The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวม 8 ส่วน งานแผนพัฒนารวม 3 ปี 2564-2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maneerutyoma, 2021-12-23 22:32:39

รวม 8 ส่วน งานแผนพัฒนารวม 3 ปี 2564-2566

รวม 8 ส่วน งานแผนพัฒนารวม 3 ปี 2564-2566

เลขที่ 125 หมู่ 1 ซอยเดอะวลั เลย์ 1 ถนนพระภูเก็ตแก้ว ตำบลกะทู้ อำเภอกะทู้
จังหวัดภูเกต็ รหัสไปรษณีย์ 83120 โทรศัพท์ 076-510203-5 โทรสำร 076-510207
E-mail : [email protected] Website : www.kajonkietsuksa.ac.th

คำนำ

แผนพัฒนาโรงเรยี นของโรงเรยี นขจรเกียรตศิ ึกษา ประจาปีการศึกษา 2564 – 2566 ฉบับนี้
จัดทาขึ้นโดยคณะกรรมการบริหารโรงเรียนร่วมกับครู – บุคลากรทุกฝ่ายในโรงเรียน ตัวแทนผู้ปกครองและ
ตัวแทนชุมชน โดยยึดแนวทางตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552 – 2561) ซึ่งทกุ
ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องได้ร่วมประชุมวิเคราะห์สภาพปัญหาปัจจุบัน โดยอาศัยข้อมูลรายงานผลการปฏบิ ัติงานของ
โรงเรียนปีการศึกษา 2563 ที่ผ่านมา และนาขอ้ เสนอแนะของคณะกรรมการ ตลอดจนครู – บุคลากรทุกฝา่ ย
มาเปน็ แนวทางในการกาหนดวิสัยทศั น์ พันธกิจ เป้าหมายและยทุ ธศาสตรใ์ นการพัฒนาการจัดการศกึ ษา ฉบับน้ี
ขนึ้ เพ่อื เป็นแนวทางในการดาเนนิ งานของบุคลากรฝ่ายต่าง ๆ

โรงเรียนได้ศึกษาและปฏิบัติหน้าที่ตามแผนพัฒนาโรงเรียน เป็นการพัฒนาการทางานและ
พฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนใหม้ ีประสทิ ธิภาพมากขนึ้ บรรลุตามวตั ถุประสงค์ เปา้ หมายและยุทธศาสตรใ์ นการ
พัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรยี น

สำรบญั หนำ้

เรอ่ื ง 1
คำนำ 1
สำรบัญ 6
สว่ นท่ี 1 ภำพรวมของโรงเรยี น 9
10
1.1 ประวตั ิความเป็นมา 9
1.2 ข้อมูลครู บุคลากร และนักเรยี น 12
1.3 แผนท่ีตั้งโรงเรยี น 14
1.4 อาคารเรียน อาคารประกอบ ห้องเรียน และหอ้ งประกอบ 14
1.5 โครงสรา้ งการบริหารของโรงเรยี น 16
1.6 ความสาเรจ็ ในการจัดการศึกษา 18
1.7 อตั ลกั ษณ์ และเอกลกั ษณข์ องโรงเรยี น 23
1.8 ทรพั ยากรและงบประมาณ 23
1.9 ผลการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา 27
1.10 ผลการประเมินพฒั นาการ และผลการทดสอบ 27
ส่วนท่ี 2 ทศิ ทำงกำรพัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศกึ ษำ 27
2.1 การวเิ คราะห์สภาพปัจจุบัน ปญั หา (SWOT) 28
2.2 การกาหนดวิสัยทศั น์ 30
2.3 การกาหนดพนั ธกจิ ของสถานศกึ ษา 87
2.4 การกาหนดยุทธศาสตร์ (เป้าหมาย) 152
2.5 การกาหนดกลยทุ ธ์ 154
ส่วนท่ี 3 กำรกำหนดตัวชว้ี ัดควำมสำเรจ็ และโครงกำร กิจกรรม 158
สว่ นที่ 4 กำรกำหนดแผนกำรดำเนนิ งำน และงบประมำณ 170
ส่วนท่ี 5 แหลง่ วทิ ยำกำรภำยนอกที่ใหก้ ำรสนบั สนนุ ทำงวชิ ำกำร
ส่วนที่ 6 กำรกำหนดบทบำทหนำ้ ท่ีบุคลำกรของโรงเรียนและผมู้ สี ว่ นเก่ียวขอ้ ง
ส่วนที่ 7 กำรกำกับ ติดตำม และประเมินผลกำรดำเนนิ งำน
สว่ นที่ 8 กำรนำแผนพัฒนำกำรจดั กำรศกึ ษำของโรงเรยี นไปใช้

ภำคผนวก

- ประกาศโรงเรยี นขจรเกียรตศิ ึกษา เรือ่ งแตง่ ต้ังคณะกรรมการจัดทาแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา
ประจาปี 2564 – 2566

- ประกาศโรงเรียนขจรเกยี รตศิ กึ ษา เรอ่ื งการใช้แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ประจาปี 2564 –
2566

- ประกาศโรงเรียนขจรเกียรตศิ กึ ษา เรอ่ื งการรบั รองการใช้แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา

แผนพฒั นำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำ ปีกำรศึกษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 1

ส่วนที่ 1 ภำพรวมของโรงเรียน

1. ประวัตคิ วำมเปน็ มำ

โรงเรยี นขจรเกยี รติศึกษา เปน็ โรงเรียนเอกชนสงั กัดสานักงานคณะกรรมการศกึ ษาเอกชน เร่ิมก่อต้ัง
เมอ่ื วนั ที่ 25 พฤษภาคม 2497 โดยนายชาย เกษกุล ซงึ่ ไดร้ ับการสนับสนุนจาก หลวงขจร โลหะเวทย์ โดยมแี นวคดิ
ในเร่ืองของการสง่ เสรมิ และสนับสนุนการศึกษาภายในทอ้ งถน่ิ ให้มีความเจรญิ และเกิดการพฒั นาข้นึ ตามนโยบาย
ของชาติ พร้อมกับได้เปลี่ยนแปลงตัวอาคารบ้านพัก 2 ชั้น เป็นอาคารเรียน ซึ่งได้ดาเนินการเรียนการสอนตาม
หลักสตู รของกระทรวงศกึ ษาธิการ

• พ.ศ. 2507 โรงเรียนต้องดดั แปลงตัวอาคารทีม่ ีอยู่ทัง้ ชัน้ ลา่ งและช้ันบนให้เป็นอาคารเรียนทัง้ หมด
แตย่ งั ไม่สามารถรองรับปริมาณนกั เรียนทม่ี คี วามตอ้ งการเรียนมากยง่ิ ขึ้น

• พ.ศ. 2508 โรงเรยี นได้กอ่ สร้างอาคาร 2 ช้ัน ตดิ กบั อาคารเดมิ เพ่อื สนองต่อความต้องการของ
ผู้ปกครอง แต่กย็ งั ไม่เพียงพอ ซึง่ เปน็ ทนี่ า่ หนักใจอย่างยิ่ง ทางโรงเรยี นจงึ ไดเ้ จรจากับเจ้าของที่ดิน
ซึ่งมีบริเวณข้างเคียง โดยเป็นของคนต่างด้าว แต่ก็ไม่ได้รับความร่วมมือในการขยายบริเวณใด ๆ
ไมว่ ่าจะเป็นการซอ้ื ขายหรือแลกเปลย่ี น

• พ.ศ. 2510 นายชาย เกษกลุ ไดถ้ งึ แก่กรรม จึงโอนกิจการมาเปน็ ของหลวงขจร โลหะเวทย์
• พ.ศ. 2511 หลวงขจร โลหะเวทย์ ได้ถงึ แกก่ รรม จึงโอนกจิ การมาเป็นของนางเบญจมาศ เกษกลุ

(บุตรสาว)
• พ.ศ. 2515 นางเบญจมาศ เกษกลุ ไดถ้ งึ แกก่ รรม จงึ โอนกิจการมาเปน็ ของนายเพิ่มพูล เกษกุล

(บุตรชาย)
• พ.ศ. 2529 เนื่องจากนายเพิม่ พูล เกษกุล ไม่ประสงค์จะดาเนินกิจการโรงเรียนต่อไป จึงได้โอน

กิจการมาเป็นของนายประวทิ ย์ เหลา่ วเิ ศษกลุ
• พ.ศ. 2538 นายประวทิ ย์ เหล่าวิเศษกุล ได้โอนกิจการมาเป็นของ นางสาวธิดาพร เหล่าวิเศษกลุ

ดารงตาแหน่ง ผู้รบั ใบอนญุ าต / ผจู้ ดั การ ต้งั แตว่ ันที่ 27 ธันวาคม 2538 โดยมี นางสาวพิมพรรณ
ยอแสงรัตน์ ดารงตาแหนง่ ครูใหญ่
• พ.ศ. 2542 นางสาวพิมพรรณ ยอแสงรัตน์ ขึ้นดารงตาแหน่งผู้จัดการ และในปี 2543 นางรัมภา
แซ่ตัน ขึน้ ดารงตาแหนง่ ครใู หญ่
• พ.ศ. 2546 อาคารเรียนไม่เพียงพอกับจานวนนักเรียน และอาคารเรียนทีต่ ้ังอยู่บนท่ีดินด้านถนน
ระนอง เจ้าของที่ดินทโ่ี รงเรียนเชา่ อยู่จะขอคนื ทด่ี ินในชว่ งเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2548 ทางโรงเรียน
โดยคุณธิดาพร เหล่าวิเศษกุล จึงได้หาสถานที่เพื่อก่อสร้างโรงเรียนเพิม่ เตมิ โดยได้จัดซื้อที่บริเวณ
หมู่บา้ นภเู กต็ วิลล่า 5 ถนนเจา้ ฟ้านอก ตาบลวชิ ิต อาเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต

แผนพัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศกึ ษำ ปีกำรศกึ ษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 2

• พ.ศ. 2549 ในภาคภาษาอังกฤษ โรงเรียนไดเ้ ปดิ ทาการสอนนักเรียน ในระดบั อนบุ าลปีที่ 1 - 3 และ
ระดบั ประถมศึกษาปีท่ี 1 - 6 ในภาคภาษาไทยเปิดทาการสอนระดับอนบุ าลปีท่ี 1 - 3 และ
ระดับประถมศกึ ษาปที ่ี 1 - 4 และในภาคภาษาไทย เสริมภาษาองั กฤษพเิ ศษ เปิดทาการสอนระดบั
อนบุ าลปีที่ 3 และระดบั ประถมศึกษาปีที่ 1 ในปเี ดยี วกนั โรงเรยี นได้ทาการเตรยี มงานขยายหลกั สตู ร
รองรบั การเปดิ ชนั้ เรยี นระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้นสาหรับภาคภาษาอังกฤษและในภาคภาษาไทยเสริม
ภาษาอังกฤษพเิ ศษ

• พ.ศ. 2550 ในภาคภาษาองั กฤษ โรงเรียนได้เปิดทาการสอนนกั เรียนระดับอนุบาลปีท่ี 1 - 3 และ
ระดับประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ในภาคภาษาไทยเปิดทาการสอนระดับอนุบาลปีที่ 1 - 3 และ
ระดับประถมศกึ ษาปีท่ี 1 - 5 และในภาคภาษาไทย เสรมิ ภาษาอังกฤษพิเศษ เปดิ ทาการสอนระดับ
อนุบาลปีที่ 2 - 3 และระดับประถมศึกษาปีท่ี 1 - 2 และในปีการศึกษานี้ โรงเรียนได้ทาการขยาย
ชัน้ เรยี นระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้นสาหรับภาคภาษาอังกฤษและในภาคภาษาไทย เสริมภาษาอังกฤษ
พเิ ศษ ภาคละ 1 ห้องเรียน รวมเป็น 2 ห้องเรยี น

• พ.ศ. 2551 ในภาคภาษาอังกฤษและภาคภาษาไทย โรงเรียนได้เปิดทาการสอนนักเรียนระดับชั้น
อนุบาลปีที่ 1 - 3 และระดับประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ในภาคภาษาไทย เสริมภาษาอังกฤษพิเศษ
เปิดทาการสอนระดับอนุบาลปีที่ 2 - 3 และระดับประถมศกึ ษาปที ี่ 1 - 3 และในระดับมัธยมศึกษา
ตอนตน้ สาหรบั ภาคภาษาอังกฤษและภาคภาษาไทย เสริมภาษาอังกฤษพิเศษ เปิดทาการสอนระดับ
มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 - 2

• พ.ศ. 2552 ในภาคภาษาอังกฤษและภาคภาษาไทย โรงเรียนได้เปิดทาการสอนนกั เรียนระดับช้ัน
อนุบาลปีที่ 1 - 3 และระดบั ประถมศึกษาปีท่ี 1 - 6 ในภาคภาษาไทยเสริมภาษาองั กฤษพเิ ศษ เปิด
ทาการสอนระดับอนบุ าลปีท่ี 2 - 3 และระดับประถมศึกษาปที ี่ 1 - 4 และในระดับมธั ยมศึกษา
ตอนต้นสาหรบั ภาคภาษาอังกฤษและภาคภาษาไทย เสรมิ ภาษาอังกฤษพิเศษ เปิดทาการสอนระดบั
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 – 3

• พ.ศ . 2553 ในภาคภาษาอังกฤษและภาคภาษาไทย โรงเรียนได้เปิดทาการสอนนักเรียนระดับชน้ั
อนุบาลปที ่ี 1 - 3 และระดับประถมศกึ ษาปีท่ี 1 - 6 ในภาคภาษาไทย เสรมิ ภาษาองั กฤษพิเศษ เปดิ
ทาการสอนระดับอนุบาลปีที่ 2 - 3 และระดับประถมศึกษาปีที่ 1 - 5 และในระดับมัธยมศึกษา
สาหรับภาคภาษาอังกฤษและในภาคภาษาไทย เสริมภาษาอังกฤษพิเศษเปิดทาการสอนระดับ
มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 – 4

• พ.ศ. 2554 ในภาคภาษาอังกฤษและภาคภาษาไทย โรงเรียนได้เปิดทาการสอนนักเรียนระดับชน้ั
อนุบาลปีที่ 1 - 3 และระดับประถมศกึ ษาปที ี่ 1 - 6 ในภาคภาษาไทย เสริมภาษาอังกฤษพิเศษ

• เปิดทาการสอนระดับอนุบาลปีที่ 2 - 3 และระดับประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ในระดับมัธยมศึกษา
สาหรับภาคภาษาอังกฤษ เปิดทาการสอนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 4 และภาคภาษาไทย เสริม
ภาษาองั กฤษพิเศษ เปิดทาการสอนระดับมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 – 5

แผนพัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศกึ ษำ ปกี ำรศกึ ษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 3

• พ.ศ. 2555 ในภาคภาษาอังกฤษและภาคภาษาไทย โรงเรียนได้เปิดทาการสอนนกั เรียนระดับชนั้
อนุบาลปีท่ี 1 - 3 และระดบั ประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ในภาคภาษาไทย เสริมภาษาองั กฤษพิเศษ
เปิดทาการสอนระดับอนุบาลปีที่ 2 - 3 และระดับประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ในระดับมัธยมศึกษา
สาหรับภาคภาษาอังกฤษ เปิดทาการสอนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 5 และภาคภาษาไทย เสริม
ภาษาองั กฤษพเิ ศษ เปดิ ทาการสอนระดบั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 - 6

