสาคัญต่อระบบการออกแบบ การทางานทางดิจิตอลทั้งหมดจะขึ้นอยู่กับ
สัญญาณควบคุมในระบบเป็นไปตามสถานะของลอจิก ดังน้ันหลักการทางานทางดิจิตอลจึงข้ึนอยู่กับความ
เช่ือม่ัน ของการซิงโครไนซ์ท่ีมาจากภายนอก การซิงโครไนซ์ทาให้เกิดการควบคุม โดยรับรองการเรียงลาดับ
ของเหตุการณ์บนทางเดินสัญญาณ ดว้ ยสัญญาณของการซงิ โครไนซ์ ซ่ึงอาจเกิดการเปล่ียนแปลงท่ีเวลาใดๆ ได้
ทาให้เกดิ การทางานท่ีพร้อมเพรียงกันด้วยการควบคุมของสัญญาณนาฬิกา ก่อนทจี่ ะถูกนาไปใชเ้ ป็นอินพุตของ
ลอจิกทาใหพ้ ร้อมกนั (Synchronous Logic)

13.2 การใช้งานของการซงิ โครไนซ์

ในระบบการทางานทางดิจิตอล การควบคุมให้เกิดการทางานทางด้านเครื่องรับให้ตรงกับการทางาน
ทางด้านเครื่องส่ง สามารถแบ่งการควบคุมออกได้ 2 ระบบ คือระบบไม่พร้อมกัน(Asynchronous System)
ใช้วิธีการถอดรหัสจากข้อมูลเตรียมพร้อม (Data Ready) เป็นสัญญาณรหัสควบคุมใช้เป็นสัญญาณนาก่อนจะ
ถึงสัญญาณข้อมูลข่าวสาร และระบบพร้อมกัน (Synchronous System) ใช้วิธีการควบคุมด้วยสัญญาณ
นาฬิกา หลักการทางานของทัง้ 2 ระบบ

458

13.3 เวลาและความถ่สี ัญญาณนาฬิกา

สัญญาณนาฬิกาประกอบด้วยส่วนประกอบหลักสองส่วนได้แก่ ส่วนแรกเป็นอุปกรณ์ให้กาเนิด
สัญญาณนาฬิกา ใช้กาหนดความยาวของช่วงเวลาในหนว่ ยวนิ าที หรืออาจกล่าวได้วา่ คอื ระยะหา่ งของเวลา อยู่
ในรูปของความถี่สัญญาณนาฬิกา โดยปกติในการประยุกต์ใช้งานท่ัว ไปใช้แร่คริสตัลในวงจรกาเนิดความถี่ ให้
กาเนิดความถ่ีอ้างอิงท่ีต้องการออกมา นาไปต่อร่วมกับวงจรอิเล็กทรอนิกส์ หรือกล่าวได้ในอีกลักษณะหนึ่งว่า
ส่วนของสัญญาณนาฬิกาเกิดจากการส่ัน ของสัญญาณคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าที่เก่ียวข้องกับการเปล่ียนแปลง
ควอนตัมระหว่างสองระดับพลังงานในอะตอม โดยเลือกมาจากค่าอ้างอิง ส่วนท่ีสองเป็นส่วนของวงจรนับ ที่
เรยี กว่าตัวรวมหรือตวั สะสมที่เก็บจานวนความถ่ีของเวลาในจานวนรอบคล่ืนต่อวินาทีท่ีเกิดขนึ้ ของวงจรกาเนิด
ความถี่แสดงคา่ ความถีน่ น้ั ออกมา

13.4 ไดอะแกรมเวลาดิจิตอล

ไดอะแกรมเวลาดิจิตอล (Digital Timing Diagram) คือผังเวลาท่ีเขียนเรียงเป็นลาดับกันไปในรูป
สัญญาณคลื่นสี่เหลี่ยมมุมฉาก หรือคลื่นสัญญาณพัลส์ ท่ีแสดงค่าออกมาแทนค่าสัญญาณลอจิก 2 ค่า คือ 0
และ 1 ถูกกาหนดค่าการเกดิ สัญญาณพัลสด์ ว้ ยคา่ เวลาท่กี าหนดไว้ ทัง้ ทางด้านอนิ พตุ และทางดา้ นเอาต์พตุ โดย
จะถูกควบคุมการทางานด้วยสัญญาณนาฬิกาด้วยหรือไม่ก็ได้ไดอะแกรมเวลาดิจิตอลจะเป็นตัวบอกถึงสภาวะ
การทางานของวงจรดิจิตอลชนิดต่างๆ เหลา่ น้ัน

