หนึ่งโรงเรยี น หน่ึงนวตั กรรม
ประจำปี 2565
ด้ำนกำรบริหำรและจดั กำรสถำนศกึ ษำ
เร่อื ง
กำรบรหิ ำรกำรจัดกำรเรยี นรู้ โรงเรยี นคณุ ภำพ
ระดับประถมศกึ ษำ
ด้วยกระบวนกำร PDCA/SBM สู่เป้ำหมำย (Goal)
โดยใช้รปู แบบ Nongsaeng Model
โรงเรียนอนบุ ำลหนองแซงศีลวฒุ ำจำรย์
สังกดั สำนกั งำนเขตพน้ื ที่กำรศึกษำประถมศกึ ษำสระบรุ ี เขต 1
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพน้ื ฐำน
กระทรวงศึกษำธิกำร
แบบ นร. ๑
การนาเสนอผลงาน “หนึ่งโรงเรยี น หน่งึ นวตั กรรม” ประจาปี ๒๕๖๕
๑. หน้ำปก ประกอบด้วย
๑) ช่ือผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม “กำรบริหำรจัดกำรเรียนรู้ โรงเรียนคุณภำพ ระดับ
ประถมศึกษำ ดว้ ยกระบวนกำร PDCA/SBM โดยใช้ Nongsaeng Model”
๒) ระยะเวลาดาเนินงานตง้ั แต่ มกรำคม 2564 ถึง กมุ ภำพนั ธ์ 2565
๓) การสง่ ผลงานหนง่ึ โรงเรียน หนง่ึ นวัตกรรม ( กรณุ าระบุ √ ลงใน ทตี่ รงกบั ผลงาน )
√ เปน็ ผลงานท่ไี มเ่ คยส่งเข้ารับการคดั สรรกับคุรุสภา
เป็นผลงานทีเ่ คยส่งเข้ารับการคัดสรรกบั ครุ ุสภา ปี ....... เร่อื ง ........แตไ่ ม่ไดร้ บั รางวลั ของคุรุสภา
เปน็ ผลงานที่เคยไดร้ บั รางวัลของคุรุสภาและมีการนามาพัฒนาเพิ่มเติม หรือต่อยอดนวตั กรรม
(ต้องกรอกแบบ นร. ๒)
๔) ประเภทผลงานหนง่ึ โรงเรียน หน่งึ นวัตกรรม ( กรุณาระบุ √ ลงใน ทตี่ รงกับผลงาน)
(เลือกได้เพยี ง ๑ ด้ำนเทำ่ นนั้ )
การจดั การเรียนรู้ ส่ือและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
การส่งเสรมิ และพฒั นาผเู้ รียนใหเ้ ต็มศักยภาพ
√ การบริหารและการจัดการสถานศึกษา
การวัดและประเมินผล
๕) ข้อมลู สถานศึกษา
ช่ือสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลหนองแซงศีลวุฒาจารย์ เลขท่ี - หมู่ 4 ถนน - ตาบล/แขวง
หนองควายโซ อาเภอ/เขต หนองแซง จังหวัด สระบุรี รหัสไปรษณีย์ 18170 โทรศัพท์
036-399177 โทรสาร -
๖) สงั กัด √ ๑. สพป. สระบรุ ี เขต 1 ๒. สพม. เขต ........จงั หวัด............................
๓. สอศ. ๔. สช. ๕. กทม. ๖. อปท. .....................
๗. กศน. ๘. การศึกษาพิเศษ ๙. อื่น ๆ (โปรดระบ)ุ ...............................
