The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ นางสาวพัชรา ผมน้อย เลขประจำตัวสอบ 1052304 กลุ่มวิชาพลศึกษา
ประกอบการประเมินภาค ค ความเหมาะสมกับตำแหน่ง วิชาชีพ และการปฏิบัติงานในสถานศึกษา ตำแหน่งครูผู้ช่วย สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by patchara2537, 2022-03-28 11:29:09

แผนการจัดการเรียนรู้ นางสาวพัชรา ผมน้อย เลขประจำตัวสอบ 1052304

แผนการจัดการเรียนรู้ นางสาวพัชรา ผมน้อย เลขประจำตัวสอบ 1052304 กลุ่มวิชาพลศึกษา
ประกอบการประเมินภาค ค ความเหมาะสมกับตำแหน่ง วิชาชีพ และการปฏิบัติงานในสถานศึกษา ตำแหน่งครูผู้ช่วย สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

Keywords: แผนการจัดการเรียนรู้,อาชีวศึกษา

แผนการจัดการเรยี นรู้

ประกอบการประเมิน

ภาค ค ความเหมาะสมกับตำแหน่ง วชิ าชีพ
และการปฏิบตั ิติงานในสถานศึกษา

ในการสอบแขง่ ขันเพอื่ บรรจุ และแต่งตั้งบคุ คลเขา้ รบั ราชการ
เปน็ ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
ตำแหน่งครูผชู้ ่วย

กลุ่มวิชาพลศกึ ษา
ช่อื วิชา พลศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสุขภาพ
รหัสวิชา 20000-1603 ท.ป.น. 0-2-1
หลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ พทุ ธศักราช 2562

จดั ทำโดย
นางสาวพัชรา ผมน้อย
เลขประจำตัวสอบ 1052304

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คำนำ

แผนจัดการเรียนรู้รายวิชา พลศึกษาเพื่อพัฒนาสขุ ภาพ รหัสวิชา 20000-1603 เล่มนี้ เรียบเรียงขึ้นเพ่อื
ใช้ประกอบการประเมิน ภาค ค ความเหมาะสมกับตำแหน่ง วิชาชีพ และการปฏิบัติติงานในสถานศึกษา ในการ
สอบแข่งขันเพื่อบรรจุ และแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง
ครูผู้ช่วย โดยใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ของสำนักงานคณะกรรมการการ
อาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

ขอขอบคุณครอบครัว เพื่อนร่วมงาน และผู้บังคับบัญชา ซึ่งเป็นผู้ให้คำแนะนำและในการรวบรวม
เอกสารหลกั ฐานและขอ้ มูลต่างๆ ในการจดั ทำแฟ้มสะสมผลงานฉบับนี้ให้สำเร็จลลุ ว่ งด้วยดี

ข้าพเจ้าหวงั ว่าแผนจดั การเรยี นรู้รายครั้ง วชิ า พลศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสุขภาพ รหัสวชิ า 20000-1603 เล่ม
นี้ จะทำให้ทุกท่านทีอ่ ่านได้เห็นรปู แบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ของข้าพเจ้า ถ้ามีข้อผิดพลาดประการใด
ขา้ พเจา้ ขอกราบอภยั มา ณ โอกาสนี้ด้วย

นางสาวพชั รา ผมนอ้ ย

สารบญั หนา้

หลักสูตรรายวิชา.................................................................................................................. ข
หน่วยการเรยี นรู้...................................................................................................................
โครงการจัดการเรียนรู้.................................................................................................. ........ ค-ง
สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบตั ิ............................................................................ จ-ญ
ตารางวเิ คราะหห์ ลักสูตรรายวิชา......................................................................................... ฎ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรอ่ื ง สมรรถภาพทางกาย....................................................... 1
ภาคผนวก.................................................................................................................... ........ 9
10
ใบกิจกรรม เร่ือง สมรรถภาพทางกาย.................................................................... 11
แบบประเมนิ ความรู้ดว้ ยแบบทดสอบ..................................................................... 14
แบบประเมนิ การปฏิบตั กิ จิ กรรม............................................................................ 15
ประเมินความใฝเ่ รียนรู้ดว้ ยแบบสงั เกต................................................................... 16
บันทึกหลงั สอน.....................................................................................................



หลกั สูตรรายวิชา

ช่ือวิชา พลศึกษาเพื่อพัฒนาสุขภาพ รหัสวิชา 20000-1603
ท.ป.น. 0-2-1 จำนวนคาบสอน 2 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชัน้ ปวช.

จดุ ประสงค์รายวชิ า

1. เพ่อื ใหเ้ ข้าใจหลกั การเสรมิ สรา้ งสมรรถภาพทางกายภาพเพ่ือความพร้อมในการประกอบอาชีพ
2. เพื่อให้สามารถเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายตามหลักการบริโภคอาหารและโภชนาการ หลักการ
ออกกำลงั กายและหลกั การดแู ละกฬี าไทย/กฬี าสากล
3. เพื่อให้มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายด้วยความมีวินัย มีน้ำใจนักกีฬา
ความสามัคคี เคารพกฎกติกาและมมี ารยาท

สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย หลักการบริโภคอาหารและโภชนาการ
หลักการออกกำลังกายและหลักการดุและเล่นกีฬา

2. บริโภคอาหารตามหลกั โภชนาการเพอ่ื เสรมิ สรา้ งสมรรถภาพทางกาย
3. ออกกำลงั กายเพอื่ พฒั นาบุคลิกภาพและสมรรถภาพตามหลกั การและกระบวนการ
4. ดแู ละเลน่ กีฬาไทย/สากล ตามกฎ กตกิ า มารยาท
5. ใช่คา่ ดชั นีมวลกายวางแผนปรบั ปรงุ บุคลิกภาพและสขุ ภาพ
6. ปฏิบตั โิ ครงงานเกยี่ วกบั สุขภาพและกีฬา

คำอธิบายรายวิชา

ปฏิบัติเกี่ยวกับ หลักการเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย อาหารและโภชนาการที่เสริมสร้างสมรรถภาพ
ทางกาย การทดสอบสมรรถภาพทางกาย การหาค่าดัชนีมวลกาย หลักการและรูปแบบการออกกำลังการด้วย
กีฬาไทย/กีฬาสากล มีวนิ ยั มีนำ้ ใจนักกีฬา เคารพกฎกติกา มมี ารยาทในการดแู ละเล่นกีฬา เลือกและปฏิบัติการ
ออกกำลงั กายอยา่ งเหมาะสม มคี วามสขุ ภาพใต้ความพอเพยี ง พรอ้ มที่จะประกอบอาชพี ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ



หน่วยการเรยี นรู้

ชอื่ วิชา พลศกึ ษาเพอื่ พัฒนาสขุ ภาพ รหสั วิชา 20000-1603
ท.ป.น. 0-2-1 จำนวนคาบสอน 2 คาบ : สัปดาห์ ระดับชั้น ปวช.

หนว่ ย ช่ือหนว่ ย จำนวน ท่มี า
ท่ี
คาบ A B C D E F G H I J K L M N O P Q R

1 สมรรถภาพทางกาย 4 // / /

2 การทดสอบสมรรถภาพทางกาย 2 / / / / //

3 หลักการออกกำลังกายเพื่อ 2 / / //

สุขภาพและการหาค่าดัชนีมวล

กาย

4 โภชนาการกบั การออกกำลงั กาย 2 / / /

5 การปฐมพยาบาลภาวะบาดเจ็บ 2 / / //

ทางการกีฬาและการออกกำลัง

กาย

6 บุคลกิ ภาพ 4/ // / /

7 ส ุ ข ภ า พก ั บ ห ล ั ก เ ศร ษฐกิจ 2 / / //

พอเพยี ง

8 กฬี าฟุตซอล 4 / / // / /

9 กีฬาวอลเลย์บอล 4/ // / /

10 กีฬาแบดมนิ ตนั 4/ // / ///

11 กฬี าฟตุ บอล 4/ //// /

รวม 36

หมายเหตุ A = หลักสตู รรายวชิ า B = การฝึกสมรรถภาพทางกาย

C = รวมกฎ กตกิ า และพนื้ ฐานการเล่นฟตุ ซอล D = พลศกึ ษาเพอื่ พัฒนาบคุ ลิกภาพ

E = การนำปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ปฏิบตั ติ นด้านสขุ ภาพ F = สวสั ดิภาพในการเลน่ กีฬา

G = กติกาการแขง่ ขนั ฟุตบอล 5 คน H = การจดั ระดบั คะแนนเป็นตัวอกั ษร

I = การทดสอบ และ วัดผลทางพลศกึ ษา J = การพัฒนาบุคลกิ ภาพ (Personality development)

K = สขุ ภาพตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง L = การทดสอบ และ วัดผลทางพลศกึ ษา

M = การปฐมพยาบาลภาวะบาดเจ็บทางการกีฬาและออกกำลงั กาย N = ประวตั กิ ฬี าแบดมินตัน

O = ประวตั ิแบดมินตนั ในประเทศไทย P = ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

Q = ทฤษฎกี ารวัด และ การทดสอบ R = ดชั นมี วลกาย



โครงการจดั การเรยี นรู้

ชอ่ื วิชา พลศกึ ษาเพื่อพฒั นาสุขภาพ รหสั วิชา 20000-1603
ท.ป.น. 0-2-1 จำนวนคาบสอน 2 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ช้นั ปวช.