ไดอะแกรมเวลาดิจติ อลที่แสดงไว้ สามารถนามาเขียนเป็นตารางความจริงได้ หรอื ในทางตรงขา้ มกันก็
สามารถนาตารางความจริงไปเขียนเป็นไดอะแกรมเวลาดิจิตอลได้เช่นเดียวกัน ค่าท้ัง หมดที่แสดงออกมาจะ
แสดงให้ทราบถึงคุณสมบัติการทางานในแต่ละตาแหน่งขั้วต่อทั้ง ด้านอินพุตและเอาต์พุตของวงจรดิจิตอล
เหลา่ นั้น นาไปใชเ้ ปน็ เครื่องมือในการวิเคราะห์คา่ ความจริงของลอจิกเกตได้ ใช้ในการตรวจสอบวงจรดจิ ิตอลท่ี
ต่อออกมาได้ และสามารถใช้ในการออกแบบวงจรดจิ ิตอลใหม่ทเ่ี หมาะสมกับการใช้งานได้

13.5 ไดอะแกรมเวลาดิจติ อลควบคมุ ดว้ ยสญั ญาณนาฬิกา

สัญญาณนาฬิกาเป็นส่ิงสาคัญของระบบการทางานของวงจรดิจิตอล ท่ีมีการทางานในรูปแบบการทา
ให้พรอ้ มกันหรือการซิงโครไนซ์ ดังนนั้ สญั ญาณนาฬิกาจึงเข้ามามีสว่ นเก่ียวข้องในระบบควบคุมการทางานของ
วงจรดิจิตอล โดยถือว่าเป็นส่วนหน่ึงในระบบการทางาน เมื่อนาระบบการทางานของวงจรดิจิตอลไปเขียนให้
อยู่ในรูปไดอะแกรมเวลาดิจิตอล จึงต้องมีสัญญาณนาฬิกาถูกแสดงค่าไว้เป็นส่วนหน่ึงของไดอะแกรมเวลา
ดิจิตอล และมักจะแสดงไว้ในตาแหน่งบนสุดของไดอะแกรมเสมอ ใช้เป็นท้ังไดอะแกรมเวลาดิจิตอลช่วยบอก
ช่วงเวลาของการทางานและเป็นทั้งสัญญาณนาฬิกาใช้เพ่ือควบคุมการทา งานของวงจรดิจิตอลให้เกิดการ
ทางานพร้อมกันไดอะแกรมเวลาดิจิตอลท่ีมีสัญญาณนาฬิกาใช้ควบคมุ การทางาน

459

13.6 บทสรุป

หน้าที่ควบคุมให้ระบบการทางานมีการทางานที่สัมพันธ์กันถูกเรียกว่า การซิงโครไนซ์หรือการทาให้
พร้อมกัน การซิงโครไนซ์เปน็ วิธกี ารทท่ี าใหเ้ กิดการกาหนดค่า การบังคับ หรือการเรียงลาดับของเหตุการณบ์ น
สัญญาณข้อมูลข่าวสาร ในการออกแบบระบบดิจิตอลการซิงโครไนซ์ทาให้แน่ใจว่าการทางานที่เกิดข้ึนเป็นไป
ตามลาดับที่ถูกต้อง เมื่อนาการซิงโครไนซ์มาใช้งานจะมีบทบาทสาคัญต่อระบบการออกแบบ การทางานทาง
ดิจติ อลท้ัง หมดจะข้ึนอยกู่ บั สญั ญาณควบคุม

ในระบบที่เป็นไปตามสถานะของลอจิกในระบบการทางานทางดิจิตอล การควบคุมให้เกิดการทางาน
ทางดา้ นเครื่องรับให้ตรงกบั การทางานทางด้านเคร่ืองส่ง สามารถแบ่งการควบคุมออกได้ 2 ระบบ คอื ระบบไม่
พร้อมกันใช้วิธีการถอดรหัสจากข้อมูลเตรียมพร้อม เป็นสัญญาณรหัสควบคุมใช้เป็นสัญญาณนาก่อนจะถึง
สัญญาณข้อมูลข่าวสาร และระบบพรอ้ มกัน ใช้วธิ ีการควบคมุ ด้วยสัญญาณนาฬกิ า