• พ.ศ. 2556 ในภาคภาษาไทย โรงเรียนไดเ้ ปดิ ทาการสอนนกั เรียน ระดับชั้นอนุบาลปีท่ี 1 - 3 และ
ระดับประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ในภาคภาษาไทย เสริมภาษาอังกฤษพิเศษ เปิดทาการสอนระดับ
อนบุ าลปที ี่ 2 - 3 ระดบั ประถมศึกษาปที ่ี 1 - 6 และระดบั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 - 6 และสาหรับภาค
ภาษาอังกฤษ โรงเรียนไดเ้ ปิดทาการสอนนักเรียนครบทุกระดับช้นั คือ ระดับอนบุ าลปีท่ี 1 - 3 ระดับ
ประถมศึกษาปีท่ี 1 - 6 และระดับมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 - 6 คุณธิดาพร เหล่าวิเศษกุล ได้จัดซื้อ
ที่ดินบริเวณหมู่บ้านเดอะวัลเล่ย์ 1 ถนนพระภูเก็ตแก้ว ตาบลกะทู้ อาเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต
เพือ่ กอ่ สร้างอาคารเรยี นเพ่มิ เติม เน่อื งจากอาคารเรียนไม่เพียงพอกบั จานวนนักเรยี น และอาคาร
เรียนของโรงเรียนขจรเกียรติพฒั นาท่ีตั้งอยู่บนทีด่ ินซอยพัฒนา เจ้าของที่ดินที่โรงเรียนเช่าอยู่จะ
ขอคืนทดี่ นิ

• พ.ศ. 2557 โรงเรยี นขจรเกียรตศิ กึ ษา ไดย้ า้ ยสถานท่ีต้งั จากในเมอื งมาตง้ั อยู่เลขที่ 125 ซอยเดอะ
วัลเล่ย์ 1 ถนนพระภูเก็ตแก้ว ตาบลกะทู้ อาเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต มีเนื้อที่ประมาณ 30 ไร่ โดย
เปดิ ทาการสอนภาคภาษาอังกฤษ ตั้งแตร่ ะดับชน้ั อนุบาล ถึงระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 และเปดิ ทา
การสอนภาคภาษาไทย เสริมภาษาอังกฤษพิเศษ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ในระดับช้ัน
อนุบาลถงึ ระดับช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 ของภาคภาษาไทย ได้โอนยา้ ยให้แก่โรงเรียนขจรเกยี รติ

พัฒนาซึ่งย้ายสถานท่ีตั้งมาอยู่เลขที่ 50/6 - 7 ถนนเจ้าฟา้ ตะวันตก ตาบลวิชิต อาเภอเมือง จังหวัด
ภเู ก็ต

แผนพฒั นำคุณภำพกำรจดั กำรศึกษำ ปกี ำรศึกษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 4

1.1. สภำพปจั จบุ ัน
โรงเรียนขจรเกียรติศึกษาเปิดสอนตั้งแต่ระดับเตรียมอนุบาล จนถึง ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยจัดการ

เรยี นการสอนตามหลกั สตู รกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ซึ่งทาการเปดิ สอน 2 โปรแกรม คอื
1.โปรแกรมภาษาไทย เสริมภาษาองั กฤษพิเศษ
2.โปรแกรมภาษาอังกฤษ หรือ โครงการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวง ศึกษาธิการเป็น

ภาษาองั กฤษ
นอกจากนี้ทางโรงเรียนได้จัดให้มีการสอนคอมพิวเตอร์ ดนตรีสากล ดนตรีไทย นาฏศิลป์ ให้กับนักเรียนทั้งใน
ระดบั อนบุ าล ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา

1.1.1 เครอื่ งหมำยประจำโรงเรียน

ใบโพธส์ิ ัญลักษณแ์ หง่ ปญั ญา (Wisdow)
ปลายใบ: เปรยี บเสมอื นความแหลมคมของสติปัญญาที่มาจาการเรยี นรู้
พื้นใบ : เปรียบเสมือนพื้นที่รับความรู้ของนักเรียนเพ่ือให้นักเรียนมคี วามรู้ทักษะความสามารถ

ประสบการณ์ท่ีมีคณุ ภาพและมีประโยชน์ตอ่ ตนเองและสงั คม
เส้นของใบ : เปรียบเสมือนการแตกแขนงวิชาความรู้ทักษะและประสบการณ์ที่สามารถนาไป

พฒั นาสู่ดา้ นต่าง ๆ ท่ีหลากหลายในอนาคต
ก้านใบ : เปรียบเสมอื นครูท่คี อยเป็นแรงผลักดนั และผลิตนักเรียนที่มคี ณุ ภาพ

1.1.2 อกั ษรยอ่ ของโรงเรียน
ภาษาไทย ข.ศ.
ภาษาองั กฤษ K.S.

1.1.3 สีประจำโรงเรยี นคือ สีเขียว และ สีขำว
สเี ขียว หมายถึง ธรรมชาติอนั สดชือ่
สขี าว หมายถงึ ความสะอาดบรสิ ทุ ธ์ิ

แผนพัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำ ปกี ำรศึกษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 5

1.1.4 ปรชั ญำโรงเรยี น
ปลกู ฝงั คุณธรรม นาการศึกษา พัฒนาสงั คม

สถำนที่ต้งั 125 หมู่ 1 ซอยเดอะวลั เล่ย์ 1 ถนนพระภูเกต็ แกว้ ตาบลกะทู้
อาเภอกะทู้ จังหวดั ภูเกต็ 83120

เนือ้ ที่ 30 ไรเ่ ศษ

ลักษณะของพ้นื ท่ี เป็นที่ราบ นา้ ระบายได้ดี ไม่มีส่ิงรบกวน

เปิดสอนนกั เรียน ระดับเตรียมอนบุ าล - ระดบั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6

รับนกั เรยี น ชาย – หญงิ อายุ 2 -18 ปี

ควำมจุทีไ่ ด้รบั อนุญำต 2,680 คน

ผรู้ ับใบอนุญำต นางสาวธิดาพร เหลา่ วเิ ศษกุล

ผู้อำนวยกำร นางสาวธดิ าพร เหลา่ วเิ ศษกุล

ผจู้ ดั กำร นางสาวธดิ าพร เหล่าวเิ ศษกลุ

แผนพฒั นำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำ ปีกำรศึกษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 6

2. ขอ้ มูลครู บุคลำกร และนักเรยี น

2.1 จำนวนผบู้ ริหำร ครู และบคุ ลำกร ระดบั กำรศึกษำ ใบประกอบ สถำนะ
เพศ วิชำชพี ฯ ปัจจุบัน

ท่ี ประเภท ่ตำก ่วำป ิรญญำต ีร อตั รำ หมำยเหตุ
ชำย หญิง ป ิรญญำต ีร จำ้ ง
มี ไม่มี บรรจุ
ูสงก ่วำป ิรญญำต ีร

1 ผู้รับใบอนญุ าต - 1 - - 1 1 - 1 - ควบ 3

2 ผู้จดั การ - - - - - - - - - ตาแหนง่

3 ผอู้ านวยการ - - - - -- - - -

4 ครู 6 51 2 51 4 56 1 57 -

5 บุคลากรทางการศกึ ษา - 7 - 6 1- 7 7 -

6 ครู (อตั ราจ้าง) 10 29 4 31 4 6 33 - 39

7 บคุ ลากรฯ (อตั ราจ้าง) 2 28 5 22 3 - 30 - 30

8 ครูพิเศษ 2 - - 2 -- 2 - 2

9 ชาวตา่ งประเทศ (คร)ู 49 57 7 80 19 20 86 20 86

10 ชาวตา่ งประเทศ (บุคลากร) 2 - - 2 - 1 1 1 1

11 พนกั งาน (อตั ราจ้าง) 7 4 10 1 - - 11 - 11

12 พนักงานรักษาความปลอดภยั 2 - 2 - - - 2 - 2

13 พนกั งาน (ลกู จา้ ง) 19 19 38 - - - 38 - 38

รวม 99 196 68 195 32 84 211 86 209

แผนพฒั นำคณุ ภำพกำรจดั กำรศกึ ษำ ปกี ำรศึกษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 7

2.2 จำนวนห้องเรียนและจำนวนนกั เรียน

ตำรำงที่ 1 สถติ ิแสดงจานวนนักเรยี นโรงเรียนขจรเกยี รติศึกษา แยกตามระดบั ชัน้ ประจาปีการศกึ ษา

2564

ระดับช้ัน จำนวน จำนวน จำนวน รวม
ห้องเรยี น นกั เรยี นชำย นกั เรียนหญงิ

ระดับเตรียมอนบุ าล 1 5 6 11

ระดบั อนบุ าลศกึ ษา 12 122 144 266

ระดบั ประถมศึกษา 26 327 321 648

ระดบั มธั ยมศกึ ษา 28 331 322 653

รวมท้ังหมด 67 785 793 1578

ตำรำงท่ี 2 สถติ แิ สดงจานวนนกั เรยี นระดับอนุบาล แยกตามระดับชน้ั ประจาปีการศกึ ษา 2564

ระดบั ชน้ั จำนวน จำนวน จำนวน รวม
ห้องเรียน
นักเรยี นชำย นักเรยี นหญงิ

เตรียมอนุบาล 1 5 6 11

อนุบาลปที ่ี 1 3 30 29 59

อนบุ าลปที ่ี 2 5 57 64 121

อนบุ าลปที ี่ 3 4 35 51 86

รวมระดับชน้ั อนบุ ำล 13 127 150 277

ตำรำงที่ 3 สถิตแิ สดงจานวนนกั เรยี นระดับประถมศกึ ษา แยกตามระดับชนั้ ประจาปกี ารศกึ ษา 2564

ระดับช้นั จำนวน จำนวน จำนวน รวม
ห้องเรียน นักเรยี นชำย นกั เรียนหญิง

ประถมศกึ ษาปีที่ 1 5 67 66 133

ประถมศึกษาปที ี่ 2 4 54 43 97

ประถมศึกษาปีท่ี 3 4 62 64 126

ประถมศกึ ษาปีที่ 4 5 56 61 117

ประถมศึกษาปีท่ี 5 4 46 42 88

ประถมศึกษาปที ่ี 6 4 42 45 87

รวมระดับชั้นประถมศึกษำ 26 327 321 648

แผนพัฒนำคณุ ภำพกำรจัดกำรศึกษำ ปกี ำรศกึ ษำ 2564 – 2566 หน้ำ | 8

ตำรำงที่ 4 สถิตแิ สดงจานวนนกั เรียนระดบั มธั ยมศึกษา แยกตามระดับชั้น ประจาปีการศกึ ษา 2564

ระดับชัน้ จำนวน จำนวน จำนวน รวม
ห้องเรียน
นักเรียนชำย นกั เรยี นหญงิ

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 6 77 60 137

มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 6 72 70 142

มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 6 62 66 128

มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 3 41 45 86

มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 3 29 42 71

มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 4 50 39 89

รวมระดับชั้นมธั ยมศึกษำ 28 331 322 653

แผนพัฒนำคณุ ภำพกำรจดั กำรศกึ ษำ ปกี ำรศกึ ษำ 2564 – 2566 หน้ำ | 9

3. แผนท่ตี ั้งของโรงเรยี น

แผนพฒั นำคุณภำพกำรจดั กำรศกึ ษำ ปกี ำรศกึ ษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 10
4. อำคำรเรียน อำคำรประกอบ ห้องเรียน หอ้ งเรยี นประกอบ

ท่ี อำคำรเรยี น / อำคำรประกอบ จำนวน ลกั ษณะอำคำร
1 อาคารเรียน 1 1 คสล 3 ชั้น
2 อาคารเรียน 2 1 คสล 4 ชัน้
3 อาคารเรียน 3 1 คสล 4 ชั้น
4 อาคารเรยี น 4 1 อาคารชว่ั คราว 1 ชั้น
5 อาคารเรยี น 5 1 อาคารชว่ั คราว 1 ชัน้
6 โรงยมิ เนเซียม 1 โรงยมิ เนเซียม
5 หลัง
รวมอำคำรเรยี น 3 อาคาร 1, อาคาร 2
1 ห้องปฏบิ ตั กิ ารคอมพวิ เตอร์ 3 อาคาร 3
2 ห้องปฏบิ ตั กิ ารดนตรี 3 อาคาร 2
3 หอ้ งปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ 2 อาคาร 1, อาคาร 2
4 ห้องสมุด 3 อาคาร 1, อาคาร 2 , อาคาร3
5 ห้องศิลปะ 1 อาคาร 1
6 หอ้ ง Song and Drama 1 อาคาร 4
7 ห้องแนะแนว 1 อาคาร 2
8 ห้องพัฒนาบคุ ลกิ ภาพ 2 อาคาร 1 , อาคาร 2
9 ห้องศูนย์สง่ เสรมิ พัฒนาการเดก็ CSDC 1 อาคาร 2
10 ห้องนาฏศิลป์ 2 อาคาร 1 , อาคาร 3
11 ห้องดนตรไี ทย 2 อาคาร 1, โรงยิมเนเซียม
12 ห้องพยาบาล 2 อาคาร 1
13 ห้อง ESL 2 อาคาร 1
14 ห้อง KLC 1 อาคาร 1
15 หอ้ งมินเิ ธยี เตอร์ 1 อาคาร 3
16 หอ้ งคหกรรม 4 อาคาร 3
17 หอ้ งอดั เสยี ง 1 อาคาร 3
18 ห้องเรียน YE 2 อาคาร 1, อาคาร 3
19 หอ้ งประชุม 73 อาคาร 1 - 5
17 หอ้ งเรียน
110
รวม

5. โครงสร้ำงกำรบริหำรงำนของโรงเรียน

แผนพฒั นำคณุ ภำพกำรจดั กำรศกึ ษำ ปกี ำรศึกษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 11

แผนพัฒนำคณุ ภำพกำรจดั กำรศึกษำ ปกี ำรศึกษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 12

6. ควำมสำเรจ็ ในกำรจัดกำรศึกษำ

ด้ำนโรงเรียน

➢ พ.ศ. 2556 ลงนามบันทึกความเข้าใจ (MOU) เรื่องความร่วมมือทางวิชาการกับ Coleridge
Primary School ประเทศองั กฤษ

➢ โรงเรยี นไดร้ บั การรับรองมาตรฐานการศึกษา รอบสาม (พ.ศ.2554 – 2558) จากสานักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานด้านปฐมวัย และ
ประถมศึกษา-มธั ยมศึกษา พ.ศ. 2556

➢ พ.ศ. 2556 สนบั สนนุ กิจกรรม Road Safety โดยโรงเรยี นได้ร่วมกบั สอจร. ภาคใต้
➢ พ.ศ. 2557 เปน็ เจา้ ภาพจัดการแขง่ ขนั บาสเกตบอลนักเรียน ถว้ ยรางวัลพระราชทาน สมเด็จพระ

นางเจา้ สิริกติ พ์ิ ระบรมราชนิ ีนาถ รายการ “สปอนเซอรไ์ ทยแลนด์ แชมปเ์ ปีย้ นชพิ 2014” ร่วมกับ
โรงเรยี นสตรภี เู กต็

ดำ้ นผู้บริหำร

➢ ผรู้ ับใบอนญุ าต / ผูอ้ านวยการ ได้ปฏิบตั หิ น้าทก่ี รรมการสถานศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานโรงเรียนเมืองถลาง
พ.ศ.2543 – 2546

➢ ผู้รับใบอนุญาต / ผู้อานวยการ ได้รับรางวัลผู้บริหารดีเด่น เนื่องในโอกาสวันครู ประจาปี 2553
โดยพื้นที่เขตการศึกษาจงั หวดั ภูเก็ต

➢ ผูร้ ับใบอนญุ าต / ผอู้ านวยการ ได้รับรางวัลบา้ นขจรเกียรตดิ ีเดน่ จากผวู้ ่าราชการจังหวัดภเู กต็
➢ ผู้รับใบอนุญาต / ผู้อานวยการ ได้รับรางวัลสถานรับเลี้ยงเด็กเอกชนดีเด่น พ.ศ. 2558 จากผู้ว่า

ราชการจงั หวดั ภเู กต็
➢ ผรู้ บั ใบอนญุ าต / ผู้อานวยการ ได้รบั รางวลั เกยี รติยศ เหรียญเกียรติคุณ หรือเคร่อื งราชอสิ ริยาภรณ์

ฯลฯ รบั เหรยี ญกาชาดสมนาคณุ จากสภานายกิ า สภากาชาดไทย

ด้ำนครู

➢ คุณครูโรงเรียนขจรเกียรติศึกษา จานวน 14 คน ได้รับรางวัล “100 ปี ครูดีศรีเอกชน” จาก
สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน

ดำ้ นนกั เรยี น

❖ ระดบั ช้ันอนบุ ำล (ประจำปีกำรศึกษำ 2563 – 2564)
➢ ด.ญ.กัญญว์ รา เกา้ แสง การแขง่ ขัน A.T.O.D International Dance Competition
รางวัลเหรยี ญทองระดบั ประเทศ
➢ ด.ญ.อิชา เอสแตว การแข่งขนั ชิงแชมป์เทควันโดนครสรุ าษฎรธ์ านี 2021
รางวัลเหรียญทองระดับภาค

แผนพฒั นำคณุ ภำพกำรจัดกำรศึกษำ ปีกำรศกึ ษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 13

➢ ด.ช.ชณิ ณพทั ธ์ แถมย้มิ การแขง่ ขันจักรยานขาไถ Cruzee ณ สนามแขง่ ขนั ภายใน
โครงการ K PARK PHUKET รางวัลเหรียญทองระดับประเทศ

➢ ด.ช.พิชญพงษ์ อธสิ ุข การแข่งขนั พดู ภาษาอังกฤษ ณ โรงเรียนวิทยาสาธิต รางวัลเหรียญ
ทองระดับจังหวดั

❖ ระดับประถมศกึ ษำ (ประจำปกี ำรศกึ ษำ 2563 – 2564)
➢ ด.ญ.อัญชณฏา ลักขณา การแข่งขันการประกวดผลงานและสิ่งประดิษฐ์ระดับ
น า น า ช า ต ิ ค ร ั ้ ง ท ี ่ 9 ห ร ื อ World Invention Creativity Olympic (WICO)
ณ ประเทศเกาหลใี ต้ รางวลั เหรียญทองระดับประเทศ
➢ ด.ญ.ณภัทร์ เสงี่ยม การแข่งขันการประกวดผลงานและสิ่งประดิษฐ์ระดับนานาชาติ
ครั้งที่ 9 หรือ World Invention Creativity Olympic (WICO) ณ ประเทศเกาหลีใต้
รางวัลเหรยี ญทองระดับประเทศ
➢ ด.ญ.ชัญญณัฏฐ์ อริยวงสกุล การแข่งขันการประกวดผลงานและส่ิงประดิษฐ์ระดับ
นานาชาตคิ ร้งั ที่ 9 หรือ World Invention Creativity Olympic (WICO) ณ ประเทศ
เกาหลใี ต้ รางวลั เหรียญทองระดับประเทศ
➢ ด.ญ.ธนัชพร ส่งเกียรติวงศ์ การแข่งขันคณิตศาสตร์นานาชาติ WMI – World
Mathematics Invitational รางวัลเหรยี ญเงินระดบั ประเทศ
➢ ด.ช.เตชทัต อธิกานนท์ การแข่งขันคณิตศาสตร์นานาชาติ WMI – World
Mathematics Invitational รางวัลเหรียญเงนิ ระดับประเทศ
➢ ด.ช.ศักดิโชติ มีสะอาด การแข่งขันคณิตศาสตร์นานาชาติ WMI – World
Mathematics Invitational รางวัลเหรียญเงินระดับประเทศ
➢ ด.ช.เตชทัต อธิกานนท์ การแข่งขันคณิตศาสตร์ รายการ Guangdong Big Bay Bei
รางวลั เหรียญทองแดงระดบั ประเทศ

❖ ระดับมธั ยมศึกษำ (ประจำปีกำรศกึ ษำ 2563 – 2564)
➢ นางสาวยายิกา โซเฟีย ตินเนอร์ การแข่งขันคณิตศาสตร์นานาชาติ WMI – World
Mathematics Invitational รางวัลเหรยี ญทองระดบั ประเทศ
➢ ด.ญ.นายอน ลี การแข่งขันวาดภาพโปสเตอร์สันติภาพ ภายใต้คาขวัญ “Peace
Through Service” ณ สโมสรไลออนส์ภเู กต็ รางวลั เหรียญทองระดับจังหวัด
➢ นายประวินท์ดิษย์ เดร์ริคโอลันต์ การแข่งขันทักษะวิชาการเอกชน ณ โรงเรียนขจร
เกียรติศึกษา รางวัลเหรยี ญทองระดับจังหวดั
➢ นางสาวกิรณา วงศ์ชูปาน นักกีฬาทีมชาติ Ju-Jitsu การแข่งขันระดับโลกกับรางวัล
เหรียญเงิน ประเภท Duo Mix U18

แผนพัฒนำคณุ ภำพกำรจดั กำรศกึ ษำ ปกี ำรศกึ ษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 14

7. อัตลักษณ์ และเอกลกั ษณ์ของโรงเรยี น
เอกลักษณ์ โรงเรยี นมีความเปน็ เลิศทางดา้ นภาษาอังกฤษ
อตั ลักษณ์ นักเรยี นสามารถสอื่ สารเป็นภาษาองั กฤษได้ในระดบั สากล

8. ทรัพยำกรและงบประมำณ

8.1 แผนการใช้งบประมาณของโรงเรียน

รำยรบั งบประมำณ (ปกี ำรศึกษำ)
2564 2565 2566
เงนิ อดุ หนุนรายหวั 4,398,908.00 4,459,000.00 4,500,000.00
เงนิ ค่าธรรมเนียม
การศึกษา 150,348,430.00 155,450,000.00 157,900,000.00
เงินค่าธรรมเนยี มอน่ื
เงนิ อุดหนุนรายการอนื่ 48,600,150.00 50,650,000.00 53,282,286.00
19,100,000.00 21,159,000.00 22,167,000.00
รวม 222,447,488.00 231,718,000.00 237,849,286.00

รำยจำ่ ย งบประมำณ (ปกี ำรศึกษำ)
2564 2565 2566
เงนิ เดอื น-ค่าจ้าง 99,500,000.00 102,485,000.00 105,500,000.00
งบพฒั นาคุณภาพการจดั
การศึกษา 49,314,000.00 51,779,000.00 52,000,000.00
งบอื่น ๆ......
12,186,000.00 14,786,000.00 15,250,000.00
รวม 161,002,564.00 169,052,565.00 172,752,566.00

แผนพัฒนำคุณภำพกำรจดั กำรศกึ ษำ ปีกำรศึกษำ 2564 – 2566 หน้ำ | 15

8.2 แผนการใช้ทรพั ยากรของโรงเรียน ปี ข้อมูลทรัพยำกรปีกำรศึกษำ 2566
ปจั จบุ ัน
รำยกำร (2563) 2564 2565 95
187
1. คอมพวิ เตอรเ์ พอ่ื สานกั งาน 99 87 91 56
2. คอมพวิ เตอรเ์ พอ่ื การศึกษา 185 170 178 16
3. โทรทัศน์ 63 51 53 47
4. โทรศัพท์ 14 12 14 46
5. เครอ่ื งโปรเจคเตอร์ 30 43 45 35
6. หนา้ จอโปรเจคเตอร์ 40 42 44 8
7. เครื่อง Printer 31 33 34
8. เคร่ืองถา่ ยเอกสาร 8 67

8.3 แผนการรับนกั เรียน ปีปัจจุบนั ข้อมูลนักเรยี นปกี ำรศึกษำ 2566
(2563)
ระดับกำรศึกษำ 425 2564 2565 350
775 750
ก่อนประถมศกึ ษา 540 325 350 540
ประถมศึกษา 330 700 750 300
มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 2070 540 540 1940
มัธยมศึกษาต่อปลาย 300 300
1865 1940
รวม

8.4 แผนการรบั ครูและบุคลากร

ประเภท ปปี ัจจุบนั ข้อมูลครูและบุคลำกร 2566
(2563)
ครู 125 2564 2565 114
บุคลากรสนับสนุน 43
อน่ื ๆ 50 99 104 58
รวม 25 37 39 215
200 50 53
186 196

แผนพฒั นำคุณภำพกำรจดั กำรศึกษำ ปีกำรศึกษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 16
9. ผลกำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำ

สรปุ ผลกำรประเมนิ คุณภำพมำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำปีกำรศึกษำ 2564 ระดับคุณภำพ

• ระดบั การศึกษาปฐมวยั ยอดเยี่ยม
ยอดเยี่ยม
มำตรฐำนกำรศกึ ษำ ยอดเยย่ี ม
ยอดเยี่ยม
มำตรฐำนที่ 1 คณุ ภำพของเดก็ ยอดเยย่ี ม
1. มพี ฒั นาดา้ นรา่ งกาย แขง็ แรง มีสขุ นสิ ยั ที่ดี และดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้ ยอดเยย่ี ม
2. มีพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้ ยอดเย่ียม
3. มพี ัฒนาการดา้ นสังคม ชว่ ยเหลอื ตนเองและเปน็ สมาชิกทดี่ ีของสงั คม ยอดเยี่ยม
4. มพี ฒั นาการด้านสตปิ ัญญา ส่อื สารได้ มีทกั ษะการคดิ พน้ื ฐาน และแสวงหาความรู้ได้ ยอดเยี่ยม
มำตรฐำนท่ี 2 กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำร ยอดเยี่ยม
1. มีหลักสูตรครอบคลมุ พัฒนาการทงั้ สี่ดา้ น สอดคล้องกับบรบิ ทขอท้องถ่ิน ยอดเยี่ยม
2. จัดครใู ห้เพียงพอกบั ชน้ั เรียน
3. สง่ เสรมิ ให้ครูมคี วามเชย่ี วชาญดา้ นการจัดประสบการณ์ ยอดเยย่ี ม
4. จัดสภาพแวดลอ้ มและสื่อเพ่อื การเรยี นรู้อยา่ งปลอดภัยและเพียงพอ ยอดเยี่ยม
5. ใหบ้ รกิ ารส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรยี นร้เู พอ่ื สนับสนุนการจดั ยอดเยย่ี ม
ประสบการณ์ ยอดเยย่ี ม
6. มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพที่เปดิ โอกาสให้ผเู้ กย่ี วข้องทุกฝา่ ยมีสว่ นร่วม ยอดเยย่ี ม
มำตรฐำนที่ 3 กำรจัดประสบกำรณท์ ีเ่ น้นเดก็ เปน็ สำคญั ยอดเยี่ยม
1. จัดประสบการณ์ทสี่ ่งเสริมให้เดก็ มพี ฒั นาการทุกดา้ น อย่างสมดลุ เตม็ ศกั ยภาพ
2. สร้างโอกาสให้เดก็ ไดร้ บั ประสบการณต์ รง เล่นและปฏิบตั ิอยา่ งมคี วามสุข ยอดเยี่ยม
3. จัดบรรยากาศทเ่ี ออ้ื ต่อการเรยี นรู้ ใชส้ ่อื และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย
4. ประเมินพฒั นาการเด็กตามสภาพจริงและนาผลการประเมินพฒั นาการเดก็ ไปปรับปรงุ
การจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก
สรปุ ผลกำรประเมนิ ระดับปฐมวยั

แผนพฒั นำคณุ ภำพกำรจัดกำรศึกษำ ปกี ำรศกึ ษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 17

• ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ระดบั คุณภำพ
ยอดเยี่ยม
มำตรฐำนกำรศึกษำ
ยอดเยย่ี ม
มำตรฐำนที่ 1 คณุ ภำพของผ้เู รียน ยอดเยย่ี ม
ผลสมั ฤทธ์ิทำงวิชำกำรของผู้เรียน
1. มีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอ่ื สาร และการคิดคานวณ ยอดเยยี่ ม
2. มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคดิ เห็น ยอดเยี่ยม
และแกป้ ญั หา ยอดเยี่ยม
3. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ยอดเยี่ยม
4. มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอ่ื สาร
5. มีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา ยอดเยี่ยม
6. มคี วามรูท้ กั ษะพืน้ ฐาน และเจตคติท่ีดตี อ่ งานอาชพี ยอดเยี่ยม
คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ของผู้เรียน ยอดเยี่ยม
7. การมีคณุ ลักษณะและค่านยิ มที่ดตี ามท่สี ถานศึกษากาหนด ยอดเยี่ยม
8. ความภูมิใจในทอ้ งถิ่นและความเปน็ ไทย ยอดเยย่ี ม
9. การยอมรับท่จี ะอย่รู ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย ยอดเยี่ยม
10. สุขภาวะทางร่างกายและจิตสงั คม ยอดเยี่ยม
มำตรฐำนท่ี 2 กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำร ยอดเยี่ยม
1. มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพนั ธกจิ ทสี่ ถานศกึ ษากาหนดชดั เจน
2. มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา ยอดเยย่ี ม
3. ดาเนนิ งานพัฒนาวชิ าการที่เน้นคณุ ภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาและทุก ยอดเยย่ี ม
กล่มุ เป้าหมาย ยอดเยย่ี ม
4. พัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวชิ าชีพ ยอดเยี่ยม
5. จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่ีเออ้ื ตอ่ การจัดการเรยี นรู้อยา่ งมีคุณภาพ ยอดเยี่ยม
6. จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบริหารจดั การและการจัดการเรียนรู้ ยอดเย่ียม
มำตรฐำนท่ี 3 กระบวนกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนทเ่ี น้นผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ ยอดเยี่ยม
1. จดั การเรียนรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจรงิ และสามารถนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ได้ ยอดเยย่ี ม
2. ใชส้ อ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ท่ีเอ้อื ต่อการเรียนรู้ ยอดเยี่ยม
3. มีการบรหิ ารจดั การชัน้ เรยี นเชิงบวก ยอดเยี่ยม
4. ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรยี น
5. มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ขอ้ มลู สะท้อนกลับเพอ่ื พัฒนาปรบั ปรุงการจัดการเรยี นรู้
สรุปผลกำรประเมนิ ระดับปฐมวยั

แผนพฒั นำคุณภำพกำรจัดกำรศกึ ษำ ปีกำรศึกษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 18

• จุดเดน่

ระดับปฐมวัย

คณุ ภำพของเดก็
1.มีความรบั ผดิ ชอบ มงุ่ ม่นั ในการทางาน และทางานรว่ มกับผอู้ ืน่ ไดอ้ ยา่ งมีความสุข
2.เดก็ มีความมนั่ ใจ กลา้ พดู กล้าแสดงออก ใฝร่ ู้ใฝ่เรยี น และรกั การอ่าน
3.เดก็ ใช้ภาษาองั กฤษในการสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย
4.เด็กมมี ารยาทตามวฒั นธรรมไทย เชน่ การไหว้ การย้ิม ทักทาย และมีสัมมาคารวะกบั ผ้ใู หญ่
5.มสี ขุ ภาพและพลานามัยที่ดี
6.ทาชอื่ เสียงให้กบั โรงเรยี นในด้านวิชาการ มีความสามารถพิเศษอย่างหลากหลาย
กระบวนการบริหารและการจัดการ
1.มหี ลักสตู รสถานศึกษา
2.มีหลกั สตู รครอบคลุมพัฒนาการท้งั 4 ดา้ นสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของท้องถ่นิ
3.เปน็ ที่ยอมรับของบุคคลทง้ั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา
4.มีครูเพยี งพอกับจานวนเด็กและห้องเรียน
5.มีการจัดสภาพแวดลอ้ มทีเ่ ออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ และส่งเสริมใหค้ รไู ด้พฒั นาตนเองอยา่ งสม่าเสมอ
การจดั ประสบการณ์ท่เี นน้ เด็กเป็นสาคญั
1.มกี ารจัดกิจกรรมให้เดก็ ได้รับประสบการณ์ตรงเชน่ กิจกรรมโครงงาน โครงการรักการอา่ น โครงการ Star Junior
2.มกี ารจัดแผนประสบการณ์ทีส่ ่งเสรมิ ให้เดก็ มพี ัฒนาการทกุ ดา้ น
3.จัดบรรยากาศทเ่ี อ้ือต่อการเรยี นรู้ใช้สือ่ เทคโนโลยีทเี่ หมาะสมกบั วัย