สัปดาห์ที่ หนว่ ยท่ี ชือ่ หน่วย/รายการสอน จำนวนคาบ
1-2 หน่วยที่ 1 สมรรถภาพทางกาย กิจกรรมท่ี 1.1 สมรรถภาพทางกาย 4
3 กจิ กรรมท่ี 1.2 ฝึกปฏิบัติกจิ กรรมภาคสนาม 2
4 หนว่ ยที่ 2 การทดสอบสมรรถภาพ กจิ กรรมที่ 2 ทดสอบสมรรถภาพทางกาย 2
ทางกาย 2
5 หนว่ ยที่ 3 หลักการออกกำลงั กาย กิจกรรมที่ 3.1 ขนั้ ตอนการออกกำลงั กาย
เพอื่ สขุ ภาพและการหาคา่ ดัชนมี วล กิจกรรมท่ี 3.2 หลักการออกกำลังกาย 2
6 กาย กจิ กรรมท่ี 3.3 ฝกึ ปฏบิ ตั อิ อกกำลงั กายเพอื่ สง่ เสริมสรา้ งสขุ ภาพ 4
หน่วยท่ี 4 โภชนาการกบั การออก กจิ กรรมที่ 4.1 อาหารทม่ี ีความสำคัญตอ่ รา่ งกาย 2
7-8 กำลงั กาย กจิ กรรมที่ 4.2 แนวทางการบรโิ ภคสำหรับออกกำลังกาย 4
9 กิจกรรมท่ี 4.3 ฝึกปฏบิ ตั ิกจิ กรรมภาคสนามเพอ่ื เสริมสร้าง 4
หนว่ ยท่ี 5 การปฐมพยาบาลภาวะ สขุ ภาพ
10-11 บาดเจ็บทางการกฬี าและการออก กจิ กรรมท่ี 5.1 การปฐมพยาบาลภาวะบาดเจบ็ จากการเล่นกฬี า 4
กำลังกาย กิจกรรมท่ี 5.2 ปฏบิ ัติปฐมพยาบาลภาวะบาดเจบ็ จากการเลน่ 4
12-13 หนว่ ยที่ 6 บุคลิกภาพ กฬี า
กิจกรรมที่ 6.1 บุคลกิ ภาพของตนเอง
หน่วยที่ 7 สขุ ภาพกบั หลกั กจิ กรรมท่ี 6.2 บคุ ลิกภาพขณะเล่นกฬี า
เศรษฐกิจพอเพยี ง กิจกรรมท่ี 7.1 สุขภาพกบั หลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง
กจิ กรรมที่ 7.2 การออกกำลงั กายท่ีสอดคลอ้ งกบั หลกั เศรษฐกจิ
หน่วยท่ี 8 กฬี าฟุตซอล พอเพียง
กจิ กรรมที่ 8.1 ทกั ษะการเลน่ ฟุตซอล
หนว่ ยท่ี 9 กฬี าวอลเลยบ์ อล กิจกรรมที่ 8.2 กตกิ าการแต่งกายผ้เู ล่นฟุตซอล
กจิ กรรมที่ 8.3 กีฬาฟตุ ซอล
กิจกรรมที่ 9.1 ทักษะการรบั ลูกมอื ล่าง
กจิ กรรมที่ 9.2 สนามกีฬาวอลเลยบ์ อล
กจิ กรรมท่ี 9.3 กฬี าวอลเลยบ์ อล

14-15 หนว่ ยที่ 10 กฬี าแบดมินตนั กิจกรรมที่ 10.1 ทักษะตีลกู หนา้ มอื
16-17 หนว่ ยท่ี 11 กีฬาฟุตบอล กจิ กรรมที่ 10.2 สนามและอปุ กรณส์ นาม
กจิ กรรมที่ 10.3 กฬี าแบดมนิ ตัน

กจิ กรรมท่ี 11.1 ทักษะการเลน่ ฟุตบอล
กิจกรรมที่ 11.2 กฬี าฟตุ บอล



สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ

ชอ่ื วิชา พลศึกษาเพื่อพัฒนาสุขภาพ รหสั วิชา 20000-1603
ท.ป.น. 0-2-1 จำนวนคาบสอน 2 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ชนั้ ปวช.

ชอ่ื เร่ือง สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ
หน่วยท่ี 1 สมรรถภาพทางกาย สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)

1.1 ความหมายของสมรรถภาพทางกาย แสดงความร้เู กี่ยวกับสมรรถภาพทางกาย
1.2 ความสำคัญของสมรรถภาพทางกาย จุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives)
1.3 ประเภทของสมรรถภาพทางกายภาพ
1.4 ประโยชนข์ องการมีสมรรถภาพทางกาย ด้านความรู้
1.5 ประเภทของการออกกำลังกาย 1. บอกประโยชน์ของการทดสอบสมรรถภาพทางกายได้
1.6 ลกั ษณะของผู้มสี มรรถภาพทางกายที่ดี 2. สืบค้นข้อมูล ICSPFT และสรปุ ได้
ใบงานที่ 1 ...
หรอื สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
กจิ กรรมท่ี 1.1 สมรรถภาพทางกาย แสดงทักษะในการปฏบิ ตั ิเกยี่ วสมรรถภาพทางกาย
กจิ กรรมที่ 1.2 ฝึกปฏบิ ตั ิกจิ กรรมภาคสนาม
จุดประสงคก์ ารปฏิบัติ (Performance Objectives)
หนว่ ยที่ 2 การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ดา้ นทักษะ
2.1 ความหมายของการทดสอบสมรรถภาพทางกาย 1. นักเรียนสามารถนำการทดสอบไปปรบั ปรงุ สมรรถภาพ
2.2 ความสำคญั ของการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
2.3 ประโยชนข์ องการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ทางกาย
2.4 ขอบขา่ ยของการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการเศรษฐกิจ-พอเพยี ง
2.5 แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย มาตรฐาน 1. นักเรียนสามารถนำวสั ดเุ หลอื ใชม้ าใช้ประโยชนใ์ นการ
นานาชาติ (ICSPFT)
ใบงานท่ี 2 ... สร้างสมรรถภาพทางกายได้
หรือ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)
กิจกรรมที่ 2 ทดสอบสมรรถภาพทางกาย
หนว่ ยท่ี 3 หลกั การออกกำลงั กายเพื่อสขุ ภาพและการหา แสดงความรู้เกย่ี วกับความหมายของสมรรถภาพทางกาย
ค่าดชั นีมวลกาย จดุ ประสงคก์ ารปฏิบัติ (Performance Objectives)

3.1 หลักการออกกำลังกายทถ่ี ูกตอ้ ง ดา้ นความรู้
3.2 ขนั้ ตอนในการออกกำลงั กาย 1. บอกความหมายของการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
3.3 ระยะเวลาในการออกกำลงั กาย สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)
3.4 ดชั นีมวลกาย แสดงความรู้เกย่ี วกับการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
ใบงานท่ี 1 ... จุดประสงคก์ ารปฏิบัติ (Performance Objectives)
หรอื ดา้ นทักษะ
กิจกรรมท่ี 3.1 ข้ันตอนการออกกำลังกาย 1. ปฏิบัตกิ ารทดสอบสมรรถภาพทางกายตามข้อกำหนดได้
กจิ กรรมท่ี 3.2 หลักการออกกำลงั กาย
สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
แสดงความรูเ้ กยี่ วกบั การออกกำลังกายเพ่ือสขุ ภาพและ

การหาคา่ ดัชนมี วลกาย
จดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ (Performance Objectives)

ดา้ นความรู้
1. บอกประโยชน์ขน้ั ตอนการออกกำลังกาย
2. อธบิ ายหลักการออกกำลงั กายอย่างถกู ตอ้ ง
สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)
แสดงทักษะในการตรวจสอบการเตน้ ของชพี จร
จดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ (Performance Objectives)

ชอ่ื เรือ่ ง สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ

กิจกรรมท่ี 3.3 ฝึกปฏิบตั อิ อกกำลงั กายเพือ่ สง่ เสริมสร้าง ด้านทกั ษะ

สุขภาพ 1. ตรวจสอบการเต้นของชพี จรขณะทอ่ี อกกำลงั กายเลน่

กีฬา

2. บอกผลดัชนีมวลกายของตนเอง

หน่วยท่ี 4 โภชนาการกับการออกกำลังกาย สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