หน้าท่ีของการซิงโครไนซ์ก็คือทาให้แน่ใจว่าในการดาเนินงานจะเป็นไปตามลาดับที่ถูกต้องการ
ซิงโครไนซ์จึงเป็นส่วนหน่ึงท่ีสาคัญต่อการออกแบบระบบดิจิตอล การใช้งานแบบพื้นฐานของการซิงโครไนซ์
สามารถนาไปใช้งานได้ใน 3 วธิ ีการ ดังน้ี ใช้ในการตดั สินการทางานของความต้องการท่ีไม่ตรงกัน ใช้ในการสุ่ม
ตัวอย่างสัญญาณท่ีไม่ตรงกันด้วยสัญญาณนาฬิกา และใช้ในการส่งผ่านสัญญาณที่ไม่ตรงกันระหว่างขอบเขต
ของสัญญาณนาฬกิ าสองค่า

สัญญาณนาฬิกาประกอบด้วยส่วนประกอบหลักสองส่วนได้แก่ ส่วนแรกเป็นอุปกรณ์ให้กาเนิด
สัญญาณนาฬิกา ใช้กาหนดความยาวของช่วงเวลาในหน่วยวินาที ส่วนที่สองเป็นส่วนวงจรนับ เก็บจานวน
ความถ่ีของเวลาเป็นจานวนรอบคลื่นตอ่ วินาที ท่ีเกิดขน้ึ ของวงจรกาเนดิ ความถแี่ สดงค่าความถน่ี นั้ ออกมา

ไดอะแกรมเวลาดิจิตอล คือผังเวลาที่เขียนเรียงเป็นลาดับกันไปในรูปสัญญาณคลื่นพัลส์ที่แสดงค่า
ออกมาแทนค่าสัญญาณลอจิก 2 ค่า คือ 0 และ 1 ถูกกาหนดค่าการเกิดสัญญาณพัลส์ด้วยค่าเวลาที่กาหนดไว้
โดยจะถูกควบคุมการทางานด้วยสัญญาณนาฬิกาด้วยหรือไม่ก็ได้ ตัวไดอะแกรมเวลาดิจิตอลจะเป็นตัวบอกถึง
สภาวะการทางานของวงจรดิจิตอลชนิดต่างๆ นาไปใช้เป็นเคร่ืองมือในการวิเคราะห์ค่าความจริงของลอจิกเกต
ได้ ใช้ในการตรวจสอบวงจรดจิ ติ อลทต่ี ่อออกมาได้ และสามารถใชใ้ นการออกแบบวงจรดิจติ อลใหมท่ ่ีเหมาะสม
กับการใชง้ านได้

460

17. ใบงานท่ี 13

หน่วยการสอนที่ 13 ช่อื หน่วยการสอน การซิงโครไนซแ์ ละไดอะแกรมเวลา

หัวข้อเรื่อง T ฟลปิ ฟลอปและไดอะแกรมเวลา

จดุ ประสงค์

1. ประกอบวงจร T ฟลปิ ฟลอปสรา้ งจาก JK ฟลปิ ฟลอปได้

2. เขียนไดอะแกรมเวลาของ T ฟลปิ ฟลอปได้

3. เกดิ ความขยนั ขนั แข็งในการปฎบิ ัตงิ าน

เครอ่ื งมือและอุปกรณ์

1. แผงทดลองดิจิตอล 1 ชุด

2. IC เบอร์ 74107 1 ตัว

3. คู่มอื การใช้งาน IO TTL 1 เล่ม

4. สายต่อวงจร 1 ชุด

ลาดับขั้นตอนการทดลอง

1. ประกอบวงจรตามรปู ที่ 13.1 พร้อมท้งั จา่ ยแรงดนั 5V ให้ตวั IC เบอร์ 74107

+5V

14 T(CK) 1 2 3 4 5 6 7
VCC Q
1J Q 3 Q

T 12 CK 74107

4K Q2
CLR GND
17

รูปท่ี 13.1 T ฟลิปฟลอปสร้างจาก JK ฟลปิ ฟลอป ตารางท1ี่ 3.1

2. ป้อนสัญญาณนาฬิกาเข้าที่อินพุต T คร้ังละ 1 ลูกคล่ืน ตั้งแต่ลูกที่ 1 ถึงลูกที่ 7 แต่ละคร้ังของการ

ป้อนสัญญาณนาฬิกา ให้ดูผลลัพธ์ที่เอาต์พุต Q และ Q̅ บันทึกผลลงในตารางที่ 13.1 ช่องเอาต์พุต Q และ Q̅