๗) ผู้บรหิ ารสถานศึกษา
ช่อื ผูบ้ ริหารสถานศึกษา (นาย/นาง/นางสาว/อ่ืนๆ) นายวุฒไิ กร นามสกลุ ทองบอ่
เลขบัตรประชาชน 3330800225033 ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนอนุบาลหนองแซงศีลวุฒาจารย์
วทิ ยะฐานะ ชานาญการพเิ ศษ โทรศพั ทเ์ คลื่อนท่ี 086-7591390 E-mail : [email protected]
๘) ผู้ประสานงาน
(นาย/นาง/นางสาว/อื่นๆ) นางรุ่งระวี นามสกุล กุลวงษ์ เลขบัตรประชาชน
3199900136491 ตาแหน่ง รองผู้อานวยการโรงเรียนอนุบาลหนองแซงศีลวุฒาจารย์
วิทยะฐานะ ชานาญการพิเศษ
โทรศัพทเ์ คล่ือนท่ี 081-7802921 . E-mail : [email protected]
๙) คณะผู้ร่วมพัฒนาผลงานนวัตกรรม ( ครู /นกั เรยี น/ผู้ท่มี ีส่วนเกยี่ วขอ้ ง จานวนตามจรงิ )
(นาย/นาง/นางสาว/อน่ื ๆ) นางสมาภรณ์ นามสกุล ยี่สนุ่ แยม้
เลขบัตรประชาชน 3-1905-00034-29-3 ตาแหนง่ ครู วิทยะฐานะ ครขู านาญการพิเศษ
โทรศัพท์เคลอ่ื นที่ 097-1395001 E-mail : [email protected]
(นาย/นาง/นางสาว/อ่นื ๆ) นางสภุ าภรณ์ นามสกุล ชื่นตา
เลขบัตรประชาชน 3190500061436 ตาแหนง่ ครู วทิ ยะฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ
โทรศัพทเ์ คลือ่ นที่ 095-5733223 E-mail : [email protected]
(นาย/นาง/นางสาว/อ่นื ๆ) นางวัชรี นามสกลุ ไตรทอง
เลขบัตรประชาชน 3160101167320 ตาแหน่ง ครู วิทยะฐานะ ครชู านาญการพิเศษ
โทรศัพทเ์ คลื่อนที่ 086-1290300 E-mail : [email protected]
(นาย/นาง/นางสาว/อ่นื ๆ) นางชนิกานต์ นามสกลุ ไชยพมิ พา
เลขบตั รประชาชน 3191000137043 ตาแหนง่ ครู วทิ ยะฐานะ ครชู านาญการพิเศษ
โทรศัพท์เคล่อื นท่ี 081-2915041 E-mail : chanikan๐๐@hotmail.com
(นาย/นาง/นางสาว/อื่นๆ) นางฉวี นามสกลุ ดาบเพ็ชร์
เลขบัตรประชาชน 3409900650523 ตาแหน่ง ครู วทิ ยะฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ
โทรศัพทเ์ คลอ่ื นที่ 086-7962678 E-mail : [email protected]
(นาย/นาง/นางสาว/อ่นื ๆ) นางสาวอรพรรณ นามสกลุ ศรปะละ
เลขบตั รประชาชน 1529900308194 ตาแหน่ง ครู วิทยะฐานะ -
โทรศพั ทเ์ คลื่อนท่ี 0869219771 E-mail : [email protected]
(นาย/นาง/นางสาว/อ่นื ๆ) นางสาวจันทนา นามสกลุ สมกาเนิด
เลขบตั รประชาชน 3190500090550 ตาแหน่ง ครู วทิ ยะฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ
โทรศพั ทเ์ คลื่อนท่ี 081-5578957 E-mail : [email protected]
(นาย/นาง/นางสาว/อน่ื ๆ) นางลาวลั ย์ นามสกุล มาลา
เลขบัตรประชาชน 3190400253767 ตาแหน่ง ครู วทิ ยะฐานะ -
โทรศัพทเ์ คลื่อนท่ี 0819461502 E-mail : [email protected]
(นาย/นาง/นางสาว/อน่ื ๆ) นางสาวสริ ีรัศม์ นามสกุล พรหมทะสาร
เลขบตั รประชาชน 1190500031778 ตาแหน่ง ครู วทิ ยะฐานะ -
โทรศพั ทเ์ คลื่อนที่ 0868082573 E-mail : [email protected]
หมายเหตุ : กรณุ าบันทกึ ข้อมูลลงใน https://school.ksp.or.th (KSP-School) กรณยี งั ไม่ไดส้ มคั รสมาชิก
หรอื ลมื รหัสเขา้ ระบบ กรณุ าเผอื่ เวลาอยา่ งนอ้ ย ๓ วันทาการ เพอื่ ใหส้ ามารถส่งผลงานไดท้ ัน ภายในวันที่ ๒๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕
หน่ึงโรงเรยี น หน่ึงนวัตกรรมด้ำนกำรบรหิ ำรและจดั กำรสถำนศึกษำ
เรอื่ ง กำรบรหิ ำรกำรจัดกำรเรียนรู้ โรงเรยี นคุณภำพของชุมชน ระดับประถมศกึ ษำ
ดว้ ยกระบวนกำร PDCA/SBM สูเ่ ป้ำหมำย (Goal) โดยใช้รูปแบบ NongSaeng Model
โรงเรียนอนบุ ำลหนองแซงศีลวุฒำจำรย์ อำเภอหนองแซง จังหวดั สระบุรี
๒. บทสรุป
กำรบรหิ ำรกำรจัดกำรเรียนรู้ โรงเรียนคุณภำพของชุมชน ระดบั ประถมศึกษำ ด้วยกระบวนกำร DCA/SBM
