1
บทสรปุ สำหรับผู้บริหำร
โรงเรียนวัดควนชะลิก ที่ตั้งเลขที่ 34 หมู่ท่ี 2 ตาบลควนชะลิก อาเภอหัวไทร จังหวัด
นครศรีธรรมราช สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 3 โทร 075767287
โทรสาร 075767287 e-mail [email protected] เปิดสอนตั้งแต่ระดับช้ันอนุบาล ถึง
ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 เป็นโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ผู้อานวยการโรงเรียน ชื่อ นางสุทธิรา
สมเนยี ม เบอร์โทรศพั ท์ 062 826 5532 มีนกั เรียน ประจาปีการศึกษา 2564 จานวนท้งั สน้ิ 174 คน มีครูและ
บุคลากรทางการศกึ ษา จานวน 17 คน โรงเรยี นวดั ควนชะลิกเป็นโรงเรยี นในโครงการประชารัฐ
ผลการประเมินคุณภาพภายในระดับกำรศกึ ษำขน้ั พน้ื ฐำน มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของ
ผเู้ รยี น อย่ใู นระดับยอดเย่ียม (5) มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ อยู่ในระดบั ยอดเยี่ยม (5)
มาตรฐาน ท่ี 3 กระบวนการเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั อยูใ่ นระดบั ยอดเยี่ยม (5) ผลกำรพัฒนำตำม
จดุ เนน้ เร่อื ง การอา่ นออกเขียนได้ RT ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 รอ้ ยละ 76.41 NT ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 รอ้ ยละ
43.26 เอกสำร หลกั ฐำนเชงิ ประจักษท์ ส่ี นบั สนุน ได้แก่ มาตรฐานที่ 1 ผลการประเมินคณุ ภาพผู้เรยี น ด้าน
การอ่าน การเขียน การส่ือสารและ การคิดคานวณ ร้อยละ 90.45 การวเิ คราะห์ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
การอภิปรายแลกเปลีย่ นความคิดเห็น การแกป้ ญั หาร้อยละ 90.00 ใช้เทคโนโลยีสร้างชน้ิ งาน รอ้ ยละ 99.33
นกั เรียนมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น ต้ังแต่ระดบั 3 ขน้ึ ไป ร้อยละ 79.33 นักเรียนมที ักษะพน้ื ฐาน เจตคตติ ่อ
การศกึ ษา และมีความรู้สึกท่ีดตี อ่ การประกอบอาชีพสุจรติ ร้อยละ 99.33 คุณลกั ษณะและค่านยิ มท่ีดีตามท่ี
สถานศึกษากาหนด ร้อยละ 98 ความภูมใิ จในท้องถนิ่ และความเปน็ ไทย ร้อยละ 100 การยอมรับทีจ่ ะอยู่
ร่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย รอ้ ยละ 100 มีสุขภาวะทางรา่ งกายและจิตสงั คม รอ้ ยละ 96.00
มาตรฐานที่ 2 ผลการประเมินกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ พบว่าโรงเรยี น ไดก้ าหนดวิสัยทศั น์ พันธกิจ
และเปา้ หมายการพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาชัดเจนสอดคล้องกบั บริบทของสถานศึกษา ความต้องการ
ชมุ ชน นโยบายรัฐบาล แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพสถานศึกษาทช่ี ดั เจน ส่งผลตอ่
คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาโดยอาศยั ความรว่ มมือของผู้มสี ่วนเกยี่ วขอ้ งทุกฝ่าย มกี ารดาเนินงานพฒั นา
วชิ าการ ท่เี น้นคณุ ภาพของผเู้ รียนรอบดา้ นตามหลักสูตรสถานศกึ ษาเชอื่ มโยงกับชีวติ จรงิ และเป็นแบบอย่างได้
มกี ารนาข้อมูลมาใชใ้ นการปรับปรงุ พฒั นางานอย่างต่อเนื่องเปน็ แบบอยา่ งได้มกี ารพฒั นาครูและบุคลากรให้มี
ความเชยี่ วชาญทางดา้ นวชิ าชีพ และจัดให้มชี ุมชนการเรยี นร้ทู างวิชาชพี จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและ
สงั คมที่เอ้ือต่อการจัดการเรยี นรแู้ ละมคี วามปลอดภัยมีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนบั สนนุ การ
บริหารจัดการ และการเรียนรู้ทีเ่ หมาะสมกับสภาพของสถานศกึ ษา มาตรฐานท่ี 3 ผลการประเมนิ กระบวนการ
เรยี นการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รยี นเป็นสาคญั พบว่าครูจัดการเรยี นรใู้ หน้ ักเรียนผ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจริง ทง้ั
ในระบบ Online การเรียนแบบ On-site ให้นักเรยี นนาความรูไ้ ปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้ มีแผนการ
จัดการเรียนรู้ และจดั กจิ กรรมสาหรบั นักเรยี นที่ต้องการความชว่ ยเหลอื เป็นพเิ ศษ ใหน้ กั เรียนได้ฝกึ ทักษะ ได้
แสดงความคดิ เหน็ ไดแ้ สดงออก เปน็ ผ้สู ามารถสรปุ องค์ความรู้ นาเสนอผลงาน และสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2564 หนา้ 1
2
ในชวี ิตได้ ครูใชส้ อื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ ผ่านระบบ Google Meet และการใช้ระบบ
Google Form ให้นักเรียนไดแ้ สวงหาความรู้ดว้ ยตนเองจากสื่อท่ีหลากหลาย ครมู ีการบริหารจัดการชนั้ เรียน
เชงิ บวก เน้นการมีปฏิสมั พนั ธ์ระหว่างเดก็ กบั ครู ประสานความร่วมมือกบั ผู้ปกครอง ในการจัดการเรียนรู้ ครู
ร่วมกนั ออกแบบการวัดผลประเมินผลเพื่อตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอย่างมีขัน้ ตอน ใชเ้ ครอื่ งมือวธิ ีการวดั
และประเมนิ ผลอยา่ งหลากหลาย ครผู ู้สอนรว่ มกันแลกเปล่ียนความรแู้ ละประสบการณ์ (PLC) เปน็ ชมุ ชนแหง่
การเรียนรทู้ างวชิ าชพี และนาไปปรับปรุง /พัฒนาการจัดการเรยี นการสอน แผนกำรยกระดับใหส้ ูงข้ึนในปี
ต่อไป คือ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี น จัดกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียนดา้ นการอ่าน การเขยี น โดยผ่าน
โครงการท่สี นบั สนุนได้แก่ โครงการอา่ นออกเขยี นได้ โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้หอ้ งสมดุ โครงการการจดั การ
เรยี นการสอนด้วยระบบ ICT โครงการพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นและนานักเรียนแข่งขันทกั ษะทางวชิ าการ
จดั กิจกรรมฝึกทกั ษะการคดิ คานวณข้ันพน้ื ฐาน มีโครงการกิจกรรมสนบั สนุน ได้แก่ กิจกรรมกจิ กรรมท่องสูตร
คูณก่อนเข้าเรียน กจิ กรรมสอนซอ่ มเสริม ยกระดบั การจดั การเรยี นการสอนด้านภาษาต่างประเทศ จดั
กิจกรรมท่ีส่งเสริมงานอาชีพ มกี จิ กรรมและโครงการสนบั สนนุ ไดแ้ ก่ โครงการตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ จัดโครงการสง่ เสริมสมรรถนะการวจิ ยั ของผ้บู รหิ าร
และครูผูส้ อน โครงการเปิดบ้านวิชาการ การสรา้ งการมีส่วนร่วม ระหว่าง ครู นักเรยี น และผปู้ กครองนักเรียน
โครงการพัฒนาการวดั และการประเมนิ ผล ดว้ ยโปรแกรม School MIS การจัดทาข้อมลู สารสนเทศนกั เรียน
รายบุคคลแบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ การใช้ QR code ตรวจสอบรายช่ือนกั เรียนประจาวนั ร่วมกับ Google Apps for
Education และมาตรฐานท่ี 3 กระบวนการเรียนการสอนที่เนน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคัญ โครงการเปดิ บ้านวิชาการ
Open House การพัฒนาบทเรียนรว่ มกนั ผ่านกระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชพี (PLC) เพื่อ
พัฒนาการเรยี น และการเรียนรู้ และโครงการกจิ กรรมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ควำมโดดเด่น/จดุ เนน้ ของกำรจดั กำรศกึ ษำข้นั พื้นฐำนของโรงเรยี น คือ การจดั กิจกรรมลดเวลา
เรยี น เพ่ิมเวลารู้ ผา่ นกิจกรรมตลาดนัดนักเรยี น กำรปฏิบัติท่ีดีระดับกำรศึกษำขน้ั พ้นื ฐำนของโรงเรียน คือ
การจัดกิจกรรมตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอพยี ง
จดุ เด่น มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น ได้แก่ การจดั กิจกรรมสรา้ งความรู้ ทักษะพื้นฐาน และ
เจตคตทิ ด่ี ีต่องานอาชพี ผา่ นกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ และกิจกรรมตลาดนดั นกั เรียน มาตรฐานที่ 2
กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ไดแ้ ก่ การจัดกิจกรรมตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง การพฒั นา
ดา้ นสงิ่ แวดล้อม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการเรยี นการสอนท่เี น้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั ได้แก่ การพฒั นาบทเรียน
รว่ มกัน ผ่านกระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (PLC) จุดควรพัฒนำ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของ
ผู้เรียน ไดแ้ ก่ การอ่านการเขียนการคิดคานวณ การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน และการสร้างนวัตกรรม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ได้แก่ การจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนบั สนุนการ
บริหารจดั การและการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผ้เู รียนเป็นสาคัญ ไดแ้ ก่
การนาผลการประเมินมาพัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี น
ควำมตอ้ งกำรช่วยเหลือจำกตน้ สังกดั หรอื หน่วยงำนท่เี กีย่ วข้อง (ถำ้ ม)ี ไม่มี
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2564 หนา้ 2
3
คำนำ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ประจาปีการศึกษา 2564 ฉบับน้ี เปน็ การนาผลการ
ประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ตามมาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน จานวน 3
มาตรฐาน คอื มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียน มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ และ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั รายงานผลการประเมนิ ให้ผเู้ กย่ี วข้องไดร้ บั
ทราบ ตามระบบประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ปลี ะ 1 คร้ัง โดยได้ประเมินคุณภาพตามมาตรฐาน
การศกึ ษา ตามประเด็นพจิ ารณา/มาตรฐานการศึกษา ซง่ึ สอดคล้องกบั การดาเนนิ งานด้านคุณภาพของผูเ้ รยี น
กระบวนการบริหารและการจัดการ และกระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ
โรงเรียนขอขอบคุณคณะกรรมการดาเนินงานและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายทั้งภายในและภายนอกโรงเรยี น
ท่ีมีส่วนร่วมในการจัดทารายงานฉบับน้ี และหวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนา
คณุ ภาพสถานศกึ ษาและเปน็ ฐานข้อมลู สารสนเทศในการวางแผนการพฒั นาการศึกษาของผู้ที่เกีย่ วข้องต่อไป
โรงเรยี นวดั ควนชะลิก
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2564 หนา้ 3
4
สำรบญั
เร่ือง หนำ้
บทสรุปสาหรับผู้บริหาร…….………………………………………………………………………………………………… 1
คานา………………………………………………………………………………………………………………………………… 3
สารบญั ……………………………………………………………………………………………………………………………… 4
ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู พืน้ ฐานของสถานศกึ ษา…………………………………………………………………………………. 5
5
-วสิ ยั ทัศน.์ ........................................................................................................................... 5
-อัตลักษณข์ องสถานศึกษา.................................................................................................. 5
-เอกลกั ษณ์.......................................................................................................................... 5
-ข้อมลู พ้นื ฐานทั่วไป ........................................................................................................... 12
-ผลการประเมินคุณภาพภายนอก รอบ 4………………. ....................................................... 15
-ความโดดเดน่ ของโรงเรยี น................................................................................................ 15
-การปฏบิ ตั ทิ ด่ี ขี องโรงเรยี น............................................................................................... 15
-ความต้องการชว่ ยเหลือจากตน้ สังกัด หรอื หน่วยงานท่เี กี่ยวขอ้ ง...................................... 16
ส่วนที่ 2 ผลการประเมนิ คุณภาพภายใน ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ............................................... 16
-มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรยี น ..................................................................................... 24
-มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ........................................................... 35
-มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั ..................................... 42
สว่ นที่ 3 เกียรตบิ ตั รและรางวัลทไี่ ด้รบั ………………………………………………………………………………….. 42
-เกยี รติบัตรและรางวลั ทผี่ บู้ ริหารและโรงเรียนได้รับในรอบปีทผ่ี า่ นมา............................... 42
-เกยี รตบิ ัตรและรางวัลทีผ่ ้คู รไู ด้รบั ในรอบปีที่ผ่านมา ......................................................... 43
-สรุปการดาเนนิ งานทโี่ ดดเดน่ /ตามจดุ เนน้ ระดับขั้นพื้นฐาน………………………………………… 43
-สรุปพอสังเขปการปฏิบตั ิท่ดี ี (Best Practice)………………………………………………………….. 46
-สรุปพอสงั เขปนวตั กรรม (Innovation) ของสถานศึกษา…………………………………………… 48
ภาคผนวก………………………………………………………………………………………………………………………….. 49
- สารสนเทศผลการทดสอบระดับชาติ RT NT O-NET ...................................................... 54
- สารสนเทศจากการจัดการเรียนรู้ระดับข้ันพ้นื ฐาน……………………………………………………. 56
- ภาพกจิ กรรมเดน่ ตามจุดเน้นระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน……………………………………………. 65
- ประกาศโรงเรยี นวัดควนชะลกิ ………………………………………………………………………………. 67
- คาสง่ั โรงเรยี นวัดควนชะลิก……………………………………………………………………………………
รายงานการประเมนิ ตนเอง ปีการศึกษา 2564 หน้า 4
5
ส่วนที่ 1 ข้อมลู พ้นื ฐำนของสถำนศกึ ษำ
1.1 วิสยั ทัศน์
โรงเรียนวัดควนชะลิกมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา พัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีความรู้คู่
เทคโนโลยี บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง สู่การเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21
1.2 อตั ลกั ษณ์ของสถำนศึกษำ
“นักเรียนมีมารยาทงาม ย้ิม ไหว้ ทกั ทาย”
1.3 เอกลักษณ์
สถานศึกษาพอเพียง
1.4 ข้อมูลพ้ืนฐำนทั่วไป
ทีต่ งั้ ของโรงเรียน ต้ังอยู่ เลขท่ี 34 หมูท่ ี่ 2 ตาบลควนชะลิก อาเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช
สงั กัดสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 3 โทร 075 767287 โทรสาร 075 767287
e-mail ([email protected]) website (kuanchalikschool.blogspot.com)
ระดับทเ่ี ปิดสอน เปิดสอนระดบั ช้ัน อนบุ าล ถึงระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3
จานวนนกั เรยี น 174 คน จานวนครู 15 คน เจา้ หนา้ ทธ่ี ุรการ 1 คน นักการภารโรง 1 คน
1.1 วิสัยทศั น์ หน้า 5
รายงานการประเมนิ ตนเอง ปีการศึกษา 2564
6
ข้อมลู ผ้เู รียนแตล่ ะระดับกำรศกึ ษำ ประจำปกี ำรศกึ ษำ 2564
จานวนนักเรยี นในโรงเรียนทั้งสิน้ …....174……คน
ระดับช้นั เพศ รวม
ชาย หญงิ
อ.3 12 10 22
รวม 12 10 22
ป.1 98 17