ตง้ั แตส่ ัญญาณนาฬกิ าลูกที่ 1 ถงึ ลกู ที่ 7

3. นาผลลพั ธท์ ไ่ี ด้จากตารางท่ี 13.1 ไปเขยี นไดอะแกรมเวลาดิจิตอลลงในรปู ที่ 13.2

461

รูปที่ 13.2 ไดอะแกรมเวลาดิจติ อลของ T ฟลปิ ฟลอปจากตารางท่ี 13.1
สรุปผลการทดลอง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
คาถามและการวเิ คราะห์
1. ผลการทดลองของ T ฟลิปฟลอปในตารางท่ี 13.1 และไดอะแกรมเวลาดิจิตอลรูปท่ี 13.2 เหมือนหรือ
แตกตา่ งกนั กบั คณุ สมบตั ขิ อง T ฟลิปฟลอปหรอื ไม่อยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

462

18. แบบประเมนิ ผล

แบบประเมินผลการนาเสนอผลงาน

ชอ่ื กลุม่ ……………………………………………ชัน้ ………………………ห้อง............................

รายช่ือสมาชิก

1……………………………………เลขท่ี……. 2……………………………………เลขท…่ี ….

3……………………………………เลขท่ี……. 4……………………………………เลขท…ี่ ….

ท่ี รายการประเมิน คะแนน ขอ้ คดิ เห็น
32 1

1 เนื้อหาสาระครอบคลุมชัดเจน (ความร้เู ก่ยี วกบั เนอ้ื หา ความถกู ต้อง

ปฏิภาณในการตอบ และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า)

2 รปู แบบการนาเสนอ

3 การมสี ว่ นร่วมของสมาชกิ ในกลมุ่

4 บุคลิกลักษณะ กิริยา ท่าทางในการพูด น้าเสียง ซ่ึงทาให้ผู้ฟังมีความ

สนใจ

รวม

ผูป้ ระเมนิ …………………………………………………

เกณฑก์ ารให้คะแนน

1. เนื้อหาสาระครอบคลุมชดั เจนถกู ต้อง

3 คะแนน = มีสาระสาคญั ครบถ้วนถูกตอ้ ง ตรงตามจดุ ประสงค์

2 คะแนน = สาระสาคัญไม่ครบถว้ น แตต่ รงตามจุดประสงค์

1 คะแนน = สาระสาคัญไมถ่ ูกต้อง ไมต่ รงตามจดุ ประสงค์

2. รปู แบบการนาเสนอ

3 คะแนน = มีรูปแบบการนาเสนอท่เี หมาะสม มีการใช้เทคนิคท่แี ปลกใหม่ ใชส้ ื่อและเทคโนโลยี

ประกอบการ นาเสนอทน่ี า่ สนใจ นาวสั ดใุ นท้องถิน่ มาประยุกตใ์ ชอ้ ยา่ งคมุ้ ค่าและ

ประหยดั

2 คะแนน = มเี ทคนคิ การนาเสนอทแ่ี ปลกใหม่ ใชส้ ื่อและเทคโนโลยปี ระกอบการนาเสนอท่ีน่าสนใจ

แต่ขาดการประยกุ ตใ์ ช้ วสั ดุในท้องถิ่น

1 คะแนน = เทคนิคการนาเสนอไม่เหมาะสม และไม่นา่ สนใจ

3. การมสี ว่ นรว่ มของสมาชิกในกลุ่ม

3 คะแนน = สมาชิกทกุ คนมีบทบาทและมสี ว่ นร่วมกิจกรรมกลมุ่

2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญม่ ีบทบาทและมสี ่วนรว่ มกจิ กรรมกลุ่ม

1 คะแนน = สมาชิกสว่ นนอ้ ยมบี ทบาทและมสี ว่ นรว่ มกจิ กรรมกลมุ่

4. ความสนใจของผฟู้ งั

3 คะแนน = ผูฟ้ งั มากกวา่ รอ้ ยละ 90 สนใจ และใหค้ วามร่วมมือ

2 คะแนน = ผู้ฟังรอ้ ยละ 70-90 สนใจ และให้ความร่วมมือ

1 คะแนน = ผฟู้ งั นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 70 สนใจ และใหค้ วามรว่ มมอื

463

แบบประเมนิ กระบวนการทางานกลุ่ม

ช่ือกลุม่ ……………………………………………ช้นั ………………………หอ้ ง............................
รายชอ่ื สมาชกิ

1……………………………………เลขท…ี่ …. 2……………………………………เลขท่ี…….
3……………………………………เลขท…่ี …. 4……………………………………เลขท่ี…….