สู่เป้ำหมำย (Goal) โดยใชร้ ปู แบบ NongSaeng Model
นิยำมศพั ท์
โรงเรียนคุณภำพของชุมชน หมายถึง โรงเรียนท่ีมีนักเรียนมาเรียนรวม ในอัตรา ๑ ต่อ ๗, ๑ ต่อ ๘ หรือใน
อัตราส่วนท่ีมากที่สุด ท่ีสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาสามารถดาเนินการได้ ตามความพร้อม และ ดาเนินการ
พฒั นาและยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาให้เกิดความเชอื่ มนั่ ตอ่ ชุมชนและผปู้ กครอง
โรงเรียนมัธยมดีส่ีมุมเมือง หมายถึง โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา (ม.1 – ม.6) ท่ีมีศักยภาพ และ มีความพร้อม
เป็นท่ียอมรับของผู้ปกครอง ชุมชน มีการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธภิ าพ สภาพแวดล้อม วัสดุ อุปกรณ์ และ
เทคโนโลยี ลดความเหลื่อมล้า กระจายความเสมอภาค ความเท่าเทียม ลดอัตราการแข่งขันสูงเป็นทางเลือกให้
ชมุ ชนและผ้ปู กครอง
โรงเรียนคุณภำพ หมายถึง โรงเรียนคุณภาพของชุมชน (สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา)
และโรงเรียนมธั ยมดสี ีม่ ุมเมอื ง (สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา)
โรงเรยี นเครือขำ่ ย หมายถงึ โรงเรยี นท่มี าเรยี นรวมกับโรงเรยี นคุณภาพของชมุ ชน
รวม หมายถึง การรวมท่ีต้ังอยู่ใกล้กันตั้งแต่สองแห่งข้ึนไป เพ่ือให้การบริหารและจัดการศึกษา มีประสิทธิภาพ
เกิดผลดแี กผ่ ูเ้ รียนทง้ั ในด้านสิทธิ โอกาส และคุณภาพการศึกษา
PDCA (วงจรเดมมิ่ง) หมายถึง วงจรบริหารส่ีขั้นตอนที่ประกอบไปด้วย Plan (การวางแผน) Do (ปฏิบัติ)
Check (ตรวจสอบ) และ Action (การดาเนินการ) วงจรการบริหารงานคุณภาพใช้ในการควบคุมและพัฒนา
กระบวนการหรือผลิตภัณฑ์อย่างต่อเน่ืองPDCA ทั้งส่ีข้ันตอนเป็นกระบวนการท่ีสามารถทาซ้าได้ เพ่ือให้องค์กร
สามารถบริหารความเปล่ียนแปลงไดอ้ ยา่ งประสบความสาเรจ็ โดยมีขน้ั ตอนของ PDCA ดงั น้ี
(P) Plan – กำรวำงแผน : หมายถึงการตั้งเป้าหมายจากปัญหาหรือโอกาสต่างๆ และสร้างแผนการ
ทางานหรือกระบวนการเพ่ือทาใหเ้ ป้าหมายนปี้ ระสบความสาเร็จ
(D) Do – ปฏิบัติ/กำรทดสอบ : หมายถึงข้ันตอนการทดสอบ เป็นการลงมือทาและเก็บข้อมูลเพื่อหา
จดุ ออ่ นหรือจุดทส่ี ามารถพัฒนามากข้ึนได้ รวมถงึ การแก้ปญั หาเฉพาะหนา้ ตา่ งๆดว้ ย
(C) Check – กำรตรวจสอบ : หมายถึงข้ันตอนการตรวจสอบ เป็นข้ันตอนหาช่องทางและวิธีพัฒนา
กระบวนการต่างๆให้เร็วข้ึนหรือมีประสิทธิภาพมากข้ึน รวมถึงการจัดลาดับความสาคัญของโอกาสและ
อปุ สรรคต่างๆในกระบวนการ
(A) Action – กำรดำเนนิ กำร/ปรับปรงุ แกไ้ ข : หมายถึงการดาเนนิ การเพือ่ ปรบั ปรุงแก้ไข เพ่ือให้กระ
บวนการขั้นตอนต่างๆเรว็ ขึ้น ดขี ้นึ หรอื มีคา่ ใชจ้ ่ายน้อยกวา่ เดมิ
กำรบริหำรโดยใช้โรงเรียนเป็นฐำน เป็นการกระจายอานาจการจัดการศึกษาจากส่วนกลางไปยังสถานศึกษา
โดยตรง โดยใหส้ ถานศึกษามอี านาจหน้าที่ความรบั ผิดชอบ มีอิสระและความคล่องตัวในการตัดสินใจการบรหิ าร
จัดการทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ บุคลากรและการบริหารท่ัวไป โดยมีคณะกรรมการสถานศึกษาซึ่ง
ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา ตัวแทนผู้ปกครองและชุมชน ตัวแทนครู ผู้ทรงคุณวุฒิ มีส่วนร่วมกันบริหาร
สถานศึกษาให้เปน็ ไปตามความต้องการของผูเ้ รยี นและผปู้ กครองให้มากท่ีสุด ทั้งนกี้ ารบรหิ ารจัดการท่ีรบั ผิดชอบ
ร่วมกันตามภาระงานของสถานศึกษาน้ัน จะทาให้เกิดความเป็นเจ้าของและทาให้ผลการปฏิบัติงานของ
สถานศกึ ษาเปน็ ทีย่ อมรบั ได้
Nongsaeng Model เป็นนวัตกรรมทางการบริหารการศึกษา เป็นรูปแบบในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