4.1 โภชนาการกบั การออกกำลังกาย แสดงความรเู้ กยี่ วกับโภชนาการกบั การออกกำลังกาย

4.2 สารอาหารทจ่ี ำเปน็ ตอ่ การออกกำลงั กาย จดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives)
ดา้ นความรู้
4.3 แนวทางการเลอื กบรโิ ภคอาหารสำหรบั การ
1. บอกความสำคัญของการโภชนาการตอ่ การออกกำลงั
ออกกำลังกาย
กาย
ใบงานท่ี 1 ...
2. บอกคณุ ประโยชนข์ องสารอาหารทจี่ ำเปน็ ต่อรา่ งกาย
หรอื ในการออกกำลังกาย
กจิ กรรมที่ 4.1 อาหารท่มี ีความสำคัญตอ่ ร่างกาย
กิจกรรมที่ 4.2 แนวทางการบริโภคสำหรบั ออกกำลงั กาย สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

กจิ กรรมท่ี 4.3 ฝึกปฏบิ ตั ิกิจกรรมภาคสนามเพอื่ เสริมสร้าง แสดงทกั ษะในการเลือกรับประทานอาหารไดเ้ หมาะสม

สขุ ภาพ กบั เวลา

จุดประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives)

ด้านทักษะ

1. ฝกึ ปฏบิ ัติกิจกรรมภาคสนามเพอื่ เสริมสรา้ งสขุ ภาพ

หน่วยท่ี 5 การปฐมพยาบาลภาวะบาดเจ็บทางการกฬี า สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)

และการออกกำลังกาย แสดงความรเู้ กยี่ วกับการปฐมพยาบาลภาวะบาดเจ็บ

5.1 ความหมายของการออกกำลังกายและการปฐม ทางการกีฬาและการออกกำลงั กาย
จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ (Performance Objectives)
พยาบาล

5.2 หน้าที่ของผทู้ ำการปฐมพยาบาล ดา้ นความรู้

5.3 การปฐมพยาบาลอาการบาดเจ็บจากการกฬี า 1. อธบิ ายความหมายของการออกกำลังกายและปฐม

และการออกกำลังกาย พยาบาล

ใบงานท่ี 1 ... สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)

หรอื แสดงทักษะในการปฐมพยาบาลภาวะบาดเจ็บจากการ
กจิ กรรมท่ี 5.1 การปฐมพยาบาลภาวะบาดเจ็บจากการเลน่ เลน่ กฬี า
กฬี า จุดประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives)
ดา้ นทกั ษะ
กจิ กรรมท่ี 5.2 ปฏิบตั ปิ ฐมพยาบาลภาวะบาดเจ็บจากการ

เล่นกีฬา 1. ฝกึ ทกั ษะในการปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน้

หนว่ ยที่ 6 บุคลิกภาพ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)

6.1 ความหมายของบคุ ลกิ ภาพ แสดงความรูเ้ กยี่ วกบั บคุ ลิกภาพ

6.2 ประเภทของบุคลกิ ภาพ จดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ (Performance Objectives)

6.3 องค์ประกอบของบคุ ลกิ ภาพ ดา้ นความรู้

6.4 ปจั จยั ทมี่ ีผลตอ่ บคุ ลิกภาพ 1. ระบบุ ุคลกิ ภาพของตนเอง

6.5 ความสำคญั ของบคุ ลิกภาพ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

6.6 ความแตกตา่ งของบคุ ลกิ ภาพ แสดงบคุ ลกิ ภาพในการเลน่ กีฬา

6.7 ลกั ษณะของบคุ ลิกภาพทดี่ ี จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives)

6.8 หลกั และวิธีเสรมิ สร้างบคุ ลิกภาพ ด้านทกั ษะ

6.9 บคุ ลิกภาพกบั การเลือกอาชีพ 1. แสดงการเปน็ ผู้นำและผตู้ าม

ชือ่ เร่อื ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ
ใบงานท่ี 1 ...
หรอื
กจิ กรรมท่ี 6.1 บุคลกิ ภาพของตนเอง
กิจกรรมท่ี 6.2 บคุ ลกิ ภาพขณะเลน่ กฬี า

หนว่ ยที่ 7 สขุ ภาพกบั หลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)
7.1 หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง แสดงความรเู้ กย่ี วกบั สุขภาพกบั หลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง
7.2 การพฒั นาสุขภาพตามหลักเศรษฐกจิ พอเพียง
7.3 การนำปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้ จุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives)
ด้านความรู้
ปฏบิ ตั ิตนด้านสขุ ภาพ 1. อธบิ ายความหมายหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ใบงานที่ 1 ...
หรือ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)
กจิ กรรมท่ี 7.1 สขุ ภาพกบั หลกั เศรษฐกิจพอเพียง แสดงทักษะการออกกำลงั กายทสี่ อดคลอ้ งกับหลกั
กิจกรรมที่ 7.2 การออกกำลังกายทสี่ อดคลอ้ งกบั หลัก
เศรษฐกจิ พอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพียง
จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ (Performance Objectives)
หน่วยท่ี 8 กฬี าฟตุ ซอล
8.1 ประวตั กิ ีฬาฟตุ ซอล ด้านทักษะ
8.2 ทกั ษะทีจ่ ำเป็นในการเลน่ ฟุตซอล 1. ออกกำลงั กายในรูปแบบตา่ ง ๆ ทส่ี อดคลอ้ งกบั
8.3 กตกิ ากีฬาฟตุ ซอล เศรษฐกิจพอเพียง

ใบงานที่ 1 ... สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
หรือ แสดงความรูเ้ กยี่ วกับกฬี าฟตุ ซอล
กจิ กรรมที่ 8.1 ทักษะการเล่นฟุตซอล
กจิ กรรมท่ี 8.2 กติกาการแตง่ กายผ้เู ล่นฟตุ ซอล จุดประสงคก์ ารปฏิบัติ (Performance Objectives)
กิจกรรมท่ี 8.3 กีฬาฟุตซอล ด้านความรู้
1. นักเรยี นไดม้ ีความร้เู กยี่ วกบั ประวัตกิ ฬี าฟตุ ซอล
หนว่ ยที่ 9 กฬี าวอลเลย์บอล
9.1 ประวัติกฬี าวอลเลยบ์ อล สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)
9.2 ทกั ษะท่จี ำเปน็ ในกฬี าวอลเลยบ์ อล แสดงทักษะการเลน่ ฟุตซอล
9.3 กตกิ าและองคป์ ระกอบของกีฬาวอลเลยบ์ อล
9.4 ประโยชน์ของกีฬาวอลเลยบ์ อล จุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives)
ดา้ นทักษะ
ใบงานท่ี 1 ... 1. นกั เรียนสามารถปฏิบัตทิ กั ษะของกีฬาฟตุ ซอลได้
หรอื 2. สามารถนำทักษะมาใชใ้ นการแขง่ ขนั ได้
กิจกรรมที่ 9.1 ทักษะการรับลูกมอื ลา่ ง
กจิ กรรมที่ 9.2 สนามกฬี าวอลเลยบ์ อล สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
กจิ กรรมที่ 9.3 กฬี าวอลเลย์บอล แสดงความรูเ้ กีย่ วกบั กีฬาวอลเลย์บอล

หน่วยที่ 10 กฬี าแบดมินตัน จุดประสงค์การปฏิบตั ิ (Performance Objectives)
ดา้ นความรู้
1. นกั เรยี นไดม้ คี วามรเู้ กยี่ วกบั ประวตั ิกีฬาวอลเลย์บอล

สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)
แสดงทักษะทจ่ี ำเป็นในกฬี าวอลเลย์บอล

จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives)
ด้านทกั ษะ
1. นักเรยี นสามารถปฏิบตั ทิ กั ษะของกฬี าวอลเลย์บอลได้
2. สามารถนำทกั ษะมาใชใ้ นการแขง่ ขันไดถ้ กู ตอ้ ง

สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)

ชื่อเรอ่ื ง สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงคก์ ารปฏิบัติ
10.1 ประวัติความเปน็ มาของกีฬาแบดมนิ ตัน แสดงความรู้เก่ยี วกับความเปน็ มากฬี าแบดมนิ ตนั
10.2 ทักษะทีจ่ ำเป็นในการเล่นกฬี าวอลเลยบ์ อล จดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ (Performance Objectives)
10.3 กตกิ าของกฬี าแบดมนิ ตัน ด้านความรู้
ใบงานท่ี 1 ... 1. นกั เรียนไดม้ ีความรเู้ กี่ยวกับประวัตกิ ีฬาแบดมนิ ตนั
หรอื สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
กิจกรรมที่ 10.1 ทักษะตีลูกหน้ามอื แสดงทกั ษะทจี่ ำเปน็ ในการเลน่ กีฬาแบดมนิ ตนั
กิจกรรมท่ี 10.2 สนามและอุปกรณ์สนาม จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives)
กจิ กรรมที่ 10.3 กีฬาแบดมินตัน ด้านทกั ษะ
1. นกั เรยี นสามารถปฏิบตั ิทกั ษะของกีฬาแบดมินตนั ได้
หนว่ ยที่ 11 กฬี าฟตุ บอล 2. สามารถนำทกั ษะมาใชใ้ นการแข่งขนั ไดถ้ กู ตอ้ ง
11.1 ประวตั ิความเปน็ มาของกีฬาฟตุ บอล
11.2 ทกั ษะที่จำเปน็ ในการเล่นกีฬาฟตุ บอล สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)
11.3 กตกิ าฟุตบอล แสดงความรเู้ กี่ยวกบั ความเป็นมากีฬาฟตุ บอล

ใบงานท่ี 1 ... จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives)
หรือ ดา้ นความรู้
กิจกรรมท่ี 11.1 ทักษะการเลน่ ฟตุ บอล 1. นกั เรียนไดม้ ีความรู้เกย่ี วกบั ประวัตกิ ีฬาฟตุ บอล
กจิ กรรมที่ 11.2 กีฬาฟุตบอล
สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)
แสดงทกั ษะทีจ่ ำเป็นในการเล่นกฬี าฟตุ บอล

จุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives)
ดา้ นทักษะ
1. บอกทกั ษะการเลน่ ฟตุ บอลตามกำหนด



ตารางวเิ คราะหห์ ลักสตู รรายวชิ า

ชื่อวิชา พลศึกษาเพอ่ื พัฒนาสุขภาพ รหัสวิชา 20000-1603
ท.ป.น. 0-2-1 จำนวนคาบสอน 2 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชัน้ ปวช.