ป.2 11 13 24
ป.3 11 9 20
ป.4 11 13 24
ป.5 9 17 26
ป.6 11 13 24
รวม 62 73 135
ม.1 01 1
ม.2 74 11
ม.3 50 5
รวม 12 5 17
รวมผู้เรยี นทงั้ ส้นิ 86 88 174
ขอ้ มูลผ้เู รยี นที่สำเรจ็ กำรศึกษำ ปกี ำรศึกษำ 2564
ระดับชน้ั จำนวนผเู้ รยี น สำเรจ็ กำรศึกษำ คดิ เป็นร้อยละ หมำยเหตุ
อนบุ าล 3 22 22 100
ประถมศึกษาปีที่ 6 24 24 100
มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 5 4 80
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศกึ ษา 2564 หน้า 6
7
ขอ้ มลู ผลสัมฤทธท์ิ ำงกำรเรียนระดับสถำนศึกษำ
ร้อยละของนักเรยี นที่มีเกรดเฉลีย่ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นแตล่ ะรายวิชาในระดับ 3 ขนึ้ ไป
ระดบั ประถมศึกษาปที ่ี 1- มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2564
กลุ่มสำระ ระดบั ช้ัน รวม คดิ เป็นรอ้ ยละ
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3
ภาษาไทย 15 22 17 12 17 17 1 10 3 114 76.00
คณิตศาสตร์ 16 19 19 12 16 14 - 3 1 100 66.67
วทิ ยาศาสตร์ 16 22 18 16 16 14 - 7 2 111 74.00
สังคมศึกษาฯ 16 23 18 18 16 13 1 11 3 119 79.33
ประวัติศาสตร์ 16 21 14 22 9 24 1 11 3 121 80.67
สขุ ศึกษา 17 21 18 18 22 16 1 9 3 125 83.33
ศิลปะ 16 21 14 16 25 22 1 11 2 128 85.33
การงานอาชพี ฯ 16 22 19 22 23 22 1 10 2 137 91.33
ภาษาองั กฤษ 12 19 14 15 14 13 - 8 2 97 64.67
หนา้ ทพี่ ลเมือง 17 23 17 22 22 21 1 11 4 138 92.00
จานวนนักเรยี น 17 24 20 23 26 24 1 11 4 150 79.33
แต่ละช้ัน
รายงานการประเมนิ ตนเอง ปีการศึกษา 2564 หน้า 7
8
ผลกำรทดสอบระดบั ชำติ ปีกำรศกึ ษำ 2564 เปรียบเทยี บกบั ปีทผี่ ่ำนมำ
1. ผลกำรทดสอบระดบั ชำติ RT ปีกำรศึกษำ 2562-2564 ช้ันประถมศึกษำปีท่ี 1
วิชำ ปกี ำรศกึ ษำ 2562 ปีกำรศึกษำ 2563 ปกี ำรศกึ ษำ 2564
กำรอ่ำนออกเสียง 63.66 89.47 76.47
กำรอำ่ นรเู้ รือ่ ง 81.86 86.60 76.35
รวมทั้ง 2 ด้ำน 72.76 88.04 76.41
2. ผลกำรทดสอบระดบั ชำติ NT ปีกำรศึกษำ 2562-2564 ชน้ั ประถมศกึ ษำปีที่ 3
วชิ ำ ปกี ำรศึกษำ 2562 ปีกำรศกึ ษำ 2563 ปีกำรศกึ ษำ 2564
ด้ำนคณิตศำสตร์ 50.66 43.90 40.92
ด้ำนภำษำไทย 43.16 48.92 45.61
รวมทั้ง 2 ดำ้ น 46.91 46.41 43.26
3. ผลกำรทดสอบระดับชำติ O-NET ปีกำรศึกษำ 2562-2564 ชน้ั ประถมศกึ ษำปีท่ี 6
วิชำ ปีกำรศกึ ษำ 2562 ปีกำรศกึ ษำ 2563 ปีกำรศึกษำ 2564
(สมัครใจสอบ 9 คน)
ภำษำไทย 57.17 72.69 57.86
คณิตศำสตร์ 37.59 33.33 34.39
วทิ ยำศำสตร์ 33.54 44.88 32.38
ภำษำองั กฤษ 28.52 39.17 33.04
รวมเฉลีย่ ทั้ง 4 วชิ ำ 39.21 47.52 39.42
รายงานการประเมนิ ตนเอง ปีการศกึ ษา 2564 หน้า 8
แหลง่ เรยี นรู้ ภมู ิปัญญำท้องถ่นิ ปีกำรศกึ ษำ 2564 9
หนา้ 9
1. ห้องสมุด ห้องสมุดมีขนาด 108 ตารางเมตร
การสืบคน้ หนังสอื และการยมื -คนื ใช้ระบบดวิ อ้ี
2. ห้องปฏิบัตกิ ำร จานวน (หอ้ ง)
2.1 หอ้ งปฏิบัติการวทิ ยาศาสตร์ 1
2.2 ห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ 1
2.3 ห้องพยาบาล 1
2.4 หอ้ งวิชาการ 1
3. คอมพวิ เตอร์ จานวน 43 เคร่ือง
4. แหลง่ เรยี นรอู้ ่นื ๆ ภำยในโรงเรียน
4.1 สนามเด็กเลน่
4.2 สนามฟตุ บอล
4.3 สนามบาสเก็ตบอล
4.4 สนามวอลเลยบ์ อล
4.5 ลานกฬี าเอนกประสงค์
4.6 เรอื นเพาะเห็ด
4.7 โรงปยุ๋ หมกั ชีวภาพ
4.8 บ่อเลี้ยงปลานา้ จืด
4.9 แปลงผกั ปลอดสารพิษ
4.10 สวนมะพร้าวน้าหอม
4.11 ตลาดนักเรยี น (วนั อังคาร) หน้าศนู ย์วัฒนธรรมเฉลมิ ราชควนชะลิก
4.12 อาคารโรงครัว
4.13 ห้องสหกรณ์
5. แหลง่ เรยี นรภู้ ำยนอกโรงเรียน
5.1 วดั คีรนี ้อย
5.2 วัดควนชะลิก
5.3 ศนู ย์วฒั นธรรมเฉลิมราชควนชะลิก
5.4 รา้ นสวสั ดกิ ารสง่ เสริมงานเยบ็ ปัก ถักรอ้ ย ศูนยว์ ฒั นธรรมควนชะลกิ
5.5 ศูนย์เรยี นร้ปู รัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบลควนชะลิก
5.6 สนามการแขง่ ขันกฬี าอาเภอหัวไทร
5.7 สนามการแข่งขันกฬี าตาบลควนชะลกิ โรงเรียนแหลมราษฎร์บารุง อ.หวั ไทร
5.8 ปา่ พรุควนทะเลมอง
5.9 ทงุ่ นาข้าว
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2564
10
5.10 สวนปลกู ปาลม์ ในท้องถนิ่
5.11 ตลาดนัดชมุ ชน
5.12 รา้ นค้าชมุ ชนควนชะลกิ
6. ปรำชญช์ ำวบ้ำน/ภมู ปิ ัญญำท้องถน่ิ ผทู้ รงคุณวุฒิ ท่ีสถำนศกึ ษำเชิญมำใหค้ วำมรู้แก่ครู นกั เรียน
ช่ือ-สกุล ให้ควำมร้เู รื่อง
นายสชุ าติ ณ แกว้ ใหค้ วามรู้เกี่ยวกบั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่
รอ้ ยตรีบญุ ธรรม สมเนียม ให้ความรู้เกย่ี วกบั การทาจุลนิ ทรียส์ งั เคราะห์
นางปราณี มากแกว้ ให้ความรู้เก่ยี วกับการทาข้าวหลาม
นางวิลาวลั ย์ คงเรือง การทาปุ๋ยหมักชวี ภาพและเกษตรอนิ ทรีย์
นางอารีย์ จันทรช์ ่วย ให้ความรู้การทาไอศกรีม
นายชมุ แก้ว รยุ แก้ว ให้ความรู้วฒั นธรรมท้องถ่ิน
นางไพรนิ ทร์ รุยแกว้ ใหค้ วามรู้วัฒนธรรมท้องถิ่น
นางสนธยา ดาใหม่ ใหค้ วามรกู้ ารปักผา้
นางสุภัสตรา เพชรสังข์ ใหค้ วามรู้การปักผา้
เจ้าหน้าที่อนามยั บา้ นปากเหมอื ง ใหค้ วามรู้ดา้ นสขุ ภาพอนามยั
เจา้ อาวาสวดั ควนชะลิก/วัดคีรีนอ้ ย ใหค้ วามรู้เกย่ี วกับคณุ ธรรมของนกั เรียน
เจา้ หนา้ สถานีตารวจเขาพังไกร ใหค้ วามรู้เกย่ี วกับโทษยาเสพตดิ การใช้ยานพาหนะ
เจ้าหนา้ ท่จี ากโครงการควบคุมไฟปา่ ใน ใหค้ วามรเู้ รื่องไฟปา่
พื้นท่ีลุม่ น้าปากพนงั อนั
จดุ เน้นของสถำนศกึ ษำ
1. นกั เรียนช้ัน ป.1 – 3 อ่านออก เขยี นได้ นักเรยี นช้นั ป.4 – 6 อา่ นคล่องเขียนคล่อง
2. พัฒนาการศึกษาปฐมวยั
3. โรงเรียนวดั ควนชะลกิ ตอ้ งสะอาด และปลอดภัย
4. ผูเ้ รียนมีเจตคตทิ ี่ดตี ่องานอาชีพ
รายงานการประเมนิ ตนเอง ปีการศกึ ษา 2564 หน้า 10
11
1.5 ข้อมลู บคุ ลำกร
ช่ือ-ช่อื สกลุ ตาแหนง่ วทิ ยฐานะ อนั ดบั วฒุ ิ วิชาเอก
1. นางสทุ ธิรา สมเนียม ผู้อานวยการ ชานาญการพิเศษ ค.ศ.3 ศษ.ม. การบริหารการศกึ ษา
2. นางสุดา นนุ่ ชูคัน ครู ชานาญการพิเศษ ค.ศ.3 ค.บ./ ประถมศึกษา/
กศ.ม. หลกั สูตรและการสอน
3. นางสายใจ จนั ทร์แกว้ ครู ชานาญการพเิ ศษ ค.ศ.3 กศ.ม ภาษาไทย
4. นางประภสั สร เพชรแก้ว ครู ชานาญการ ค.ศ.2 ค.บ. ภาษาองั กฤษ
6. นางชนาพร โชคถนอมจติ ครู ชานาญการ ค.ศ.2 ศศ.บ. รัฐศาสตร์
7. นายอาทร แกว้ ยวน ครู ชานาญการพิเศษ ค.ศ.3 พธ.ม ภาษาอังกฤษ
8 นายบุญจงิ คงแกว้ ครู ชานาญการ ค.ศ.2 ค.บ. เกษตรศาสตร์
9 นางสภุ าภรณ์ สุวรรณโชติ ครู ชานาญการ ค.ศ.2 ค.บ. คณติ ศาสตร์
10 นางสาวพจนารถ อรณุ รัตน์ ครู ชานาญการ ค.ศ.2 กศ.บ. เคมี
10 นางสาวฉันทพชิ ญา รัตนบตุ ร ครู ชานาญการพเิ ศษ ค.ศ.3 ค.บ. คอมพวิ เตอร์
11 นางจนิ ตนา จนั ทรคาธ ครู ชานาญการ ค.ศ.2 ค.บ. ธุรกจิ ศกึ ษา
12 นางจิตราภรณ์ พิษพนั ธ์ ครู - ค.ศ.1 ค.บ. คณิตศาสตร์
13 นางสาวชมนภา ศลิ ปวัฒนวงค์ ครูผู้ชว่ ย - - คศ.บ ภาษาอังกฤษ
14 นายกนั ตภณ แก้วนพรตั น์ ครูผูช้ ว่ ย - - ค.บ. คณิตศาสตร์
15 นางสาวอรอนงค์ หนูเกล้ียง ครผู ู้ช่วย - - ค.บ. ปฐมวยั
16 นางสาวสุภาวดี เพชรทอง ธุรการ - - กศ.บ.. วัดผลการศกึ ษา
17 นายสาธติ แกว้ มณี นกั การ - - - -
รายงานการประเมนิ ตนเอง ปีการศกึ ษา 2564 หนา้ 11
12
1.6 ผลกำรประเมนิ คณุ ภำพภำยนอก รอบ 4
ระดบั กำรศกึ ษำข้ันพ้ืนฐำน
มำตรฐำนที่ 1 คณุ ภำพของผู้เรยี น
จุดเน้น ผู้เรยี นมเี จตคตทิ ีด่ ีต่องำนอำชพี
ผลกำรพจิ ำรณำ ตวั ชีว้ ดั สรุปผลประเมิน
o ปรบั ปรงุ (0-3 ข้อ)
1. มีการระบุเปา้ หมายคุณภาพของผู้เรยี น o พอใช้ (4 ข้อ)
ดี (5 ขอ้ )
2. มีการระบุวธิ พี ัฒนาคณุ ภาพของผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบตาม
เปา้ หมายการพัฒนาผู้เรียน
3. มีผลสมั ฤทธข์ิ องผ้เู รยี นตามเป้าหมายการพฒั นาผูเ้ รยี น
4. มีการนาผลประเมินคณุ ภาพของผู้เรียนมาพัฒนาผู้เรยี นด้าน
ผลสมั ฤทธ์ใิ หส้ ูงขึ้น
5. มกี ารนาเสนอผลการประเมินคณุ ภาพของผู้เรยี นตอ่ ผู้ที่
เก่ียวข้อง
ขอ้ เสนอแนะในกำรเขียน SAR ใหไ้ ดผ้ ลประเมินระดบั สูงขึ้น
สถานศึกษาควรมีการระบุข้อมูลใน SAR ในปีต่อไปให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งข้ึน โดยมีการระบุวิธีการ
พัฒนาผเู้ รียน 1.1 ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของผู้เรียน 65) มคี วามรู้ ทกั ษะพ้ืนฐาน และเจตคติที่ดตี ่องานอาชีพ เน้น
ผู้เรียน มีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ตามเป้าหมายอย่างเป็นระบบ PDCA เช่น สถานศึกษากาหนดเป้าหมายผู้เรียน
ร้อยละ 75 มีคุณภาพระดับดีเลิศ โดยสถานศึกษาส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีหลากหลายเพ่ือให้ผู้เรียนมี
เจตคติที่ดตี ่องานอาชีพ ได้แก่ การฝึกทักษะพ้ืนฐานงานอาชีพผ่านกิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ เชน่ การทาขนม
โดนัทจิ๋ว การทาคุกก้ี การทาน้าสมุนไพร การทาน้ายาล้างจาน การแปรรูปอาหาร การทาเห็ดสวรรค์ เห็ดนางฟ้า
ทอดกรอบ ข้าวเกรียบเห็ดนางฟ้า ส้มตาเห็ดทอด เป็นต้น คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน ประเมินผู้เรียนมี
ความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ เน้นผู้เรียนมีเจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ พบว่าผู้เรียน ร้อยละ 99 มี
คุณภาพระดับยอดเยี่ยม ซึ่งบรรลุเป้าหมาย สถานศึกษานาข้อมูลผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 1 มาวิเคราะห์ถึง
สาเหตุและปัญหาท่ีเกิดขึ้น นาไปวางแผนพัฒนาผู้เรียนมีเจตคติท่ีดีต่องานอาชีพในปีต่อไปอย่างต่อเน่ือง พรอ้ มทั้งมี
การเผยแพร่ผลการดาเนินงานให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทราบท้ังที่ประชุมคณะครู ผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา และ
ทางเว็บไซต์ เฟซบุ๊กของสถานศึกษา เป็นตน้
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศกึ ษา 2564 หน้า 12
13
มำตรฐำนท่ี 2 กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำร
จดุ เนน้ กำรบริหำรแบบมสี ว่ นร่วมเพ่อื ให้ผเู้ รียนมีเจตคติทีด่ ีตอ่ งำนอำชีพ
ผลกำร ตัวชวี้ ดั สรปุ ผลประเมิน
พจิ ำรณำ
o ปรับปรงุ (0-3 ข้อ)
1. มกี ารวางแผนการดาเนินการในแต่ละปีการศึกษา o พอใช้ (4 ข้อ)
ดี (5 ขอ้ )
2. มกี ารนาแผนการดาเนินการไปใชด้ าเนนิ การ
3. มกี ารประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ขิ องการดาเนินการตามแผน
4. มกี ารนาผลการประเมินไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ แก้ไขในปี
การศึกษาต่อไป
5. มกี ารนาเสนอผลการบรหิ ารจัดการของสถานศึกษาใหผ้ ู้มีส่วน
ไดส้ ่วนเสียได้รบั ทราบ
ขอ้ เสนอแนะในกำรเขียน SAR ใหไ้ ดผ้ ลประเมนิ ระดับสูงขึ้น
สถานศึกษาควรมีการระบุข้อมูลใน SAR ในปีต่อไปให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น โดยมีการระบุวิธีการ
พัฒนากระบวนการบริหารและการจัดการ 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาเน้นการบริหาร
แบบมีส่วนร่วมเพ่ือให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ตามเป้าหมายอย่างเป็นระบบ PDCA เช่น สถานศึกษา
กาหนดเป้าหมายมีคุณภาพระดับยอดเย่ียม โดยสถานศึกษามีโครงการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี และเปิด
โอกาสให้ผู้มีสว่ นเก่ียวข้องทกุ ฝ่ายมีสว่ นร่วมในการจัดทาและเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ
มีการดาเนินงานตามแผน เช่น มีการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาภาคเรียนละ 2 คร้ัง ประชุมผู้ปกครอง
ภาคเรียนละคร้ัง มีเครือข่ายผู้ปกครอง เป็นต้น ผู้บริหารส่งเสริมให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ โดยจัดให้
ผเู้ รียนสามารถบอกหรือทากิจกรรมเกย่ี วกบั อาชีพที่ตนเองสนใจได้อยา่ งน้อย 1 อาชพี มกี ารนิเทศกากับตดิ ตาม
อยา่ งเปน็ ระบบและต่อเนื่อง มีการสรปุ ผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบตั ิการประจาปีและแจ้งผู้มีส่วนเกีย่ วข้อง
ทราบ คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน ประเมินกระบวนการบริหารและการจัดการ 2.2 มีระบบบริหาร
จัดการคุณภาพของสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วมเพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรียนมีเจตคติท่ีดีต่องานอาชีพมีคุณภาพระดับ
ยอดเยี่ยม บรรลุเป้าหมาย ซึ่งสถานศึกษาควรนาผลการประเมินมาวิเคราะห์เพ่ือหาแนวทางรักษาระดับ
คุณภาพในปีต่อไปอย่างต่อเนื่องและมีการเผยแพร่ผลการดาเนินงานให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ ท้ังที่ประชุมคณะครู
ผ้ปู กครอง กรรมการสถานศกึ ษาและทางเวบ็ ไซต์ เฟซบุ๊ก ของสถานศกึ ษา เป็นตน้
รายงานการประเมนิ ตนเอง ปีการศกึ ษา 2564 หนา้ 13
14
มำตรฐำนท่ี 3 กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั
จุดเน้น กำรจดั กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ทีห่ ลำกหลำยเพอื่ ส่งเสริมให้ผู้เรยี นมเี จตคติทีด่ ีต่องำนอำชีพ
ผลกำรพจิ ำรณำ ตัวชว้ี ัด สรุปผลประเมนิ
1. ครูมีการวางแผนการจัดการเรยี นรู้ครบทกุ รายวิชา ทุกชั้นปี o ปรบั ปรงุ (0-3 ขอ้ )
2. ครูทุกคนมีการนาแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดการ o พอใช้ (4 ข้อ)
เรียนการสอนโดยใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่ง ดี (5 ขอ้ )
เรียนรู้ทเี่ อื้อตอ่ การเรียนรู้
3. มีการตรวจสอบและประเมินผลการจัดการเรียนการสอน
อย่างเปน็ ระบบ
4. มีการนาผลการประเมินมาพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
ของครอู ยา่ งเปน็ ระบบ
5. มีการแลกเปลยี่ นเรยี นร้แู ละใหข้ ้อมูลป้อนกลบั เพ่อื พฒั นา
ปรับปรุงการจดั การเรยี นการสอน
ขอ้ เสนอแนะในกำรเขยี น SAR ใหไ้ ด้ผลประเมนิ ระดับสูงข้ึน
สถานศึกษาควรมีการระบุข้อมูลใน SAR ในปีต่อไปให้มีความสมบูรณ์มากย่ิงข้ึน โดยมีการนาเสนอ
ข้อมูลให้เห็นถึงผลการดาเนินงานของครูในการจัดทาแผนการจัดการเรียนรรู้ ายปีครบทุกรายวิชา ครบทุกช้ันปี
ครูทุกคนนาแผนการจัดการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนเน้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายเพ่ือ
ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นมเี จตคติท่ีดีต่องานอาชีพ โดยใชส้ ่ือธรรมชาติ สื่อเทคโนโลยี นวัตกรรม แหล่งเรียนรทู้ ้งั ภายใน
และภายนอกสถานศึกษา มีการนาภูมิปัญญาท้องถ่ินมาบูรณาการในการจดั การเรียนรู้ใหผ้ ู้เรียนสามารถปฏบิ ัติ
ได้จริง ครูมีการประเมินผลตามสภาพจริงด้วยวิธีการที่หลากหลายและบันทึกผลหลังสอน แสดงข้อมูลผลการ
ประเมินเชิงพัฒนาการของผู้เรียนเป็นรายบุคคล แจ้งให้ผู้เรียนและผู้ปกครองทราบ และสรุปเป็นข้อมูล
สารสนเทศของสถานศึกษา เช่น ผู้เรียนมีเจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ ร้อยละ 99 มีคุณภาพระดับยอดเย่ียม ครูมี
การนาผลการประเมินผเู้ รียน ร้อยละ 1 ท่ีไม่ผ่านเกณฑ์มาวิเคราะห์ถึงสาเหตแุ ละปัญหาแล้วนามาวางแผนการ