ที่ รายการประเมิน คะแนน ข้อคดิ เหน็
321
1 การกาหนดเปา้ หมายร่วมกนั
2 การแบง่ หนา้ ที่รับผดิ ชอบและการเตรียมความพร้อม
3 การปฏบิ ตั หิ น้าท่ที ี่ไดร้ บั มอบหมาย
4 การประเมนิ ผลและปรบั ปรงุ งาน

รวม

ผู้ประเมนิ …………………………………………………
วนั ท่ี…………เดอื น……………………..พ.ศ…………...
เกณฑก์ ารให้คะแนน
1. การกาหนดเปา้ หมายรว่ มกัน
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมสี ว่ นรว่ มในการกาหนดเป้าหมายการทางานอยา่ งชัดเจน
2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญม่ ีสว่ นรว่ มในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน
1 คะแนน = สมาชกิ ส่วนน้อยมสี ว่ นร่วมในการกาหนดเปา้ หมายในการทางาน
2. การหนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบและการเตรยี มความพร้อม
3 คะแนน = กระจายงานได้ทัว่ ถงึ และตรงตามความสามารถของสมาชิกทกุ คน มีการจดั เตรยี ม
สถานท่ี สื่อ/อปุ กรณไ์ ว้อยา่ งพรอ้ มเพรยี ง
2 คะแนน = กระจายงานไดท้ ว่ั ถงึ แต่ไมต่ รงตามความสามารถ และมีส่อื /อปุ กรณไ์ ว้อยา่ งพร้อมเพรียง
แต่ขาดการจดั เตรียมสถานที่
1 คะแนน = กระจายงานไม่ท่วั ถึงและมสี อ่ื / อปุ กรณไ์ มเ่ พยี งพอ
3. การปฏบิ ัติหน้าท่ีทไี่ ด้รบั มอบหมาย
3 คะแนน = ทางานไดส้ าเรจ็ ตามเปา้ หมาย และตามเวลาท่ีกาหนด
2 คะแนน = ทางานไดส้ าเรจ็ ตามเปา้ หมาย แตช่ ้ากวา่ เวลาที่กาหนด
1 คะแนน = ทางานไมส่ าเร็จตามเป้าหมาย
4. การประเมนิ ผลและปรบั ปรุงงาน
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนรว่ มปรกึ ษาหารอื ตดิ ตาม ตรวจสอบ และปรบั ปรงุ งานเปน็ ระยะ
2 คะแนน = สมาชิกบางส่วนมสี ว่ นร่วมปรกึ ษาหารอื แต่ไมป่ รับปรุงงาน
1 คะแนน = สมาชกิ บางส่วนมสี ว่ นรว่ มไม่มสี ว่ นรว่ มปรกึ ษาหารือ และปรับปรุงงาน

464

19. แบบฝกึ หัด

แบบฝึกหดั ท้ายหนว่ ยที่ 13
การซิงโครไนซแ์ ละไดอะแกรมเวลา
คาส่งั อธบิ ายให้ได้ใจความสมบูรณ์และแสดงวธิ ีทาใหถ้ ูกต้องสมบูรณ์

1. การซงิ โครไนซ์คืออะไรมีหลักการทางานอย่างไร
2. การควบคมุ ระบบการทางานทางดจิ ิตอลแบ่งออกได้เป็นกร่ี ะบบ มหี ลกั การทางานอยา่ งไร
3. จากรูปจงหาเวลาและความถ่ขี องสญั ญาณ

1 t (µF)
0 10 20

465

20. บนั ทกึ ผลหลงั การจัดการเรยี นรู้แบบมุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพและบรู ณาการตามหลัก

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

20.1 สรปุ ผลการจดั การเรยี นรู้

รายการ ระดับการปฏบิ ัติ
54321

ด้านการเตรียมการสอน

1.จดั หน่วยการเรียนรไู้ ดส้ อดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้

2. กาหนดเกณฑก์ ารประเมนิ ครอบคลุมทง้ั ดา้ นความรู้ ด้านทกั ษะ และดา้ นจติ พิสยั

3. เตรยี มวสั ดุ-อุปกรณ์ สื่อ นวตั กรรม กจิ กรรมตามแผนการจดั การเรียนรกู้ ่อนเข้าสอน

ด้านการจดั กิจกรรมการเรียนรู้

4. มวี ิธีการนาเข้าสู่บทเรยี นท่นี า่ สนใจ

5. มีกจิ กรรมทีห่ ลากหลาย เพ่อื ช่วยใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้ ความเขา้ ใจ