พทุ ธิพสิ ยั

พฤติกรรม ความรู้ความจำ
ความเข้าใจ
ช่อื หน่วย ประ ุยก ์ต-นำไปใ ้ช
ิวเคราะห์
สูงก ่วา
ทักษะพิสัย
จิตพิสัย
รวม
ลำดับความสำ ัคญ

หน่วยท่ี 1 สมรรถภาพทางกาย 20 10 10 - - 40 20 100 1

หน่วยท่ี 2 การทดสอบสมรรถภาพ 20 10 5 5 - 40 20 100 7
ทางกาย

หน่วยท่ี 3 หลกั การออกกำลังกายเพอ่ื 20 10 5 5 - 40 20 100 9

สขุ ภาพและการหาคา่ ดัชนีมวลกาย

หน่วยที่ 4 โภชนาการกบั การออกกำลงั 20 5 5 10 - 40 20 100 11

กาย

หนว่ ยท่ี 5 การปฐมพยาบาลภาวะ 20 5 5 10 - 40 20 100 8

บาดเจ็บทางการกฬี าและการออกกำลัง
กาย

หนว่ ยที่ 6 บคุ ลกิ ภาพ 20 10 5 5 - 40 20 100 2

หนว่ ยที่ 7 สุขภาพกับหลกั เศรษฐกิจ 20 10 5 5 - 40 20 100 10
พอเพียง

หน่วยท่ี 8 กีฬาฟุตซอล 20 10 10 - - 40 20 100 3

หนว่ ยที่ 9 กีฬาวอลเลย์บอล 20 10 10 - - 40 20 100 4

หนว่ ยท่ี 10 กีฬาแบดมนิ ตนั 20 10 10 - - 40 20 100 5

หนว่ ยที่ 11 กฬี าฟตุ บอล 20 10 10 - - 40 20 100 6

1

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 1 หนว่ ยท่ี 1
ชอื่ วชิ า พลศกึ ษาเพือ่ พัฒนาสขุ ภาพ เวลาเรียนรวม 18 คาบ
ช่อื หนว่ ย หนว่ ยที่ 1 สมรรถภาพทางกาย
สอนคร้ังท่ี 1/18
ชือ่ เรือ่ ง สมรรถภาพทางกาย
จำนวน 2 คาบ

หวั ข้อเร่อื ง
1. ความหมายสมรรถภาพทางกาย
2. ความสำคัญของสมรรถภาพทางกาย
3. ประเภทของสมรรถภาพทางกาย
4. ประโยชนข์ องการมีสมรรถภาพทางกาย
5. ประเภทของการออกกำลงั กาย
6. ลักษณะของผมู้ สี มรรถภาพทางกายทด่ี ี

สาระสำคญั /แนวคิดสำคญั
สุขภาพของมนุษย์ในการดำเนินชีวิตประจำ มีสมรรถภาพเป็นสิ่งหนึ่งท่ีบ่งบอกถึงประสิทธิภาพของตัว

บคุ คลน้นั ๆ ผทู้ ี่มสี มรรถภาพทางกายทด่ี ี ยอ่ มเปน็ ผทู้ มี่ ีคณุ ภาพในการดำเนินชวี ิตที่ดีไปดว้ ย เพราะจะทำให้หน้าที่
การงานที่ทำอยู่เกิดคณุ ภาพทั้งยงั ไม่เจบ็ ป่วยง่าย ดังนั้นสมรรถภาพทางกาย เป็นสิ่งท่ีต้องเรียนรูเ้ พื่อประกอบกับ
พฒั นาสขุ ภาพร่างกาย

สมรรถนะ
แสดงความรเู้ กี่ยวกบั สมรรถภาพทางกาย

จุดประสงค์การปฏบิ ัติ
1. สามารถบอกความหมายของสมรรถภาพทางกายได้
2. สามารถอธบิ ายความสำคัญของสมรรถภาพทางกายได้
3. สามารถบอกประเภทของสมรรถภาพทางกายได้
4. สามารถบอกประโยชนข์ องการมสี มรรถภาพทางกายได้
5. สามารถอธิบายลักษณะของผู้มีสมรรถภาพทางกายท่ีดีได้

เน้ือหาสาระ
1.1 ความหมายของสมรรถภาพทางกาย
คำวา่ ” สมรรถภาพทางกาย ” มีผเู้ ชยี่ วชาญได้ให้ความหมายกันไว้อย่างกว้างขวาง ซง่ึ อาจจะกลา่ วโดยสรุป

ได้ว่า สมรรถภาพทางกาย หมายถึงความสามารถของบุคคล ในอันที่จะใช้ระบบต่างๆของร่างกายประกอบ
กิจกรรมใดๆอันเกี่ยวกับการแสดงออก ซึ่งความสามารถทางร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพ หรือ ได้อย่างหนัก
ตดิ ตอ่ กนั โดยไมแ่ สดงอาการเหนด็ เหนอ่ื ยใหป้ รากฏและรา่ งกายสามารถฟ้ืนตวั สู่สภาพปกติไดใ้ นเวลาอนั รวดเร็ว
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้ความหมายของคำว่า “สมรรถภาพทางกาย” ไว้หมายถึง
“ความสามารถ” นักพลศึกษาและนักศึกษาหลายท่านได้ให้ความหมายของคำว่า สมรรถภาพทางกาย และ
สมรรถภาพทางกลไก ดงั น้ี

2

วรศักดิ์ เพียรชอบ (2527 : 98) สมรรถภาพทางกาย หมายถึง ความสามารถของร่างกายที่จะปฏิบัติ
หน้าที่ประจำในสังคมได้อย่างมีประสิทธภิ าพ โดยไม่มีความเหนือ่ ยอ่อนจนเกนิ ไป สามารถสงวนและถนอมกำลัง
ไวใ้ ชใ้ นยามฉุกเฉนิ และใชเ้ วลาวา่ งเพื่อความสนกุ สนานและความบนั เทงิ ของตัวเองดว้ ย

คลาร์ค (Clarke,1976:14) กล่าวว่า สมรรถภาพทางกาย หมายถึง ความสามารถในการประกอบ
กิจกรรมประจำวันด้วยความกระฉับกระเฉง ว่องไว ปราศจากความเหน็ดเหนื่อย เมื่อยล้า และมีพลังงานเหลือ
พอทจ่ี ะนำไปใช้ในการประกอบกจิ กรรมบนั เทงิ ในเวลาว่าง และเตรยี มพร้อมท่ีจะเผชิญกับภาวะฉุกเฉนิ ไดด้ ี

จอห์นสัน และสโตรเบอร์ก ( Johnson and Stolberg , 1971 : 9-10 ) กล่าวว่า สมรรถภาพทาง
กายนั้นเป็นความสามารถในการประกอบกิจกรรมหนกั ๆ ได้เป็นอย่างดี และรวมถึงคณุ ลักษณะตา่ งๆ ของการมี
สขุ ภาพและความเปน็ อยู่ท่ดี ีของบคุ คลซึง่ มอี งคป์ ระกอบต่างๆ ไดแ้ ก่

1. สมรรถภาพของระบบไหลเวียนโลหติ และหายใจ (Cardio –Respiratory Fitness)
2. ความอดทน (Endurance)
3. ความแข็งแรง (Strength)
4. ความออ่ นตัว (Flexibililty)
5. สัดส่วนของรา่ งกายทพ่ี อเหมาะ (Body Composition)

วริ ยิ า บญุ ชยั (2529 : 106) ได้ใหค้ วามหมายของคำวา่ “สมรรถภาพทางกลไก” หมายถึง ความสามารถ
ในการปฏิบัตเิ บื้องตน้ อันไดแ้ ก่ การเดนิ การวง่ิ การกระโดด การล้ม หลบหลกี การปีนป่าย การปรบั ตวั และการ
แบกของ เปน็ ตน้