จัดการเรียนรู้เพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรียนมีเจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ และดาเนินการตามแผนอย่างต่อเน่ือง มีการ
แลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างครู ผู้ปกครอง มีการนิเทศ กากับ ติดตามการจัดการเรียนรู้ของครูจากบุคลากรท่ี
เก่ียวข้อง พร้อมทั้งมีการเผยแพร่ผลการดาเนินงานให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทราบในท่ีประชุมคณะครู ผู้ปกครอง
กรรมการสถานศึกษา ทางเว็บไซต์ และเฟซบุ๊ก ของสถานศึกษา เป็นตน้
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศกึ ษา 2564 หนา้ 14
15
1.7 ควำมโดดเดน่ /จดุ เนน้ ในกำรจดั กำรศกึ ษำขั้นพน้ื ฐำนของโรงเรียน คอื การจัดกจิ กรรมลดเวลาเรยี น เพ่มิ
เวลารู้ ผา่ นกิจกรรมตลาดนัดนักเรยี น ผู้เรียนมเี จตคตทิ ่ีดีต่องานอาชพี
1.8 กำรปฏิบัติทีด่ ขี องโรงเรยี นในกำรจัดกำรศึกษำขนั้ พนื้ ฐำน คอื การจดั กิจกรรมตามหลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอพียง
1.9 ควำมต้องกำรช่วยเหลือจำกต้นสังกดั หรือ หนว่ ยงำนทเ่ี ก่ยี วข้องหรือ ด้ำนกำรจัดกำรศึกษำขน้ั พื้นฐำน
ไม่มี
รายงานการประเมนิ ตนเอง ปีการศึกษา 2564 หนา้ 15
16
ส่วนท่ี 2 ผลกำรประเมินคุณภำพภำยในระดบั กำรศกึ ษำขั้นพนื้ ฐำน
2.1 มำตรฐำนท่ี 1 คณุ ภำพของผเู้ รียน
2.1.1. ผลกำรประเมินมำตรฐำนที่ 1 คณุ ภำพของผ้เู รยี น อยใู่ นระดับ ยอดเยย่ี ม
ผลกำรประเมิน เปำ้ หมำย สูง/ต่ำ
ประเด็นพิจำรณำ คะแนน ระดับ คะแนน ระดบั กว่ำ
ร้อยละ คุณภำพ รอ้ ยละ คุณภำพ เป้ำหมำย
1.1 ผลสัมฤทธทิ์ างวชิ าการของผเู้ รียน
1) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่อื สาร 90.45 ยอดเยย่ี ม 89.00 ยอดเยย่ี ม สงู กวา่
และการคดิ คานวณ (ระดับ 5) (ระดับ 5)
2) มีความสามารถในการวิเคราะห์ คดิ อย่างมี 90.00 ยอดเยี่ยม 88.00 ยอดเยย่ี ม สูงกว่า
วจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคดิ เห็น และ (ระดบั 5) (ระดบั 5)
แก้ปัญหา
3) มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม 93.33 ยอดเยย่ี ม 95.00 ยอดเยย่ี ม ต่ากว่า
(ระดับ 5) (ระดับ 5)
4) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและ 99.33 ยอดเยย่ี ม 99.00 ยอดเยี่ยม สูงกว่า
การสื่อสาร (ระดบั 5) (ระดับ 5)
5) มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 79.33 ดีเลศิ 75.00 ดีเลิศ สงู กว่า
(ระดบั 4) (ระดบั 4)
6) มคี วามรู้ ทกั ษะพ้นื ฐาน และเจตคติทีด่ ีต่องานอาชีพ 99.33 ยอดเยย่ี ม 99.00 ยอดเย่ียม สงู กว่า
(ระดับ 5) (ระดับ 5)
1.2 คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์
1) การมคี ณุ ลักษณะและค่านิยมที่ดีตามท่สี ถานศึกษา 98.00 ยอดเยยี่ ม 100 ยอดเยีย่ ม ตา่ กวา่
กาหนด (ระดับ 5) (ระดบั 5)
2) ความภูมิใจในท้องถิน่ และความเป็นไทย 100 ยอดเยี่ยม 100 ยอดเยย่ี ม เท่ากนั
(ระดบั 5) (ระดบั 5)
3) การยอมรบั ทจี่ ะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและ 100 ยอดเยี่ยม 99.00 ยอดเยี่ยม สูงกวา่
หลากหลาย (ระดับ 5) (ระดับ 5)
4) สุขภาวะทางรา่ งกาย และลกั ษณะจิตสังคม 96.00 ยอดเยยี่ ม 91.00 ยอดเยีย่ ม สงู กว่า
(ระดบั 5) (ระดับ 5)
สรุปผลกำรประเมนิ มำตรฐำนที่ 1 ยอดเย่ียม(5) ยอดเย่ียม(5) บรรลุ
รายงานการประเมนิ ตนเอง ปีการศึกษา 2564 หน้า 16
17
2.1.2. เอกสำร หลกั ฐำนเชงิ ประจักษ์ทีส่ นบั สนนุ
1.1) ผลสัมฤทธ์ิทำงวิชำกำรของผูเ้ รียน
1) ความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสารและ การคิดคานวณ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี
1- ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 จากคุณครูผู้สอนด้วยวิธีการเรียนแบบ Online และการเรียนแบบ Onsite ระดับดี
ขึ้นไปเฉล่ียร้อยละ 90.45 สรุปผลอย่ใู นระดับ ยอดเยยี่ ม ซ่ึงบรรลคุ ่าเป้าหมายที่สถานศึกษาประกาศไว้
2) ความสามารถในการวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความ
คิดเห็น และแก้ปัญหา โดยการใช้การประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน ท่ีบูรณาการในการจัดการเรียน
การสอนระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 90.00 สรุปผลอยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม ซ่ึงบรรลุค่าเป้าหมายที่สถานศึกษา
ประกาศไว้
3) ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม วดั และประเมินผลการครผู ู้สอน ดว้ ยวธิ ีการเรียนแบบ
Online และการเรียนแบบ Onsite และการสร้างช้ินงานของผู้เรียน ในระดับดีขึ้นไปร้อยละ 93.33 สรุปผล
อยใู่ นระดับ ยอดเย่ยี ม ซึ่งบรรลคุ า่ เป้าหมายทสี่ ถานศึกษาประกาศไว้
4) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร นักเรียนสามารถใช้
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาค้นคว้า และใช้เทคโนโลยีสร้างช้ินงาน อ้างอิงแหล่งข้อมูล จากการสืบค้นทาง
เทคโนโลยี โดยการเรียนและการทดสอบแบบ Online อยู่ในระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 99.33 อยู่ในระดับ
ยอดเย่ียม ซง่ึ บรรลคุ า่ เปา้ หมายท่สี ถานศกึ ษาประกาศไว้
5) ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา นักเรียนมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น ตง้ั แต่
ระดับ 3 ขึ้นไป จากการทดสอบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนปลายปี ร้อยละ 79.33 สรุปผลอยู่ในระดับ ดีเลิศ ซึ่ง
บรรลุค่าเป้าหมายท่สี ถานศกึ ษาประกาศไว้
6) ความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ นักเรียนมีทักษะพื้นฐาน เจตคติต่อ
การศึกษา และมีความรู้สึกที่ดีต่อการประกอบอาชีพสุจริต มีความรู้เก่ียวกับอาชีพที่ตนสนใจ ระดับดีข้ึนไป
รอ้ ยละ 99.33 สรปุ ผลอยใู่ นระดบั ยอดเยี่ยม ซ่ึงบรรลคุ ่าเปา้ หมายท่ีสถานศกึ ษาประกาศไว้
เอกสำร หลกั ฐำนเชิงประจกั ษ์ที่สนับสนุน มำตรฐำนที่ 1 คุณภำพของผ้เู รียน ได้แก่
1. รายงานผลการทดสอบการอา่ นภาษาไทย
2. รายงานผลการทดสอบการอา่ นภาษาองั กฤษ
3. แบบประเมินการอา่ นคิดวิเคราะห์และเขียน
4. ชน้ิ งานของนักเรียน
5. แบบบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นตามตวั ช้ีวดั
6. เอกสารรายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
7.รายงานโครงการพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2564 หน้า 17
18
1.2) คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงคข์ องผู้เรียน
1) การมีคุณลักษณะและค่านิยมทด่ี ีตามทสี่ ถานศึกษากาหนด โดยดูจากพฤตกิ รรมนักเรียนที่มี
ความรับผิดชอบต่อการรบั – สง่ ใบงาน ในการเรียนแบบ On-hand และ Online มวี ินยั ในการเข้าแถวเปน็
ระเบียบ การแต่งกายเรียบร้อย มีจติ อาสา ช่วยเหลอื งานครูทกุ คน มีคา่ นิยมหลัก 12 ประการ มคี วามรักชาติ
ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ เข้าแถวเคารพธงชาติ ทากจิ กรรมหน้าเสาธงในตอนเช้า นกั เรียนอยใู่ นระดบั ดีขึน้ ไป
รอ้ ยละ 98 สรุปผลอยู่ในระดับ ยอดเยย่ี ม ซ่ึงบรรลคุ า่ เป้าหมายที่สถานศึกษาประกาศไว้
2) ความภมู ิใจในท้องถน่ิ และความเป็นไทย โดยดจู ากการปฏบิ ตั ิตนของนักเรียน และร่วม
กิจกรรมตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง รว่ มกิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ นกั เรยี นอยูใ่ นระดบั ดีขึ้นไป รอ้ ย
ละ 100 สรปุ ผลอยู่ในระดับ ยอดเยย่ี ม ซึง่ บรรลุคา่ เปา้ หมายทสี่ ถานศึกษาประกาศไว้
3) การยอมรบั ทจ่ี ะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย โดยดูจากพฤติกรรมนกั เรยี น
ร่วมกนั สร้างกติกาข้อตกลงประจาหอ้ งเรียนและเวรประจาวัน การดูแลรักษาความสะอาดเขตพื้นที่รบั ผดิ ชอบ
การจดั กจิ กรรมลูกเสอื เนตรนารี นักเรียนอยใู่ นระดบั ดขี ึ้นไป ร้อยละ 100 สรปุ ผลอยูใ่ นระดบั ยอดเย่ยี ม ซง่ึ
บรรลุคา่ เป้าหมายทสี่ ถานศึกษาประกาศไว้
4) สุขภาวะทางรา่ งกาย และลักษณะจติ สงั คม โดยดูจากพฤติกรรมการดืม่ นม การแปรงฟนั หลัง
อาหารกลางวนั นักเรยี นอย่ใู นระดบั ดีขึน้ ไป ร้อยละ 96.00 สรุปผลอยใู่ นระดับ ยอดเย่ยี ม ซง่ึ บรรลุคา่ เป้าหมายท่ี
สถานศกึ ษาประกาศไว้
เอกสำร หลักฐำนเชิงประจักษ์ท่สี นบั สนุน มำตรฐำนที่ 1 คณุ ภำพของผู้เรยี น ไดแ้ ก่
1. รายงานผลโครงการส่งเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม
2. รายผลโครงการและภาพถ่ายนกั เรียนแตง่ กายชุดไทย หิว้ ปนิ่ โตไปวัด
3. รายงานโครงการกิจกรรมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
4. แบบบันทกึ การตรวจความสะอาดเขตพนื้ ท่ีรับผิดชอบ
5. แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ของสถานศึกษา
2.1.3. กำรดำเนนิ งำนในปที ผี่ ำ่ นมำ
1.1) ผลสัมฤทธิท์ ำงวชิ ำกำรของผ้เู รียน
1) ความสามารถในการอา่ น การเขียน การสื่อสารและ การคดิ คานวณ (P) ประชุมคณะครู
และบคุ ลากรทางการศึกษา เพ่ือจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิการประจาปี จัดทาโครงการอา่ นออกเขยี นได้ โครงการ
พฒั นาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนและนานกั เรยี นแขง่ ขันทกั ษะทางวชิ าการ (D) ครคู ัดกรองนกั เรียนรายบคุ คล
และจัดกิจกรรมการอ่านส่งเสรมิ ความรู้ ทั้งระบบ Online และการมาเรยี นตามปกตทิ ่ีโรงเรียน กจิ กรรมเขยี น
คาพ้นื ฐาน กิจกรรมสอนซ่อมเสริมใหก้ บั นกั เรียนเพื่อใหน้ ักเรียนมีความสามารถในการอา่ นเขยี นภาษาไทยตาม
เกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากาหนด ฝึกเขยี นคาศพั ท์ตามคาบอก การทักทายสื่อสารเป็นภาษาองั กฤษดว้ ยคา/ประโยค
อยา่ งง่ายกบั เพื่อนและคุณครู การผสมคาในภาษาองั กฤษ การแนะนาตนเองหน้าช้นั เรียน ผ่านระบบ
รายงานการประเมนิ ตนเอง ปีการศกึ ษา 2564 หนา้ 18
19
Online และการใชบ้ ัตรคาภาษาองั กฤษนาเสนอแลกเปลี่ยนกบั เพื่อนหนา้ ชนั้ เรียน ฝึกทักษะการคิดคานวณ
(C) มกี ารประเมนิ ผล ตรวจสอบคุณภาพโดยการนิเทศภายใน การเย่ียมชนั้ เรียน และการรายงานโครงการ
(A) สรปุ ผลการประเมินเมอื่ จบโครงการ และครไู ด้ประเมนิ พฒั นาการนักเรยี น ประเมนิ เม่อื สน้ิ ภาคเรยี น และ
สิ้นปกี ารศึกษาและสรุปผลข้อมลู สารสนเทศรายงานสถานศึกษา (A: accountability) เผยแพรผ่ ลให้
ผ้ปู กครอง ผูเ้ กย่ี วขอ้ งทราบ โดยการประชุมคณะครู ผู้ปกครองช้ันเรยี น และกรรมการสถานศึกษา
2) ความสามารถในการวเิ คราะห์ คดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลยี่ นความคิดเห็น และ
แก้ปญั หา (P) ประชมุ คณะครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา เพ่อื จัดทาแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี จัดทาโครงการ
อา่ นออกเขยี นได้ โครงการพัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนและนานักเรียนแข่งขันทกั ษะทางวชิ าการและ
โครงการการจดั การเรยี นการสอนดว้ ยระบบ ICT (D) ครจู ดั การเรยี นรู้แบบ Active Learning เปดิ โอกาสให้
ผู้เรยี นไดเ้ รยี นรูอ้ ย่างมคี วามหมาย ผา่ นการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมท่ีหลากหลาย ท้ังด้วยระบบ Online และการเรียน
ปกติทโี่ รงเรยี น ใหผ้ เู้ รียนมสี ่วนรว่ มในกิจกรรมตา่ งๆนอกเหนอื จากการฟัง มกี ารกระตนุ้ ผู้เรยี นใชก้ ระบวนการ
คดิ ไดเ้ รยี นรู้จากประสบการณ์จรงิ จัดกจิ กรรมเชื่อมโยงกับชวี ิตจริง และสามารถคิดวเิ คราะห์ จาแนกว่าส่ิงไหน
ด/ี สาคญั /จาเป็น รวมทัง้ รูเ้ ทา่ ทนั (C) มกี ารประเมนิ ผล ตรวจสอบคุณภาพโดยการนิเทศภายใน การเย่ยี มชั้น
เรียน รายงานผลการอา่ นคิดวเิ คราะห์และเขยี นจากครูประจาวชิ า และการรายงานโครงการ (A) สรุปผล
การประเมนิ เม่ือจบโครงการ และครูได้ประเมนิ พัฒนาการนกั เรยี น ประเมินเมือ่ สน้ิ ภาคเรยี น และสนิ้ ปี
การศึกษาและสรปุ ผลขอ้ มูล สารสนเทศรายงานสถานศึกษา (A: accountability) เผยแพรผ่ ลให้ผูป้ กครอง
ผู้เกยี่ วข้องทราบ โดยการประชุมคณะครู ผู้ปกครองชั้นเรียน และกรรมการสถานศึกษา
3) ความสามารถในการสร้างนวตั กรรม (P) ประชมุ คณะครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาวางแผน
ทาโครงการนิเทศภายใน โครงการการจดั การเรยี นการสอนด้วยระบบ ICT โครงการพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียนและนานกั เรยี นแขง่ ขันทักษะทางวิชาการและ (D) ให้นกั เรยี นไดจ้ ดั ทารายงาน ทาชิน้ งานในแตล่ ะกลุ่ม
สาระการเรยี นรู้ จัดทาคลิปวิดีโอสั้นๆ เพอื่ ส่งงานผา่ นระบบ Online และการเรียนการสอนปกตทิ โี่ รงเรยี น
(C) มกี ารประเมนิ ผล ตรวจสอบคณุ ภาพจากรายงานของนักเรยี น การสร้างชนิ้ งาน ของนักเรยี น แบบฝึกหดั
ตรวจเอกสารใบงาน ทกุ สัปดาห์ เม่ือมีการรบั – ส่งใบงาน (A) สรุปผลการประเมินเมื่อจบหน่วยการเรียนร้แู ต่
ละหน่วย และสรปุ เมือ่ สิน้ ภาคเรยี นที่ และปลายปี (A: accountability) เผยแพรผ่ ลให้ ผปู้ กครอง
ผู้เกีย่ วข้อง โดยการประชุมคณะครู ผู้ปกครองช้ันเรยี น และกรรมการสถานศึกษา และประชาสัมพันธผ์ ่านระบบ
Line
4) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (P) ประชุมคณะครูและ
บุคลากรทางการศึกษา เพื่อจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี โครงการการจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ ICT
(D) นกั เรียนสืบคน้ ข้อมลู ทางอินเทอรเ์ นต็ ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐาน เรยี นรู้จากคอมพิวเตอรใ์ นระบบ
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง จัดสื่อการสอน DLIT NEW DLTV ห้องเรียน I-CLASSROOM การใช้
โปรแกรม Google Meetในการเรียนการสอนผ่านระบบ Online และการวัดและประเมินผลผ่านระบบ
Google Form (C) มกี ารประเมนิ ผล ตรวจสอบคุณภาพผา่ นระบบ Google Form (A) สรปุ ผลการประเมิน
ทุกคร้ังเม่ือจัดกิจกรรม ผ่านระบบ Online แต่ละแผนการจดั การจัดการเรยี นรู้ เมื่อมีการทดสอบ และส่งงาน
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2564 หนา้ 19
20
ด้วยคลิปวิดีโอ และแจ้งผลให้ผู้เรียนทราบด้วยระบบ Google Form (A: accountability) เผยแพร่ผลให้
ผู้ปกครอง ผเู้ กย่ี วข้อง โดยใช้ระบบ Google Form และ Line กลมุ่
5) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา (P) ประชุมคณะครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา เพื่อจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี โครงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและนานักเรียนแข่งขัน
ทักษะทางวิชาการ โครงการการจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ ICT โครงการอ่านออกเขียนได้ โครงการ
นิเทศภายใน (D) ครูดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ด้วยระบบ Online และการเรียนปกติท่ี
โรงเรียน มีการจัดโครงการนิเทศภายในสถานศึกษา มีการนิเทศการสอน สังเกตการสอน ด้วยระบบ Online
และการเย่ียมชั้นเรียนในการสอนตามปกติ และมีโครงการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและนานักเรียนเข้า