สถานศึกษา ผู้เรียน โดยเน้นการจัดการเรียนรู้และสภาพที่เอ้ือต่อการเรียนรู้โดยอิงมาตรฐานการศึกษาของ
โรงเรียน การบริหารงานโดยใช้กระบวนการ PDCA (วงจรเดมมิ่ง) : Plan Do Check Act และใช้โรงเรียนเป็น
ฐาน (School Base Management : SBM) เพื่อมงุ่ สู่เปา้ หมายทกี่ าหนดไว้ (Goal) โดยใช้การทางานเปน็ ทีม การ
มีส่วนร่วมของทกุ ฝ่ายในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
๓. ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา
จากนโยบายการปฏิรูปการศึกษาของรัฐบาล ภายใต้การขับเคลื่อนของรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการ ที่มีแนวความคิด “ปลดล็อก ปรับเปลี่ยน เปิดกว้าง” เพื่อให้การทางานของ
กระทรวงศึกษาธิการ มีความรวดเรว็ ปรับตัวใหก้ ้าวทนั ต่อความเปล่ียนแปลง และสามารถนาพาให้ ประเทศไทย
ไปต่อหลังการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-๑๙ ประกอบกับ การสนับสนุนข้อมูลผลการประชุม องค์การ
ยูเนสโก ได้ระบุถึงเรื่องการศึกษาแบบเรียนรวมหรือการศึกษาที่ไม่ท้ิงใครไว้ข้างหลัง ด้วยหลักสูตรท่ียืดหยุ่น
วัดผลตามสมรรถนะเดก็ มีการลงทนุ ด้านการศึกษาอยา่ งเป็นธรรม เพ่อื ลดความเหลื่อมล้าทางการศกึ ษา
ทางกระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดนโยบายโรงเรียนคุณภาพของชุมชน/โรงเรียน Stand Alone ข้ึน
เพ่ือลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษา เศรษฐกิจ และสังคมในชุมชนต่างๆ ได้อย่างย่ังยืน รวมท้ังเน้นย้าเรื่อง การ
พัฒนาและปรับกระบวนการจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ มุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะ และ
ทักษะศตวรรษท่ี 21 โดยการใช้ส่ือนวัตกรรมที่ทันสมัย ร่วมกับการจัดการเรียนการสอนแนวทางการจัดการ
เรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สามารถแก้ไขสถานการณ์เฉพาะ
หน้าไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ รวมถึงมคี วามรอบรู้ มีทกั ษะชีวิต และทักษะอาชีพ ซึ่งล้วนเปน็ สมรรถนะสาคัญท่ีจะ
นาพาให้เยาวชนไทยมคี วามพร้อมก้าวสพู่ ลเมอื งโลกในศตวรรษท่ี 21 ทีม่ ีคุณภาพ
๔. วตั ถปุ ระสงค์
1. เพอ่ื บรหิ ารการจดั การการเรยี นรู้ โรงเรยี นคุณภาพ ทีส่ ่งเสรมิ คุณภาพผ้เู รียนอยา่ งเต็มศกั ยภาพ
2. เพ่อื สง่ เสรมิ สนับสนุนครู นักเรียน ไดร้ บั การพฒั นาตนเอง พฒั นาสมรรถนะหลักอยา่ งต่อเน่อื ง
3. เพ่ือพฒั นาครูผูส้ อนและบุคลากรสคู่ วามเป็นเลศิ ดา้ นนวตั กรรมการจัดการเรียนร้แู ละดา้ นเทคโนโลยี
4. เพ่ือส่งเสริมความปลอดภัยของผู้เรียนโรงเรียนคานึงถึงความปลอดภัยของผู้เรียน ข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศกึ ษา และผูม้ สี ่วนเก่ยี วขอ้ ง
5. เพ่อื ส่งเสรมิ ให้ผ้เู รยี นเกิดทักษะการเรยี นรู้ตลอดชีวติ และทกั ษะทจ่ี าเปน็ ในศตวรรษท่ี 21
๕. กระบวนการพัฒนาผลงานหน่ึงโรงเรยี น หนึ่งนวตั กรรม
๑) สภาพปญั หาก่อนการพฒั นา
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในสถานศึกษา สัญญาณยังไม่กระจายครอบคลุมในจุดการใช้งาน
ครูและบุคลากรทางการศึกษายังมีข้อจากัดในการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน การขาดวัสดุอุปกรณ์
เช่น คอมพิวเตอร์ตงั้ โต๊ะ มือถือ อุปกรณ์ แท๊ปเล็ต สัญญาณอินเทอร์เน็ตท่ีไมค่ รอบคลุม ผู้ปกครอง/นักเรียนยังขาด
อปุ กรณ์ในการใช้เทคโนโลยีสอื่ สาร ผู้ปกครองต้องออกไปทางานนอกบ้าน บุตรหลานยังขาดวัสดุอุปกรณ์ เน่ืองด้วย
บิดา-มารดา ผูป้ กครองต้องนาอปุ กรณไ์ ปใชง้ านด้วย