ระดบั ขัน้ พ้นื ฐำน

คณุ ภาพของผเู้ รียน
1.ผเู้ รียนมีประสบการณใ์ นกระบวนการเรียนรแู้ ละทกั ษะชวี ิตมีความคิดสร้างสรรค์มีประสบการณ์ตรงในด้าน ศิลปะ
ดนตรีกีฬา มีภาวะผู้นารู้จักตนเองควบคุมตนเองได้ สามารถพัฒนาตนเองได้ตามศักยภาพและมีจิตสาธารณะทา
ประโยชน์ใหแ้ กส่ งั คม
2.ผู้เรียนสนใจในการเรียนรู้ทั้งจากแหล่งเรียนรูภ้ ายในและแหล่งเรียนรู้ภายนอกสถานศึกษา สามารถใช้เทคโนโลยี
สนบั สนนุ การเรยี นร้ขู องตนเองได้
3.ผู้เรียนสามารถอ่านหนังสือออกและอ่านคล่อง สามารถเขียนเพื่อสื่อสารได้สามารถใช้เทคโนโลยีในการแสวงหา
ความรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง
4.ผู้เรียนสามารถอ่านหนังสือออกและอ่านคล่องสามารถเขียนเพื่อสื่อสารได้สามารถใช้เทคโนโลยีในการแสวงหา
ความรูไ้ ด้ดว้ ยตนเองและมพี ัฒนาการตามจุดเนน้ ของแต่ละชว่ งวัยสง่ ผลให้ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรียนอยู่ใน
ระดับ “ดีเลิศ” และจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ เน้นทักษะในการอ่าน การเขียน และการคิด
คานวณส่งเสรมิ ผ้เู รียนใหพ้ ฒั นาเตม็ ศกั ยภาพ

แผนพฒั นำคณุ ภำพกำรจัดกำรศกึ ษำ ปกี ำรศกึ ษำ 2564 – 2566 หน้ำ | 19

5.มีการจัดแหล่งเรียนรู้ภายในได้อย่างเหมาะสม มีสื่อด้านเทคโนโลยีที่ทนั สมัย ผู้เรียนมีสุขภาพ สุขภาพจิต ดี กล้า
แสดงและสามารถอยรู่ ว่ มกบั อื่นอย่างมคี วามสขุ
6.ผู้เรยี นได้รบั การพฒั นาการเรียนรดู้ ้วยวธิ กี ารสอนที่หลากหลายทเี่ นน้ ทักษะกระบวนการคิดอยา่ งมเี หตุผล
7.ผู้เรยี นไดร้ ับการส่งเสรมิ และการเรียนรู้อยา่ งต่อเน่อื งท้งั ในหอ้ งเรยี นและนอกห้องเรียน
8.ผู้เรยี นได้มสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมการเรียนการสอนทกุ กลมุ่ สาระและมีส่วนรว่ มในกจิ กรรมต่างๆของโรงเรียนที่เอ้ือต่อ
การเรียนรู้
กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
1.โรงเรียนมเี ป้าหมาย วสิ ัยทศั น์ พันธกจิ ท่กี าหนดไวช้ ัดเจนสอดคลอ้ งกับบริบทของโรงเรียนตามความต้องการของ
ชุมชน
2.โรงเรียนวางวัตถุประสงค์ของแผนการจัดการศึกษาของชาติ นโยบายของรัฐบาลและต้นสังกัด ทันต่อการ
เปล่ยี นแปลงของสงั คม พฒั นางานวชิ าการเนน้ คณุ ภาพผเู้ รยี นรอบด้าน ตามหลกั สตู รสถานศึกษา
3.ส่งเสริมสนับสนนุ พฒั นาครูและบคุ ลากรให้มีความเชย่ี วชาญตรงตามความตอ้ งการให้เป็นชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ
มาใช้ในการพฒั นางานและการเรียนรขู้ องผู้เรียน
4.โรงเรียนมแี ผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาอยา่ งเปน็ ระบบ
5.โรงเรียนส่งเสรมิ ใหม้ ีการพัฒนาครูและบุคลากรอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
6.โรงเรียนจัดให้มีแหล่งเรียนรู้ และแหล่งสืบค้นข้อมูลเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่
เหมาะสมให้แก่ผู้เรยี น
กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ

1.ครูมีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอนโดยจัดกิจกรรมใหน้ ักเรยี นได้เรียนรู้ที่เน้นทักษะกระบวน การคิดได้
ปฏิบัติจรงิ โดยมีการใช้วิธีการจัดการเรียนการสอน และแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้นักเรียนแสวงหาความรู้ จาก
สอ่ื ตา่ ง ๆ และเทคโนโลยีได้ดว้ ยตนเอง
2.ทุกกลุ่มสาระมีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ
สภาพแวดลอ้ มทเ่ี อื้อต่อการเรยี นรู้
3.ครูมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนอกห้องเรยี น เพอ่ื ให้นักเรียนไดป้ ระสบการณ์ตรงจากแหล่งเรียนรู้ซ่ึงเป็น
สถานทจ่ี รงิ
4.ครูมีความต้ังใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน โดยจัดกิจกรรมใหน้ ักเรียนได้เรียนรู้ท่ีเน้นทักษะกระบวนการคิด ได้
ปฏิบัติจริง มีการให้วิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้นักเรียนได้แสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีได้ด้วย
ตัวเอง
5.ทุกกลุ่มสาระมีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ
สภาพแวดลอ้ มท่ีเอื้อตอ่ การเรียนรู้
6.ครูมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้แหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน เพื่อให้นักเรียนได้ประสบการณ์ตรงจาก
แหลง่ เรียนรู้ซึง่ เป็นสถานทจี่ ริง

แผนพฒั นำคุณภำพกำรจดั กำรศกึ ษำ ปกี ำรศึกษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 20

• จุดควรพัฒนำ

ระดบั ปฐมวัย
คุณภาพของเด็ก
1.ทักษะการคดิ ทักษะการแก้ปญั หาและความรู้เรื่องมิตสิ มั พนั ธ์ การกะประมาณ
2.ขาดความคดิ รวบยอดที่เก่ยี วกับสิ่งตา่ ง ๆ ท่ีเกดิ ขึน้ จากประสบการณ์การเรียนรู้
กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
-
การจัดประสบการณ์ทเี่ นน้ เดก็ เปน็ สาคัญ
-

ระดับกำรศึกษำข้นั พน้ื ฐำน
คณุ ภาพของผู้เรยี น
1.พฒั นาการจัดกิจกรรมทมี่ กี ารส่งเสรมิ ใหผ้ ้เู รียนมกี ารพัฒนาทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์มากขน้ึ
2. ส่งเสรมิ ความเป็นผู้นา กล้าคิด กล้าแสดงออกใหม้ ากข้นึ
กระบวนการบริหารและการจัดการ
1.พัฒนาเครอื ข่ายความร่วมมือของผ้มู สี ่วนร่วมมือของผู้มีสว่ นเก่ยี วข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มี
ความเขม้ แขง็ มสี ว่ นร่วม รับผดิ ชอบต่อผลการจัดการศึกษา
กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั
1.ควรนาภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ใหเ้ ขา้ มามสี ่วนรว่ มในการจัดกจิ กรรมให้ผู้เรียนได้เรยี นรู้
2.ควรเปดิ โอกาสใหผ้ ูป้ กครองได้มสี ่วนรว่ มในการเสนอความคดิ ในการจัดการเรยี นรู้เพอื่ พฒั นาผู้เรียน
3.ควรให้ขอ้ มลู ย้อนกลบั แกน่ ักเรยี นทนั ทีเพอ่ื นักเรยี นนาไปใช้ในการพัฒนาการเรยี นการสอน

10. ผลสมั ฤทธ์ิทำงกำรเรียนของผเู้ รียน

10.1 ระดบั ปฐมวยั จานวน ร้อยละของเดก็ ตามระดับคณุ ภาพ
ผลการพฒั นาเดก็ เดก็ ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
ทงั้ หมด จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
ผลพฒั นาการด้าน 309 97.78 13 4.11 0 0
316 309 97.78 13 4.11 0 0
1. ด้านรา่ งกาย 316 309 97.78 11 3.48 0 0
2. ดา้ นอารมณ์-จิตใจ 316 309 97.78 14 4.43 0 0
3. ด้านสงั คม 316
4. ดา้ นสติปัญญา

แผนพฒั นำคณุ ภำพกำรจัดกำรศกึ ษำ ปีกำรศึกษำ 2564 – 2566 หน้ำ | 21

10.2 ระดับกำรศึกษำขัน้ พ้นื ฐำน

10.2.1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพ้นื ฐาน (O-NET)
เปรียบเทียบผลการทดสอบระดบั ชาติขนั้ พนื้ ฐาน (O-NET) ของนกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

วิชา จานวน จานวน คะแนน คะแนนเฉลยี่ ผลการ ผลต่าง รอ้ ยละของ แปลผล
นักเรียน นกั เรยี น เฉล่ียะดบั ทดสอบ (O-NET) คะแนน คะแนน พัฒนาการเทียบ
ทง้ั หมด ท่ีเข้า ประเทศ เฉลี่ย เฉลีย่ กบั รอ้ ยละ 3
สอบ ปี 2563 2561 2562 2563
(1) (2) (3) (4) (5) (6)

คณิตศาสตร์ 77 77 29.99 63.33 51.67 51.67 0 0 ไมม่ ีพัฒนาการ
มีพัฒนาการแต่
วทิ ยาศาสตร์ 77 77 38.78 52.28 46.60 50.28 3.68 1.84 ไม่ถงึ รอ้ ยละ 3
มพี ัฒนาการแต่
ภาษาไทย 77 77 56.20 65.25 60.17 63.92 3.75 1.88 ไม่ถึงรอ้ ยละ 3
มพี ัฒนาการ
ภาษาองั กฤษ 77 77 43.55 86.39 65.16 88.73 23.57 11.79

เปรียบเทยี บผลการทดสอบระดบั ชาติข้นั พน้ื ฐาน (O-NET) ของนกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3

จานวน จานวน คะแนน คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ ผลต่าง รอ้ ยละของ แปลผล
นกั เรยี น นกั เรียน คะแนน คะแนนเฉลี่ย พฒั นาการเทยี บ
วชิ า ทัง้ หมด ทีเ่ ขา้ เฉลีย่ ระดบั (O-NET) เฉลย่ี กับรอ้ ยละ 3
สอบ (5)
ประเทศ 2561 2562 2563 (4) (6)

ปี 2563 (1) (2) (3)

คณติ ศาสตร์ 152 91 25.46 48.50 44.83 42.15 -2.68 -5.98 ไม่มีพัฒนาการ

วทิ ยาศาสตร์ 152 91 29.89 44.28 35.43 35.22 -0.21 -0.59 ไมม่ พี ัฒนาการ

ภาษาไทย 152 91 54.29 63.01 61.62 63.56 1.94 3.15 มพี ัฒนาการ

ภาษาอังกฤษ 152 91 34.38 57.63 68.98 68.77 -0.21 -0.30 ไมม่ พี ัฒนาการ

แผนพัฒนำคณุ ภำพกำรจดั กำรศึกษำ ปกี ำรศกึ ษำ 2564 – 2566 หน้ำ | 22

เปรียบเทียบผลการทดสอบระดบั ชาติขัน้ พืน้ ฐาน (O-NET) ของนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 6

วชิ า จานวน จานวน คะแนนเฉลีย่ ผลการทดสอบ *** *** ***
นักเรียน นกั เรยี น คะแนน (O-NET) ผลต่าง ร้อยละ แปลผล
ทั้งหมด ทีเ่ ขา้ เฉลี่ยระดับ คะแนน ของ พัฒนาการเทยี บ
สอบ ประเทศ 2561 2562 2563 เฉลีย่ คะแนน กบั รอ้ ยละ 3
ปี 2563 (1) (2) (3) เฉลี่ย
(4) (6)
(5)
ไมม่ ีพัฒนาการ
คณติ ศาสตร์ 68 63 26.04 27.31 35.91 34.16 -1.75 -4.87 มพี ัฒนาการ
มพี ัฒนาการ
วทิ ยาศาสตร์ 68 63 32.68 25.01 32.20 36.03 +3.83 11.89 มพี ฒั นาการ
ไม่มพี ฒั นาการ
ภาษาไทย 68 63 44.36 39.59 48.85 54.21 +5.36 10.97

ภาษาองั กฤษ 68 63 29.94 55.13 58.99 59.61 +0.62 1.05

สงั คมศกึ ษา 68 63 35.93 31.60 39.22 36.29 -2.93 -7.47

ศาสนาและ

วฒั นธรรม

แผนพัฒนำคณุ ภำพกำรจัดกำรศึกษำ ปีกำรศกึ ษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 23

ส่วนท่ี 2 ทศิ ทำงกำรพัฒนำคณุ ภำพกำรจดั กำรศกึ ษำ

2.1 กำรวเิ ครำะห์สภำพปจั จบุ นั ปญั หำ (SWOT)

การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม เปน็ การวเิ คราะห์สภาพของโรงเรยี นในปจั จบุ นั เพือ่ ค้นหาจุดแข็ง จดุ อ่อน โอกาส
และอุปสรรค หรอื ส่ิงท่อี าจเป็นปญั หาสาคญั ในการดาเนนิ งานสสู่ ภาพทีต่ อ้ งการในอนาคต โดยโรงเรียนไดจ้ ดั การประชมุ
และเชิญผู้มสี ว่ นเกย่ี วขอ้ งทุกดา้ น ไม่วา่ จะเป็นนกั เรียน ผปู้ กครอง ครู ผบู้ ริหาร คณะกรรมการบริหารโรงเรียน เข้า
รว่ มการประชุมเพื่อสอบถามความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะ และรวบรวมนามาวเิ คราะห์ จดั วางยทุ ธศาสตร์ และทิศทาง
ในการพฒั นาโรงเรยี นได้อยา่ งเหมาะสมเพอื่ ให้โรงเรียนเจริญก้าวหนา้ มปี ระสทิ ธิภาพในการดาเนนิ งานและเกิดประสิทธิ

Sผลสงู สุด
trengths
(จุดแข็ง)

1. ด้ำนยทุ ธศำสตร์
1) โรงเรียนกาหนดปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ จุดเน้นจุดเด่น อัตลักษณ์ และเอกลักษณ์ ของโรงเรียนอย่างชัดเจน

สอดคล้องกับนโยบายและแนวทางของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
2) โรงเรียนจัดทาแผนพัฒนา แผนปฏิบัติงานประจาปีที่ชัดเจน และมีการควบคุมกากับตดิ ตามโดยตลอด ทาให้การ

ปฏิบตั ิงานบรรลเุ ปา้ หมายทว่ี างไว้
3) โรงเรียนมีการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรรองรับการจัดการเรียนรู้ตามมาตรฐานสากล สอ ดคล้องต่อความ

ตอ้ งการของนกั เรียน ผปู้ กครองและชุมชน
2. ดำ้ นโครงสร้ำงกำรบริหำรงำนและกำรบริหำรจัดกำร

1) โรงเรียนมีการจัดโครงสร้างการบริหารงาน สายการบังคับบัญชา และกาหนดภาระหน้าที่ของแต่ละงานอย่าง
ชัดเจน

2) โรงเรยี นสนบั สนนุ การให้ครู-บคุ ลากรเขา้ มามีสว่ นรว่ มในการบรหิ าร การวางแผน การตดั สินใจ และการปฏบิ ัตงิ าน
3) การแบง่ งานความรบั ผดิ ชอบ และการมอบหมายงานให้แก่ผู้รบั ผิดชอบ มีการจดั ทาคาสั่งแตง่ ตง้ั แจกแจงบทบาท
ผรู้ ับผดิ ชอบชัดเจน และมกี ารประเมนิ ผลการปฏิบตั กิ ารงานของครอู ยา่ งต่อเน่อื ง
4) โรงเรยี นจัดระบบการดแู ลช่วยเหลือนักเรียน พรอ้ มทั้งสร้างเครือข่ายและประสานงานร่วมกับผู้ปกครองและชุมชน
เพือ่ เขา้ มามสี ว่ นร่วมในการดแู ล ช่วยเหลือ และพฒั นานักเรียนอยา่ งครอบคลมุ ทุกด้าน
5) โรงเรียนจัดระบบอินเตอร์เน็ต ระบบเครือข่าย และอุปกรณ์เทคโนโลยีที่ทันสมัย ในการให้บริการและส่งเสริม
พฒั นาการเรยี นรู้ของนักเรียน และสนบั สนนุ การทางานของครูบคุ ลากร
6) โรงเรียนพฒั นาระบบการรักษาความปลอดภัยภายในโรงเรียน ไม่วา่ จะเป็นบุคลากรทางดา้ นรักษาความปลอดภัย
กล้องวงจรปิด และการสแกนบตั รเข้า – ออกโรงเรียน