ร่วมแข่งขันทักษะทางวิชาการ มีการจัดการเรียนแบบติวเข้มให้กับนักเรียนท้ังในและนอกเวลาเรียนด้วย
ระบบ Online (C) มีการประเมินผล ตรวจสอบคุณภาพเม่ือจบหน่วยการเรียนรู้ ประเมินตัวชี้วัด ประเมิน
เม่ือส้ินภาคเรียนและปลายปี (A) สรุปผลการประเมินโดยครูประจาวิชา และครูประจาช้ันรายงาน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ฝ่ายวิชาการ และปรับปรุงแก้ไขนักเรียนท่ีไม่ผ่านเกณฑ์ท่ีกาหนด
(A: accountability) เผยแพร่ผลให้ ผู้ปกครอง ผู้เกี่ยวข้องทราบโดยการแจกเอกสารรายงานผลทางการ
เรียนแก่นักเรยี น ผู้ปกครองทราบผ่านระบบ Online
6) ความรู้ ทกั ษะพืน้ ฐาน และเจตคตทิ ่ีดตี ่องานอาชีพ (P) ประชมุ คณะครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา เพ่อื จัดทาแผนปฏิบตั ิการประจาปี โครงการกจิ กรรมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการ
นิเทศภายใน โครงการอาหารกลาง กิจกรรมลดเวลาเรยี น เพ่ิมเวลารู้ (D) นักเรียนได้ฝึกทักษะพ้ืนฐานงาน
อาชีพผ่านกิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ ได้แก่ การทาคัพเค้ก จากบริษัทไทยเบฟเวอเรจ ผ่านระบบ
Online ในสถานการณ์โรคระบาดไวรัสโคโรนา (โควิด – 19) การทาน้ายาล้างจาน เพื่อใช้ในกิจกรรมอาหาร
กลางวัน เป็นต้น และโรงเรียนดาเนินการส่งเสริมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่
กิจกรรม กิจกรรมเพาะเห็ด การปลูกพืชผักสวนครัว การทาปุ๋ยหมักชีวภาพ การเล้ียงปลา การปลูกกล้วย
น้าว้า การปลูกมะพร้าวน้าหอม เพ่ือให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพท่ีสุจริต ฝึกการค้าขาย คิดต้นทุน-กาไร
และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ (C) มีการประเมินผล ตรวจสอบคุณภาพจากการทากิจกรรม การ
ปฏิบัติงานของนักเรียนแต่ละคร้ัง (A) สรุปผลการประเมินโดยครูผู้สอน ครูประจาวิชา เม่ือจบการทา
กิจกรรม (A: accountability) เผยแพร่ผลให้ ผู้ปกครอง ผู้เก่ียวข้องทราบโดยผา่ นทาง เฟส ระบบไลนก์ ลุ่ม
และทางเว็บเพจประชาสมั พนั ธ์โรงเรียนวดั ควนชะลกิ
1.2) คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรยี น
1) การมคี ณุ ลกั ษณะและค่านยิ มท่ีดตี ามทสี่ ถานศึกษากาหนด (P) ประชมุ คณะครูและบุคลากร
ทางการศึกษา เพ่อื จัดทาแผนปฏิบตั ิการประจาปี จัดทาโครงการเสรมิ สร้างคุณธรรมในสถานศึกษา โครงการ
สง่ เสริมประชาธิปไตย และโครงการวนั สาคญั (D) ครจู ัดกจิ กรรมทสี่ ง่ เสริมใหน้ ักเรียนมีความรับผิดชอบ เช่น
การมารบั – ส่งใบงาน การเรยี นแบบ On-hand และ Online ให้นกั เรียนทาเวรประจาวัน บริเวณเขตพนื้ ที่
รับผิดชอบ ฝึกวินัยในการเข้าแถวเคารพธงชาติ แต่งกายเรียบร้อย ทากิจกรรมสวดมนต์ไหว้พระทุกวันศุกร์
รายงานการประเมนิ ตนเอง ปีการศกึ ษา 2564 หน้า 20
21
ในชั่วโมงสุดท้าย ฝึกให้นักเรียนมีจิตอาสาช่วยเหลืองานคุณครู ปฏิบัติตามค่านิยมหลักของคนไทย 12
ประการ ให้นักเรียนเข้าแถวเคารพธงชาติและทากิจกรรมหน้าเสาธงด้วยความต้ังใจ ร้องเพลงชาติเต็มเสียง
(C) มีการประเมินผล ตรวจสอบคุณภาพโดยสังเกตจากการท่ีนักเรียนมีความรับผิดชอบต่อการรับ – ส่งใบ
งาน ในการเรียนแบบ On-hand และ Online นักเรียนทาเวรประจาวัน บริเวณเขตพื้นที่รับผิดชอบ มีวินัย
ในการเข้าแถวเคารพธงชาติ แต่งกายเรียบร้อย ทากิจกรรมสวดมนต์ไหว้พระทุกวันศุกร์ในชั่วโมงสุดท้าย
นักเรียนมีจิตอาสาช่วยเหลืองานคุณครู นักเรียนปฏิบัติตามค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ การ
แสดงออกถึงความรักชาติ โยการเข้าแถวเคารพธงชาติและทากิจกรรมหน้าเสาธงด้วยความต้ังใจ ร้องเพลง
ชาติเต็มเสียง (A) สรุปผลการประเมินเม่ือเสร็จการจัดกิจกรรมแต่ละคร้ัง โดยครูผู้สอนประจาวิชา และครู
ประจาชั้นและแจ้งผลให้นักเรียนทราบ และรายงานฝ่ายวิชาการทราบ(A: accountability) เผยแพร่ผลให้
ผู้ปกครอง ผู้เก่ียวข้อง โดยแจกเอกสารรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์
และแจ้งผ่านระบบไลน์
2) ความภูมิใจในท้องถ่ินและความเป็นไทย (P) ประชุมคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา
เพ่ือจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี จัดทาโครงการวันสาคัญ โครงการส่งเสริมประชาธิปไตย โครงการ
เสริมสรา้ งคุณธรรมในสถานศึกษา โครงการกจิ กรรมตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (D) นักเรยี นทา
กิจกรรมเข้าแถวเคารพธงชาติด้วยความสงบ นักเรียนทุกคนร่วมทาบุญในวันสาคัญทางพุทธศาสนา ร่วม
กจิ กรรมเก็บข้าวนาวานของศนู ยว์ ฒั นธรรมเฉลิมราชควนชะลิก ร่วมกิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ทงั้ ในโรงเรียน
และชุมชน และร่วมกิจกรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เช่น การปลูกพืชผักสวนครัว การ
เลี้ยงปลา การเพาะเห็ดนางฟ้า การแปรรูปอาหาร (C) มีการประเมินผล ตรวจสอบคุณภาพโดยการสังเกต
การเข้าร่วมกิจกรรมวันสาคัญต่างๆ การจัดกิจกรรมหน้าเสาธง และการนาผลิตภัณฑ์ออกจาหน่าย (A)
สรปุ ผลการประเมินเมื่อเสร็จการจัดกจิ กรรมแตล่ ะคร้ัง โดยครผู ู้สอนประจาวิชา และครูประจาช้ันและแจ้งผล
ให้นกั เรียนทราบ และรายงานฝ่ายวิชาการทราบ (A: accountability) เผยแพร่ผลให้ ผ้ปู กครอง ผเู้ ก่ียวข้อง
โดยผ่านการประชาสมั พันธ์ดว้ ยเว็บเพจของโรงเรยี นวดั ควนชะลกิ เฟสบุ๊ค และระบบไลน์
3) การยอมรับทจี่ ะอยู่ร่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย (P) ประชมุ คณะครแู ละบุคลากร
ทางการศึกษา เพ่ือจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี จัดทาโครงการวันสาคัญ โครงการส่งเสริมประชาธิปไตย
โครงการเสริมสร้างคุณธรรมในสถานศึกษา โครงการกิจกรรมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (D)
นักเรียนได้รับการส่งเสริมระบบประชาธิปไตยในโรงเรียน โดยมีการเลือกต้ังคณะกรรมการสภานักเรียน เลือก
หัวหน้าห้องเรยี น เม่ือโรงเรียนจดั กิจกรรมต่างๆมกี ารมอบหมายงานให้สภานักเรยี นรับผดิ ชอบ เช่น การตรวจ
เขตทาความสะอาด การจัดแถวนักเรียนหน้าเสาธง การทากิจกรรมหน้าเสาธง เป็นผู้นาทากิจกรรมประชุมสุด
สัปดาห์ การร่วมกิจกรรมลูกเสือเนตรนารีในสถานศึกษา (C) มีการประเมินผล ตรวจสอบคุณภาพโดยการ
สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรมวันสาคัญต่างๆ การจัดกิจกรรมเลือกต้ังประธานนักเรียน กิจกรรมหน้าเสาธง (A)
สรุปผลการประเมินเม่ือเสร็จการจัดกิจกรรมแต่ละครั้ง โดยครูผู้สอนประจาวิชา และครูประจาช้ันและแจ้งผล
ให้นักเรียนทราบ และรายงานฝ่ายวิชาการทราบ (A: accountability) เผยแพร่ผลให้ ผู้ปกครอง ผู้เก่ียวข้อง
โดยผา่ นการประชาสมั พนั ธด์ ้วยเว็บเพจของโรงเรียนวัดควนชะลกิ และระบบไลน์กลุ่ม
รายงานการประเมนิ ตนเอง ปีการศึกษา 2564 หน้า 21
22
4) สุขภาวะทางร่างกาย และลักษณะจิตสังคม (P) ประชุมคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา
เพ่ือจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี จัดทาโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โครงการอาหารกลางวัน
โครงการวันสาคัญ โครงการส่งเสริมประชาธิปไตย โครงการเสริมสร้างคุณธรรมในสถานศึกษา โครงการ
กิจกรรมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (D) นักเรียนได้รับอาหารเสริม (นม) รับประทานอาหาร
กลางวันทถี่ ูกหลกั โภชนาการ มีการชงั่ น้าหนักและวดั ส่วนสูงนักเรยี นเปน็ ประจาทุกเดือน มีการตรวจสุขภาพ
นักเรียนทุกคนโดยคณะครูและจากเจ้าหน้าที่สารธารณสุข เล่นกีฬาในโรงเรียน ซึ่งทางโรงเรียนได้ดาเนิน
โครงการส่งเสริมสุขภาพ โครงการส่งเสริมประชาธิปไตย โครงการเสริมสร้างคุณธรรมในสถานศึกษา (C) มี
การประเมินผล ตรวจสอบคณุ ภาพโดยการชงั่ น้าหนักและวัดส่วนสูงนักเรียนเปน็ ประจาทกุ เดือน และรายงาน
ผลให้ครูอนามัยโรงเรียน สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ กิจกรรมหน้าเสาธง (A) สรุปผลการประเมินเมื่อ
เสร็จการจัดกิจกรรมแต่ละครั้ง ส้ินภาคเรียน และสิ้นปีการศึกษา โดยครูผู้สอนประจาวิชา และครูประจาช้ัน
และแจ้งผลให้นักเรียนทราบ (A: accountability) เผยแพร่ผลให้ ผู้ปกครอง ผู้เกี่ยวข้อง โดยผ่านการ
ประชาสมั พันธด์ ้วยเอกสารรายงานผลภาวะโภชนาการ และระบบไลน์
2.1.4. แผนกำรยกระดับคณุ ภำพให้สงู ขึน้ ในปีตอ่ ไป
1.1) ผลสัมฤทธ์ิทำงวชิ ำกำรของผู้เรยี น
1) ความสามารถในการอ่าน การเขยี น การส่ือสารและ การคดิ คานวณ แผนการยกระดบั คือ
จัดกจิ กรรมโครงการอ่านออกเขยี นได้ กจิ กรรมสง่ เสริมการเรียนรู้นาเสนอสาระนา่ รู้ตอนเชา้ กจิ กรรมพัฒนา
ทกั ษะการอ่าน กิจกรรมสอนซ่อมเสริม กจิ กรรมทอ่ งสตู รคูณก่อนเข้าเรยี น
2) ความสามารถในการวิเคราะห์ คิดอย่างมวี ิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคดิ เห็น และ
แก้ปญั หา แผนการยกระดับ คอื เน้นการจดั กจิ กรรมการเรียนร้แู บบบูรณาการใหน้ กั เรียนมีทักษะในการคิด
วิเคราะห์ และส่งเสรมิ กจิ กรรมกลุ่มเพอ่ื ใหน้ ักเรยี นมีการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ความคดิ เหน็
3) ความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม แผนการยกระดบั คอื ครจู ัดกิจกรรมการเรยี นร้ใู ห้
นักเรยี นไดส้ รปุ องค์ความรูแ้ ละสร้างชิน้ งานในทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้
4) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร แผนการยกระดับ คือ จัด
กจิ กรรมใหน้ ักเรียนได้ศึกษาค้นควา้ จากแหล่งเรียนรู้ โดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และนาเสนอผลงานของ
ตนเอง
5) ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษา แผนการยกระดับ คือ จดั ทาโครงการ
พฒั นาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนและนานักเรียนแขง่ ขนั ทกั ษะทางวชิ าการ โครงการอ่านออกเขยี นได้
6) ความรู้ ทกั ษะพืน้ ฐาน และเจตคติทีด่ ีต่องานอาชพี แผนการยกระดับ คือ จดั ทา MOU กบั
วิทยาลยั การอาชีพหวั ไทร เพ่ือส่งเสรมิ ทักษะด้านอาชีพ
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2564 หน้า 22
23
1.2) คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรยี น
1) การมคี ณุ ลักษณะและค่านยิ มท่ดี ีตามที่สถานศกึ ษากาหนด แผนการยกระดับ คือ จัดทาโครงการ
สรา้ งเสรมิ คุณธรรมในสถานศึกษา โครงการสง่ เสริมประชาธปิ ไตย กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน
2) ความภูมใิ จในท้องถ่นิ และความเป็นไทย แผนการยกระดบั คือ จัดกิจกรรมศึกษาแหลง่ เรียนรู้ใน
และนอกสถานศึกษา โครงการวันสาคญั และร่วมกจิ กรรมของชุมชน
3) การยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย แผนการยกระดับ คือ จัดทา
โครงการสร้างเสริมคุณธรรมในสถานศึกษา โครงการส่งเสริมประชาธิปไตย โครงการวันสาคัญ กิจกรรมพัฒนา
ผเู้ รียน ลกู เสอื – เนตรนารี
4) สุขภาวะทางร่างกาย และลักษณะจิตสังคม แผนการยกระดับ คือ โครงการส่งเสริมสุขภาพ
โครงการแขง่ ขนั กีฬา –กรีฑาและความเป็นเลิศทางดา้ นกฬี า จดั กจิ กรรมทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียน
2.1.5. จดุ เด่น
1. นกั เรียนสามารถทาอาหารรบั ประทานในครอบครวั และจาหนา่ ยได้
2. นกั เรยี นมีรายได้ระหวา่ งเรียน จากการทากจิ กรรมตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจกจิ พอเพียง
2.1.6. จุดควรพัฒนำ
1. การอา่ นออก เขยี นได้ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3
2. จดั กจิ กรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย ให้ครอบคลมุ ทกุ ระดับช้ัน
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศกึ ษา 2564 หนา้ 23
24
2.2 มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร
2.2.1. ผลกำรประเมนิ มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบริหำรและกำรจดั กำรอยู่ในระดบั
ยอดเยยี่ ม(5)
ประเดน็ พจิ ำรณำ ผลกำร เป้ำหมำย สูง/ตำ่
ประเมนิ กว่ำ
ระดับ ระดับ เปำ้ หมำย
คุณภำพ คุณภำพ
2.1 มเี ปา้ หมายวิสัยทัศน์และพนั ธกจิ ทีส่ ถานศึกษากาหนดชดั เจน ยอดเย่ียม ยอดเยี่ยม เทา่ กัน
(ระดับ 5) (ระดับ 5)
2.2 มีระบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา ยอดเยย่ี ม ยอดเยี่ยม เท่ากัน
(ระดบั 5) (ระดบั 5)
2.3 ดาเนินงานพฒั นาวชิ าการทเ่ี นน้ คุณภาพผเู้ รยี นรอบดา้ นตามหลักสตู ร ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม เทา่ กัน
สถานศึกษาและทกุ กลุ่มเปา้ หมาย (ระดบั 5) (ระดับ 5)
2.4 พฒั นาครูและบุคลากรให้มคี วามเช่ยี วชาญทางวชิ าชพี ยอดเยีย่ ม ยอดเยีย่ ม เทา่ กนั
(ระดับ 5) (ระดับ 5)
2.5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทีเ่ อือ้ ตอ่ การเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ยอดเยี่ยม ยอดเยย่ี ม เท่ากนั
(ระดบั 5) (ระดับ 5)
2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนนุ การบริหารจดั การและการ ยอดเยยี่ ม ยอดเยย่ี ม เท่ากัน
จดั การเรยี นรู้ (ระดบั 5) (ระดบั 5)
สรุปผลกำรประเมินมำตรฐำนท่ี 2 ยอดเย่ียม ยอดเย่ียม บรรลุ
2.2.2. เอกสำร หลกั ฐำนเชงิ ประจักษ์ทสี่ นบั สนนุ
2.1) การมเี ป้าหมายวสิ ยั ทศั น์และพนั ธกจิ ทีส่ ถานศกึ ษากาหนดชดั เจน
โรงเรียนมีวิสัยทัศน์คือ “โรงเรียนวัดควนชะลิกมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา พัฒนา
ผู้เรียนให้เป็นคนดี มีความรู้คู่เทคโนโลยี บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การเรียนรู้ในศตวรรษ
ท่ี 21” ซง่ึ สอดคลอ้ งกับพนั ธกิจที่กาหนด มีโครงการ กิจกรรม และรายงานผลสรปุ โครงการต่าง ๆ นาไปสกู่ าร
ประสบผลสาเร็จตามที่กาหนดวสิ ัยทศั น์ อย่ใู นระดบั ยอดเยี่ยม (5) และบรรลุตามค่าเป้าหมายท่ีประกาศไว้
2.2) การมีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
โรงเรยี นมีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา คือโมเดล PDCA ที่บูรณาการงานปกติ
กับงานประกันคุณภาพภายใน และโรงเรียนได้จัดโครงสร้างการบริหารงานโรงเรียน 4 ฝ่าย คือ ฝ่ายวิชาการ
ฝ่ายบุคลากร ฝ่ายงบประมาณ ฝ่ายบริหารงานทั่วไป สามารถปฏิบัติได้อย่างเป็นระบบ อยู่ในระดับยอดเย่ียม
(5) บรรลตุ ามคา่ เปา้ หมายท่ีประกาศไว้
รายงานการประเมนิ ตนเอง ปีการศกึ ษา 2564 หน้า 24
25
2.3) การดาเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและ
ทกุ กลุ่มเปา้ หมาย
โรงเรียนดาเนนิ งานพัฒนาวิชาการทเี่ นน้ คณุ ภาพผ้เู รยี นรอบดา้ นตามหลักสูตรสถานศึกษาและ
ทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยส่งเสริมให้ครูมีแผนจดั การเรยี นรู้ โครงสร้างรายวชิ าคาอธบิ ายรายวชิ าเกณฑ์การจัดและ
ประเมินผลของแต่ละรายวิชา มีการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning โดยนักเรียนมีส่วนร่วมและ
เน้นการสอนแบบ Project Based Learning การเรียนรู้เน้นกระบวนการ Project Based Learning ซ่ึงครู