ทางโรงเรียนจึงเล็งเห็นความสาคัญในการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ในการ
พัฒนาคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง และร่วมประชุมวางแผนกาหนด Model ในการบริหารจัดการ
สถานศกึ ษา
๒) การออกแบบนวตั กรรมเพอื่ การพัฒนา
1) รว่ มกันกาหนดวิสัยทศั น์ในการดาเนนิ การพัฒนา
“ ผ้เู รยี นมคี ณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ตามหลักสูตร เป็นผเู้ รียนรูต้ ลอดชวี ติ เป็นนักคิด
นักสร้างสรรคท์ มี่ ีคุณภาพ สามารถใชเ้ ทคโนโลยี เพือ่ การเรียนรู้ ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
ใสใ่ จต่อส่ิงแวดล้อมและสามารถดารงตนอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสขุ
ดว้ ยหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ”
2) ร่วมกันวิเคราะห์สภาพปัญหา หาจุดแข็งและจุดอ่อนของการจัดการศึกษาในโรงเรียนจาก
มาตรฐานการศึกษาของโรงเรยี น ผลการประเมนิ ภายนอกของ สมศ. การบริหารงานโดยใช้
โรงเรียนเป็นฐาน (School Base Management : SBM) ภายใต้กระบวนการ PDCA โดย
ใช้รปู แบบ Nongsaeng Model
3) จุดแขง็ ของโรงเรยี น คือ
- โรงเรียนบริหารแบบมีส่วนร่วมในรูปคณะกรรมการสถานศึกษาและภาคี 4 ฝ่าย
นักเรียนผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นที่น่าพอใจ
- คณะครู นักเรียนร่วมกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียน อาคารสะอาด ร่มรื่น
สวยงาม ผู้บริหารใหก้ าลังใจและบริการอานวยความสะดวกสนับสนุนการจัดกิจกรรม
ต่างๆได้เป็นอย่างดีและคณะครูร่วมมือกันปฏิบัติงานเป็นย่างดีนักเรียนได้รับโอกาส
ได้รับการเอาใจใส่จากครูในการจัดการเรียนการสอน โรงเรยี นมีสนามกีฬาท่เี หมาะสม
สะดวกในการจัดกจิ กรรมการแขง่ ขนั กีฬา และไดร้ บั การสนับสนนุ ชว่ ยเหลอื จากชมุ ชน
- นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีนกั เรียนนอกเขตบริการมาเข้าเรียน คุณลกั ษณะ
อนั พงึ ประสงค์ของโรงเรยี น ระบบบริหารวงจร PDCA การพัฒนาบคุ ลากร และระบบ
การทางานเปน็ ทีม (Teamwork)
4) รว่ มกันกาหนดลกั ษณะของโรงเรียนคุณภาพ ดังนี้
- จดั อบรมพฒั นาครู บุคลากร และนกั เรยี น (Training)
- จัดบรรยากาศทเี่ อ้อื ต่อการเรยี นรู้ (Surrounding-Thinking)
- จัดสภาพแวดล้อมทค่ี วามสะอาด (Cleaning) และมคี วามปลอดภัย (Safety)
- ใช้และสอื่ นวตั กรรม ข้อมลู สารสนเทศ และการส่อื สารในการเรียนรู้
(Innovaion/Information/ICT)
๓) ข้ันตอนการดาเนินงานพัฒนา
1. ประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน ร่วมวางแผน (P : Plan) โดย วิเคราะห์จุดแข็งจุดอ่อน
ข้อจากัดของนักเรียน การจัดการเรียนการสอน หลักสูตรสถานศึกษา กาหนดลักษณะคุณภาพที่พึง
ประสงค์และตัวชี้วัด กาหนดโครงสร้างการบริหารงาน ร่วมกันกาหนด Model โรงเรียนคุณภาพของ
ชุมชนและวางแผนระบบที่จะนามาใชใ้ นการบริหารจดั การ Model
การกำรบรหิ ำรกำรจดั กำรเรยี นรู้ โรงเรยี นคุณภำพของชุมชน ระดับประถมศกึ ษำ
ด้วยกระบวนกำร PDCA/SBM สู่เปำ้ หมำย (Goal) โดยใช้รูปแบบ NongSaeng Model
ข้ันเตรียมการ ขน้ั ดาเนินการ ขน้ั ตรวจสอบและ ข้ันสรุป รายงานผล
(Plan) (Do) ประเมินผล (Check) และปรบั ปรุง (Act)
- กาหนดวางแผนการ - ประชมุ ครแู ละนกั เรยี นเพอ่ื - จดั ทารายละเอียดผลการ - อภปิ รายปญั หาหลัง
ดาเนนิ งานโครงการ/ ช้แี จงการดาเนนิ โครงการ ดาเนนิ กจิ กรรม ดาเนินกิจกรรม
กิจกรรม - จั ด เ ต รี ย ม ส ถ า น ที่เ พื่อ - ประเมินความพึงพอใจใน - รายงานผลและสรุปผล
- กาหนดกลุม่ เปา้ หมาย ดาเนนิ กิจกรรม การทากจิ กรรม การดาเนินงานโครงการ/