แผนพัฒนำคุณภำพกำรจดั กำรศึกษำ ปีกำรศกึ ษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 24

Strengths 7) โรงเรียนมีการสื่อสารกับผู้ปกครอง ชุมชน และบุคคลทั่วไป โดยใช้ Facebook
(จดุ แข็ง) Website Line ส่ือออนไลน์ต่าง ๆ เพ่ือให้รบั ทราบขอ้ มลู ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว

8) โรงเรียนมีความร่วมมือทางวิชาการกับโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนาทั้งภายในและ

ต่างประเทศ (MOU) สง่ เสริมพัฒนาการและศกั ยภาพของนักเรยี น

3. ดำ้ นกำรดแู ลและสง่ เสริมพัฒนำกำรนักเรียน

1) โรงเรียนจัดแผนการเรียนการสอนหลากหลายได้อย่างเหมาะสม ตอบสนองต่อความต้องการและความถนัด

ของนักเรยี น ผูป้ กครองและชมุ ชนอย่างต่อเนอ่ื ง

2) โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานที่เพื่อให้เหมาะสมกับนักเรียนทุกระดับ

มุ่งเน้นทั้งด้านวิชาการและการสรา้ งเสริมประสบการณ์ให้แก่นักเรียน ทาให้นักเรียนมีความสุขและรู้สึกสนุกในการมา

โรงเรยี น

3) โรงเรยี นมกี ารจัดการเรียนการสอนภาษาไทยให้กับนักเรียนชาวตา่ งชาติเป็นพิเศษ

4) โรงเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านหลายรูปแบบ ทาให้การอ่านและเขียนภาษาไทยและภาษาอังกฤษของ

นักเรยี นระดับอนุบาลอยู่ในระดับดเี ม่ือเทยี บกบั โรงเรียนอนื่ ๆ

5) โรงเรียนจัดให้มีแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น และประสบ

ผลสาเร็จในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพต่อไป นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สาคัญของชุมชน ท้องถิ่นและผู้มา

ศึกษาดงู านจากต่างจงั หวดั และต่างประเทศ

6) โรงเรียนเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นในการจัดกิจกรรมการ

เรยี นการสอน

7) โรงเรียนสนับสนุนและเปิดโอกาสให้นักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันต่างๆ ทั้งภายในโรงเรียน การแข่งขันระดับ

โรงเรียน ระดับจังหวัด ระดับภาค ระดับประเทศ และระดับชาติ ทุกประเภทการแข่งขัน ทาให้นักเรียนมีความมั่นใจใน

ตนเอง และกลา้ แสดงออก

4. ด้ำนนกั เรยี น

1) นกั เรยี นมีความกตัญญูรคู้ ณุ มคี วามเมตตา และรู้จกั เอ้ือเฟือ้ เผอ่ื แผ่

2) นกั เรียนมีกิริยามารยาท ความประพฤตทิ ี่ดี และรู้จักโทษภยั และหลีกเลีย่ งการใช้สารเสพติด

3) นักเรียนมีระเบยี บวินยั และมีความซ่ือสัตย์ สจุ ริต

4) นักเรียนมีความการกล้าแสดงออกในส่ิงทีถ่ ูกตอ้ ง

5) นักเรยี นมีความสามารถทงั้ ทางด้านวชิ าการและกีฬา มผี ลงานสร้างช่ือจากการแข่งขันท้งั ระดบั โรงเรียน ระดับ

ภาค ระดบั ประเทศ และระดับชาตโิ ดยตลอด

5. ด้ำนครู-บุคลำกร

1) ครแู ละบคุ ลากรมีความสามารถในการใช้ส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการทางานและผลิตสื่อ

การเรยี นการสอน

3) โรงเรยี นมรี ะบบการนเิ ทศ ตดิ ตาม ตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างสม่าเสมอ

4) โรงเรียนมีการจดั กจิ กรรมสรา้ งขวญั กาลงั ใจและสวัสดกิ ารใหก้ บั บุคลากรของโรงเรยี น

5) โรงเรียนมีอัตราส่วนของครูต่อนักเรียนเหมาะสมและเพียงพอ ทาให้สามารถดูแลเอาใจใส่นักเรียนเป็น

รายบคุ คลไดอ้ ยา่ งทั่วถึง

แผนพัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศกึ ษำ ปกี ำรศึกษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 25

Strengths 6) สถานศกึ ษามีการจดั ครตู ่างชาตทิ ่ีเปน็ เจา้ ของภาษาอังกฤษ (Native Speaker) เปน็ ครู
(จุดแข็ง) ประจาชั้นควบคู่กับครูไทย และสอนในวิชาหลักในโครงการจัดการเรียนการสอน
ตามหลกั สตู รกระทรวงศกึ ษาธิการเป็นภาษาองั กฤษ

6. ดำ้ นทรัพยำกรของโรงเรียน

1) โรงเรียนจดั ให้มีหอ้ งเรียน ห้องปฏิบัตกิ ารปริมาณเหมาะสม และอาคารสถานท่ีของโรงเรยี นมีความกว้างใหญ่

นอกจากนย้ี ังมีสภาพแวดล้อมและบรรยากาศภายในท่ีเอ้อื ต่อการเรยี นรู้ สามารถอานวยความสะดวกสบายใหแ้ ก่นักเรียน

ผู้ปกครอง และคร-ู บุคลากร และรองรบั การขยับขยายต่อไปในอนาคต

7. ดำ้ นกำรเงิน

1) ครู-บุคลากรมีความคล่องตัวในการเบิก-จ่ายเงินเพื่อใช้จัดสรรในการดาเนินงานตามโครงการและกิจกรรม

ทีว่ างไว้

Weaknesses
(จุดอ่อน)
1. ดำ้ นโครงสรำ้ งกำรบรหิ ำรงำนและกำรบริหำรจดั กำร
1) โรงเรียนมีสวัสดิการสาหรับคุณครูและบุคลากรไม่เพยี งพอต่อการความต้องการ

2. ด้ำนนกั เรียน
1) นักเรียนควรเน้นวิชาเกี่ยวกับคุณธรรม ศีลธรรม การบาเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม สร้างจิตสานึกที่ดีในการ

อยรู่ ว่ มกัน โดยเนน้ ปฏิบตั จิ ริงท้ังในและนอกสถานที่
2) นักเรียนควรได้รับการส่งเสรมิ การฝกึ ทักษะความคิดสร้างสรรค์ การคิดวิเคราะห์อยา่ งต่อเนอ่ื ง

3. ดำ้ นครู-บุคลำกร
1) ครู-บุคลากรไทยและครูต่างชาติบางส่วน มีปัญหาในการสื่อสารและประสานงานที่ไม่ดีพอเนื่องจากความ

แตกตา่ งทางวัฒนธรรม อกี ทงั้ บคุ ลากรและครูไทยยงั ขาดทกั ษะในการใช้ภาษาองั กฤษ
2) ครูตา่ งชาติมกี ารเปล่ียนแปลงบอ่ ย ทาใหก้ ารเรยี นการสอนไมต่ อ่ เน่อื ง

Opportunities แผนพัฒนำคุณภำพกำรจดั กำรศกึ ษำ ปีกำรศึกษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 26
(โอกำส)
1. ด้ำนสงั คมและวฒั นธรรม
1) ผู้ปกครองและชุมชนมีความเชื่อมั่น เชื่อถือและศรัทธาในการบริหารจัดการของโรงเรียน พร้อมทั้งให้การ

สนบั สนุนโรงเรียนในการจัดกจิ กรรมต่างๆ
2) ผปู้ กครองและชุมชนมที ัศนคติท่ีดตี ่อโรงเรยี น และเขา้ มามีส่วนรว่ มในการจัดการศึกษาหลายดา้ น

2. ด้ำนเทคโนโลยี
1) หน่วยงานของภาครัฐและเอกชนจานวนมาก สนับสนุนความก้าวหน้าและส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี พร้อมทั้ง

พฒั นาเป็นแหลง่ เรยี นรู้และแหล่งสบื ค้นขอ้ มลู ทางวชิ าการผ่านระบบเครือขา่ ยมากมาย
3. ดำ้ นเศรษฐกจิ

1) ผู้ปกครองนักเรียนส่วนใหญ่มีฐานะทางเศรษฐกิจดี ส่งเสริมนักเรียนได้เรียนและพัฒนาศักยภาพอย่างเต็ม
ความสามารถ

2) การขยายตัวทางเศรษฐกิจของจังหวัดภูเก็ตหลากหลายรูปแบบ ทาให้เป็นแหล่งเรียนรู้และทางเลือกในการ
ประกอบอาชพี ของนกั เรยี นมากขน้ึ

T hreats
(อปุ สรรค)
1. ด้ำนสภำพทำงสงั คมและวฒั นธรรม
1) ปัจจุบันเป็นยุคโลกาภิวัตน์ ซึ่งทาให้เกิดความเจริญทางด้านวัตถุ และเกิดการแพร่ระบาดของวัฒนธรรมทีไ่ ม่

เหมาะสมผา่ นทางสอ่ื ต่างๆ ส่งผลให้พฤตกิ รรมของนักเรียนบางส่วนเปลยี่ นแปลงไป
2) ผู้ปกครองบางสว่ นมคี า่ นิยมในการส่งบตุ รหลาน เข้าเรยี นโรงเรยี นประจาจงั หวดั
3) ปัจจุบันจังหวัดภูเก็ตมีการใช้ไฟฟ้ากนั มากขึ้นเนื่องจากเป็นแหล่งท่องเท่ียว ไฟฟ้าจึงเป็นปัจจัยที่สาคัญอย่าง

หน่ึง จงึ สง่ ผลใหไ้ ฟฟ้าที่ใชไ้ ม่เพียงพอตอ่ ความต้องการ ทาให้เกดิ ไฟดับอยบู่ อ่ ยคร้ัง
2.ดำ้ นเศรษฐกจิ

1) ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจของภูเก็ตท่ีผกู ตดิ กับการท่องเที่ยว ส่งผลต่อผู้ปกครอง และส่งกระทบตอ่ การศึกษา
ต่อของนักเรียน
3. ด้ำนกำรเมืองและกฎหมำย

1) นโยบายของภาครัฐเกี่ยวกับการจัดสรรงบประมาณรายหัวให้แก่นักเรียน ไม่เพียงพอต่อการบริหารจัดการ
ภายในโรงเรียน

2) รฐั ใหก้ ารสนบั สนนุ ทางด้านทรพั ยากรตา่ งๆ ใหแ้ กโ่ รงเรียนของภาครัฐ มากกว่าโรงเรยี นเอกชน

แผนพฒั นำคณุ ภำพกำรจดั กำรศึกษำ ปกี ำรศึกษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 27

2.2 วิสัยทัศน์โรงเรียนขจรเกยี รติศึกษำ

"พัฒนาผเู้ รยี นใหเ้ รียนรู้ และปรบั ตัว เพอ่ื สรา้ งสงั คมท่ีดกี ว่า ก้าวหนา้ สคู่ วามเปน็ เลิศทางด้านภาษาองั กฤษ"
“ Educate people to be experts in English language and build a better community “
พันธกิจโรงเรยี นขจรเกยี รติศึกษำ
1. โรงเรียนสง่ เสรมิ และพฒั นานกั เรยี นให้มีคณุ ลักษณะของเยาวชนในศตวรรษท่ี 21
2. โรงเรียนมุ่งยกระดับมาตรฐานทางดา้ นภาษาองั กฤษให้มีความเป็นเลศิ มงุ่ สูม่ าตรฐานสากล
3. โรงเรียนสง่ เสรมิ การเรยี นรู้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวตั กรรมทีห่ ลากหลาย
4. ครูและบคุ ลากรโรงเรียนสร้างสงั คมแห่งการเรยี นรู้ กา้ วทนั เทคโนโลยี มุ่งม่ันและรกั ท่จี ะพฒั นาวิชาชีพตนเอง
5. ผ้บู ริหารโรงเรียนสามารถบรหิ ารจดั การคณุ ภาพการศึกษาครบทกุ มติ ิ
ยุทธศำสตร์โรงเรียนขจรเกียรติศึกษำ
ยทุ ยธทุศธาศสาตสรตท์ รี่ 1์ที่ 1 จดั การศึกษาให้นกั เรียนมที ักษะการเรยี นร้ใู นศตวรรษท่ี 21 (21st Century Skills)
ยทุ ยธทุศธาศสาตสรตท์ รี่ 2ท์ ่ี 2 สง่ เสริมสนบั สนนุ นักเรียน ครูและบคุ ลากร มีทกั ษะการสอ่ื สารภาษาองั กฤษพรอ้ มสูส่ ากล

(English for Communication)
ยุทยธทุ ศธาศสาตสรต์ทรี่ ์ท3ี่ 3 พัฒนาโรงเรียนให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย อย่างต่อเนื่องโดยอยู่บนพื้นฐานการมีส่วน

ร่วมของทุกคน (School as Learning Community : SLC)
ยทุ ยธทุศธาศสาตสรต์ทร่ี 4์ท่ี 4 พัฒนาหลักสูตรที่ให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้แบบองค์รวม ประกอบไปด้วย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี

วศิ วกรรม ศลิ ปะและคณิตศาสตร์ (STEAM)
ยุทยธุทศธาศสาตสรตท์ ร่ี ์ท5่ี 5 สรา้ งเอกลักษณแ์ ละความเฉพาะของการเรียนการสอนบนพน้ื ฐานความแตกต่างของนักเรยี น

(Differentiation)
ยทุ ยธทุศธาศสาตสรตท์ รี่ 6์ท่ี 6 พัฒนาการเรียนการสอนภาษาที่สาม เน้นการสื่อสารเปน็ ธรรมชาติและมที ศั นคตทิ ่ีดีตอ่ การเรียนภาษา

(Foreign Language)
ยุทยธุทศธาศสาตสรตท์ รี่์ท7ี่ 7 ส่งเสรมิ สนับสนุนการมีส่วนร่วมจากทกุ ภาคใี นการพัฒนาโรงเรียนและสงั คมทุกมติ ิ

(Promoting Involvement Internal, External Community)
ยทุ ยธทุ ศธาศสาตสรตท์ ร่ี ท์8ี่ 8 พัฒนาแบรนดแ์ ละการสือ่ สารในทกุ มิติ (Branding and communication : BC)
ยทุ ยธุทศธาศสาตสรต์ทรี่ท์ 9ี่ 9 นาเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเข้ามาพฒั นาการเรยี นรขู้ องนกั เรยี นและพฒั นางานดา้ นอ่นื (Digital Transformation)

ยยทุ ุทธศธศาสาสตตรท์ร์ที่ 1ี่ 010 ส่งเสริมความรับผิดชอบของโรงเรียน นักเรียน ครูและบุคลากรที่มีต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
(School Social Responsibility : SSR)

ยุทยธศทุ าธสศตารส์ทต่ีร1์ท1่ี 11 สรา้ งและสง่ เสริมวฒั นธรรมที่ก่อให้เกดิ นวัตกรรม (Culture of Innovation)

แผนพัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำ ปีกำรศกึ ษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 28