ร้อยละ 100 ปฏบิ ตั ิได้ดี อยู่ในระดบั ยอดเยีย่ ม (5) บรรลุตามค่าเปา้ หมายที่ประกาศไว้
2.4) พัฒนาครูและบคุ ลากรใหม้ ีความเชีย่ วชาญทางวิชาชีพ
ผลการประเมินการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ครูได้รับพัฒนาครู
รูปแบบครบวงจร ได้แก่ อบรมด้วยระบบ Online อบรมจากหน่วยงานต้นสังกัด สพป.นศ.3 อบรมตาม
โครงการพัฒนาบุคลากรของโรงเรียน จัดกิจกรรม PLC อยู่ในระดับยอดเยี่ยม (5) บรรลุตามค่าเป้าหมายที่
ประกาศไว้
2.5) จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทีเ่ อื้อต่อการเรยี นรู้อยา่ งมีคณุ ภาพ
ผลการประเมินการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้อย่างมี
คุณภาพ ทาให้นักเรียนเรียนรู้ได้ดี เป็นพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง อยู่ในระดับยอดเยี่ยม (5) บรรลุตามค่า
เป้าหมายที่ประกาศไว้
2.6) จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการเรยี นรู้
ประเมนิ ตรวจสอบ การจดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยครทู กุ คนสอนโดยใชเ้ ทคโนโลยี
เช่น NEW DLTV / DLIT ห้องเรียน I-CLASSROOM การใชโ้ ปรแกรม Google Meet ในการเรียนการสอน
ผ่านระบบ Online และการวัดและประเมินผลผ่านระบบ Google Form และนักเรยี นเรียนรู้ได้อยา่ ง
หลากหลายและมีความสขุ และทนั โลกทนั เหตุการณ์ อยู่ในระดับยอดเย่ียม (5) บรรลุตามค่าเป้าหมายท่ี
ประกาศไว้
เอกสำร หลักฐำนเชิงประจักษ์ที่สนับสนุน มำตรฐำนท่ี 2 กระบวนกำรบริหำรและกำร
จัดกำร ไดแ้ ก่
1. รายงานโครงการประกันคณุ ภาพภายใน
2. รายงานโครงการ
3. แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี
4. รายงานการอบรมของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
5. รายงานการใช้สื่อการเรียนการสอน
6. แผนการจดั การเรยี นรู้
7. หลกั สูตรสถานศกึ ษา
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2564 หน้า 25
26
8. รายงานการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์
9. แบบบันทกึ การผลิตส่อื และนวัตกรรม
10. รางวัลสถานศึกษาพอเพยี งระดับชาติ
11. รางวลั สาสน์ ตราตง้ั ปา้ ยศูนย์ครอบครัวพอเพยี งและเกยี รติบัตร
12. โรงเรียนได้รับการประกนั คุณภาพภายนอก (2564 - 2568)
2.2.3. กำรดำเนนิ งำนในปีทผี่ ำ่ นมำ
(P) โรงเรียนวางแผนจัดทาแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา แผนปฏิบตั ิการประจาปี ครอบคลมุ งาน
4 ฝา่ ยงาน มีการประชุมระดมสมองกบั ทุกฝ่าย ไดแ้ ก่ผบู้ รหิ าร ครู คณะกรรมการสถานศึกษา ร่วมกนั กาหนด
วสิ ัยทัศน์ พันธกจิ เป้าหมาย สอดคล้องกบั สภาพปญั หาความต้องการของนโยบายหนว่ ยเหนือของท้องถนิ่ หา
จุดอ่อนจดุ แขง็ (SWOT) และจดั ทาแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา จัดทาแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี
(D) กระบวนการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษามกี ารดาเนินการดังนี้ ดาเนินการวเิ คราะห์
ขอ้ มูลจากผลการประเมินในปีท่ผี ่านมา วเิ คราะห์ SWOT ด้านยุทธศาสตร์ สถานศึกษามีการกาหนดวสิ ัยทศั น์
ยทุ ธศาสตร์ เปา้ หมายชดั เจนสอดคลอ้ งกบั นโยบายของหน่วยงานตน้ สงั กัด โครงสรา้ งการบริหารงานของ
สถานศึกษา มโี ครงสร้างการบริหารงานแบง่ เป็น 4 งาน คอื บริหารงานวิชาการ บรหิ ารงานบุคคล บริหารงาน
งบประมาณ บรหิ ารงานทว่ั ไป โดยมรี ะเบียบ กาหนดขอบข่ายงานที่ชดั เจน ผบู้ รหิ ารมคี วามรคู้ วามสามารถและ
มีมนษุ ยสัมพนั ธ์ทีด่ ีต่อผ้รู ่วมงานและชุมชน มกี ารทางานเปน็ ทมี เพ่ือเป้าหมายเดยี วกนั ขององค์กร จดั ทา
แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี โดยประชมุ มอบหมายภารกจิ ตามกลมุ่ งาน ทงั้ 4 งาน หวั หน้ากลุม่ งานร่วมกับคณะ
ครูวางแผนการจัดทาโครงการ ร่วมกนั พจิ ารณาจดั สรรงบประมาณท่ใี ช้ในโครงการตามความเหมาะสม เสนอ
โครงการเพื่อขออนุมตั ิ และจัดทารายละเอยี ดต่างๆของแผนปฏบิ ัตกิ ารใหส้ มบรู ณ์
(C) มีการประเมนิ ผล ตรวจสอบแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี ดังนี้
1) ติดตามความก้าวหน้าประจาปี เป็นการติดตามความก้าวหน้าของตัวชี้วัดในแต่ละกลยุทธ์
เพื่อตรวจสอบถึงผลงานที่เกิดขึ้นจริง เปรียบเทียบกับเป้าหมายท่ีกาหนด อันจะนาไปสู่การทบทวนปรับปรุง
แกไ้ ขเปา้ หมายและกลยุทธใ์ หม้ ีความเหมาะสมตอ่ ไป
2) กาหนดให้มีระบบการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
โรงเรยี นวดั ควนชะลิก ดังน้ี
2.1 มอบหมายหนา้ ท่ผี รู้ ับผิดชอบ
2.2 จดั ทาคาสั่งแตง่ ต้ังผู้รบั ผิดชอบ
2.3 จัดทาปฏิทินการปฏบิ ัตงิ านและการตดิ ตามประเมินผล
(A) สรุปผลการประเมินพัฒนา ดังนี้ ดาเนินการตามปฏิทินการปฏิบัติงานและการติดตาม
ประเมนิ ผล รายงานผลการปฏบิ ัติงานและการติดตามประเมินผล โดยแบง่ เปน็ 3 ระยะ คอื ระยะท่ี 1 ก่อนปฏบิ ตั ิ
กิจกรรม ระยะท่ี 2 รายงานผลการปฏิบัติงานและการติดตามประเมินผลระหว่างปฏิบัติ ระยะท่ี 3 รายงานผล
การปฏิบัติงานและการติดตามประเมินผลเมื่อดาเนินการเสรจ็ สิน้ แลว้ นาข้อมูลท่ีได้จากการรายงานทั้ง 3 ระยะ
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2564 หน้า 26
27
มาศึกษาวิเคราะห์ เพื่อนาผลการศึกษาวิเคราะห์ดังกล่าวไปพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษาของ
โรงเรียนให้ดีขึ้นต่อไป โรงเรียนใช้งบประมาณในการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพการศึกษาตาม
วตั ถปุ ระสงคข์ องงบประมาณจากแหลง่ งบประมาณท่ีได้รบั การจดั สรร
(A: accountability) มีการเผยแพร่ผลให้ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน
ผู้ปกครอง ผู้เกี่ยวข้องรับทราบ โดยการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บ
เพจโรงเรียนวัดควนชะลกิ กล่มุ ไลนป์ ระจาชั้นเรยี น กจิ กรรมประชุมผู้ปกครองนักเรียน
2.1) การมีเป้าหมายวสิ ยั ทศั นแ์ ละพันธกจิ ทสี่ ถานศกึ ษากาหนดชดั เจน
โรงเรียนมีวิสัยทัศน์คือ “โรงเรียนวัดควนชะลิกมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา พัฒนา
ผู้เรียนให้เป็นคนดี มีความรู้คู่เทคโนโลยี บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การเรียนรู้ในศตวรรษ
ท่ี 21” ซ่งึ สอดคล้องกบั พนั ธกิจท่ีกาหนด มีโครงการ กิจกรรม และรายงานผลสรปุ โครงการตา่ ง ๆ นาไปสู่การ
ประสบผลสาเรจ็ ตามทก่ี าหนดวิสยั ทัศน์ อยใู่ นระดบั ยอดเยีย่ ม (5) และบรรลตุ ามค่าเป้าหมายท่ีประกาศไว้
2.2) การมรี ะบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษา
โรงเรยี นจดั โครงสรา้ งการบรหิ ารโรงเรียน 4 ฝา่ ยคือ ฝ่ายบรหิ ารงานวิชาการ ฝ่ายบรหิ ารงาน
บุคลากร ฝ่ายบริหารงานงบประมาณ ฝ่ายบริหารงานท่ัวไป จัดระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาท่ี
เข้มแขง็ ผา่ นกระบวนการ PDCA
2.3) การดาเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก
กลุม่ เป้าหมาย
ส่งเสริมให้ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ รายงานผลการจัดการเรียนรู้ด้วยระบบออนไลน์ในทุก
สัปดาห์ จัดโครงสร้างรายวิชาคาอธิบายรายวิชาเกณฑ์การวัดและการประเมินผลของแต่ละวิชา ครูจัดการ
เรียนการสอนแบบ Active Learning โดยนักเรียนมีส่วนร่วมผ่านระบบ Online การใช้โปรแกรม Google
Meet ในการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผลผ่านระบบ Google Form
(P) โรงเรียนวางแผนจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี งาน
วิชาการ โดยนาผลการวิเคราะห์สภาพภายในและสภาพภายนอกตามแนวทาง SWOT Analysis และความ
ตอ้ งการจาเปน็ (Needs Assessment) ของสถานศกึ ษา สรปุ ไดว้ า่
1. โรงเรียนปรบั ปรงุ หลักสตู รท้องถิ่นให้สมบรู ณต์ ามที่กาหนดในหลกั สตู รสถานศึกษา
2. โรงเรียนปรบั ปรงุ หลกั สูตรสถานศกึ ษาครอบคลุมทุกกลมุ่ สาระแต่บางกลุ่มสาระยงั ไม่
สมบูรณ์
3. โรงเรยี นมกี ารจดั ทาระเบียบ และแนวปฏบิ ัตเิ กยี่ วกับงานด้านวชิ าการ โดย มอบหมาย
ภาระงานใหค้ รูและบคุ ลากรได้ ปฏบิ ตั ิงานอย่างเต็มท่ี
4. โรงเรียนมีการคดั เลอื กหนงั สอื แบบเรียนให้สอดคลอ้ งกับหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั
พ้ืนฐาน
5. โรงเรยี นมีกาหนดการนเิ ทศ ของครูอย่างชัดเจน
6. มีการประกนั คณุ ภาพภายในปีการศึกษาละ 1 คร้ัง
รายงานการประเมนิ ตนเอง ปีการศึกษา 2564 หน้า 27
28
7. โรงเรียนมกี ารวัดผลประเมินผลตามมาตรฐาน ตัวชวี้ ดั
8. มีการทาวจิ ยั ในชั้นเรียน ภาคเรยี นละ 1 เร่ือง
9. โรงเรยี นมีการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ โดยใหน้ กั เรยี นลงมือปฏิบตั ิ
เชน่ การเรยี นรนู้ อกห้องเรียน การทดลองวิทยาศาสตร์ การสนทนาภาษาองั กฤษใน ชวี ิตประจาวนั และ
นกั เรียนสามารถสรา้ งองคค์ วามรู้ไดด้ ้วยตนเอง
โรงเรียนนาผลการวิเคราะห์มาจัดทาแผนปฏิบัติการ แผนงานบริหารวิชาการ จานวน 11
โครงการ ใชง้ บประมาณทัง้ สิน้ จานวน 219,928.20 ดังนี้
1. โครงการพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นและนานักเรยี นแขง่ ขันทักษะทางวิชาการ
2. โครงการอา่ นออก เขยี นได้
3. โครงการการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
4. โครงการปรับปรงุ หลักสตู รสถานศกึ ษา
5. โครงการนิเทศภายใน
6. โครงการศึกษาแหล่งเรียนรู้
7. โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น
8. โครงการพฒั นามาตรฐานการศึกษาปฐมวยั
9. โครงการบา้ นนักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย
10. โครงการการจัดการเรียนการสอนด้วย ระบบ ICT
11. โครงการพัฒนาแหลง่ เรยี นรหู้ ้องสมดุ
(D) มกี ารดาเนินการดังนี้ มีการประชมุ วางแผนครแู ละบุคลกรภายในโรงเรยี นเพ่ือพัฒนา
หลักสตู ร โดยการศึกษา วเิ คราะห์ข้อมลู พ้นื ฐานในดา้ นต่าง ๆ เชน่ สภาพและความต้องการของชุมชน วิเคราะห์
ศกั ยภาพของโรงเรียน วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลาง รา่ งหลักสตู ร ไดแ้ ก่ การกาหนดจุดประสงคข์ องหลกั สตู ร การ
กาหนดเนื้อหาสาระการจัดการเรยี นการสอน กจิ กรรม และสื่อตา่ ง ๆ การกาหนดวธิ แี ละประเมินผลผูเ้ รียน การ
ตรวจสอบคณุ ภาพของหลักสูตรการนาหลกั สูตรไปใช้ และมกี ารจดั กิจกรรมเพอ่ื ยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน
ของผู้เรียนใหส้ ูงขึน้ ทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้ จดั กจิ กรรมเพื่อยกระดบั ความสามารถในการอ่าน การเขียน การ
สื่อสารและการคดิ คานวณ จดั กิจกรรมเพอ่ื ใหน้ กั เรยี นได้เข้ารว่ มแขง่ ขนั ทักษะทางวชิ าการอย่างนอ้ ย 1 ครั้ง มี
การเยีย่ มบ้านนักเรยี นผา่ นระบบออนไลน์ มกี ารนิเทศการจัดการเรียนการสอนผา่ นระบบออนไลน์ มกี ารสง่
ประกวดคลิปวิดีโอการทดลองโครงงานบ้านนักวิทยาศาสตรน์ อ้ ยระดบั ช้นั อนบุ าลปที ี่ 3
(C) มีการประเมนิ ผล โดยตดิ ตามความก้าวหน้าของแต่ละโครงการ มีการประชุมครแู ละ
บคุ ลากร เพ่ือตรวจสอบถงึ ผลงานที่เกิดขน้ึ จริง เปรียบเทียบกับเป้าหมายท่ีกาหนด อนั จะนาไปสู่การทบทวน
ปรบั ปรุง แก้ไขเป้าหมายใหม้ ีความเหมาะสมต่อไป
(A) สรุปผลการประเมินพัฒนา ดังนี้ ดาเนินการตามปฏิทินการปฏิบัติงานและการติดตาม
ประเมินผล รายงานผลการปฏิบัติงานและการตดิ ตามประเมินผล โดยแบ่งเป็น 3 ระยะ คือระยะท่ี 1 ก่อน
ปฏิบัติกิจกรรม ระยะท่ี 2 รายงานผลการปฏิบัติงานและการติดตามประเมินผลระหว่างปฏิบัติ ระยะท่ี 3
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2564 หน้า 28
29
รายงานผลการปฏิบัติงานและการติดตามประเมินผลเม่ือดาเนินการเสร็จสิ้นแล้ว นาข้อมูลที่ได้จากการ
รายงานท้ัง 3 ระยะ มาศึกษาวิเคราะห์ เพ่ือนาผลการศึกษาวิเคราะห์ดังกล่าวไปพัฒนาการบริหารจัดการ
คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนให้ดีข้ึนต่อไป โรงเรียนใช้งบประมาณในการบริหารจัดการและพัฒนา
คุณภาพการศกึ ษาตามวตั ถปุ ระสงค์ของงบประมาณจากแหล่งงบประมาณทไี่ ด้รับการจัดสรร
(A: accountability) มีการเผยแพร่ผลให้ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ผู้ปกครอง
ผู้เกี่ยวข้องรับทราบ ประชาสัมพันธ์ผ่านเพจโรงเรียนวัดควนชะลิก กลุ่มไลน์ประจาชั้นเรียน กิจกรรม
ประชมุ ผู้ปกครองนกั เรียน
2.4) พัฒนาครแู ละบคุ ลากรใหม้ ีความเชีย่ วชาญทางวชิ าชพี
การพัฒนาครูบุคลากรให้มีความเชีย่ วชาญทางวิชาชีพ โรงเรียนจัดทาโครงการอบรมพัฒนาครูและ
บุคลากรโดยเน้นให้ครูเข้าอบรมด้วยระบบออนไลน์ ท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาตนเองและการเรียนการสอน
รวมทั้งจัดอบรมโดยสถานศึกษา มีการจัดกิจกรรม PLC ในสถานศึกษา เพ่ือการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนใหส้ ูงขึน้
(P) โรงเรียนวางแผนจดั ทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี งาน
บคุ ลากร ดงั น้ี ผลการวิเคราะห์สภาพภายในและสภาพภายนอกตามแนวทาง SWOT Analysis และความ
ตอ้ งการจาเป็น (Needs Assessment) ของสถานศึกษา สรุปไดว้ า่
1. โรงเรียนมีการมอบอานาจและหนา้ ทท่ี าใหล้ ดขัน้ ตอนการปฏบิ ัติงาน
2. โรงเรียนมีการประเมนิ ผลการปฏิบัติงานโดยการประเมนิ ผลงานครูผา่ นระบบสารสนเทศ
3. ส่งเสรมิ และพัฒนาข้าราชการและบุคลากรทางการศึกษาในด้านเทคโนโลยี
โรงเรียนนาผลการวิเคราะห์มาจัดทาแผนปฏิบัติการ แผนงานบริหารวิชาการ จานวน 2
โครงการ ใชง้ บประมาณท้ังส้ิน จานวน 41,000 ดังน้ี
1. โครงการพัฒนาครูและบคุ ลากร
2. โครงการบรหิ ารโดยใชห้ ลกั ธรรมภบิ าล
(D) มกี ารดาเนินการดงั น้ี โรงเรียนมีการจัดสง่ เสรมิ ให้ครไู ด้รบั การพฒั นาตนเองโดยการ
อบรม สมั มนา ศึกษาดูงาน แลกเปลีย่ นเรยี นร้ทู ั้งในและนอกสถานศกึ ษา และอบรมผ่านระบบออนไลน์ เช่น
การอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ (work shop) ในการประชมุ ทางวิชาการออนไลน์ของคุรสุ ภา ประจาปี 2564 ตลาด
นดั เรียนรอู้ อนไลน์ วังจนั ทรเกษม สสวท. สพป.นศ.3 และโรงเรยี นมีการจดั โครงการอบรมพัฒนาครูและ
บคุ ลากร เร่ือง การอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารการใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัลเพอื่ การจดั การเรยี นการสอนและโครงการอบรม
พัฒนาครูและบคุ ลากร เรื่อง การพฒั นาทกั ษะการทาข้อตกลงในการพฒั นางาน (Performance
Agreement:PA) โรงเรียนมีการจดั ประชุมครูและบุคลากรผา่ นระบบออนไลน์โดยใช้ Google Meet เพ่ือให้
สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา่ 2019
(C) มีการประเมนิ ผล ตรวจสอบเปน็ ระยะ ๆ มีการประเมินความพึงพอใจโครงการอบรม
พฒั นาครูและบคุ ลากร เรื่อง การอบรมเชิงปฏิบัติการการใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพ่ือการจัดการเรียนการสอนและ
รายงานการประเมนิ ตนเอง ปีการศกึ ษา 2564 หน้า 29
30
โครงการอบรมพัฒนาครูและบคุ ลากร เรอื่ ง การพฒั นาทักษะการทาข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance
Agreement:PA) และมกี ารรายงานผลกจิ กรรมเมอื่ แลว้ เสรจ็ กิจกรรม