- กาหนดผู้รับผดิ ชอบ/ - จัดกิ จกร รมต ามแ ผน ที่ กิจกรรม
กาหนด
คณะทางาน
2. ให้การนเิ ทศใหค้ วามรู้ โรงเรยี นคณุ ภาพ กบั คณะครูและบุคลากร
3. จดั ทาแผนการดาเนนิ งานโครงการ/กจิ กรรม โรงเรียนคณุ ภาพ
4. ปฏบิ ตั ติ ามแผนการดาเนินงาน (D : Do) ระบบการทางานเปน็ ทีม
5. ค้นหาวธิ ีการเป็นเลิศ Best Practices (C : Check)
6. แสดงผลงานวิธกี ารเป็นเลิศ Best Practices ระดบั โรงเรยี นคุณภาพ
7. ประเมินผลการดาเนนิ งานและพัฒนาปรบั ปรงุ (A : Action)
๔) ผลงานท่เี กดิ ขึ้นจากการดาเนนิ งาน
1. ผู้เรียนมรี ะดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนในกลมุ่ สาระวชิ าและสมรรถนะสาคัญตามหลักสตู ร
แกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานสงู ขนึ้
2. ผูเ้ รยี นมีทกั ษะความรใู้ นศาสตรท์ ีท่ ันสมยั เปน็ ทตี่ ้องการในตลาดแรงงานแหง่ อนาคต ไดแ้ ก่
ทักษะความรู้ STEM และทักษะท่จี าเปน็ ในศตวรรษท่ี 21
3. ผเู้ รยี น ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษามีความปลอดภยั ทั้งในและนอกโรงเรยี นอยา่ งยั่งยืน
4. โรงเรียนมีส่ือนวัตกรรม และเทคโนโลยีการศึกษาท่ีทันสมัย ช่วยสร้างความม่ันใจให้กับ
ผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเขา้ เรียนในโรงเรียนได้มากยง่ิ ขึ้น
5. บุคลากรครูได้รับการส่งเสริมให้พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ทม่ี ีประสิทธภิ าพ เกิดความ
ม่นั ใจและมีความสุขในการทางานมากยง่ิ ขน้ึ
6. โรงเรียนมีระบบความปลอดภัยท่ีดี และสร้างความเชื่อมั่นต่อผู้เรียน ครูและบุคลาการทาง
การศึกษา รวมถึงผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสยี
๗. ผลงานท่ีเป็นช้ินงานนวัตกรรม และผลการใช้นวัตกรรมท่ีเกิดข้ึนกับผู้เรียน ครู ผู้บริหาร
สถานศึกษาชุมชน หรอื ผูม้ ีส่วนเก่ยี วข้องในด้านพฤตกิ รรม พฒั นาการหรือการเรยี นรู้
๕) สรุปส่งิ ที่เรยี นรูแ้ ละการปรบั ปรงุ ให้ดขี น้ึ
1) ปัจจัยความสาเร็จของการบริหารการจัดการ ด้วยกระบวนการ PDCA/SBM โดยรูปแบบ
Nongsaeng Model ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา มีวิสัยทัศน์ท่ีกว้างไกล มีความมุ่งมั่นและตระหนักให้
ความสาคัญในการบริหารจัดการ ให้กาลังใจ เป็นผู้นาการใช้นวัตกรรม Nongsaeng Model ครูร่วมคิดร่วม
ดาเนินการ มีความตระหนักรู้ และนาไปสู่การปฏิบัติจนเกิดผลขึ้นจริง นักเรียนมสี ่วนร่วมและใหค้ วามร่วมมือใน
การเรียนรู้ พัฒนาตนเอง สามารถค้นคว้าหาความรู้นอกห้องเรียน มีกระบวนการติดวิเคราะห์ โรงเรียนอานวย
ความ สะดวกในการดาเนินงาน ชมุ ชนผูป้ กครอง ให้ความรว่ มมอื สนบั สนุนการทางานของโรงเรียน
2) ตัวชี้วัดความสาเร็จของการบริหารการจัดการเรียนรู้ ด้วยกระบวนการ PDCA/SBM โดยใช้
รูปแบบ Nongsaeng Model ครูสามารถนากระบวนการ PDA/SBM รูปแบบ Nongsaeng Model ใปใช้ใน
กระบวนการทางานในการจัดการเรียนการสอน การดาเนินการโครงการ/กิจกรรมต่างๆ เพื่อดาเนินการพัฒนา ปรับปรุง แก้ไข
และการวัดและประเมินผลในแต่ละกิจกรรมได้อย่างดี นักเรียนมีความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ในระดับดี ร้อยละ
ของนักเรียนปฏิบัติตนในการ นักเรียนเลือกใช้ส่ือเทคโนโลยีเพื่อค้นหาข้อมูล ติดต่อส่ือสาร นาเสนอผลงานและ
ประมวลผลข้อมูลได้อย่างชัดเจน ถูกต้อง นักเรียนสามารถแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ท้ังภายในและ
ภายนอกสถานศึกษา สืบค้นข้อมลู ท่ีเป็นประโยชน์และสร้างสรรค์จากส่ือสารสนเทศเป็นประจาและต่อเน่ืองเป็น