กลยุทธท์ ส่ี อดคลอ้ งกบั ยุทธศำสตร์ โรงเรยี นขจรเกียรติศกึ ษำ

ยทุ ธศำสตร์ที่ กลยุทธท์ ่ี
1. จัดการศึกษาให้นักเรียนมีทักษะการ 1. ปลูกฝังรกั การอ่านให้กบั นกั เรยี นและมีทักษะการอ่าน คดิ วิเคราะหต์ ามช่วง
เรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 วยั หรอื ช่วงชนั้
2. นักเรียนมีทักษะการเขียน การถ่ายทอดและสื่อสารกับผู้อ่านได้อย่างมี
2. ส่งเสริมสนับสนุนนักเรียน ครูและ ประสิทธิภาพตามเปา้ หมายท่ีกาหนดในแต่ละช่วงวยั หรือช่วงชนั้
บุคลากร มีทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 3. นักเรียนมีทกั ษะการคิดเลขอย่างมีระบบและสามารถประยุกต์ใช้กับสถาน
พร้อมสู่สากล การณใื นชวี ติ ประจาวันได้
3. พัฒนาโรงเรียนให้เป็นสังคมแห่งการ 4. นักเรียนมีกระบวนการทางานเป็นทีม มีทักษะการคิดวิเคราะห์ คิด
เรียนรู้ที่หลากหลาย อย่างต่อเนื่องโดยอยู่ สร้างสรรค์ แก้ปญั หาและสอ่ื สารไดเ้ หมาะสมตามช่วงวัยหรือชว่ งชนั้
บนพนื้ ฐานการมีสว่ นร่วมของทุกคน 5. นกั เรยี น ครูและบคุ ลากรใช้ภาษาอังกฤษขนั้ พื้นฐานในการสอ่ื สารได้
6. สง่ เสริมใหโ้ รงเรยี นมีความเปน็ เลิศทางภาษาองั กฤษ
4. พัฒนาหลักสูตรที่ให้นักเรียนเกิดการ
เรียนรู้แบบองค์รวมอันประกอบไปด้วย 7. ส่งเสริมครูผู้สอนใช้กระบวนการ Lesson study โดยครูมีบทบาทเป็นผู้
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม ศิลปะ อานวยความสะดวกในการจัดกระบวนการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
และคณติ ศาสตร์ 8. ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของครูภายในโรงเรียนเพื่อสร้างสังคมแห่ง
การเรยี นรู้
5. สร้างเอกลักษณแ์ ละความเฉพาะของการ 9. ครมู ีความเชี่ยวชาญทางวชิ าชพี สามารถใชส้ อ่ื เทคโนโลยี สารสนเทศในการ
เรยี นการสอนบนพ้นื ฐานความแตกต่างของ จดั กิจกรรมการเรยี นรแู้ ละนาไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตได้
นกั เรยี น 10. พัฒนาหลักสูตรโรงเรียนที่ส่งเสริมคุณภาพนักเรียนรอบด้านตรงตาม
ศักยภาพและจัดสภาพแวดลอ้ มเออื้ ต่อการเรียนรู้
6. พัฒนาการเรียนการสอนภาษาที่สาม 11. พัฒนากระบวนการเรียนรู้ให้นักเรียนมีหลักความคิด มีเหตุผลโดยใช้
เน้นการสือ่ สารเปน็ ธรรมชาติและมที ัศนคติ กระบวนการทางวิทยาศาสตรม์ าเป็นพน้ื ฐาน
ที่ดตี อ่ การเรยี นภาษา 12. พัฒนาศักยภาพนักเรียนให้มีทักษะด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการ
สื่อสาร มีภาะผู้นาและมีทกั ษะของการเป็นผู้ประกอบการ
13. นกั เรียนได้รับการพฒั นาศกั ยภาพและส่งเสริมความสามารถพิเศษของแต่
ละบุคคล
14. นกั เรยี นมคี ่านิยมทดี่ งี าม ภูมิใจในทอ้ งถ่นิ และความเป็นไทย เปน็ สมาชิกที่
ดตี ่อสงั คมและมสี ขุ ภาวะทางร่างกายและจิตใจทดี่ ี
15. นักเรยี นสามารถใชท้ กั ษะภาษาท่ีสาม (ภาษาจีน-ภาษาญป่ี ่นุ ) ได้เหมาะสม
กับช่วงวัยหรอื ชว่ งชน้ั

แผนพฒั นำคณุ ภำพกำรจัดกำรศกึ ษำ ปีกำรศกึ ษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 29

ยทุ ธศำสตร์ท่ี กลยทุ ธท์ ี่
7. ส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วนร่วมจากทุก 16. สง่ เสรมิ ให้นกั เรียนมีแรงบนั ดาลใจและแรงจงู ใจในการใชช้ ีวิตและสร้าง
ภาคใี นการพฒั นาโรงเรียนและสังคมทกุ มิติ ความรกั ความผกู พนั กับโรงเรียน
17. นกั เรยี นมจี ิตอาสาตอ่ สงั คมท้ังภายในและภายนอกโรงเรยี น
8. พฒั นาแบรนด์และการสอื่ สารในทุกมติ ิ 18. นักเรยี นและผู้ปกครองมคี วามเชื่อมัน่ ในคุณภาพการสอนของโรงเรียน
19. โรงเรียนมีระบบการสื่อสารที่ทั่วถึงสรา้ งความเข้มแข็งและการยอมรับ
9. นาเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาพัฒนาการ จากภายในและภายนอก
เรียนรขู้ องนกั เรยี นและพัฒนางานดา้ นอน่ื ๆ 20. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ สนบั สนุนการบริหารจัดการและการ
10. ส่งเสริมความรับผิดชอบของโรงเรียน จัดการเรยี นรู้
นักเรียน ครูและบุคลากรที่มีต่อสังคมและ 21. โรงเรียนมสี ว่ นร่วมในการอนุรกั ษ์และพฒั นาสง่ิ แวดล้อม
ส่งิ แวดล้อม
11. สร้างและส่งเสริมวัฒนธรรมที่ก่อให้เกิด 22. โรงเรียนสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ส่งเสริมการพฒั นาวัตกรรมด้านบุคคล
นวัตกรรม กระบวนการ ขอ้ มลู และเทคโนโลยี ให้เกิดความต่อเน่อื และยงั่ ยนื

แผนพฒั นำคุณภำพกำรจัดกำรศกึ ษำ ปกี ำรศึกษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 30

ส่วนท่ี 3 กำหนดตวั ช้ีวัดควำมสำเรจ็ และ โครงกำร กิจกรรม

ระดับปฐมวัย

ยุทธศำสตรท์ ่ี 1. จัดกำรศึกษำใหน้ ักเรียนมที ักษะกำรเรียนร้ใู นศตวรรษที่ 21

กลยทุ ธ์ท่ี 1. ปลกู ฝงั รกั กำรอำ่ นใหก้ ับนกั เรยี นและมที กั ษะกำรอำ่ น คดิ วิเครำะห์ ตำมชว่ งวยั หรือช่วงชั้น

ตัวชี้วัดควำมสำเร็จ กลยทุ ธย์ อ่ ย โครงกำร/กิจกรรม

1. ร้อยละของนักเรียนมีความ แผนกวชิ ำกำรระดบั ปฐมวัย

สามารถในการอ่านภาษาไทย และ 1. READ Model โดยนักเรยี นสามารถเล่านิทานจากภาพ - K205 โครงการรักการอา่ น

ภาษาอังกฤษ และเลา่ เร่ืองที่ตนเอง และอ่านจากตัวหนงั สอื ไดต้ ามชว่ งวยั เดอื นละ 1 เรอ่ื ง ( ก ิ จ ก ร ร ม READ Model)

อ่านได้เหมาะสม ตั้งคาถามในสิ่งที่ 2. นักเรียนยืมหนงั สือนิทานจากหอ้ งสมุดโรงเรียน เดือน - K201 โครงการส่งเสริมการ

ตนเองสนใจหรอื สงสยั และพยายาม ละ 2 เล่ม เรยี นการสอน

คน้ หาคาตอบ 3. นกั เรยี นสามารถเช่อื มโยงนทิ านที่อ่านและนามา (กิจกรรมอ่านออกเขียนได้)

ประยุกต์ใช้ในกิจวัตรประจาวัน และผู้ปกครองอ่านนทิ าน - K2 0 4 โ คร ง ก าร พ ัฒนา

รว่ มกับลูกทีบ่ ้าน โดยใหผ้ ้ปู กครองถ่ายภาพหรือวีดีโอส่งมา ห้องสมุดให้เป็นแหล่งเรียนร้ทู ่ี

ทาง Class Dojo เดอื นละ 1 คร้ัง มีประสิทธิภาพ

4. ประกาศรายชื่อ “หนนู อ้ ยรักการอ่าน” จากสถติ กิ ารยมื

หนงั สือจากห้องสมุดโรงเรยี น และมอบเกยี รตบิ ัตรเดอื น

ละ 1 ครั้ง

5. จัดทาแบบบนั ทกึ รกั การอา่ น เพือ่ กระต้นุ นกั เรยี นให้

อ่านหนังสอื ท้งั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ (ORT) ทุกวนั

ตามหลกั สูตรและฝ่ายบริหารมีการตดิ ตามทกุ ครงึ่ เทอม

กลยุทธ์ท่ี 2. นักเรียนมีทกั ษะกำรเขยี น กำรถ่ำยทอดและสอ่ื สำรกับผอู้ ำ่ นได้อยำ่ งมีประสทิ ธิภำพตำมเป้ำหมำยท่กี ำหนดใน

แตล่ ะชว่ งวยั หรือชว่ งชั้น

ตัวช้ีวัดควำมสำเร็จ กลยทุ ธ์ย่อย โครงกำร/กจิ กรรม

1. ร้อยละของนักเรียนมีความ แผนกวิชำกำรระดับปฐมวัย

สามารถในการเขียนภาษาไทยและ 1. จดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ ประสาทสัมผสั ระหวา่ งมอื กับตา - K202 โครงการการเรียน

ภาษาอังกฤษ และสนทนาโต้ตอบ วันละ 1 กจิ กรรมผา่ นเกมการศกึ ษา การสอนโดยครูชู าวตา่ งชาติ

และเลา่ เรือ่ งใหผ้ ้อู ่ืนเขา้ ใจ 2. จดั กิจกรรมสง่ เสรมิ พัฒนาการกล้ามเน้ือมดั เลก็ (กจิ กรรม Vocabulary

วันละ 3. กิจกรรม Book)

แผนพัฒนำคณุ ภำพกำรจัดกำรศกึ ษำ ปกี ำรศกึ ษำ 2564 – 2566 หน้ำ | 31

กลยทุ ธ์ที่ 2. นักเรียนมที ักษะกำรเขยี น กำรถำ่ ยทอดและสอ่ื สำรกับผ้อู ำ่ นได้อยำ่ งมปี ระสทิ ธิภำพตำมเปำ้ หมำยทก่ี ำหนดใน

แตล่ ะช่วงวยั หรือชว่ งช้ัน

ตัวชี้วัดควำมสำเร็จ กลยุทธย์ อ่ ย โครงกำร/กิจกรรม

1. รอ้ ยละของนกั เรยี นมคี วาม แผนกวชิ ำกำรระดบั ปฐมวัย

สามารถในการเขยี นภาษาไทยและ 3. เขียนพยัญชนะและสระ รวมถงึ คาศพั ท์ภาษาไทยและ - K201 โครงการส่งเสริมการ

ภาษาอังกฤษ และสนทนาโต้ตอบ ภาษาอังกฤษตามทีก่ าหนดในแตล่ ะช่วงวัยสปั ดาห์ละ 1 เรยี นการสอน

และเลา่ เรื่องให้ผอู้ ่นื เขา้ ใจ คร้งั (กิจกรรมอา่ นออกเขียนได)้

กลยทุ ธ์ท่ี 3. นกั เรียนมีทักษะกำรคดิ เลขอย่ำงมรี ะบบและสำมำรถประยุกตใ์ ชก้ บั สถำนกำรณใ์ นชวี ติ ประจำวันได้

ตัวชวี้ ัดควำมสำเร็จ กลยุทธย์ ่อย โครงกำร/กจิ กรรม

1. ร้อยละของนักเรียนมีความ แผนกวชิ ำกำรระดับปฐมวยั

สามารถในการคิดรวบยอด การคิด 1. จดั กิจกรรมการเรยี นคณิตศาสตร์ผ่านเพลง และเกม - K201 โครงการสง่ เสริมการ

เชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์ การคิด การศึกษา 2 ครงั้ ต่อสปั ดาห์ เรยี นการสอน

แก้ปัญหาและสามารถตัดสินใจใน 2. ใชส้ อ่ื การเรียนการสอนเกยี่ วกบั คณติ ศาสตร์ท่นี กั เรียน (กจิ กรรมสนกุ คดิ สนกุ ทา,

เรื่องง่ายๆได้ สามารถจับตอ้ งไดใ้ นทกุ คาบเรยี น กจิ กรรม super star junior)

- K202 โครงการการเรยี น

การสอนโดยครชู าวต่างชาติ

( กิจกรรม STEM)

กลยทุ ธ์ท่ี 4. นักเรียนมีกระบวนกำรทำงำนเปน็ ทมี มที กั ษะกำรคดิ วิเครำะห์ คิดสรำ้ งสรรค์ แก้ปัญหำและสือ่ สำรได้

เหมำะสมตำมช่วงวยั หรือชว่ งช้ัน

ตัวชว้ี ัดควำมสำเร็จ กลยทุ ธย์ อ่ ย โครงกำร/กจิ กรรม

1. ร้อยละของนักเรียนสร้างสรรค์ แผนกวิชำกำรระดับปฐมวัย

ผลงานตามความคิดและจินตนา 1. สง่ เสริมพนื้ ท่กี ารเลน่ เพ่อื ให้นกั เรียนไดแ้ สดงความคิด - K202 โครงการการเรียน

การ เช่น งานศิลปะ การเคลื่อน สรา้ งสรรค์ (KLC, ลานกจิ กรรม) สัปดาห์ละ 2 คร้ัง การสอนโดยครชู าวต่างชาติ

ไหวทา่ ทาง การเล่นอิสระ 2. จดั กิจกรรมสง่ เสริมความคิดสร้างสรรคแ์ ละคิดตอ่ (กจิ กรรมการแตง่ กายกายศกุ ร์

ยอดจากวสั ดุรอบตวั เดอื นละ 1 ครั้ง (การแต่งกายศกุ ร์ หรรษา

หรรษา DIY จากวัสดุเหลือใช้) - K201 โครงการส่งเสริมการ

3. จดั กจิ กรรมทศั นศกึ ษานอกโรงเรียน โดยนาส่งิ ท่ไี ด้ เรียนการสอน (กจิ กรรมทศั น

เรยี นรมู้ าโดยทาช้นิ งานและโครงงาน ศกึ ษาแหลง่ การเรยี นรู้ ,

4. จัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การคิดวิเคราะห์ผ่านการตั้งคาถาม กิจกรรมสงั เกตการสอน,

ปลายเปิดทกุ คาบเรยี น โดยฝา่ ยบรหิ ารเข้าไปสังเกตการ กิจกรรมวจิ ัยในชนั้ เรยี น)

สอนสปั ดาห์ละ 1 ครง้ั ต่อหนง่ึ หอ้ งเรียน - K601 โครงการสง่ เสรมิ นทรี

5. ส่งเสริมการแก้ปัญหาตามสถานการณ์ต่างๆ (เช่น การ ภาพด้านกฬี าละนนั ทนาการ

แผนพัฒนำคณุ ภำพกำรจัดกำรศึกษำ ปกี ำรศึกษำ 2564 – 2566 หน้ำ | 32

กลยุทธท์ ่ี 4. นกั เรียนมีกระบวนกำรทำงำนเป็นทมี มีทกั ษะกำรคดิ วิเครำะห์ คิดสรำ้ งสรรค์ แกป้ ัญหำและสื่อสำรได้

เหมำะสมตำมช่วงวัยหรอื ชว่ งช้ัน

ตวั ช้วี ัดควำมสำเร็จ กลยทุ ธย์ อ่ ย โครงกำร/กจิ กรรม

1. ร้อยละของนักเรียนสร้างสรรค์ แผนกวิชำกำรระดบั ปฐมวัย

ผลงานตามความคิดและจินตนา (เชน่ การลมื ของ จาของตัวเองไม่ได้ สวมรองเท้าผิดขา้ ง) (กิจกรรมการแสดง,กิจกรรม