(A) สรุปผลการประเมินพฒั นา ดังนี้ ดาเนนิ การตามปฏทิ นิ การปฏิบัติงานและการตดิ ตาม
ประเมินผล รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานและการติดตามประเมินผล โดยแบ่งเปน็ 3 ระยะ คือระยะท่ี 1 ก่อน
ปฏบิ ัติกจิ กรรม ระยะท่ี 2 รายงานผลการปฏิบตั งิ านและการตดิ ตามประเมินผลระหวา่ งปฏิบตั ิ ระยะท่ี 3
รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานและการติดตามประเมินผลเม่ือดาเนินการเสรจ็ ส้นิ แลว้ นาขอ้ มูลท่ไี ดจ้ ากการรายงาน
ท้งั 3 ระยะ มาศึกษาวเิ คราะห์ เพือ่ นาผลการศกึ ษาวิเคราะห์ดังกล่าวไปพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพ
การศึกษาของโรงเรยี นให้ดีขึน้ ต่อไป โรงเรียนใชง้ บประมาณในการบริหารจัดการและพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
ตามวตั ถปุ ระสงค์ของงบประมาณจากแหล่งงบประมาณที่ได้รบั การจดั สรร
(A: accountability) มกี ารเผยแพร่ผลให้ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผู้ปกครอง
ผเู้ ก่ยี วข้องรบั ทราบ ประชาสัมพนั ธผ์ ่านเพจโรงเรียนวดั ควนชะลกิ กลุม่ ไลนป์ ระจาชน้ั เรยี น กิจกรรมประชุม
ผปู้ กครองนักเรยี น
2.5) จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทเ่ี อ้ือต่อการเรยี นรู้อย่างมีคุณภาพ
การจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ โรงเรียน
จัดสภาพแวดล้อมได้ร่มร่ืน น่าอยู่ ปลอดภัย มีมุมพักผ่อน มีสื่อเพ่ือการเรียนรู้ จัดแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการ
เรยี นรขู้ องผ้เู รียน ไดแ้ ก่ จดั ป้ายนิเทศ มมุ ประสบการณ์ มมุ ส่อื ปรบั ปรงุ อาคารเพื่อเหมาะสมกบั การทากิจกรรม
จัดห้องเรียนห้องปฏิบัติการต่างๆให้เหมาะสมและปลอดภัยในการเรียนการสอนให้ทันสมัย โดยมีโครงการ
พฒั นาอาคารสถานท่ีและส่งิ แวดล้อมภมู ิทศั นโ์ รงเรียน โดยดาเนนิ การดงั น้ี
(P) โรงเรียนวางแผนจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี งาน
วิชาการ โดยนาผลการวิเคราะห์สภาพภายในและสภาพภายนอกตามแนวทาง SWOT Analysis และความ
ต้องการจาเปน็ (Needs Assessment) ของสถานศกึ ษา จัดสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียน มีการปรบั ปรงุ และ
จัดสรรพ้ืนที่ให้เหมาะแก่การจัดการเรียนการสอนมากยิ่งข้ึน โรงเรียนมีอาคารเรียนที่พร้อม มีสื่อการเรียนการ
สอนและเทคโนโลยี ท่ีทันสมัย โรงเรียนนาผลการวิเคราะห์มาจัดทาแผนปฏิบัติการ แผนงานบริหารบริหาร
ทัว่ ไป จานวน 11 โครงการ ใช้งบประมาณทงั้ สนิ้ จานวน 138,000 ดังนี้
1. โครงการกิจกรรมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. โครงการโรงเรียนสง่ เสรมิ สุขภาพ
3. โครงการกพฒั นาอาคารสถานท่แี ละสงิ่ แวดล้อมภูมิทัศน์โรงเรยี น
4. โครงการแขง่ ขันกฬี า-กรฑี าและความเป็นเลิศทางด้านกีฬา
5. โครงการเขา้ ค่ายค่ายพกั แรมลกู เสือ – เนตรนารี
6. โครงการเสริมสร้างคุณธรรมในสถานศึกษา
7. โครงการวันสาคญั
8. โครงการส่งเสรมิ ประชาธิปไตย
9. โครงการการพัฒนากองทุนการศึกษษาาของโรงเรียน
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศกึ ษา 2564 หน้า 30
31
10. โครงการอาหารกลางวัน
11. โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ
(D) มีการดาเนินการดังนี้ โรงเรียนมีการจัดทาสารสนเทศท่ีเป็นปัจจุบันและครอบคลุมทุก
กิจกรรมของโรงเรียน ในปีการศึกษา 2564 โรงเรียนได้ดาเนินโครงการบรรลุเป้าหมายตามตัวชี้วัด เช่น
โครงการกิจกรรมตามแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โครงการพัฒนาอาคาร
สถานท่ีและสิ่งแวดล้อมภูมิทัศน์โรงเรียน โครงการแข่งขันกีฬา – กรีฑา และความเป็นเลิศทางด้านกีฬา
โครงการเข้าค่ายค่ายพักแรมลูกเสือ – เนตรนารี โครงการเสริมสร้างคุณธรรมในสถานศึกษา โครงการวัน
สาคญั โครงการสง่ เสรมิ ประชาธปิ ไตย โดยโรงเรียนไดม้ อบหมายใหบ้ คุ ลากรรับผดิ ชอบ
(C) มกี ารประเมนิ ผล ตรวจสอบเป็นระยะ ๆ มีการประเมินผล ตรวจสอบเปน็ ระยะ ๆ
ตรวจสอบแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี ดงั นี้
1) ติดตามความก้าวหน้าประจาปี เป็นการติดตามความก้าวหน้าของตัวช้ีวัดในแต่ละกล
ยุทธ์ เพื่อตรวจสอบถึงผลงานท่ีเกิดข้ึนจริง เปรียบเทียบกับเป้าหมายท่ีกาหนด อันจะนาไปสู่การทบทวน
ปรับปรุง แกไ้ ขเป้าหมายและกลยทุ ธใ์ หม้ คี วามเหมาะสมตอ่ ไป
2) กาหนดให้มีระบบการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการแผนพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาโรงเรียนวัดควนชะลิก ดังนี้
2.1 มอบหมายหนา้ ทผี่ ู้รับผิดชอบ
2.2 จดั ทาคาสงั่ แตง่ ต้ังผรู้ บั ผดิ ชอบ
2.3 จัดทาปฏิทนิ การปฏบิ ตั งิ านและการตดิ ตามประเมนิ ผล
(A) สรุปผลการประเมินพัฒนา ดังนี้ ดาเนินการตามปฏิทินการปฏิบัติงานและการติดตาม
ประเมินผล รายงานผลการปฏิบตั งิ านและการติดตามประเมินผล โดยแบ่งเป็น 3 ระยะ คือระยะที่ 1 ก่อนปฏบิ ัติ
กิจกรรม ระยะท่ี 2 รายงานผลการปฏิบัติงานและการติดตามประเมินผลระหว่างปฏิบัติ ระยะที่ 3 รายงานผล
การปฏิบัติงานและการติดตามประเมินผลเม่ือดาเนินการเสร็จส้นิ แล้ว นาข้อมูลท่ีได้จากการรายงานท้ัง 3 ระยะ
มาศึกษาวิเคราะห์ เพ่ือนาผลการศึกษาวิเคราะห์ดังกล่าวไปพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษาของ
โรงเรียนให้ดีขึ้นต่อไป โรงเรียนใช้งบประมาณในการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพการศึกษาตาม
วตั ถุประสงคข์ องงบประมาณจากแหล่งงบประมาณทไ่ี ดร้ ับการจัดสรร
(A: accountability) มีการเผยแพร่ผลให้ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง
ผู้เกี่ยวข้องรับทราบ ประชาสัมพันธ์ผ่านเพจโรงเรียนวัดควนชะลิก กลุ่มไลน์ประจาช้ันเรียน กิจกรรมประชุม
ผู้ปกครองนักเรยี น
2.6) จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื สนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและการเรียนรู้
โรงเรียนจัดวัสดุอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง เพ่ือเป็นแหล่งค้นหา
ความรู้ในด้านจัดการเรียนการสอนเป็นสื่อในการเรียนการสอนให้กับเด็กอย่างสะดวกรวดเร็ว ระบบเทคโนโลยี
DLIT, NEW DLTV และห้องเรียน I-CLASSROOM โดยโรงเรียนได้ดาเนินการโครงการนิเทศภายใน
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศกึ ษา 2564 หน้า 31
32
สถานศึกษา โครงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โครงการพัฒนาอาคารสถานท่ีและสิ่งแวดล้อมภูมิ
ทัศน์โรงเรียน อาคารประกอบและสิง่ กอ่ สรา้ งอ่ืน โครงการพฒั นาบุคลากร
(P) โรงเรียนวางแผนจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี การ
จัดระบบสารสนเทศ ซึ่งจัดอยู่ในฝ่ายงานงานวิชาการ โดยนาผลการวิเคราะห์สภาพภายในและสภาพภายนอก
ตามแนวทาง SWOT Analysis และความต้องการจาเป็น (Needs Assessment) ของสถานศึกษา ระบบ
เทคโนโลยสี ารสนเทศ ให้ครูได้มีส่ือการเรียนการสอนและเทคโนโลยีท่ที นั สมยั แล้วโรงเรียนนาผลการวิเคราะห์
มาจดั ทาแผนปฏิบตั กิ าร จดั ทาโครงการการจัดการเรียนการสอนดว้ ยระบบ ICT
(D) มกี ารดาเนนิ การดงั นี้ สารวจ ตรวจสอบ ระบบ ICT ดาเนนิ การซ่อมบารงุ ระบบ ICT
คณะครูจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนโดยใช้ ICT และใช้หอ้ งเรยี น I-Classroom
(C) มีการประเมินผล ตรวจสอบเป็นระยะ ๆ โดยตรวจสอบแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี ดงั น้ี
1) ติดตามความก้าวหน้าประจาปี เป็นการติดตามความก้าวหน้าของตัวช้ีวัดในแต่ละกล
ยุทธ์ เพ่ือตรวจสอบถึงผลงานท่ีเกิดขึ้นจริง เปรียบเทียบกับเป้าหมายที่กาหนด อันจะนาไปสู่การทบทวน
ปรับปรงุ แกไ้ ขเป้าหมายและกลยุทธ์ใหม้ คี วามเหมาะสมต่อไป
2) กาหนดให้มีระบบการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการแผนพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาโรงเรียนวดั ควนชะลกิ ดังน้ี
2.1 มอบหมายหนา้ ทผี่ ู้รบั ผดิ ชอบ
2.2 จดั ทาคาสง่ั แต่งตั้งผูร้ บั ผิดชอบ
2.3 จดั ทาปฏิทนิ การปฏิบตั ิงานและการติดตามประเมนิ ผล
(A) สรุปผลการประเมินพัฒนา ดังน้ี สรุปผลการประเมินพัฒนา ดังน้ี ดาเนินการตามปฏิทิน
การปฏิบัติงานและการติดตามประเมินผล รายงานผลการปฏิบัติงานและการติดตามประเมินผล โดยแบ่งเป็น 3
ระยะ คือระยะที่ 1 ก่อนปฏบิ ัติกิจกรรม ระยะท่ี 2 รายงานผลการปฏบิ ัติงานและการตดิ ตามประเมนิ ผลระหว่าง
ปฏบิ ตั ิ ระยะท่ี 3 รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานและการติดตามประเมนิ ผลเม่ือดาเนินการเสร็จสน้ิ แลว้ นาข้อมูลท่ีได้
จากการรายงานทง้ั 3 ระยะ มาศึกษาวิเคราะห์ เพือ่ นาผลการศกึ ษาวิเคราะหด์ ังกล่าวไปพัฒนาการบริหารจัดการ
คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนให้ดีข้ึนต่อไป โรงเรียนใช้งบประมาณในการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาตามวตั ถุประสงค์ของงบประมาณจากแหล่งงบประมาณท่ีได้รับการจดั สรร
(A: accountability) มีการเผยแพร่ให้ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผู้ปกครอง
ผู้เก่ียวข้องรับทราบ ประชาสัมพันธ์ผ่านเพจโรงเรียนวัดควนชะลิก กลุ่มไลน์ประจาช้ันเรียน กิจกรรมประชุม
ผปู้ กครองนกั เรียน
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศกึ ษา 2564 หน้า 32
33
2.2.4. แผนกำรยกระดับคณุ ภำพใหส้ ูงข้นึ ในปตี อ่ ไป
2.1) การมเี ปา้ หมายวสิ ัยทัศน์และพนั ธกจิ ทีส่ ถานศึกษากาหนดชดั เจน
มกี ารประชุมระดมสมองกับทกุ ฝ่าย ได้แกผ่ ู้บรหิ าร ครู คณะกรรมการสถานศึกษา
ร่วมกัน จัดทาแผนปฏบิ ัติการประจาปี จัดโครงการเปิดบ้านวิชาการ การสรา้ งการมสี ่วนร่วม ระหวา่ ง ครู
นกั เรยี น และผ้ปู กครองนักเรียน
2.2) การมีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
โรงเรียนจัดโครงสร้างการบริหารโรงเรียน 4 ฝ่ายคือ ฝ่ายบริหารงานวิชาการ ฝ่าย
บริหารงานบุคล ฝ่ายบริหารงานงบประมาณ ฝ่ายบริหารงานทั่วไป จัดระบบประกันคุณภาพภายใน
สถานศกึ ษาทเี่ ข้มแข็ง ผ่านกระบวนการ PDCA
2.3) การดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา
และทกุ กลุม่ เปา้ หมาย
สง่ เสรมิ ให้ครูมแี ผนการจดั การเรยี นรู้ จัดโครงสร้างรายวิชาคาอธบิ ายรายวชิ าเกณฑ์การ
วัดและการประเมินผลของแต่ละวิชา ครูจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning โดยนกั เรียนมสี ว่ นรว่ ม มี
การนิเทศชนั้ เรยี นภาคเรียนละ 2 ครงั้ จดั กิจกรรมพฒั นาการวัดและการประเมินผล ดว้ ยโปรแกรม School
MIS
2.4) พัฒนาครูและบคุ ลากรให้มคี วามเชยี่ วชาญทางวชิ าชีพ
โรงเรียนจดั ทาโครงการอบรมพัฒนาครูและบุคลากรโดยเน้นให้ครูเข้าอบรม ทเ่ี กย่ี วข้องกับ
การพฒั นาตนเองและการเรยี นการสอน รวมทงั้ จดั อบรมโดยสถานศกึ ษา มีการจัดกิจกรรม PLC ในสถานศกึ ษา
เพ่ือการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนให้สูงขึ้น โดยจัดโครงการส่งเสริมสมรรถนะการวิจัยของผู้บริหารและ
ครผู ู้สอน
2.5) จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เออ้ื ต่อการเรียนรู้อยา่ งมีคุณภาพ
โรงเรียนจัดสภาพแวดล้อมได้ร่มรื่น น่าอยู่ ปลอดภัย มีมุมพักผ่อน มีสื่อเพื่อการเรียนรู้ จัด
แหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ได้แก่ จัดป้ายนิเทศ มุมประสบการณ์ มุมสื่อ ปรับปรุงอาคารเพ่ือ
เหมาะสมกับการทากิจกรรม จัดห้องเรียนห้องปฏิบัติการต่างๆให้เหมาะสมและปลอดภัยในการเรียนการสอน
ใหท้ นั สมัย โดยมีโครงการพัฒนาอาคารสถานทแี่ ละสิ่งแวดลอ้ มภูมทิ ัศนโ์ รงเรียน
2.6) จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบริหารจัดการและการเรยี นรู้
จัดวัสดุอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง เพ่ือเป็นแหล่งค้นหาความรู้ใน
ด้านจัดการเรียนการสอนเป็นสื่อในการเรียนการสอนให้กับเด็กอย่างสะดวกรวดเร็ว ระบบเทคโนโลยี DLIT,
NEW DLTV และห้องเรียน I-CLASSROOM โดยโรงเรียนได้ดาเนินการโครงการนิเทศภายในสถานศึกษา
โครงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โครงการพัฒนาอาคารสถานท่ีและสิ่งแวดล้อมภูมิทัศน์โรงเรียน
อาคารประกอบและส่ิงก่อสร้างอื่น โครงการพัฒนาบุคลากร จัดโครงการพัฒนาการวัดและการประเมินผล
ด้วยโปรแกรม School MIS การจัดทาข้อมูลสารสนเทศนักเรียนรายบุคคลแบบอิเล็กทรอนิกส์ การใช้ QR
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศกึ ษา 2564 หนา้ 33
34
code ตรวจสอบรายช่ือนักเรียนประจาวันร่วมกับ Google Apps for Education การใช้ QR code รายงาน
ผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครู
2.2.5. จดุ เด่น (ผลผลติ ดา้ นกระบวนการบริหารจดั การ) เชน่
1. โรงเรยี นมีแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาท่ีเป็นแบบอย่างใหโ้ รงเรยี นอืน่ ได้
2. โรงเรียนมีแผนปฏบิ ตั ิการประจาปีในการบริหารงานท้ัง 4 ฝ่าย
3. มีข้อระเบยี บกฎหมายเป็นแบบในการบรหิ ารจัดการความโปรง่ ใส ตรวจสอบได้
4. มกี ารรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านให้คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานทราบ
5. โรงเรยี นมแี หลง่ เรยี นรูภ้ ายในท่เี อ้ือตอ่ การเรยี นรู้ของผเู้ รียน เชน่ แหล่งเรยี นรเู้ ศรษฐกจิ
พอเพียง
6. มีครูครบ 5 กลุ่มสาระหลัก
7. ผู้บรหิ ารบรหิ ารงานโดยใช้หลกั ธรรมาภิบาล
2.2.6. จดุ ควรพฒั นำ (ผลผลิตด้านการบริหารจัดการ) เชน่
1. โครงการบริหารงาน 4 ฝ่ายจะต้องมีการใชร้ ะบบ PDCA มาตรวจสอบอย่างต่อเน่ือง
2. ตอ้ งจดั ทาแผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น RT , NT , O-NET และการอา่ นออก
เขียนได้
รายงานการประเมนิ ตนเอง ปีการศึกษา 2564 หน้า 34
35
2.3 มำตรฐำนที่ 3 กระบวนกำรเรยี นกำรสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั
2.3.1. ผลกำรประเมินมำตรฐำนท่ี 3 กระบวนกำรเรียนกำรสอนท่เี น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั อยใู่ นระดับ
ยอดเย่ียม
ประเดน็ พจิ ำรณำ ผลกำร เปำ้ หมำย สูง/ตำ่
ประเมิน กวำ่
3.1 จดั การเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ ริง และสามารถนาไป ระดบั ระดบั เปำ้ หมำย
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตได้ คุณภำพ คณุ ภำพ
ยอดเยย่ี ม ยอดเยีย่ ม เท่ากนั
3.2 ใชส้ ่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ท่เี อ้ือต่อการเรียนรู้ (ระดบั 5) (ระดบั 5)
ยอดเย่ยี ม ยอดเยยี่ ม เท่ากนั
3.3 มกี ารบรหิ ารจัดการชั้นเรยี นเชงิ บวก (ระดับ 5) (ระดับ 5)
ยอดเยีย่ ม ยอดเยี่ยม เทา่ กัน
3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพัฒนา (ระดบั 5) (ระดับ5) เทา่ กัน
ผ้เู รียน ยอดเย่ยี ม ยอดเย่ียม
3.5 มีการแลกเปล่ยี นเรียนรู้และใหข้ ้อมลู สะท้อนกลบั เพ่ือพัฒนาและ (ระดับ 5) (ระดบั 5) เทา่ กนั
ปรบั ปรงุ การจัดการเรียนรู้ ยอดเยีย่ ม ยอดเยยี่ ม
(ระดบั 5) (ระดับ 5) บรรลุ
สรปุ ผลกำรประเมินมำตรฐำนท่ี 3 ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม
2.3.2. เอกสำร หลักฐำนเชงิ ประจกั ษ์ท่สี นบั สนุน
3.1) การจัดการเรียนรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ได้
ผลการประเมินจัดการเรียนร้ผู ่านกระบวนการคดิ และปฏิบัติจรงิ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้
ในชีวติ ได้ อยใู่ นระดับยอดเย่ียม (5) โดยครูทกุ คนการจดั การเรยี นรแู้ บบ Active Learning ฝกึ ทกั ษะวชิ าการ
ทกั ษะชีวติ และอาชพี เนน้ การปฏิบัติจรงิ เชน่ กจิ กรรมการเลย้ี งปลา กจิ กรรมการทาปุย๋ หมกั ชีวภาพ กิจกรรม
แปรรูปอาหาร กิจกรรมการทาน้ายาล้างจาน กิจกรรมเพาะเห็ดนางฟ้า กิจกรรมการปลูกมะพร้าวน้าหอม
กจิ กรรมการปลกู กล้วยน้าวา้ ฯลฯ
3.2) ใชส้ ่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ท่ีเอือ้ ตอ่ การเรยี นรู้
ผลการประเมินการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ อยู่ใน
ระดับยอดเยี่ยม (5) โดยครูทุกคนจัดกิจกรรมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ มีการผลิตและใชส้ ่ือ DLTV / NEW DLTV,
DLIT ในการจดั การเรยี นการสอน มีการใช้โปรแกรม Google Meet ในการเรยี นการสอนผา่ นระบบ Online
และการวดั และประเมนิ ผลผา่ นระบบ Google Form
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศกึ ษา 2564 หน้า 35
36
กจิ กรรมศึกษาแหลง่ เรียนร้นู อกสถานท่ีและจัดแหลง่ เรียนรทู้ ่ีเอ้ือต่อการเรยี น เช่น บา้ นหนังสือชุมชนควนชะลิก
ห้องเรียน I-CLASSROOM โรงปุ๋ยหมัก บ่อเล้ียงปลา เรือนเพาะเห็ด สวนมะพร้าวน้าหอม โรงน้า RO ศูนย์
วัฒนธรรมเฉลิมราชควนชะลิก ศนู ย์ผ้าปกั ควนชะลกิ
3.3) มกี ารบริหารจัดการชนั้ เรียนเชงิ บวก
ผลการประเมินการบริการจัดการชั้นเรียนเชงิ บวก อยู่ในระดับยอดเยี่ยม (5) โดยครูทุกคนจัด
กิจกรรมการสรา้ งการมีส่วนรว่ มในการจดั การเรียนรรู้ ว่ มกับนักเรียน ร่วมสร้างกฎกตกิ าข้อตกลงในชั้นเรยี น/เวร
ประจาวนั มีการพูดยกย่องชมเชยนา่ เสาธง มุมนาเสนอผลงานทภ่ี าคภมู ใิ จของนักเรยี น
3.4) ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพัฒนาผูเ้ รียน
ผลการประเมินตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอยา่ งเป็นระบบ และนาผลมาพฒั นาผเู้ รยี น อยู่ใน
ระดับยอดเย่ียม (5) โดยครูทุกคนศึกษานักเรยี นเปน็ รายบุคคลใช้การวดั ประเมินผลแบบบรู ณาการท่ี
หลากหลาย มคี มู่ ือวดั และประเมนิ ผล มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงและกาหนดผลคะแนนที่ชัดเจน มี
การวิเคราะห์ผลการทดสอบระดบั ชาติ O-NET และ NT จัดการทา ปพ. 5 วัดและประเมนิ นักเรียนชดั เจน
ตลอดปกี ารศึกษา ท้งั ระบบ Online และการวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนด้วยแบบทดสอบ มกี ารตรวจสอบ
และประเมินผเู้ รยี น และนาผลการวัดการประเมนิ มาพัฒนาผู้เรยี น จัดทาวจิ ยั เพือ่ พัฒนาผู้เรยี นตอ่ ไป
3.5 มกี ารแลกเปลย่ี นเรียนรู้และให้ข้อมลู สะทอ้ นกลับเพ่ือพฒั นาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
ผลการประเมินมีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และใช้ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและปรับปรุงการ
จัดการเรียนรู้ อยู่ในระดับยอดเยี่ยม (5) โดยมีการประชุมครูทุกคนเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดทาโครงงาน
ส่งเสริมทักษะศิลปะเพื่อพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมสรุปข้อมูลสะท้อนกลับท้ายชั่วโมง กิจกรรม PLC ทุกวันอังคาร
และการจัดทาวจิ ัยเพ่อื พัฒนาการเรียนรู้
เอกสำร หลักฐำนเชงิ ประจักษ์ท่ีสนับสนุน มำตรฐำนท่ี 3 กระบวนกำรเรยี นกำรสอนท่เี น้น
ผู้เรียนเปน็ สำคญั ได้แก่
1. รายงานโครงการพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นและนานักเรยี นแข่งขนั ทกั ษะทางวชิ าการ
2. ภาพถ่ายการ Open Class
3. ทะเบยี นสือ่
4. ปพ.5
5. เกียรตบิ ัตร
6. ผลการทดสอบระดบั ชาติ O-NET และ NT
7. แผนการจัดการเรียนรู้
8. แบบบนั ทกึ การนเิ ทศ
รายงานการประเมนิ ตนเอง ปีการศกึ ษา 2564 หนา้ 36
37
2.3.3. กำรดำเนนิ งำนในปีทผ่ี ำ่ นมำ
3.1) การจดั การเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจรงิ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ได้
(P) สถานศึกษาไดส้ ่งเสริมการจัดการเรยี นรู้ทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั โดยจัดทาโครงการพฒั นา
ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นและนานกั เรียนแขง่ ขนั ทักษะทางวชิ าการ ไดส้ นบั สนุนงบประมาณประจาปีการศึกษา
2564
(D) ครูดาเนินการจัดการเรียนรู้ ครูจัดการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ (Active Learning) ให้
ผู้เรียนผ่านกระบวนการคิด ปฏิบัติจริง เพื่อนาไปสู่การเรียนรู้ท่ีลึกซึ้งและคงทน ตามมาตรฐานและตัวช้ีวัดของ
หลักสูตรสถานศึกษา ให้นักเรียนมีส่วนร่วม ครูรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล โรงเรียนส่งเสริมให้ครูจัด
กระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ทั้งระบบ Online และการเรียนการสอนปกติที่โรงเรียน
โดยการดาเนิน/กจิ กรรมอย่างหลากหลาย
(C) ครปู ระเมินผลผู้เรยี น ครไู ด้สรุปผลรายหนว่ ย สรุปผลรายภาคเรียน สรุปผลรายปี วัดผลด้วย
วิธีการแบบบูรณาการที่หลากหลาย ตามสภาพจริงและกาหนดผลคะแนนท่ีชัดเจน จัดการทา ปพ. 5
และวัดผลทั้งระบบ Online และการวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นด้วยแบบทดสอบ
(A) ครูรายงานผลการจัดการเรียนรู้ และรายงานผลการสอนที่เนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญตาม รายงาน
ผลการประเมินผู้เรียน ปพ.5 ให้หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ หัวหน้าฝ่ายบริหารงานวิชาการและผู้อานวยการ
โรงเรยี น ตลอดปีการศกึ ษาและสง่ รายงานวิจัยภาคเรยี นละ 1 ครัง้
(A: accountability) ประชาสัมพันธ์สู่สาธารณะชน ผ่าน Page โรงเรียนวัดควนชะลิก line
Group ของแต่ละชั้นเรียน รายงานผลไปยังผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา นาความคิดเห็นมาปรับปรุงให้เกดิ
ประสิทธิผล
3.2) ใชส้ อื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นร้ทู เ่ี อ้ือต่อการเรยี นรู้
(P) สถานศกึ ษาไดส้ ง่ เสริมการจัดการเรยี นรู้ใหค้ รูใชส้ อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้
ที่เอ้ือต่อการเรยี นรู้ โดยจดั ทาโครงการการจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ ICT ได้สนับสนุนงบประมาณ
ประจาปีการศึกษา 2564
(D) ครูใชส้ อื่ การเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น แหลง่ เรยี นรู้ท้งั ใน
และนอก เช่น ใช้สื่อ DLTV / NEW DLTV, DLIT ในการจัดการเรียนการสอน มีการใช้โปรแกรม Google
Meet ในการเรียนการสอนผา่ นระบบ Online และการวดั และประเมินผลผา่ นระบบ Google Form
ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง มีการประเมินคุณภาพและ
ประสทิ ธิภาพของสื่อการสอนท่ใี ช้
(C) ครูมีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของส่ือการสอนท่ีใช้ และประเมินการใชส้ ่ือการ
เรียนการสอนของครู
(A) ครูจัดทาแบบบันทึกการผลการใช้สื่อการเรียนการสอนและบันทึกการใช้แหล่งเรียนรู้
รายงานหวั หนา้ ฝา่ ยบริหารงานวชิ าการและผอู้ านวยการโรงเรยี นผู้บริหารทราบ
รายงานการประเมนิ ตนเอง ปีการศึกษา 2564 หนา้ 37
38
(A: accountability) ประชาสัมพันธ์สู่สาธารณะชน ผ่าน Page โรงเรียนวัดควนชะลิก line
Group ของแต่ละช้ันเรียน รายงานผลไปยังผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา นาความคิดเห็นมาปรับปรุงให้เกิด
ประสิทธิผล
3.3) มกี ารบรหิ ารจัดการช้ันเรียนเชิงบวก
(P) สถานศึกษาได้สง่ เสริมให้ครมู ีการบริหารจัดการชั้นเรยี นเชิงบวก ให้เด็กรักการเรียนรู้และ
เรียนรรู้ ว่ มกนั อยา่ งมีความสุข โดยจดั ทาโครงการพฒั นาพัฒนาอาคารสถานทแี่ ละสง่ิ แวดลอ้ มภูมิทัศน์โรงเรยี น
โครงการศึกษาแหล่งเรียนรู้ ได้สนบั สนุนงบประมาณประจาปกี ารศึกษา 2564
(D) ครูจัดชัน้ เรียนทสี่ ่งเสริม ให้เด็กรกั การเรยี นรู้และเรยี นรูร้ ่วมกันอย่างมีความสุข ท้งั ในระบบ
Online และการสอนปกติที่โรงเรียน ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนาข้อมูลมาร่วมพัฒนาปรับปรุงการจัดการ
เรียนร้แู ละสอนตามแผน เช่น มีมุมหนังสือ มมุ แสดงผลงานนักเรยี น มมุ เสนอผลงาน ฯลฯ
(C) ครูมีการนิเทศภายในโดยการเยี่ยมชั้นเรียน สังเกตการสอน การจัดบรรยากาศในช้ันเรยี น
ให้มีมุมหนงั สอื มุมแสดงผลงานนักเรียน มุมเสนอผลงาน
(A) ครูมีการประชมุ เพื่อแลกเปลย่ี นเรียนรู้ กิจกรรมสรุปข้อมลู สะท้อนกลบั ทา้ ยชั่วโมง กิจกรรม
PLC ทุกวนั องั คาร รายงานหวั หนา้ ฝ่ายบริหารงานวชิ าการและผูอ้ านวยการโรงเรยี นทราบ
(A: accountability) ประชาสัมพันธ์สู่สาธารณะชน ผ่าน Page โรงเรียนวัดควนชะลิก line
Group ของแต่ละช้ันเรียน รายงานผลไปยังผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา นาความคิดเห็นมาปรับปรุงให้เกิด
ประสิทธิผล
3.4) ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพฒั นาผู้เรยี น
(P) สถานศึกษาไดส้ ง่ เสรมิ ให้ครดู าเนินการตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอย่างเปน็ ระบบ โดย
จดั ทาโครงการพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นและนานักเรียนแข่งขนั ทกั ษะทางวชิ าการ โครงการพัฒนาระบบ
ดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น โครงการการจดั การเรียนการสอนด้วยระบบ ICT ไดส้ นับสนนุ งบประมาณประจาปี
การศกึ ษา 2564
(D) ครูมกี ารจัดทาแบบวดั และประเมินผล ผู้เรียนแบบบูรณาการโดยใช้วิธกี ารท่ีหลากหลาย
มกี ารวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ทง้ั ระบบ Online และการวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนด้วย
แบบทดสอบ แบบสังเกต และการสรา้ งช้ินงาน
(C) ครตู รวจสอบและประเมนิ ผ้เู รียน โดยใช้แบบบันทึกผลการพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี นตามตวั ชี้วัด
แบบทดสอบ เม่ือจบหน่วยการเรียนรู้ สิ้นภาคเรียน และปลายปี รายงานครูประจาช้ัน ฝ่ายบริหารวิชาการ
และผู้อานวยการสถานศกึ ษา
(A) ครูมีการประชุมเพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู้ ด้านการวัดและประเมินผล สรุปข้อมูลสะท้อนกลับ
จดั กิจกรรม PLC ทกุ วนั อังคาร รายงานหวั หน้าฝา่ ยบริหารงานวชิ าการและผู้อานวยการโรงเรียนทราบ
(A: accountability) ประชาสัมพันธ์สู่สาธารณะชนโดยการประชุมผู้ปกครอง แจ้งผลการเรียน
ผ่าน line Group ของแต่ละช้นั เรียน และแจกเอกสารรายงานผลการพัฒนาผ้เู รยี นรายบุคคล
รายงานการประเมนิ ตนเอง ปีการศกึ ษา 2564 หนา้ 38
39
3.5 มีการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลบั เพื่อพัฒนาและปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู้
(P) สถานศกึ ษาได้ส่งเสรมิ ให้ครมู กี ารแลกเปลย่ี นเรยี นร้แู ละใหข้ ้อมลู สะท้อนกลบั เพื่อพัฒนาและ
ปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นรู้ โดยจัดทาโครงกานิเทศภายใน โครงการพัฒนาบุคลากร โครงการพัฒนาระบบ
ดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี น ไดส้ นับสนนุ งบประมาณประจาปีการศกึ ษา 2564
(D) ครมู กี ารประชมุ ทุกคนเพ่ือแลกเปล่ยี นเรยี นรู้การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน เพอื่ วิพากษ์
และให้ข้อเสนอแนะปัญหาท่เี กดิ ข้ึน โดยจดั กิจกรรม PLC ทกุ วันองั คาร และนาผลไปพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
2.3.4. แผนกำรยกระดับคุณภำพให้สงู ขึ้น ในปีต่อไป
3.1) การจดั การเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏิบัตจิ ริง และสามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตได้
โรงเรียนสง่ เสรมิ ให้ครจู ดั การเรียนการสอนเนน้ การปฏิบตั ิ (Active Learning) ใหผ้ เู้ รยี นผา่ น
กระบวนการคดิ ปฏบิ ตั จิ รงิ เพ่อื นาไปสู่การเรียนรู้ท่ลี ึกซึ้งและคงทน ตามมาตรฐานและตัวชวี้ ัดของหลักสูตร
สถานศึกษา ใหน้ ักเรียนมีสว่ นรว่ ม ครรู ู้จกั นักเรียนเป็นรายบคุ คล โรงเรียนส่งเสรมิ ให้ครูจัดกระบวนการเรยี น
การสอนทเ่ี นน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคัญอย่างหลากหลาย โดยจดั กจิ กรรมตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ
ทางโรงเรยี นไดท้ า MOU กบั วิทยาลัยการอาชพี หัวไทร โดยมบี ุคลากรจากวทิ ยาลัยการอาชพี มาจัดการเรียนรู้
ดา้ นทักษะอาชีพ
3.2) ใช้สอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ท่ีเอ้อื ต่อการเรยี นรู้
โรงเรียนส่งเสริมอบรมให้ครูใช้สื่อการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี เช่น การตัดต่อ
วิดีโอ และใช้ภูมิปัญญาท้องถ่ิน แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอก ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนเกิด
การเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง มีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของส่ือการสอนท่ีใช้ ปีต่อไปจะทา
โครงการการจดั การเรียนการสอนด้วยระบบ ICT
3.3) มกี ารบรหิ ารจดั การช้ันเรียนเชงิ บวก
โรงเรียนส่งเสริมให้ครูเสริมแรงเชิงบวกให้การจัดการเรียนการสอน เช่น ยกย่อง ชมเชย
ประกาศหน้าเสาธง ให้รางวลั ฯลฯ
3.4) ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพฒั นาผเู้ รยี น
โรงเรยี นสง่ เสริมให้ครสู ร้างเคร่อื งมอื และนวัตกรรม ประเมินผ้เู รียนตามความแตกตา่ งระหว่าง
บุคคลและพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรยี น
4.5 มีการแลกเปล่ยี นเรียนรแู้ ละใหข้ อ้ มลู สะทอ้ นกลบั เพ่ือพัฒนาและปรับปรงุ การจดั การเรียนรู้
โรงเรยี นส่งเสรมิ ใหค้ รูแลกเปล่ียนเรยี นรู้ทางวิชาชีพ PLC มาพฒั นาการเรียนการสอนและมุ่ง
ผลสมั ฤทธ์ิของผู้เรียน ปีต่อไปจะทาโครงการพฒั นาบุคลากร โครงการศึกษาแหลง่ เรยี นรทู้ งั้ ภายในและ
ภายนอก
รายงานการประเมนิ ตนเอง ปีการศึกษา 2564 หนา้ 39
40
2.3.5. จดุ เด่น (ผลผลติ ดา้ นการจดั การเรยี นรู้) เช่น
1. ครูได้ส่งประเมนิ วทิ ยฐานะ ครมู ีนวตั กรรมการจัดการเรียนรู้
2. ครูผู้ชว่ ยผ่านการประเมนิ การเตรยี มความพรอ้ มและพัฒนาอยา่ งเข้ม
. 3. ครูมนี วตั กรรมการจัดการเรยี นรทู้ ี่เอ้อื ต่อการเรยี นรู้ใหก้ ับนกั เรยี น
4. ครูไดแ้ ลกเปลยี่ นองค์ความรู้ ท้ังภายในและภายนอกสถานศกึ ษา
5. ครูทกุ คนมคี วามรู้ทางด้านเทคโนโลยแี ละสามารถเผยแพร่องค์ความรแู้ ก่บุคคลภายนอก
2.3.6. จุดควรพัฒนำ (ผลผลิตดา้ นการบรหิ ารจดั การ) เชน่
1. ครคู วรพัฒนาสอ่ื และนวตั กรรมอย่างหลากหลาย
2. ครูจัดทาวิจัยในช้ันเรียน
ผลกำรพฒั นำตำมจดุ เน้น เรื่อง กำรอำ่ นออก เขียนได้
2.3.4. กำรดำเนินงำนในปที ีผ่ ำ่ นมำ