6. จดั กจิ กรรมท่สี ่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นค้นคว้าเพื่อหาคาตอบด้วยตนเอง

7. นกั เรยี นมสี ว่ นร่วมในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

8. จัดกิจกรรมทเ่ี นน้ กระบวนการคดิ ( คิดวิเคราะห์ คดิ สงั เคราะห์ คดิ สรา้ งสรรค์ )

9. กระตุ้นใหผ้ เู้ รียนแสดงความคดิ เหน็ อย่างเสรี

10. จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ีเช่อื มโยงกับชวี ิตจรงิ โดยนาภมู ิปญั ญา/บรู ณาการเขา้ มามสี ว่ นรว่ ม

11. จดั กิจกรรมโดยสอดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรม

12. มีการเสรมิ แรงเมอ่ื นักเรยี นปฏิบตั ิ หรือตอบถกู ตอ้ ง

13. มอบหมายงานให้เหมาะสมตามศักยภาพของผ้เู รียน

14. เอาใจใส่ดูแลผเู้ รยี น อย่างทว่ั ถงึ

15. ใช้เวลาสอนเหมาะสมกบั เวลาทก่ี าหนด

ด้านสอื่ นวตั กรรม แหลง่ การเรียนรู้

16. ใช้ส่ือท่ีเหมาะสมกบั กิจกรรมและศกั ยภาพของผู้เรยี น

17. ใชส้ อื่ แหลง่ การเรยี นรอู้ ยา่ งหลากหลาย เชน่ บคุ คล สถานท่ี ของจริง เอกสารสื่อ

อเิ ลก็ ทรอนิกส์ และอินเทอรเ์ นต็ เป็นตน้

13. มอบหมายงานให้เหมาะสมตามศักยภาพของผู้เรียน

14. เอาใจใส่ดแู ลผเู้ รยี น อยา่ งทัว่ ถงึ

15. ใชเ้ วลาสอนเหมาะสมกบั เวลาท่กี าหนด

ดา้ นการวัดและประเมินผล

18. ผู้เรยี นมสี ว่ นร่วมในการกาหนดเกณฑ์การวดั และประเมนิ ผล

19. ประเมนิ ผลอย่างหลากหลายและครบทัง้ ดา้ นความรู้ ทกั ษะ และจิตพสิ ัย

20. ครู ผู้เรียน ผูป้ กครอง หรือ ผทู้ ี่เกย่ี วข้องมีสว่ นรว่ ม ในการประเมนิ

หมายเหตุ ระดับการปฏิบตั ิ 5 = ปฏบิ ตั ดิ เี ย่ียม 4 = ปฏบิ ตั ิดี 3 = ปฏบิ ตั ิพอใช้ 2 รวม

= ควรปรับปรุง 1 = ไมม่ กี ารปฏบิ ตั ิ เฉลี่ย

466

20.2 ปัญหาทีพ่ บ และแนวทางแก้ปัญหา

ปัญหาท่ีพบ แนวทางแกป้ ญั หา

ดา้ นการเตรียมการสอน

.................................................................................. ................................................................................

.................................................................................. ................................................................................

.................................................................................. ................................................................................

.................................................................................. ................................................................................

ด้านการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

.................................................................................. ................................................................................

.................................................................................. ................................................................................

.................................................................................. ................................................................................

.................................................................................. ................................................................................

ด้านส่ือ นวัตกรรม แหลง่ การเรยี นรู้

.................................................................................. ................................................................................

.................................................................................. ................................................................................

.................................................................................. ................................................................................

.................................................................................. ................................................................................

ด้านการวดั ประเมินผล

.................................................................................. ................................................................................

.................................................................................. ................................................................................

.................................................................................. ................................................................................

.................................................................................. ................................................................................

ดา้ นอ่ืน ๆ (โปรดระบุเปน็ ขอ้ ๆ)

.................................................................................. ................................................................................

.................................................................................. ................................................................................

.................................................................................. ................................................................................

.................................................................................. ................................................................................

ลงชื่อ ........................................................................ ครผู ูส้ อน
(นายปฏพิ าน สนี าบญุ )
ตาแหน่ง ครูพเิ ศษสอน

............../.................................../....................

21. บันทึกการนิเทศและติดตาม 467
ชอ่ื -สกุล ผ้นู เิ ทศ ตาแหน่ง
วัน-เดือน-ปี เวลา รายการนเิ ทศและติดตาม


Click to View FlipBook Version