การ เชน่ งานศิลปะ การเคลอ่ื นไหว โดย ฝา่ ยบรหิ ารเข้าไปสังเกตการสอนเทอมละ 2 ครั้งต่อ หน้าเสาธง,กจิ กรรมวันเด็ก,

ท่าทาง การเลน่ อิสระ ช้ันเรียน กจิ กรรมกฬี าสี, กิจกรรม

super star junior)

ยทุ ธศำสตร์ที่ 2. ส่งเสรมิ สนับสนนุ นกั เรียน ครแู ละบคุ ลำกร มีทักษะกำรส่อื สำรภำษำอังกฤษพรอ้ มสู่สำกล

กลยทุ ธ์ท่ี 5. นักเรยี น ครูและบคุ ลำกรใชภ้ ำษำองั กฤษขัน้ พ้ืนฐำนในกำรสอื่ สำรได้

ตวั ช้ีวัดควำมสำเรจ็ กลยุทธย์ ่อย โครงกำร/กิจกรรม

1 . ร ้อยละ ของ น ัก เร ียนใช้ แผนกวิชำกำรระดับปฐมวยั

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1. สร้างแรงจูงใจทางบวกเพื่อใหน้ กั เรียนกลา้ คดิ กลา้ - K202 โครงการการเรียน

เหมาะสมตามวัย ผ่านกิจกรรม แสดงออกทางความคิด ผ่านการพูดหนา้ ชน้ั เรียนวันละ 2 การสอนโดยครชู าวต่างชาติ

ต่างๆ คนตอ่ 1 หอ้ ง โดยใหร้ างวลั เป็น Sticker Book - K501 โครงการสง่ เสรมิ

2. จัดกิจกรรมสง่ เสริมการฟงั การพูด การอ่าน การเขยี น คณุ ธรรมและจริยธรรม

ใหเ้ ขา้ ใจ (เช่น READ MODEL) (กิจเด็กดีศรขี จร,กิจกรรม

3. ส่งเสรมิ การพูดอยา่ งถูกต้องตามกาลเทศะ อยา่ งมี มารยาทไทย)

มารยาท (เชน่ การพูดให้มีหางเสยี ง สวสั ดี ขอบคุณ

ขอโทษ การขออนุญาต) โดยมอบเป็นเกียรติบัตรเดือน

ละ 1 คร้ัง ห้องเรยี นละ 5 คนตอ่ 1 เดอื น

2. ร้อยละของครูและบคุ ลากรใช้ 1. ส่งเสริมให้ครูและบคุ ลากร ส่ือสารเป็นภาษาองั กฤษใน - K202 โครงการการเรียน

ภาษาอังกฤษพื้นฐานในการ โรงเรียน การสอนโดยครชู าวต่างชาติ

สอื่ สารได้ 2. จัดมมุ สง่ เสริมการเรยี นรคู้ าศพั ทภ์ าษาองั กฤษในบริเวณ

โรงเรยี น โดยการตดิ คาศัพท์ทุกจุดภายในอาคารอนบุ าล

และเปลย่ี นคาศัพทท์ กุ 2 สัปดาห์

3. การจัดกจิ กรรมสรา้ งทศั นคตเิ ชิงบวกในการใช้ภาษา

องั กฤษในการสอื่ สารสาหรับครไู ทย ปกี ารศกึ ษาละ 1 ครง้ั

(เชน่ ไม่ตอ้ งกลัวพดู ผดิ ไมต่ ้องอายสาเนียง

แผนพัฒนำคุณภำพกำรจดั กำรศกึ ษำ ปีกำรศึกษำ 2564 – 2566 หน้ำ | 33

กลยุทธ์ท่ี 5. นักเรยี น ครูและบคุ ลำกรใชภ้ ำษำอังกฤษขัน้ พืน้ ฐำนในกำรสื่อสำรได้

ตัวชวี้ ัดควำมสำเรจ็ กลยุทธ์ยอ่ ย โครงกำร/กจิ กรรม

2. ร้อยละของครแู ละบุคลากรใช้ แผนกสนบั สนนุ HR ครูไทย - H201 โครงการพัฒนา
ศักยภาพครูและบุคลากรฯ
ภาษาอังกฤษพื้นฐานในการส่ือ 1. ประสานงานกบั HR - ตา่ งชาติ เพือ่ วางแผนในการจัด - กจิ กรรมอบรมภาษาอังกฤษ
เพือ่ ใชใ้ นชวี ติ และการทางาน
สารได้ กจิ กรรมสง่ เสริมทกั ษะการใชภ้ าษาองั กฤษในโรงเรยี น
- A402 โครงการ Smart Job
ตลอดจน รายละเอียดตา่ งๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ ง, จัดกิจกรรม, description and Smart
Service
ประเมินผล

แผนกธรุ กำร

1. จดั หาหวั ข้อการอบรมเก่ยี วกับการใช้ภาษาอังกฤษเพอ่ื

การสื่อสาร เพอื่ เพ่มิ ทักษะภาษาทอ่ี งั กฤษ แกบ่ ุคลากร

กลยทุ ธท์ ี่ 6. สง่ เสริมให้โรงเรยี นมีควำมเป็นเลศิ ทำงภำษำอังกฤษ

ตวั ช้วี ัดควำมสำเรจ็ กลยทุ ธย์ ่อย โครงกำร/กจิ กรรม

1. ร้อยละของนักเรียนมีผล แผนกวชิ ำกำรระดับปฐมวัย - K202 โครงการการเรียน
การสอนโดยครชู าวต่างชาติ
พัฒนาการทางภาษาอังกฤษอยู่ 1. สร้างแรงจงู ใจทางบวกเพ่อื ให้นักเรียนกลา้ คดิ กลา้ (กจิ กรรม Kids Chitchat)

ในเกณฑด์ ีมากถึงดีเยยี่ ม แสดงออกทางความคิด ผ่านการพดู หนา้ ชัน้ เรยี นวันละ 2 - K201 โครงการส่งเสริมการ
เรียนการสอน
คนตอ่ 1 ห้อง โดยให้รางวัลเป็น Sticker Book (กจิ กรรม super star junior)

2. จัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การฟัง การพดุ การอา่ น การเขียน

ใหเ้ ข้าใจ

2. จานวนนักเรียนได้รบั คัดเลือก 1. จดั กิจกรรมการแข่งขนั ประเภททีม ปกี ารศกึ ษาละ 1

เข้าแข่งขัน วิชาการระดับประ คร้งั

เทศและนานาชาติ

ยทุ ธศำสตร์ที่ 3. พัฒนำโรงเรยี นใหเ้ ปน็ สังคมแห่งกำรเรยี นรูท้ ่ีหลำกหลำย อยำ่ งตอ่ เนอื่ งโดยอยบู่ นพ้ืนฐำน
กำรมีสว่ นรว่ มของทกุ คน

กลยุทธ์ที่ 7. สง่ เสริมครผู สู้ อนใชก้ ระบวนกำร Lesson study โดยครูมีบทบำทเปน็ ผ้อู ำนวยควำมสะดวกในกำรจัด

กระบวนกำรเรียนรู้ (Learning Facilitator)

ตัวชว้ี ัดควำมสำเร็จ กลยทุ ธย์ อ่ ย โครงกำร/กิจกรรม

1. ครูออกแบบแผนก าร จัด แผนกวชิ ำกำรระดับปฐมวยั

ประสบการณ์ที่เน้นการเรียนรู้ 1. จดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การเล่นและการทางานเป็นกลมุ่ - K101 โครงการพัฒนา

ผา่ นการเลน่ และการลงมือปฏิบัติ ในทกุ คาบเรยี น หลักสูตรปฐมวัย

(Active Learning) 2. ส่งเสรมิ ให้นกั เรียนเคารพกฎกตกิ าทางสงั คม รู้จกั

แผนพฒั นำคณุ ภำพกำรจดั กำรศึกษำ ปีกำรศกึ ษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 34

กลยุทธท์ ี่ 7. ส่งเสริมครูผูส้ อนใชก้ ระบวนกำร Lesson study โดยครูมีบทบำทเปน็ ผ้อู ำนวยควำมสะดวกในกำรจัด

กระบวนกำรเรียนรู้ (Learning Facilitator)

ตวั ชวี้ ัดควำมสำเร็จ กลยุทธย์ ่อย โครงกำร/กิจกรรม

1. ครูออกแบบแผนก าร จัด แผนกวิชำกำรระดับปฐมวยั

ประสบการณ์ที่เน้นการเรียนรู้ แบง่ ปัน และรบั ฟังความคดิ เห็นของผู้อ่ืนทุกคาบเรียน - K201 โครงการสง่ เสรมิ การ

ผา่ นการเลน่ และการลงมือปฏิบัติ 3. จัดกิจกรรมสง่ เสริมประสาทสัมผัสระหวา่ งมือกบั ตา วนั เรยี นการสอน (กิจกรรมจัดทา

(Active Learning) ละ 1 กิจกรรมผ่านเกมการศกึ ษา แผนประสบการณ)์

4. ส่งเสรมิ พืน้ ที่การเลน่ เพอ่ื ให้นกั เรยี นได้แสดงความคิด - K202 โครงการการเรียน

สร้างสรรคส์ ัปดาห์ละ 2 ครั้ง การสอนโดยครชู าวตา่ งชาติ

2. ครูใช้ประสบการณ์สาคัญใน 1. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรูใ้ ห้มคี วามหลากหลาย เพอ่ื - K301 โครงการคุณลกั ษณะ

การออกแบบการจัดกิจกรรม สง่ เสรมิ ทักษะการเรยี นรู้ของนกั เรยี นใหค้ รอบคลุม ตามวัยและพัฒนาการทั้ง 4

สังเกตและประเมินพัฒนาการ นักเรยี นทั้ง 4 กลุ่มในทุกคาบเรยี น ดา้ น

นักเรียนเปน็ รายบคุ คล - K201 โครงการสง่ เสริมการ

เรียนการสอน

- K701 โครงการระบบดูแล

ชว่ ยเหลือ

3. ครูบริหารจดั การช้ันเรียน เน้น 1. ส่งเสรมิ พน้ื ท่กี ารเลน่ เพื่อใหน้ กั เรยี นได้แสดงความคดิ - K201 โครงการส่งเสริมการ

การมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวกให้ สรา้ งสรรค์สปั ดาห์ละ 2 ครั้ง เรียนการสอน

นักเรียนรักการเรียนรู้และมี - K202 โครงการการเรยี น

ความสขุ กับการเรียน การสอนโดยครูชาวต่างชาติ

4. ครูมีข้อมูลย้อนกลับแก่นัก 1. สอ่ื สารกับผูป้ กครองเกี่ยวกบั ความพเิ ศษของนกั เรยี น - K701 โครงการระบบดูแล

เรียนและผ้ปู กครอง และนาผลไป แตล่ ะบคุ คล เพื่อนาไปต่อยอด ผ่านการประชุมผู้ปกครอง ชว่ ยเหลอื

ใชพ้ ัฒนาการเรียนรู้ เทอมละ 1ครัง้ (กจิ กรรมประชมุ ผปู้ กครอง)

กลยุทธ์ที่ 8. สง่ เสรมิ กำรแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ของครภู ำยในโรงเรยี นเพ่อื สร้ำงสังคมแหง่ กำรเรยี นรู้

ตัวช้วี ัดควำมสำเรจ็ กลยุทธ์ย่อย โครงกำร/กจิ กรรม

1. ครูมีนวัตกรรมในการจัดการ แผนกวิชำกำรระดับปฐมวยั

เรียนรู้ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1. สง่ เสรมิ การทา Design Thinking ในโรงเรยี นเทอม - K201 โครงการส่งเสริมการ

และให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อปรับ ละ 1 เร่อื ง (ประเภทเดี่ยวหรอื ทีมกไ็ ด)้ เรียนการสอน

ปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ 2. สง่ เสริมการเข้าสงั เกตการสอนในหอ้ งเรยี น เพอ่ื เรียนรู้ (กจิ กรรมสงั เกตการสอน)

(PLC) เทคนิคและนามาปรับใช้ เทอมละ 2 คร้งั โดยใช้

กระบวนการ Lesson Study

แผนพัฒนำคณุ ภำพกำรจดั กำรศึกษำ ปีกำรศกึ ษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 35

กลยุทธท์ ่ี 8. ส่งเสรมิ กำรแลกเปล่ียนเรยี นรู้ของครูภำยในโรงเรยี นเพอ่ื สรำ้ งสังคมแหง่ กำรเรียนรู้

ตัวช้วี ัดควำมสำเรจ็ กลยทุ ธย์ ่อย โครงกำร/กิจกรรม

1. ครูมีนวัตกรรมในการจัดการ แผนกสนับสนนุ HR ครูต่ำงชำติ

เรียนรู้ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1. กาหนดให้ครูชาวตา่ งประเทศเข้าร่วมการอบรม - F201 โครงการฝึกอบรม

และให้ข้อมูลย้อนกลับเพ่ือ workshop/ฟงั podcast เพ่ือนามาขยายผลภายในทมี พัฒนาศักยภาพครูชาวต่าง

ปรับปรุงและพัฒนาการจัดการ อย่างนอ้ ย ทีมละ 1 เรอ่ื ง/ปกี ารศึกษา ประเทศ- กจิ กรรมพัฒนา

เรยี นรู้ (PLC) 2. สนับสนนุ การประชุมแลกเปล่ียนเรียนรูภ้ ายในทีม/ วิทยากรภายในองคก์ ร

ประชุมขา้ มสายงาน (Collaborative Meetings) อยา่ ง (Internal Facilitator) อย่าง

น้อยเดือนละ 1 ครั้ง นอ้ ย ทีมละ 1 คน/ปกี าร

3. สรา้ งบรรยากาศการทางานที่ดีเพอื่ ใหเ้ กิดการ ศกึ ษา

แลกเปลี่ยนเรยี นร้รู ว่ มกนั และสนบั สนนุ ใหห้ ัวหน้างาน - กิจกรรม Team Open

เปิดใจรับฟงั ทมี เพือ่ ชว่ ยกนั แก้ปญั หาแบบรอบดา้ น โดย Space/How are you?