(P) สถำนศึกษำได้พัฒนำจุดเน้นเร่อื งกำรอำ่ นออกเขียนได้ โดยจดั ทาโครงการอ่านออก เขียน
ได.้ ไดส้ นบั สนนุ งบประมาณ จานวน 5,000 บาท
(D) ครู ดำเนินกำร โดยคัดกรองนักเรียนเป็นรายบุคคล จัดกิจกรรมการอ่านส่งเสริมความรู้
หน้าเสาธงตอนเช้า กิจกรรมเขียนคาพื้นฐาน กิจกรรมบันทึกการเรียนรู้ กิจกรรมสอนซ่อมเสริม กิจกรรมการ
สอบอ่าน-เขียนตามระดบั ช้ันเรยี น
ผู้บริหำรสถำนศึกษำ ดำเนินกำร ส่งเสริม สนับสนุน ช้ีแนะ ตรวจสอบ สร้างขวัญและ
กาลงั ใจ ให้ครูดาเนินกิจกรรมตามแผนทวี่ างไว้
(C) ครู ดำเนินกำร สร้างแบบวัดและประเมินผล และดาเนินการวัดผลในแต่ละกิจกรรมอย่าง
ตอ่ เน่อื ง
ผู้บริหำรสถำนศึกษำ ดำเนินกำร ตรวจสอบผลการประเมินกิจกรรมบรรลุเป้าหมายและ
เปน็ ไปตามวตั ถุประสงคท์ ีว่ างไวห้ รอื ไม่
ผลกำรประเมินบรรลุเป้ำหมำยที่วำงไว้ โดยนักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน
การส่อื สารและการคดิ คานวณ จากการวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน รอ้ ยละ 90.45 ซง่ึ สงู กวา่ เปา้ หมายท่ตี ้ังไว้
แตผ่ ลการทดสอบ RT และ NT ยงั ตา่ กว่าปีการศึกษา 2563
(A) ครู ดำเนินกำร นาผลการประเมินมาวิเคราะห์และเปรียบเทียบก่อนและหลังวัดและ
ประเมินผล เพ่ือมาใชใ้ นการพฒั นาโครงการตอ่ ไป
ผู้บริหำรสถำนศึกษำ ดำเนินกำร สนับสนุนให้ดาเนินโครงการเพ่ือพัฒนาการอ่านออก
เขยี นได้ต่อไป
รายงานการประเมนิ ตนเอง ปีการศึกษา 2564 หน้า 40
41
ปรับปรุงแก้ไข หรือ พัฒนา ต่อไปโดยการจัดทาโครงการอ่านออกเขียนได้ ในปีการศึกษา 2565
อย่างต่อเนื่อง คดั กรองนักเรียนรายบุคคล และจัดกิจกรรมสอนซ่อมเสรมิ อยา่ งเขม้ ข้นมากข้ึน
(A: accountability) ประชาสัมพันธ์สู่สาธารณะชน เผยแพร่ โดยสรุปรายงานผลการ
พฒั นาผเู้ รียนรายบุคคล แจง้ ผปู้ กครอง ต้นสงั กดั นาขอ้ เสนอแนะมาปรับปรงุ พฒั นาในครัง้ ตอ่ ไป
รายงานการประเมนิ ตนเอง ปีการศึกษา 2564 หน้า 41
42
สว่ นท่ี 3 เกยี รตบิ ตั รและรำงวัลท่ีไดร้ บั
1. เกียรตบิ ตั รและรำงวัลท่ผี ู้บริหำรและโรงเรียนได้รบั ในรอบปที ่ีผ่ำนมำ
ท่ี ชอ่ื /กิจกรรม รำงวัล/เกยี รตบิ ัตรที่ หน่วยงำนทมี่ อบ หมำยเหตุ
ไดร้ ับ
เกียรติบตั รทโ่ี รงเรียนได้รับ
1 โรงเรยี นวดั ควนชะลกิ ได้รับการประกนั คุณภาพ เกยี รติบตั ร สานักงานรับรอง (สมศ)
ภายนอก (พ.ศ.2564 - 2568) จากสานักงาน มาตรฐานและ
รบั รองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา ประเมนิ คุณภาพ
(องค์การมหาชน) การศึกษาปฐมวัยและระดบั การศึกษา (องค์การ
การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ตัง้ แต่วันที่ 27 สิงหาคม มหาชน)
2564
เกียรตบิ ตั รทผ่ี บู้ ริหำรไดร้ ับ
นางสทุ ธิรา สมเนยี ม คาสัง่ กศจ. สานกั งานศึกษาธิการ
- เลือ่ นเปน็ วิทยฐานะชานาญการพเิ ศษ ที่ 163/2565 จงั หวัด
เรอ่ื ง การให้ข้าราชการ นครศรีธรรมราช
ครแู ละบคุ ลากร
ทางการศกึ ษาเลือ่ น
เปน็ วิทยฐานะชานาญ
การพเิ ศษ
2. เกียรติบัตรและรำงวลั ท่คี รไู ด้รบั ในรอบปีที่ผำ่ นมำ
ช่ือ – สกลุ รำงวัลเกยี รติบตั รระดับ/ เกียรติ วัน เดอื น ปี จำกหน่วยงำน
ท่ี บตั ร
1. นางสุดา น่นุ ชคู นั เป็นผวู้ ิจัยและพัฒนาทเ่ี ขา้ รว่ มการ 15 ก.ค. 64 สานกั งานคณะกรรมการ
ส่งนวตั กรรมสรา้ งสรรค์คนดี การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
โครงการโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ที่
ผ่านเกณฑ์การพจิ ารณา
ระดบั ประเทศ ดา้ นการจัดการ
เรียนการสอนเพอ่ื ส่งเสรมิ คณุ ธรรม
2. นางสาวจติ ราภรณ์ พษิ พันธ์ ครูดศี รีหัวไทร 16 ม.ค.65 สมาคมผู้บริหารอาเภอหัวไทร
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2564 หน้า 42
43
3. สรปุ กำรดำเนนิ งำนทโี่ ดดเดน่ /ตำมจุดเนน้ ระดับขั้นพืน้ ฐำน
ควำมโดดเดน่ /จุดเนน้ ของกำรจดั กำรศกึ ษำข้ันพ้ืนฐำนของโรงเรยี น คือ การจัดกจิ กรรมลดเวลา
เรียน เพ่ิมเวลารู้ ผา่ นกจิ กรรมตลาดนัดนกั เรียน ผู้เรียนมเี จตคติทด่ี ีต่องานอาชพี กำรปฏิบตั ทิ ่ีดีระดับ
กำรศกึ ษำขน้ั พนื้ ฐำนของโรงเรียน คอื การจดั กิจกรรมตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอพียง
4. สรปุ พอสังเขปกำรปฏบิ ัตทิ ีด่ ี (Best Practice)
ชื่อผลงาน การพฒั นาระบบการบรหิ ารงานตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยใช้รูปแบบ
KUANCHALIK Model
ความเป็นมาและความสาคญั ของนวตั กรรม การพัฒนาเทคโนโลยแี ละข้อมลู ขา่ วสารในยุคโลกาภวิ ตั น์
(Globalization) ก่อให้เกิดการแพร่กระจายวฒั นธรรมที่รวดเรว็ และรนุ แรง ส่งผลต่อการเปล่ยี นแปลงวถิ กี าร
ดาเนินชีวติ สภาพเศรษฐกิจ สภาพสังคม และสภาพแวดลอ้ มของสงั คมไทย ผลักดันให้รบั ค่านิยมและ
วฒั นธรรมใหม่ และปฏิเสธคา่ นยิ มด้ังเดมิ (ทศิ ทางการพัฒนาประเทศในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๑๑ พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) การปฏริ ปู การศกึ ษาจะตอ้ งสนองตอบ การพัฒนา จึงตอ้ งเร่ิม
จาก พฒั นาคนดว้ ยการศึกษา ควบคู่กับคุณธรรมความดีงาม โดยอาศยั กลไกทางการศกึ ษาเปน็ เครื่องมือใน
การบริหารจดั การการศึกษา ในสถานศกึ ษา โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พ่ือปลูกฝงั ป้องกันเสรมิ สรา้ งให้ ทุกโรงเรยี นจดั
กระบวนการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ให้นักเรยี นตระหนักรเู้ ขา้ ใจ ซึมซับคณุ ค่าความดี ตามแนวทางหลกั ปรชั ญา
เศรษฐกิจพอเพยี ง โรงเรยี นวดั ควนชะลกิ จงึ ตระหนกั ถึงความสาคญั ในการพัฒนาสถานศึกษาไดด้ าเนินการตาม
นโยบายดงั กลา่ วจึงได้พัฒนานวัตกรรมโดยมีวตั ถปุ ระสงค์ เพื่อพัฒนาโรงเรยี น ตามแนวทางหลกั ปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพยี ง ที่มีชอ่ื วา่ การบริหารโรงเรียนแบบ KUANCHALIK Model ข้นึ นาไปส่กู ารพฒั นาโรงเรยี น
ทงั้ ระบบ อยา่ งยง่ั ยืนต่อไป
วัตถุประสงค์
- เพ่อื พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การโรงเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งโดยใช้การ
บรหิ ารงานแบบ KUANCHALIK Model
- เพ่อื พัฒนาสถานศกึ ษาให้เปน็ สถานศึกษาพอเพียง และเป็นแบบอย่างท่ีดขี องชุมชน
- เพอ่ื ศกึ ษาความพึงพอใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่มตี ่อการบริหารจัดการโรงเรยี นตามขน้ั ตอนท่ี
เรยี กว่า KUANCHALIK Model
กระบวนการและลาดับขั้นตอนการดาเนินกิจกรรมพัฒนาแผนภูมิ(Model) ของ Best Practice
1. การบรหิ ารจดั การโรงเรียนตามข้ันตอนทเ่ี รียกว่า KUANCHALIK Model มลี าดบั
ขั้นตอนการดาเนินกจิ กรรมพัฒนา โดยใช้กระบวนการ PDCA ทกุ ขัน้ ตอนดังน้ี
Knowledge ส่งเสริมความร้เู พอื่ การศึกษา
- พัฒนาทีมงานบุคลากร เพื่อเตรียมความพร้อมในการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงในสถานศึกษา โดยส่งเสริมให้บุคลากรเข้ารับการอบรม ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆอย่าง
หลากหลาย
รายงานการประเมนิ ตนเอง ปีการศึกษา 2564 หนา้ 43
44
Unit Management การบริหารโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐาน เพ่อื ให้เกิดการพัฒนาทุกๆ ดา้ น คอื การยึด
หลักคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความโปรง่ ใส ในการบรหิ ารสถานศึกษา
- มงุ่ เน้นการมสี ่วนรว่ มของบุคลากรในองค์กร ประกอบด้วย ผ้บู ริหาร คณะครู คณะกรรมการ
สถานศึกษา นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน โดยร่วมคิด ร่วมทา ร่วมพัฒนา แก้ปัญหา และร่วมกันช่ืนชม
ผลสาเรจ็
Attitude บคุ ลากรในองค์กรมเี จตคตทิ ด่ี ีต่อองค์กร
- เสริมสร้างบุคลากรให้มีความรู้สึกที่ดีในการดาเนินงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง เพ่ือให้เกิดความรักความสามัคคีในหมู่คณะ รักองค์กร มีความเสียสละ โดยเน้น ให้ทุกคนมีความรู้ คู่
คุณธรรม
Nice Plan ร่วมกันวางแผนในการดาเนินงานอยา่ งรอบคอบ
- สง่ เสรมิ ให้บุคลากรแลกเปล่ยี นเรยี นรู้การดาเนินงานตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
โดยใชก้ ระบวนการ PLC
Competency ทางานเป็นทมี ด้วยระบบคณุ ภาพ PDCA
- ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้บคุ ลากรปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดยใช้วงจรคุณภาพ PDCA ทุกข้นั ตอนในการดาเนินงาน
Head and Heart มุ่งมนั่ ทาดว้ ยใจ
- สร้างความตระหนักให้กับบุคลากรเหน็ ความสาคัญของการดาเนนิ งานตามหลัก ปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง ดาเนินงานด้วยความเต็มใจ ม่งุ ม่ัน เพ่อื ใหเ้ กิดความสาเร็จ
Action กระบวนการปรบั ปรุงแก้ไขในสว่ นท่ีเปน็ ปัญหา เพ่อื พฒั นาต่อยอดต่อไป
- ประชุมบุคลากรในการติดตามกระบวนการดาเนินงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง แก้ไขปญั หาในสว่ นที่ตอ้ งปรับปรงุ เพอ่ื ให้การดาเนินงานทีมปี ระสทิ ธภิ าพและเกิดประสทิ ธิผล
Leadership ผู้บรหิ ารมภี าวะผูน้ า สามารถนาองค์กรไปสูเ่ ป้าหมาย ทันต่อสถานการณโ์ ลก
- ผ้บู รหิ ารมีวสิ ยั ทศั นท์ ี่กว้างไกล เป็นผู้นาการเปลยี่ นแปลง สามารถนาพาทีมงานไปสู่
เป้าหมายการดาเนินงานให้ประสบความสาเรจ็ เปน็ ที่ยอมรับขององค์กร ชมุ ชนและสังคม
Initiative ความคิดรเิ ริ่มใหม่ๆ
- ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหบ้ ุคลากรมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดนอกกรอบ เพ่ือให้ไดแ้ นวคิด
แปลกใหม่ที่เป็นประโยชน์มาใชใ้ นการพัฒนางาน
Know your students ร้จู กั ผู้เรียนเป็นรายบคุ คล
- สง่ เสรมิ ให้บคุ ลากรในองค์กร วเิ คราะห์ผู้เรียนในดา้ นทักษะการทางานเป็นรายบุคคล เพื่อการ
ประกอบอาชีพทน่ี าหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใช้ในการดาเนินชวี ิต
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศกึ ษา 2564 หนา้ 44
45
2. แผนภมู ิ(Model) ของ Best Practice
ปจั จยั ความสาเร็จ
-คณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนวัดควนชะลิก ผู้ปกครองและชมุ ชน
-สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 3
-องค์การบรหิ ารส่วนตาบลควนชะลิก
บรษิ ัทไทยเบฟเวอเรจ จากดั
การเผยแพร/่ การได้รบั การยอมรบั /รางวลั ท่ไี ด้
- ได้รับการประเมนิ ระดับชาติใหเ้ ป็นสถานศึกษาพอเพียง ปีการศึกษา 2564
- การศึกษาดูงานของโรงเรียนวัดบา้ นราม
- ผบู้ ริหารไดร้ บั การเล่ือนวทิ ยฐานะเปน็ ผู้อานวยการชานาญการพิเศษ
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศกึ ษา 2564 หน้า 45
46
5. สรปุ พอสงั เขปนวัตกรรม (Innovation) ของสถำนศกึ ษำ (ดำ้ นสถำนศกึ ษำ ด้ำนบรหิ ำร
ด้ำนครู ด้ำนผ้เู รียน ด้ำนกำรจดั กำรเรยี นรู้ ฯลฯ)
ชือ่ ผลงาน อ่านเขียนเรียนแบบวงล้อพาสนุก
เจา้ ของผลงาน นางชนาพร โชคถนอมจิตต์
ความเปน็ มา การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ในรายวิชาภาษาไทย ระดับประถมศึกษาปที ่ี 1 ครูจะต้อง
จัดการเรียนการสอนใหผ้ ู้เรยี นมีพ้นื ฐานดา้ นสาระภาษาไทย โดยนักเรียนจะตอ้ งอ่านออกเขยี นไดต้ ามศักยภาพ
หากนกั เรยี นมีความเข้าใจในพน้ื ฐานดา้ นภาษาไทยเมื่อนกั เรยี นเล่ือนระดบั ไปในระดบั การศึกษาทีส่ ูงกวา่ จะทา
ให้นักเรียนมีทักษะทางภาษาไทยและเข้าใจวธิ ีการทีจ่ ะทาใหต้ นเองอ่านออกเขยี นได้
จากการจัดกจิ กรรมการเรียนรนู้ ักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 พบวา่ นกั เรียนไม่เข้าใจในเร่ืองของด้าน
การจาสระในภาษาไทย นับวา่ เปน็ สาเหตุสาคัญทีท่ าให้นักเรยี นอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ และจะเกดิ ผลเสยี ระยะ
ยาว จึงจาเป็นต้องได้รับการฝึกฝน ครูผู้สอนจึงต้องศึกษาวิธีการสอนใหม่ ๆ คิดหาอุปกรณ์ สื่อการสอนท่ี
เหมาะสมกับเน้ือหาและผู้เรียน เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกทักษะต่าง ๆ ข้าพเจ้าจึงได้คิดค้นวิธีการที่จะช่วยกระตุ้น
ทักษะดังกล่าวของผู้เรียนด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบวงล้อพาสนุก เพ่ือจะให้นักเรียนรู้จักจดจาสระใน
ภาษาไทย ฝึกการประสมคาแบบง่ายในชีวิตประจาวัน และเพื่อเป็นการจุดประกายความคิดในการอ่านการ
เขยี นในระดับสูงขึน้ ท้ังน้ีจงึ ได้ออกแบบนวัตกรรมแก้ปญั หา “อา่ นเขยี นเรยี นแบบวงล้อพาสนกุ ”
กระบวนกำร ข้นั ตอนกำรพฒั นำ
1. วิธีดำเนินกำร
1.1) ศึกษาสาระการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด หน่วยการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรการศึกษาข้ัน
พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
1.2) ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับเทคนิคการสอน การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ การสร้าง
แบบทดสอบ และการจดั การเรยี นรใู้ นชัน้ เรียน
1.3) สังเคราะห์ความรู้สร้างนวัตกรรมอ่านเขียนเรียนแบบวงล้อพาสนุก แผนการจัดการเรียนรู้และ
แบบทดสอบ
1.4) นานวัตกรรม แผนการจัดการเรียนรู้ และแบบทดสอบ เข้าที่ประชุมเพ่ือขอคาปรึกษาตาม
แผนปฏบิ ัตกิ ารชมุ ชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชีพ (PLC Action Plan) ของกลมุ่ สาระภาษาไทยโรงเรียนวัด ควน
ชะลกิ
1.5) นานวตั กรรม แผนการจัดการเรยี นรู้ และแบบทดสอบ มาปรบั ปรุงแก้ไขตามคาแนะนา
1.6) นานวัตกรรม แผนการจดั การเรยี นรู้ และแบบทดสอบท่ีปรับปรุงแลว้ มาใช้กับนักเรยี น
1.7) รายการผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้นวตั กรรม “อ่านเขียนเรยี นแบบวงล้อพาสนุก” ให้ครู
และผู้บรหิ ารทราบ
2. ขน้ั ตอนกำรพัฒนำ
2.1) ครชู ้แี จงวัตถุประสงค์ วธิ ีการใชส้ ือ่ นวตั กรรม และวธิ กี ารวัดผลประเมินผลให้นกั เรยี นทราบ
2.2) นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี น
รายงานการประเมนิ ตนเอง ปีการศึกษา 2564 หนา้ 46
47
2.3) นักเรียนเรยี นรตู้ ามแผนการจัดการเรียนรู้ “อ่านเขียนเรยี นแบบวงลอ้ พาสนกุ ”
2.4) นักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน
2.5) สรุปผลการจัดการเรยี นรู้
ผลกำรดำเนนิ งำนและประโยชน์ที่ได้รบั
นักเรียนได้รับการจัดการเรยี นร้โู ดยใช้นวัตกรรม “อ่านเขียนเรยี นแบบวงล้อพาสนกุ ” มที กั ษะการอ่าน
และการเขียนที่ดีตามศักยภาพของผู้เรียน ส่งผลให้คะแนนการทดสอบปลายภาคเรียนและการประเมิน
ความสามารถในการอ่าน (Readding Test : RT) มีผลสมั ฤทธ์เิ พม่ิ ข้ึน
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศกึ ษา 2564 หน้า 47
48
ภำคผนวก
- สารสนเทศของผลการทดสอบระดับชาติ RT NT O-NET
- สารสนเทศจากการจดั การเรยี นรรู้ ะดบั ข้นั พน้ื ฐาน
- ภาพกจิ กรรมเดน่ ตามจุดเน้นระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน
- ประกาศโรงเรียนวดั ควนชะลกิ
- คาสง่ั โรงเรยี นวดั ควนชะลิก
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2564 หน้า 48
49
สำรสนเทศของผลกำรทดสอบระดับชำติ RT NT O-NET
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2564 หนา้ 49