คิวตัน (Curction ,1973 : 35 ) ได้ให้ความหมายของคำว่า สมรรถภาพทางกลไก พอสรุปได้ คือ
สมรรถภาพทางกลไกเป็นสมรรถภาพทางการเคลื่อนไหวเฉพาะส่วนของร่างกายที่แสดงออกในลักษณะต่าง ๆ
เชน่ ความสามารถในการวิ่ง การกระโดด การหลบหลกี การจับ การปนี ป่าย การว่ายน้ำ การข่ีม้า การยกน้ำหนัก
โดยร่างกายจะต้องทำงานได้เป็นเวลานาน ๆ ติดต่อกัน สมรรถภาพทางกลไกจึงเป็นความสามารถของร่างกายที่
จะใช้ประสาทการเคลื่อนไหวของกล้ามเนือ้ เยื่อ ข้อต่อและยังรวมไปถึง การใช้กล้ามเนือ้ มัดใหญ่ ๆ ของร่างกาย
ในการเล่นกีฬา ตลอดจนการใช้ทักษะในการทำงาน นอกจากนั้นยังรวมถึงความสามารถในการทรงตัว ความ
ยืดหยุ่น ความคลอ่ งตวั ความเรว็ ความแข็งแรง กำลงั และความอดทนดว้ ย

จรวย แก่นวงษ์คำ และอุดมพิมพา (2518 :15) ได้ให้ความหมายของสมรรถภาพทางกลไก หมายถึง
ความสามารถของอวัยวะโดยมคี วามแข็งแรง สมบรู ณ์ สามารถเคลือ่ นไหวในกจิ กรรมตา่ ง ๆ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี
สรุปได้ว่า สมรรถภาพทางกาย หมายถึง ความสามารถของร่างกายและจิตใจทสี่ ามารถใช้อวยั วะต่างๆ ของ
รา่ งกายในการเคลื่อนไหวสอดประสานได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพโดยไม่เกดิ ความเหน่อื ยจนเกินไป คุณภาพของการ
เคลอ่ื นไหวมีประสิทธิผล และปลอดภยั

1.2 ความสำคญั ของสมรรถภาพทางกาย
ในช่วงชีวิตมนุษย์เราทุกคน มีความปรารถนาอยากให้ตนเองมีสุขภาพพลานามัยเเข็งเเรงสมบูรณ์
ปราศจากโรคภัยไข้เจบ็ ท้ังหลายทั้งปวง เหมือนดง่ั คำกลา่ วทางศาสนาทีว่ า่ ไว้ คอื “ อโรคยาปรมา ลาภา” แปลว่า
ความไม่มีโรค เป็นลาภอันประเสริฐ สิ่งที่กล่าวมานี้นับว่าเป็นเป้าหมายที่สำคัญอย่างหนึ่งของชีวิตคนเราทุกคน
สุขภาพดีสุขภาพร่างกายที่เเข็งเเรงสมบูรณ์ จำเป็นต้องอาศัยองค์ประกอบพื้นฐานหลายด้าน เช่น สภาพทาง
รา่ งกาย สภาวะทางโภชนาการ สุขนิสัยและสุขปฏิบตั ิ สภาวะทางจิตใจ สติปญั ญาเเละสภาวะทางอารมณ์ที่สดชื่น
เเจ่มใส ซง่ึ ความสัมพนั ธข์ องรา่ งกายเเละจติ ใจนี้ นกั พลศึกษาได้มคี ำกล่าวถึงเร่อื งน้ีไว้ว่า “ สขุ ภาพจติ ทีเ่ เจ่ม
ใส อยู่ในร่างกายที่เเข็งเเรง “ หมายความว่า การที่บุคคลจะมีสุขภาพที่สดชื่นเเจ่มใสได้นั้นจะต้องเป็นบุคคลที่มี
ร่างกายเเข็งแรงสมบูรณด์ ้วย

3

สมรรถภาพทางกายที่ดี เม่อื รวมเข้ากับการมีสุขภาพจิตท่ีปกติ มีการทำงานของระบบต่างๆในรา่ งกายท่เี ปน็ ปกติ
ตลอดจนทรรศนะของบุคคลทางด้านคุณธรรม หรือศลี ธรรมอนั ดงี าม จะเปน็ ผลรวมให้ตวั บคุ คลผนู้ นั้ เปน็
ประชากรทม่ี ีคณุ ภาพ เป็นท่ีพึงปรารถนาของสังคมและประเทศชาติ ซงึ่ เปน็ เป้าหมายสำคัญในการพฒั นา
ทรัพยากรบุคลทุกระดับเราสามารถกล่าวโดยสรปุ ไดว้ ่า การมีสมรรถภาพทางกายทีด่ จี ะช่วยใหเ้ กดิ ผล 3 ด้าน ได้
เเก่ ดา้ นรา่ งกาย ด้านครอบครวั และด้านสังคมประเทศชาติ

กลไกการหายใจ
1.2.1 ผลต่อสขุ ภาพทางรา่ งกาย

1. ระบบหัวใจ เเละการไหลเวียนโลหิต - หัวใจมีขนาดใหญ่ขึ้น ปริมาณการสูบฉีด
โลหิตมีมากขึ้น - กล้ามเนื้อหัวใจมีความเเข็งเเรงมีประสิทธิภาพในการทำงานมากขึ้น - อัตราการเต้นของหัวใจ
หรืออัตราชีพจรตำ่ ลง - หลอดเลือดมีความยืดหยนุ่ ตัวดี - ปรมิ าณของเมด็ เลือดและสารฮีโมโกลบนิ เพ่ิมมากขน้ึ

2. ระบบการหายใจ ทรวงอกขยายใหญ่ขึ้น กล้ามเนื้อที่ช่วยในการหายใจทำงานดีขน้ึ
- ความจุปอดเพ่ิมข้นึ เนอ่ื งจากปอดขยายใหญข่ นึ้ การฟอกเลอื ดทำไดด้ ีขึ้น - อตั ราการหายใจต่ำลง เนื่องจากปอด
มีประสิทธภิ าพในการทำงานมากขึ้น

3. ระบบกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อมีขนาดใหญ่ข้ึน เพราะมีโปรตีนในกล้ามเนื้อมากข้ึนเส้น
ใยกล้ามเน้อื โตขนึ้ - การกระจายของหลอดเลือดฝอยในกล้ามเน้อื มากข้นึ ทำให้กลา้ มเนอื้ สามารถทำงาน ได้นาน
หรือมคี วามทนทานมากข้ึน

4. ระบบประสาท การทำงานเกิดดุลยภาพ ทำให้การปรับตัวของอวัยวะต่างๆ ทำได้
เรว็ กว่าการรับรสู้ งิ่ เร้า การตอบสนองทำไดร้ วดเรว็ และแม่นยำ

5. ระบบต่อมไร้ท่อ การทำงานของต่อมท่ีผลติ ฮอร์โมน ซึ่งทำหน้าที่ในการเคล่ือนไหว
ร่างกายได้เป็นปกติ และมปี ระสทิ ธิภาพ เช่น ต่อมไทรอยด์ ตอ่ มหมวกไต และต่อมในตบั อ่อนเปน็ ต้น

6. ระบบต่อมอาหารและการขับถ่าย สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน
การผลติ พลังงานและการขบั ถ่ายของเสียเป็นไปได้ด้วยดี

7. รูปร่างทรวดทรงดี มีการทรงตัวดี บุคลิกภาพและอริยาบทในการเคลื่อนไหวสง่า
งามเปน็ ทป่ี ระทับใจเเกผ่ พู้ บเหน็

8. มภี ูมติ ้านทานโรคสงู ไม่มีการเจบ็ ปว่ ยงา่ ย ชว่ ยใหอ้ ายยุ นื ยาว
9. มีสุขภาพจิตดี สามารถเผชิญกับสถานการณ์ที่สร้างความกดดันทางอารมณ์ได้ดี
ปรบั ตวั ให้เข้ากับผูอ้ ืน่ ไดด้ ี มคี วามสดช่ืนร่าเรงิ อยู่เสมอ