นิสัย นักเรียนมีคุณธรรม รู้จักแบ่งปันความรู้ ช่วยเหลือผู้อ่ืน และเข้าร่วมกิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม
ดว้ ยความเต็มใจ
๖) การขยายผลและเผยแพรผ่ ลการพฒั นา
๑) สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาสระบรุ ี เขต 1
๒) กล่มุ โรงเรียนหนองแซง/โรงเรยี นเครอื ขา่ ย จานวน 9 โรงเรียน
๓) คณะศึกษาดูงาน การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดารง
ตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา สู่การเรียนรู้ในสภาพจริง (Authentic Learning) ณ
สถานศกึ ษาและองค์กรต้นแบบ
การเรยี นรูใ้ นสภาพจรงิ (Authentic Learning)
๖. ข้อเสนอแนะและแนวทางการพัฒนาอยา่ งต่อเนื่อง
การบริหารการจัดการเรียนรู้ โรงเรียนคุณภาพของชุมชน ระดับประถมศึกษา ด้วยกระบวนการ
PDCA/SBM สู่เป้าหมาย (Goal) โดยใช้รูปแบบ Nongsaeng Model ประสบความสาเร็จในแต่ละด้านได้ด้วย
อาศัยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย ได้แก่ สานักงาเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต 1 ผู้บริหาร ครู
นักเรียนและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ผูป้ กครอง รวมทัง้ ชมุ ชน หนว่ ยงาน องค์กรภายนอก เพอ่ื ประสานความ
รว่ มมอื ให้มีส่วนรว่ มคดิ รว่ มทา ร่วมตัดสินใจ ประสานความร่วมมือ ประชาสมั พนั ธ์ข้อมลู ต่างๆ ในการดาเนินงาน
ต่างๆ โดยใช้กระบวนการเดมม่ิง PDCA และการใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-Based Managements) และ
หลักวิชาการร่วมประเมินผลอย่างเป็นระบบ การสนับสนุนการดาเนินงาน เช่น สนับสนุนสื่อ นวัตกรรมอย่าง
เพียงพอ การสร้างวัฒนธรรมองค์กร การทางานแบบมีส่วนร่วม การทางานเป็นทีม ทาให้ผู้ร่วมงานมีการติดต่อ
ประสานงานอย่างเป็นระบบและมคี วามต่อเน่ือง องคก์ รมีเป้าหมายร่วมกัน (Goal) ทางานเปน็ ทีม (Teamwork)
และมีการส่ือสารท่ีมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล ทาให้การบริหารจัดการโรงเรียนคุณภาพของชุมชนสู่
ความสาเรจ็
๗. จดุ เดน่ หรอื ลกั ษณะพิเศษของผลงำนนวตั กรรม
การมีส่วนร่วมของครู บุคลากร คณะกรรมการสถานศึกษาข้นพ้ืนฐาน ผู้ปกครอง นักเรียน ชุมชน
หน่วยงานองค์กรภายนอก มีสว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษาอย่างมีคุณภาพ
การบูรณาการใช้ทรัพยากรร่วมกัน หมายถึง การนานักเรียนจากโรงเรียนเครือข่ายเข้าร่วมกิจกรรม
เพื่อการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในบางวัน บางเวลา บางกิจกรรม เพื่อใช้
ทรพั ยากรร่วมกับโรงเรียนคณุ ภาพ
ครูและบุคลากร มีงานวิจัยในการแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอน นวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้
โครงงานคุณธรรมทุกห้องเรยี น
๘. บรรณานกุ รม
Tiger.//(2021).//PDCA คืออะไร-วงจรบริหารส่ีข้ันตอน.//สืบค้นเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2565.//จาก/
www.thaiwinner.com/pdca-cyle/.2021
อุทัย บุญประเสริฐ.//(2544).//การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-Based Management : SBM).//
สืบค้นเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2565.//จากwww.prateepw1.wordpress.com/2012/02/27การบริหารโดยใช้
โรงเรียน/
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน.(2563).//ร่างโรงเรียนคุณภาพของชุมชนสังกัดคณะกรรมการ
การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน.//แนวทางการบรหิ ารจัดการโรงเรียนคุณภาพของชุมชน ประจาปีการศึกษา 2564-2565,17
ภาพประกอบ