4

1.2.2 ผลตอ่ ครอบครัวของสมรรถภาพทางกาย
จากการที่สมาชิกในครอบครัวเป็นผู้ที่มีสมรรถภาพทางกายดี เป็นผลทำให้ครอบครัวมีความ
อบอุ่น เป็นปึกแผ่นมั่นคง แต่ละคนต่างทำหน้าที่ของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการ
รกั ษาพยาบาล อันจะเปน็ การชว่ ยเพ่มิ ฐานะทางครอบครวั ได้เปน็ อย่างดี ครอบครวั จะมีความสุข
1.2.3 ผลตอ่ สังคมประเทศชาตขิ องสมรรถภาพทางกาย
เม่ือบคุ คลในชาติเป็นผู้มสี มรรถภาพทางกายดี ร่างกายแข็งเเรงสมบูรณ์ สามารถประกอบอาชีพ
ของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลผลิตของชาติก็สามารถเพิ่มขึ้นได้ ประเทศชาติก็เจริญก้าวหน้า การพัฒนา
ประเทศก็ดำเนินไปได้ด้วยดี ประเทศมั่นคง อีกด้านหนึ่งถ้าประชาชนมีประสิทธิภาพทางกายดีประกอบกับมี
ความสามารถทางด้านกีฬา เมื่อมีการแข่งขันกีฬาระหว่างประเทศ ยังจะสามารถมีโอกาสได้รับชัยชนะ สร้าง
ชื่อเสยี งให้แก่ประเทศชาตไิ ด้อกี ทางหนึง่ ดว้ ยองค์ประกอบสมรรถภาพทางกาย
1.3 ประเภทของสมรรถภาพทางกางกาย
ผู้ที่มีสมรรถภาพทางกายที่ดี ส่งผลให้การปฏิบัติงานในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้มีการ
จำแนกองคป์ ระกอบสำคญั ของสมรรถภาพทางกาย เป็น 2 ประเภท ดว้ ยกนั ดงั นค้ี อื
1.3.1 สมรรถภาพทางกายเพือ่ สุขภาพ (Health – Related Physical Fitness)
ความสามารถของระบบต่างๆ ในร่างกายประกอบด้วย ความสามารถเชิงสรีรวิทยาด้านต่างๆ ท่ี
ช่วยป้องกันบุคคลจากโรคที่มีสาเหตุจากภาวการณ์ขาดการออกกาลังกาย นับเป็นปัจจัยหรือตัวบ่งชี้สำคัญของ
การมสี ขุ ภาพดี ความสามารถหรอื สมรรถนะเหล่าน้ี สามารถปรบั ปรุงพัฒนาและคงสภาพได้ โดยการออกกาลังกา
ยอยา่ งสม่ำเสมอ สมรรถภาพทางกายเพือ่ สุขภาพมีองคป์ ระกอบ ดังน้ี
1. องค์ประกอบของร่างกาย ( Body Composition) ตามปกติแล้วในร่างกายมนุษย์ประกอบ
ด้วย กล้ามเนื้อ กระดูก ไขมัน และ ส่วนอื่นๆ แต่ในส่วนของสมรรถภาพทางกายนั้น หมายถึง สัดส่วนปริมาณ
ไขมันในร่างกายกบั มวลรา่ งกายทีป่ ราศจากไขมัน โดยการวดั ออกมาเปน็ เปอร์เซน็ ต์ไขมนั (% fat)
2. ความอดทนของระบบไหลเวยี นเลือด (Cardio respiratory Endurance) หมายถึง สมรรถนะ
เชิงปฏิบัติของระบบไหลเวียนเลือด (หัวใจ หลอดเลือด) และระบบหายใจในการลาเลียงออกซิเจนไปยังเซลล์
กล้ามเนื้อ ทาให้ร่างกายสามารถยืนหยัดที่จะทางานหรือออกกาลังกายที่ใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่เป็นระยะเวลา
ยาวนานได้
3. ความอ่อนตัวหรือความยืดหยุ่น (Flexibility) หมายถึง พิสัยของการเคลื่อนไหวสูงสุดเท่าที่จะ
ทาไดข้ องข้อต่อหรือกลุ่มขอ้ ต่อ
4. ความอดทนของกล้ามเนื้อ ( Muscular Endurance) หมายถงึ ความสามารถของกล้ามเน้ือมัด
ใดมัดหนึ่งหรือกลุ่มกล้ามเนื้อ ในการหดตัวซ้าๆ เพื่อต้านแรงหรือความสามารถในการหดตัวครั้งเดียวได้เป็น
ระยะเวลายาวนาน
5. ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ( Muscular Strength) หมายถึง ปริมาณสูงสุดของแรงที่
กล้ามเน้อื มดั ใดมัดหนึง่ หรือกลุ่มกลา้ มเนื้อสามารถออกแรงต้านทานได้ ในช่วงการหดตวั ๑ ครง้ั
1.3.2 สมรรถภาพทางกลไก ( Motor Fitness) หรือ สมรรถภาพเชิงทักษะปฏิบัติ (Skill –
Related Physical Fitness)
ความสามารถของรา่ งกายทช่ี ว่ ยให้บคุ คลสามารถประกอบกิจกรรมทางกาย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
การเล่นกฬี าไดด้ ี มอี งค์ประกอบ 6 ดา้ น ดังน้ี
1. ความคล่อง ( Agility) หมายถึง ความสามารถในการเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ได้อย่าง
รวดเร็วและสามารถควบคุมได้

5

2. การทรงตัว ( Balance) หมายถึง ความสามารถในการรักษาดุลของร่างกายเอาไว้ได้ทั้ง
ในขณะอยกู่ บั ทแ่ี ละเคลื่อนท่ี

3. การประสานสัมพันธ์ ( Co-ordination) หมายถึง ความสามารถในการเคลื่อนไหวได้อย่าง
ราบรน่ื กลมกลืน และ มปี ระสิทธิภาพ ซง่ึ เปน็ การทางานประสารสอดคล้องระหว่างตา-มือ-เท้า

4. พลังกล้ามเนื้อ (Power) หมายถึง ความสามารถของกล้ามเนื้อส่วนหนึ่งส่วนใดหรือหลายๆ
ส่วนของร่างกายในการหดตัวเพื่อทางานด้วยความเร็วสูง แรงหรืองานที่ได้เป็นผลรวมของความแข็งแรงและ
ความเร็วทใี่ ชใ้ นชว่ งระยะเวลาสั้นๆ เชน่ การยนื อยู่กับที่ กระโดดไกล การท่มุ น้าหนกั เปน็ ต้น

5. เวลาปฏิกิริยาตอบสนอง ( Reaction time) หมายถึง ระยะเวลาที่ร่างกายใช้ในการ
ตอบสนองต่อสงิ่ เร้าต่างๆ เช่น แสง เสียง สมั ผัส

6. ความเร็ว (Speed) หมายถงึ ความสามารถในการเคลื่อนท่ีจากทหี่ น่ึงไปยังอีกท่ีหน่ึงได้อย่าง
รวดเร็ว

1.4 ประโยชน์ของการมีสมรรถภาพทางกายทดี่ ี
1.4.1 ประโยชน์ทั่วไป
1. ทาใหท้ รวดทรงดี
2. ร่างกายมคี วามต้านทานโรค
3. ระบบต่างๆ ทางานมปี ระสทิ ธภิ าพขน้ึ
4. การตัดสนิ ใจดีข้นึ
5. มีทกั ษะดีขึน้
1.4.2 ประโยชน์ทางร่างกาย
1. กลา้ มเน้ือมคี วามแขง็ แรง
2. กล้ามเนอ้ื มคี วามทนทาน
3. อัตราการเต้นของหัวใจจานวนครั้งน้อยลง แต่การสูบฉีดของหัวใจมีประสิทธิภาพ

เพมิ่ ข้ึน
4. การควบคมุ อุณหภมู ิของรา่ งกายดีขึ้น
5. ความออ่ นตวั ดีขึน้
6. กลา้ มเนอื้ ฉดี ขาดได้ยาก
7. พลังกล้ามเนอ้ื สูงขึน้
8. ความสัมพันธใ์ นการใชม้ ือใช้เท้าดขี น้ึ
9. การประกอบกิจกรรมในแง่ ทุ่ม พุ่ง ขว้าง กระโดด มีประสิทธิภาพยง่ิ ข้ึน
10. การทรงตวั ดีขน้ึ

1.4.3 ประโยชนต์ ่อครอบครัว
1. ทำใหเ้ ศรษฐกจิ ครอบครวั ดีข้นึ
2. ลดรายจา่ ยท่ีตอ้ งใชจ้ ่ายดา้ นเจบ็ ป่วย
3. เป็นแบบอยา่ งใหส้ มาชกิ ในครอบครัวหันมาดูแลสขุ ภาพ

1.4.4 ประโยชนต์ อ่ สงั คม ประเทศชาติ
1. ชว่ ยลดงบประมาณดา้ นสาธารณสุข
2. พฒั นาประชากรอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
3. คณุ ภาพชวี ิตความเป็นอยู่ของประชากรในประเทศดีข้นึ

6

4. ประชากรที่มีคณุ ภาพทำใหป้ ระเทศชาตพิ ฒั นาในทุกๆด้าน

1.5 ประเภทของการออกกำลงั กาย
ประเภทของการออกกำลังกาย แบง่ ออกเป็น 2 ประเภทคอื
1.5.1 แบ่งจากลกั ษณะการฝึกกลา้ มเนือ้
1. การฝึกแบบไอโซโทนิค (Isotonic exercise) เป็นการฝึกโดยให้กล้ามเนื้อยืดหด มี

น้ำหนักตัวหนาอย่ตู ลอดเวลา โดยให้กลา้ มเน้ือเคลือ่ นไหว เรยี กวา่ การฝึกแบบไดนามิก
2. การฝึกแบบไอโซเมตริค (Isometric exercise) เป็นการฝึกโดยให้กล้ามเนื้อเกิด

การตึงตัว หรือเกร็งตวั ไมม่ ีการเคลื่อนไหว เช่นการดันผนงั
3. การฝึกแบบไอโซคิเนติค (Isokinetic exercise) เป็นการฝึกแบบผสมผสานกัน

เพ่อื ให้กลา้ มเน้ือเกรง็ ตัวและรับภาวะนำ้ หนกั ต้านทาน การฝกึ ต้องใช้อปุ กรณ์ และมผี ูฝ้ กึ สอนหรอื ผูเ้ ชย่ี วชาญคอย
ดูแล เช่น การออกกำลังกายตามฟติ เนส

1.5.2 แบ่งจากลกั ษณะการใช้ออกซเิ จน
1. การฝึกแบบแอรบิค (Aerobic exercise) คือการฝึกที่ขณะฝึกผู้ออกกำลังกายจะ

ไมก่ ั้นหายใจ เพราะตอ้ งการให้ออกซิเจนเขา้ สู่รา่ งกายตลอดการฝึก เชน่ การเต้นแอรบ์ ิคดา๊ น การเล่นฟุตบอล
2. การฝึกแบบแอนแอโรบิค (Aerobic exercise) คือการฝึกที่ขณะทำการออกกำลัง

กายผ้ฝู ึกจะกล้ันหายใจชว่ งสั้นๆ จะไม่ตอ้ งการออกซเิ จนเขา้ สรู่ ่างกาย เช่น ว่งิ ระยะส้ัน วา่ ยน้ำระยะสั้น เป็นต้น

1.6 ลกั ษณะของการมีสมรรถภาพทางกายดี
1.6.1 ผู้มีสมรรถภาพทางกายดีย่อมจะทาให้ร่างกายได้มีการเจริญเติบโตได้อย่างเต็มท่ี

กล้ามเนื้อต่างๆ ของร่างกายเติบโตได้สัดส่วน มีความแข็งแรง ทนทาน สามารถทางานต่างๆ ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

1.6.2 ผู้มีสมรรถภาพทางกายดีจะเป็นผู้ที่บุคลิกลักษณะดี สง่าผ่าเผย สามารถเคลื่อนไหวได้
ดว้ ยความสงา่ งาม คล่องแคลว่ กระฉบั กระเฉง

1.6.3 ผู้มีสมรรถภาพทางกายดีจะเป็นผู้ที่มีสุขภาพดี ถ้าอยู่ในวัยศึกษาเล่าเรียนจะสามารถ
ตรากตรำ มีสมาธิในการศกึ ษาเล่าเรียนไดด้ ี

1.6.4 ผูม้ สี มรรถภาพทางกายดีในวยั เด็กจะทาใหเ้ ด็กคนน้ันเปน็ ผู้ทมี่ คี วามกระตอื รือร้น มีความ
เช่อื มนั่ ในตนเองสูง

1.6.5 ผู้ที่มสี มรรถภาพทางกายดีย่อมจะควบคุมน้าหนักของตนเอง เพราะได้ออกกาลังกายอยู่
เป็นประจา การควบคุมน้าหนักตัวด้วยวิธีลดอาหารอย่างเดียวนั้น เป็นวิธีที่ไม่ถูกต้อง แต่ควรจะเป็นการควบคุม
ดว้ ยการออกกาลังกาย และควบคมุ อาหารควบคกู่ นั ไป

1.6.6 ผู้มีสมรรถภาพทางกายดี ย่อมจะเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานประสานกันระหว่าง
ระบบไหลเวยี นโลหติ กบั ระบบหายใจ ซึ่งจะเป็นการปอ้ งกนั โรคหวั ใจเส่ือมสมรรถภาพไดเ้ ปน็ อย่างดี ปจั จบุ นั นเี้ ช่อื
ว่าวธิ ีป้องกันโรคนีก้ ็ด้วยการออกกาลงั กายเปน็ ประจา เพ่ือให้มีสมรรถภาพทางกายดีนั่นเอง

1.6.7 ผู้ที่มีสมรรถภาพทางกายดี ย่อมทาให้กล้ามเนื้อต่างๆ ของร่างกายมีสมรรถภาพดีด้วย
โดยเฉพาะกล้ามเนื้อหลังตอนล่างถา้ กล้ามเนือ้ นี่มสี มรรถภาพดีแลว้ จะช่วยในการป้องกันโรคปวดหลังเม่ือมีอายุ
มากขน้ึ ไดด้ ว้ ย

7

สอ่ื การเรยี นรู้
1. สอ่ื ส่ิงพิมพ์
- ใบกิจกรรม เร่ือง สมรรถภาพทางกาย
- ภาพบุคคลผู้มีสมรรถภาพทางกายดีและไมด่ ี
2. สอื่ ท่ีไมใ่ ชส่ ิ่งพิมพ์
- โทรศัพทม์ ือถือ
- อนิ เตอรเ์ น็ต

กิจกรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ท่ี 1 – 2)
สปั ดาห์ที่ 1 กิจกรรมที่ 1.1 สมรรถภาพทางกาย
ขนั้ ตอนการเรียนการสอน
ขน้ั ที่ 1 นำเข้าสบู่ ทเรยี น (เสนอส่ิงเร้า และระบุคำถามสำคัญ)
1.1 ครูเสนอสิ่งเร้าโดยให้นักศึกษาดภู าพคนท่ีมีสมรรถภาพทางกายทด่ี ีและภาพคนทีม่ ี

สมรรถภาพทางกายท่ีไมด่ ี
1.2 ครูตัง้ คำถามทวั่ ไป
- นักศกึ ษาคิดวา่ บคุ คลในภาพ 2 คน แตกต่างกนั อย่างไร
- นกั ศกึ ษาคดิ วา่ เพราะเหตุใด ทำไมบุคคลในภาพถงึ แสดงอาการที่แตกตา่ งกนั
1.3 ครูตั้งคำถามสำคัญ (ถามโดยให้นกั ศึกษาคาดคะเนคำตอบโดยทีค่ รยู งั ไมเ่ ฉลย)
- นกั ศึกษาคิดวา่ สมรรถภาพทางกายคืออะไร
- สมรรถภาพทางกายมีความสำคญั อย่างไร
- สมรรถภาพทางกายมีก่ปี ระเภท

ข้ันที่ 2 อธบิ ายและสาธิต (แสวงหาสารสนเทศ และวเิ คราะห์)
2.1 ครูให้นักศึกษาทำ Pre-Test เร่ือง สมรรถภาพทางกาย
2.2 นักศกึ ษาแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละเพศ คละความสามารถ
2.3 2.3 ใหน้ ักศึกษาปฏบิ ตั ิใบกจิ กรรมเรื่องสมรรถภาพทางกายโดยการสแกนควิ อาร์โค้ด

แสวงหาสาระสนเทศในการปฏิบัตใิ บกจิ กรรม

ขน้ั ที่ 3 ฝึกปฏบิ ตั ิ (รวมพลงั อภปิ ราย และสรา้ งความรู้)
3.1 นกั ศกึ ษาแต่ละกลมุ่ นำเสนอผลงานหนา้ ชั้นเรียนโดยเปดิ โอกาสใหเ้ พื่อนนักศึกษาสามารถ

ซกั ถามถึงเนื้อหาความรู้ได้
3.2 ครเู ชื่อมโยงไปสู่ความร้ทู ี่ถกู ต้อง

ขน้ั ที่ 4 นำไปใช้ (ส่ือสาร และคิดสะท้อน)
4.1 นกั ศกึ ษาแต่ละคนทำแบบทดสอบ Post-Test เรอื่ งสมรรถภาพทางกาย
4.2 นักศกึ ษาร่วมกนั สนทนาถึงเนอื้ หาเรื่องทเี่ รียน
-ส่ิงที่ไดร้ บั จากการเรียนการสอน
-ส่งิ ทอี่ ยากเรยี นรเู้ พิ่มเตมิ จากเนอ้ื หา

8

ขนั้ ที่ 5 สรุป (ตอบแทนสังคม)
5.1 นักศึกษาและครรู ่วมกนั เติมเต็มและสรุปความรู้ที่ถูกต้อง
5.2 ครมู อบหมายใหน้ ักศึกษา หาความรเู้ พ่ิมเติม จากนน้ั ทำโปรแกรมการออกกำลังกายเพอื่

พัฒนาสมรรถภาพทางกายให้ดขี นึ้

การวัดผลและประเมนิ ผล
1. ประเมินความรู้และความเข้าใจดว้ ยแบบทดสอบ(K)
2. ประเมินการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมด้วยแบบประเมนิ (P)
3. ประเมนิ ความความใฝ่เรยี นรูด้ ว้ ยแบบสงั เกต(A)

งานทีม่ อบหมาย
1. ทำโปรแกรมการออกกำลังกายเพอื่ พฒั นาสมรรถภาพทางกายให้ดขี ้ึน

ผลงาน/ช้ินงาน/ความสำเรจ็ ของผเู้ รียน
กิจกรรมท่ี 1.1 สมรรถภาพทางกาย
- ใบกิจกรรม เรื่อง สมรรถภาพทางกาย
- แบบทดสอบกอ่ นเรียน Pre – Test เร่อื ง สมรรถภาพทางกาย
- แบบทดสอบหลงั เรียน Post-Test เร่ือง สมรรถภาพทางกาย
กิจกรรมที่ 1.2 ฝึกปฏิบตั ิกจิ กรรมภาคสนาม

เอกสารอา้ งอิง
กรณี บุญชัย. (2540) AAHPERD Health-Related Physical Fitness. กรุงเทพฯ : ภาควิชาพลศึกษา คณะ

ศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.์ (เอกสารอดั สำเนา).
การกฬี าแหง่ ประเทศไทย. (2536). การฝกึ สมรรถภาพทางกาย. กรุงเทพฯ : ไทยมติ รการพิมพ์.