การเผยแพร่ผลงานของโรงเรียนอนุบาลหนองแซงศลี วุฒาจารย์ (โรงเรียนคณุ ภาพ)
โรงเรยี นได้รับรางวัล ระดับผา่ นเกณฑ์คณุ ภาพ ระบบการนเิ ทศภายใน
การพัฒนาผเู้ รยี นท่ีหลายหลาย (การจัดการเรยี นการสอนออนไลนผ์ ่านระบบ Conference
ระบบ “Cisco WebEx” การจัดทาคลิปวดิ ีโอการสอน (On-Demand)
การพัฒนาครู บคุ ลากร นักเรยี นด้วยวิธกี ารที่หลากหลาย โดยใชก้ ระบวนการ PDCA/SBM
ภายใต้ Nongsaeng Model
สถานศกึ ษาสู่การเรยี นรู้ ในสภาพจริง (Authentic Learning)
บรษิ ัทสร้างการดี กิจกรรมร้อยลูกปัด
ผลงานนักเรยี น
กจิ กรรม 12 สปั ดาห์
พฒั นานวัตกรรม Active Learning
“วถิ ีใหม่ วถิ ีคุณภาคุณภาพ”
รับมอบเกียรตบิ ตั รระบบนิเทศภายใน ระดับผา่ นเกณฑ์คณุ ภาพ
การนเิ ทศ ตดิ ตามการขบั เคลอ่ื นโรงเรยี นคณุ ภาพของชมุ ชน ประจาปี 2564 (งบปรบั ปรงุ ซอ่ มแซม)
การลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณภาพ ระหว่าง โรงเรียน
อนุบาลหนองแซงศีลวุฒาจารย์ (โรงเรียนหลัก) กับโรงเรียนเครือข่าย คือ 1.โรงเรียนวัดหนองสองห้อง
2.โรงเรยี นวัดหนองทางบญุ 3.โรงเรยี นวดั บา้ นใหม่ 4. โรงเรียนวดั หนองหวั โพ 5.โรงเรียนวดั เขาดนิ โดยนายวุฒิ
ไกร ทองบ่อ และผู้อานวยการโรงเรียน/รักษาการโรงเรียนเครือข่าย และร่วมประชุมการจัดทา Timeline การ
ดาเนินงานการขับเคลอ่ื นกิจกรรมการดาเนินงานของโรงเรียนคุณภาพ ระดับประถมศกึ ษา (โรงเรียนหลักร่วมกับ
โรงเรียนเครอื ขา่ ย)
การนิเทศ ติดตามและสนบั สนนุ การดาเนนิ งานของสถานศึกษา สงั กัด สพฐ. ภายใต้ชุดโครงการจดั สรรเงนิ
อดุ หนุนแบบมีเงอ่ื นไข เม่ือวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2565
การนิเทศ ติดตาม การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ตามโครงการนิเทศ
บูรณาการ "วิถีใหม่ วิถีคุณภาพ" โดยใช้พ้ืนที่เป็นฐานคุณภาพการศึกษา เม่ือวันท่ี 21 กุมภาพันธ์ 2565
โดยนายธีรพงศ์ ภู่เจริญ (ประธานกรรมการ/ผู้ทรงคุณวุฒิ นายวุฒิไกร ทองบ่อง (ผู้อานวยการโรงเรียนอนุบาล
หนองแซงศีลวุฒาจารย์) ณ ห้องประชมุ โรงเรยี นอนุบาลหนองแซงศลี วฒุ าจารย์
คณะครูผู้รับผิดชอบให้การต้อนรับและรายงานข้อมูล 1.การพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา
ภายในของสถานศึกษา 2. การอ่านออก เขียนสวย 3. การบริหารจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 4.โครงการบา้ นนกั วทิ ยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทย 5.การนเิ ทศ
ภายในโรงเรียน ทางโรงเรียนขอขอบคุณคณะกรรมการนิเทศ ติดตาม การพัฒนาคุณภาพการศึกษา สาหรับ
ข้อเสนอแนะในการพัฒนาต่อไป
การนิเทศ ตดิ ตาม การพฒั นาคุณภาพการศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ตามโครงการนเิ ทศ
บูรณาการ "วิถใี หม่ วถิ ีคุณภาพ" โดยใชพ้ ้ืนท่ีเป็นฐานคุณภาพการศึกษา เมอ่ื วนั ที่ 21 กุมภาพันธ์ 2565
นางสาวพรเพ็ญ ทองสิมา ผู้เชี่ยวชาญด้านการประเมินผลการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และคณะ
ในโอกาสลงพื้นท่ีการติดตามเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพในประเด็นเร่งด่วนตาม
นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีหน่วยงาน สพป.สระบุรี เขต 2 และ สพม.สระบุรี
ร่วมนาเสนอให้ข้อมูลการขับเคล่ือนโรงเรยี นคุณภาพของชมุ ชน และการพาน้องกลับมาเรยี น ในการตรวจติดตาม
การดาเนนิ งานตามนโยบายของรฐั มนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ ารในคร้งั น้ี เม่ือวันที่ 10 กมุ ภาพนั ธ์ 2565
...........................................................