9

ภาคผนวก

รายการที่ 1 ใบกิจกรรม เร่ือง สมรรถภาพทางกาย
รายการที่ 2 แบบประเมินความรูด้ ้วยแบบทดสอบ
รายการท่ี 3 แบบประเมนิ การปฏิบัตกิ ิจกรรม
รายการที่ 4 ประเมนิ ความใฝเ่ รยี นรู้ด้วยแบบสงั เกต
รายการท่ี 5 บนั ทึกหลงั สอน

10

ใบกจิ กรรม เรือ่ ง สมรรถภาพทางกาย

คำชแ้ี จง ให้นกั ศกึ ษาร่วมกนั วิเคราะห์และอภปิ รายความรู้จากหัวข้อท่ีครกู ำหนดให้ โดยการสแกน QR-Code

1. สมรรถภาพทางกาย หมายถึง
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................

2. สมรรถภาพทางกายมีความสำคญั อย่างไร
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................

3. สมรรถภาพทางกายมีกีป่ ระเภท
.............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................

3. สมรรถภาพทางกายมีกีป่ ระเภท
.............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................

ใหน้ กั ศกึ ษารว่ มกนั ปฏบิ ตั ิตามใบกิจกรรม อย่างรว่ มมือรวมพลังและใฝเ่ รียนรู้
ใช้เวลา 20 นาที

11

แบบประเมนิ ความรดู้ ว้ ยแบบทดสอบ

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น - หลงั เรียน เรือ่ ง สมรรถภาพทางกาย
ช่ือวิชา พลศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสุขภาพ รหัสวชิ า 20000-1603 ท.ป.น. 0-2-1

ระดบั ชั้น ปวช.ปี 1

1. ถ้าไม่มีการทดสอบสมรรถภาพทางกายจะเกิดผลอย่างไร
ก. ทำใหไ้ ม่ร้เู ก่ยี วกับอาการเจ็บป่วยของรา่ งกาย
ข. ทำใหไ้ ม่รู้อัตราการเจรญิ เติบโตของร่างกาย
ค. ทำใหไ้ ม่รูเ้ ก่ียวกบั ความแข็งแรงของหวั ใจ
ง. ทำใหไ้ มร่ ูค้ วามสมบูรณ์ของร่างกาย

2. เมือ่ ไดย้ ินเสียงสญั ญาณนกหวดี ของครผู ้สู อนแล้วออกว่ิงใหเ้ รว็ ท่ีสุด จดั ไดว้ ่าใชส้ มรรถภาพทางกายในลักษณะ
ใด

ก. ดา้ นกลไก
ข. ด้านความคลอ่ งตวั
ค. ด้านความเร็ว
ง. ดา้ นพลงั กล้ามเนื้อ

3. การว่ิงเก็บของเป็นการทดสอบสมรรถภาพทางกายด้านใด
ก. พลังของกล้ามเน้ือขา
ข. ความคล่องตัว
ค. ความอ่อนตัว
ง. ความเร็ว

4. ถ้าไม่มีการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายจะเกิดผลอย่างไร
ก. ร่างกายมีประสิทธิภาพในการทำกิจกรรมต่างๆ
ข. ร่างกายเจริญเติบโต
ค. ร่างกายอ่อนแอ
ง. ไม่เจ็บป่วยง่าย

5. ข้อใดทำให้มสี มรรถภาพทางกายทด่ี ี
ก. รกั ษาความสะอาดของรา่ งกาย
ข. ออกกำลังกายสมำ่ เสมอ
ค. ฝึกอารมณ์ใหส้ งบ
ง. ดื่มนมทกุ วัน

12

6. การยนื กระโดดไกลเปน็ การทดสอบด้านใด
ก. ความเรว็
ข. ความคลอ่ งตัว
ค. ความอดทน
ง. ความแขง็ แรงของกล้ามเนื้อ

7. ข้อใดเป็นผลจากการมีสมรรถภาพทางกายทดี่ ี
ก. มีทรวดทรงดี
ข. มคี วามอ่อนโยน
ค. มคี วามกล้าหาญ
ง. ร่างกายสะอาด

8. การทดสอบสมรรถภาพทางกายโดยวง่ิ เก็บของใช้หน่วยวดั เปน็ อะไร
ก. เซนตเิ มตร
ข. วินาที
ค. ครง้ั
ง. กโิ ลเมตร

9. ถ้าต้องการทดสอบความอ่อนตวั ควรใช้วธิ ีใด
ก. นง่ั กม้ ตวั ไปขา้ งหนา้
ข. ลกุ -นง่ั 30 วนิ าที
ค. ยนื กระโดดไกล
ง. วิง่ เกบ็ ของ

10. ถา้ นักเรยี นสามารถดันพ้ืนจนตวั แขน และขาลอยจากพ้ืนได้ แสดงวา่ นักเรยี นมสี มรรถภาพทางด้านใด
ก. การทรงตัวของรา่ งกาย
ข. ความอ่อนตวั ของกล้ามเน้ือ
ค. ความทนทานของรา่ งกาย
ง. ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ

เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 1 คะแนน
ให้ 0 คะแนน
ถกู
ผิด

13

เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ระดบั คณุ ภาพ
ดีมาก
ชว่ งคะแนน ดี
9 - 10 พอใช้
7-8 ปรับปรงุ
5-6
ตำ่ กวา่ 5

14

แบบประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม

คำชี้แจง : ให้ ผ้สู อน สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรียน แล้วขดี ✓ลงในช่องท่ีตรงกับระดบั
คะแนน

ลำดบั ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน
321
1 ความรว่ มมือในการเรยี นรู้
2 การทำงาน
3 การตอบคำถามตามใบกิจกรรมท่กี ำหนดให้
4 การนำเสนอช้ินงาน
5 การทำงานรว่ มกบั ผู้อื่น

รวม

ลงช่อื ...................................................ผปู้ ระเมิน
............../.................../................

เกณฑก์ ารให้ = 3 คะแนน
คะแนน = 2 คะแนน
= 1 คะแนน
ดี
พอใช้
ปรบั ปรงุ

เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ

ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ

13 - 15 ดมี าก

10 - 12 ดี

6 - 9 พอใช้

ต่ำกว่า 6 ปรบั ปรุง

15

ประเมินความใฝเ่ รียนรู้ด้วยแบบสงั เกต

คำชแี้ จง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในช่องที่
ตรงกบั ระดับคะแนน

คุณลักษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน
อันพึงประสงคด์ ้าน 4321

1. ใฝ่เรียนรู้ 1. ตั้งใจในการเรียนการสอน

2. เข้ารว่ มกจิ กรรมการเรยี นรู้ตา่ งๆ

3. มกี ารแสดงความคิดเหน็ ถึงเน้อื หาในการเรียนการสอน

4. รว่ มกจิ กรรมการอภิปรายถึงเน้ือหาในการเรยี นการสอน

เกณฑ์การให้คะแนน = 4 คะแนน
ดมี าก = 3 คะแนน
ดี = 2 คะแนน
พอใช้ = 1 คะแนน
ปรบั ปรงุ

เกณฑก์ ารประเมนิ เกณฑก์ ารตดั สิน
ไดค้ ะแนนรวมระหวา่ ง 13-16 คะแนน
ระดับคุณภาพ
ดีเย่ียม ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 9-12 คะแนน
ดี
ผ่าน ได้คะแนนรวมระหว่าง 5-8 คะแนน
ไมผ่ ่าน ได้คะแนนรวมระหว่าง ๐-4 คะแนน

16

บนั ทึกหลงั สอน

1. ผลการจดั การเรยี นการสอน
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................................

ชนั้ จำนวน ร้อยละของผเู้ รยี น หมายเหตุ

(คน) ดเี ยีย่ ม % ดี % ผ่าน % ไม่ผา่ น %

รวม
2. ปญั หา/อุปสรรค
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................

3. แนวทางพัฒนา ( กา / ในช่องสีเ่ หลีย่ มท่ีครจู ะพฒั นาผู้เรยี นในสาระการเรยี นรู้น้เี ขียนอธิบายแนวทางพัฒนาให้
ชัดเจน )

ด้วยวธิ ี
............................................................................................................................................... ..................................
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................

ทำวิจยั ปฏบิ ัตกิ ารในชัน้ เรยี น
ชื่องานวจิ ัย
..................................................................................................... ............................................................... .............
............................................................................................................................. ....................................................
วัตถปุ ระสงค์
............................................................................................................................................................. ....................
.................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................................

ลงชื่อ...................................................................
(นางสาวพชั รา ผมน้อย)
ครูผสู้ อน

วนั ท่ี.........เดือน..........................พ.ศ. ............


Click to View FlipBook Version