ใชแ้ บบบสอบถามประเมินความพงึ พอใจเป็นตวั ชี้วัด

2. ครูมีความรู้ ความสามารถตรง แผนกวิชำกำรระดบั ปฐมวยั

กับงานท่รี บั ผดิ ชอบ 1. สง่ เสริมการเขา้ สงั เกตการสอนในห้องเรียน เพอ่ื เรียนรู้ - K101 โครงการพฒั นา
หลกั สตู รปฐมวัย
เทคนิคและนามาปรับใช้ เทอมละ 2 คร้ัง โดยใช้ - K201 โครงการส่งเสรมิ การ
เรยี นการสอน
กระบวนการ Lesson Study
- F101 โครงการสรรหา
แผนกสนบั สนนุ HR ครตู ่ำงชำติ แตง่ ต้ัง และถอดถอนครชู าว
1. วิเคราะห์ Job Description ของแต่ละตาแหน่งควบคู่ ตา่ งประเทศ
กับการประเมนิ ผลการทางาน ปีการศึกษาละ 1 คร้ัง
2. วเิ คราะห์ชอ่ งทางในการหาครูชาวตา่ งประเทศท่ีมี - H101 โครงการบริหาร
ประสิทธิภาพเพอื่ คัดเลอื กครูทีม่ ีคุณสมบตั คิ รบถ้วน จัดการทรัพยากรมนษุ ย์
เหมาะสมกับระดบั ชน้ั ท่ีสอน - กจิ กรรมสรรหา
- กิจกรรมบรรจุ - แต่งต้ัง
แผนกสนบั สนุน HR ครไู ทย
- แยกประเภทข้อมูลครูและบคุ ลากรตามโครงสร้างที่
กาหนดให้เปน็ ปจั จบุ นั
- เตรียมข้อมูล, เอกสารทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง เพื่อดาเนินการบรรจุ-
แต่งตัง้ ครูและบุคลากรฯ ทไ่ี ดร้ ับประเมินผล ให้ไดร้ ับการ
บรรจุ-แตง่ ต้งั ตามระเบียบทีก่ าหนด, รายงานผล
- เตรียมข้อมูล, เอกสารทเี่ ก่ียวขอ้ ง เพื่อดาเนินการถอด
ถอนครูและบุคลากรฯ ท่ไี ด้ลาออกให้ถูกต้อง, รายงานผล

แผนพัฒนำคุณภำพกำรจดั กำรศกึ ษำ ปีกำรศกึ ษำ 2564 – 2566 หน้ำ | 36

กลยทุ ธท์ ี่ 8. สง่ เสรมิ กำรแลกเปลย่ี นเรยี นรขู้ องครูภำยในโรงเรยี นเพือ่ สร้ำงสังคมแหง่ กำรเรียนรู้

ตวั ช้ีวัดควำมสำเร็จ กลยทุ ธย์ ่อย โครงกำร/กจิ กรรม

3. ครูมีการพัฒนาตนเองให้มี แผนกวชิ ำกำรระดบั ปฐมวยั

ความเชีย่ วชาญทางวชิ าชพี 1. ส่งเสริมการเขา้ สังเกตการสอนในหอ้ งเรยี นเพื่อเรยี นรู้ - K101 โครงการพฒั นา

เทคนคิ และนามาปรับใช้ เทอมละ 2 ครงั้ โดยใช้ หลักสูตรปฐมวัย

กระบวนการ Lesson Study - K201 โครงการส่งเสรมิ การ

เรยี นการสอน

(กจิ กรรมสงั เกตการสอน)

แผนกสนับสนนุ HR ครูตำ่ งชำติ

1. สง่ เสรมิ ให้ครชู าวตา่ งประเทศเข้าอบรมหรือรบั ฟังงาน - F201 โครงการฝกึ อบรม

สมั มนากับวทิ ยากรภายนอกองคก์ ร คนละ 20 ชว่ั โมง/ปี พฒั นาศกั ยภาพครชู าว

2. สนับสนนุ ทนุ การศึกษาตอ่ Postgraduate Certificate ต่างประเทศ

in Education (PGCE) อยา่ งนอ้ ย ทมี ละ 1 คน/ปี - F203 โครงการส่งเสรมิ

การศกึ ษา (10 คน/ปีการศกึ ษาในเครอื ขจรเกยี รติ) การศึกษาต่อของครชู าว

ตา่ งประเทศ

แผนกสนบั สนนุ HR ครไู ทย

1. สง่ เสริมให้ครูเข้ารว่ มกจิ กรรมทศั นศกึ ษา ตาม - H201 โครงการพฒั นา

หลักเกณฑท์ ่กี าหนด , สรุปรายงาน, ประเมินผล ศกั ยภาพครูและบุคลากรฯ

2. ส่งเสริมให้ครูและบุคลากรฯ มีโอกาสพัฒนาตนเองอยู่ - กิจกรรมทัศนศึกษา

เสมอ จากการอบรม,สมั มนา หรือการลาศึกษาต่อ เพื่อให้ - กิจกรรมพัฒนาศกั ยภาพฯ

ครมู ีความรคู้ วามสามารถตรงตามวชิ าชีพประเมินผล,

รายงานผล

แผนพัฒนำคณุ ภำพกำรจัดกำรศกึ ษำ ปีกำรศึกษำ 2564 – 2566 หน้ำ | 37

กลยทุ ธ์ที่ 9. ครูมคี วำมเช่ียวชำญทำงวิชำชีพ สำมำรถใช้สื่อเทคโนโลยี สำรสนเทศในกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้และ

นำไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ได้

ตัวชีว้ ัดควำมสำเรจ็ กลยทุ ธ์ยอ่ ย โครงกำร/กจิ กรรม

1. ครใู ชส้ อื่ เทคโนโลยี สารสนเทศ แผนกวิชำกำรระดบั ปฐมวัย

และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการจัด 1. พัฒนาครูใหส้ ามารถเตรียมการสอนท่ีสง่ เสรมิ ให้ - K203 โครงการพัฒนาสอ่ื

ประสบการณ์ มีการผลิตสื่อและ นักเรยี นเกดิ การคิดวิเคราะหอ์ ย่างสร้างสรรค์ การเรียนการสอน

นวัตกรรมเพื่อการจัดประสบ (กิจกรรมประกวดส่อื )

การณ์รวมถึงการกากับนิเทศติด

ตามและการเผยแพรพ่ ัฒนาสอ่ื

ยทุ ธศำสตร์ที่ 4. พฒั นำหลักสตู รที่ให้นักเรียนเกดิ กำรเรียนรู้แบบองคร์ วมอันประกอบไปด้วย วิทยำศำสตร์
เทคโนโลยี วิศวกรรม ศิลปะและคณติ ศำสตร์

กลยทุ ธ์ท่ี 10. พัฒนำหลักสูตรโรงเรียนที่สง่ เสริมคุณภำพนักเรียนรอบดำ้ นตรงตำมศักยภำพและจัดสภำพแวดลอ้ มเอื้อ

ตอ่ กำรเรียนรู้

ตัวช้ีวัดควำมสำเรจ็ กลยทุ ธย์ อ่ ย โครงกำร/กจิ กรรม

1. โรงเรียนมีหลักสูตรสอดคล้อง แผนกวิชำกำรระดบั ปฐมวัย

มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย จัด 1. จัดกจิ กรรมสง่ เสริมการฟงั การพูด การอา่ น การเขยี น - K101 โครงการพัฒนา

กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ให้เข้าใจ หลกั สูตรปฐมวัย

ครบทกุ ดา้ น 2. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ใหม้ คี วามหลากหลาย เพ่ือ - K301 โครงการคุณ ลกั ษณะ

ส่งเสริมทกั ษะการเรยี นรขู้ องนักเรียนให้ครอบคลุม ตามวัย และพฒั นาการท้งั 4

นักเรียนทัง้ 4 กลุม่ ในทุกคาบเรียน ด้าน

2.โรงเรียนนากระบวนการชุมชน 1. สง่ เสริมศกั ยภาพของนักเรยี นใหม้ ภี าวะผูน้ า ส่ือสาร - K201 โครงการสง่ เสรมิ การ

การเรียนรู้ มาใช้ในการพัฒนา และทางานรว่ มกับผ้อู นื่ ได้ เรียนการสอน(กจิ กรรมสนุก

การเรยี นรขู้ องนกั เรียน คิดสนกุ ทา, กิจกรรมทศั น

ศกึ ษา)

- K501 โครงการสง่ เสรมิ

คุณธรรมจริยธรรม

(กจิ กรรมจากใจสใู่ จ)

- K202 โครงการการเรยี น

การสอนโดยครชู าวต่างชาติ

(กจิ กรรมRoad Safety

Week)

แผนพฒั นำคุณภำพกำรจดั กำรศกึ ษำ ปกี ำรศกึ ษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 38

กลยทุ ธท์ ่ี 10. พฒั นำหลักสตู รโรงเรียนท่ีส่งเสริมคณุ ภำพนกั เรยี นรอบด้ำนตรงตำมศักยภำพและจดั สภำพแวดลอ้ มเออื้

ตอ่ กำรเรียนรู้

ตวั ช้ีวัดควำมสำเร็จ กลยุทธ์ยอ่ ย โครงกำร/กิจกรรม

3. โรงเรียนจัดสภาพแวดล้อม แผนกวชิ ำกำรระดบั ปฐมวยั

ภายใน จดั สง่ิ อานวยความสะดวก 1. ส่งเสรมิ ใหม้ กี ารจัดโครงการ หรอื กจิ กรรมกระตนุ้ การ - K203 โครงการพัฒนาส่อื

สื่อและบริการให้นักเรียนได้ใช้ เรียนรู้ มที กั ษะกระบวนการคดิ อยา่ งเป็นระบบ ใช้ การเรียนการสอน

ประโยชนม์ ากท่สี ุด เทคโนโลยีค้นควา้ อย่างสร้างสรรค์ และสามารถตัดสินใจ - K204 โครงการพัฒนา

แกป้ ัญหาได้อยา่ งเหมาะสม ห้องสมุดให้เป็นแหล่งเรียนรทู้ ่ี

มปี ระสิทธภิ าพ

แผนกธรุ กำร

1. จดั สภาพแวดลอ้ มและสถานที่ใหเ้ หมาะสมครบตาม - A102 โครงการอาคาร

ความตอ้ งการและมีบรรยากาศท่ีเอ้อื ต่อการเรียนการสอน สถานที่

2. ปรับปรงุ ซอ่ มแซมอาคารเรียนใหส้ วยงาม

3. มจี ดั เตรยี มอุปกรณ์และส่ือการสอนอย่างเหมาะสม

พรอ้ มทั้งมกี ารลงทะเบียนพัสดแุ ละสนิ ทรพั ยอ์ ย่างถูกต้อง

สามารถตรวจสอบได้

แผนกสนับสนุน HR ครไู ทย

1. ให้บริการโสตทัศนปู กรณ์ แยกประเภทการดูแล, - H301 โครงการระบบ

ตรวจสอบ, ใหบ้ รกิ าร, บนั ทกึ ผล เครือข่าย, คอมพิวเตอรแ์ ละ

โสตทัศนปู กรณ์

กลยุทธ์ท่ี 11. พฒั นำกระบวนกำรเรียนรู้ให้นักเรยี นมหี ลักควำมคิด มีเหตุผลโดยใชก้ ระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์มำเป็น

พื้นฐำน

ตัวชว้ี ัดควำมสำเร็จ กลยทุ ธย์ อ่ ย โครงกำร/กจิ กรรม

1. ร้อยละของนักเรียนสามารถ แผนกวชิ ำกำรระดบั ปฐมวัย

เชื่อมโยงองค์ความรู้และประสบ 1. จดั หอ้ งเรยี น STEM Experiments ทีม่ อี ปุ กรณ์เอ้อื ตอ่ - K201 โครงการสง่ เสริมการ

การณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์สิ่ง การเรียนรู้และทาการทดลองทางวิทยาศาสตร์ เรียนการสอน (กิจกรรมสนุก

ใหม่ๆ อาจเป็นแนวความคิด 2. จดั ค่าย STEM ชอื่ วา่ Young Scientist ของ K3 คิดสนกุ ทา,กิจกรรมทศั น

โครงการ โครงงาน ชิ้นงาน ปีละ 1 ครง้ั ศึกษาแหลง่ การเรียนร)ู้

ผลผลติ 3. จัด STEM Week ปีละ 1 คร้งั โดยเชิญผปู้ กครองเข้า - K202 โครงการการเรยี น

มามสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรม การสอนโดยครูชาวตา่ งชาติ

(กจิ กรรม STEM)

แผนพฒั นำคณุ ภำพกำรจัดกำรศกึ ษำ ปีกำรศกึ ษำ 2564 – 2566 หน้ำ | 39

กลยุทธ์ที่ 11. พฒั นำกระบวนกำรเรียนรูใ้ ห้นกั เรียนมีหลกั ควำมคิด มีเหตุผลโดยใช้กระบวนกำรทำงวทิ ยำศำสตร์มำเปน็

พืน้ ฐำน

ตัวช้วี ัดควำมสำเร็จ กลยทุ ธ์ยอ่ ย โครงกำร/กจิ กรรม

2. ร้อยละของนักเรียนมีความ แผนกวชิ ำกำรระดบั ปฐมวยั

สามารถในการคิดรวบยอด การ 1. จดั ค่าย STEM ช่อื วา่ Young Scientist ปลี ะ 1 คร้งั - K201 โครงการสง่ เสรมิ การ

คิดเชิงเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ 2. จดั STEM Week ปีละ 1 คร้ัง เรียนการสอน (กจิ กรรมสนกุ

การคิดแก้ปัญหาได้ทั้งตวั เองและ 3. จัดทาโครงงาน ปีละ 4 ครงั้ คิดสนกุ ทา, (กิจกรรม super

การทางานเป็นทีม โดยเชญิ ผปู้ กครองเข้ามามีสว่ นรว่ มในกจิ กรรม star junior)

- K202 โครงการการเรียน

การสอนโดยครชู าวต่างชาติ

(กิจกรรม STEM)

กลยุทธท์ ่ี 12. พัฒนำศกั ยภำพนกั เรียนให้มีทกั ษะดำ้ นเทคโนโลยี สำรสนเทศและกำรสื่อสำร มีภำวะผ้นู ำและมีทักษะของ

กำรเป็นผปู้ ระกอบกำร

ตัวช้วี ัดควำมสำเรจ็ กลยทุ ธย์ ่อย โครงกำร/กิจกรรม

1. ร้อยละของนักเรียนมีความ แผนกวิชำกำรระดบั ปฐมวยั

สามารถในการใช้เทคโนโลยี 1. ส่งเสริมใหม้ กี ารจัดโครงการ หรือกจิ กรรมกระตุน้ การ - K202 โครงการการเรียน

สารสนเทศและการสื่อสารได้ เรียนรู้ มที กั ษะกระบวนการคิดอยา่ งเปน็ ระบบ ใช้ การสอนโดยครูชาวตา่ งชาติ

อย่างเหมาะสมกับช่วงอายุ ระยะ เทคโนโลยีค้นคว้าอย่างสร้างสรรค์ และสามารถตัดสินใจ (กิจกรรมDE)

ความสนใจและวิถีการเรียนรู้ แกป้ ญั หาไดอ้ ย่างเหมาะสม - K401 โครงการสง่ เสรมิ สุข

และปลอดภยั ภาพอนามยั และโภชนาการ

(กิจกรรมซอ้ มอพยพหนีภยั )

แผนกสนบั สนนุ HR ครูไทย - H301 โครงการระบบ
1. กาหนดรูปแบบ, ตรวจสอบราคา, จดั หา-จดั ซอ้ื , เครือขา่ ย, คอมพวิ เตอรแ์ ละ
วิธีการใชง้ าน , ดแู ลบารงุ รกั ษาได้แก่เครือข่าย, โสตทัศนปู กรณ์
คอมพวิ เตอร,์ เคร่ืองสารองไฟ, ลาโพง, Printer
2. ใหบ้ ริการโสตทัศนูปกรณ์
แยกประเภทการดแู ล, ตรวจสอบ, ให้บรกิ าร, บันทึกผล

แผนพัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศกึ ษำ ปีกำรศึกษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 40

ยทุ ธศำสตร์ท่ี 5. สร้ำงเอกลกั ษณ์และควำมเฉพำะของกำรเรียนกำรสอนบนพน้ื ฐำนควำมแตกต่ำงของนกั เรยี น

กลยทุ ธ์ท่ี 13. นักเรียนไดร้ ับกำรพัฒนำศกั ยภำพและส่งเสริมควำมสำมำรถพิเศษของแต่ละบคุ คล

ตวั ชวี้ ัดควำมสำเรจ็ กลยุทธย์ ่อย โครงกำร/กิจกรรม

1. ร้อยละของนักเรียนมีการ แผนกวิชำกำรระดบั ปฐมวัย

วิเคราะห์ข้อมูลเป็นรายบุคคล 1. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ให้มคี วามหลากหลาย เพอ่ื - K301 โครงการประเมนิ

และได้รับการส่งเสริมความถนัด ส่งเสรมิ ทักษะการเรียนรขู้ องนกั เรยี นใหค้ รอบคลุม คณุ ลกั ษณะตามวัยและ

ตามศักยภาพ นักเรียนทัง้ 4 กลมุ่ ในทุกคาบเรยี น พัฒนาการทั้ง 4 ดา้ น

2. จดั ใหม้ พี นื้ ท่ีแสดงความสามารถพิเศษของนักเรยี น - K201 โครงการ สง่ เสริม

สปั ดาห์ละ 1 ครง้ั ผ่านกิจกรรมหนา้ เสาธง การเรียนการสอน

3. ส่งเสริมนักเรียนท่ีมพี ฒั นาการไม่สมวัย หรอื ความ (กจิ กรรมวิจัยในช้นั เรียน)

ต้องการพเิ ศษผ่านศนู ย์สง่ เสริมพฒั นาการ CSDC - K701 โครงการระบบดูแล

(Counseling Students Development Center) โดย ช่วยเหลือนกั เรยี น (กิจกรรม

จัดทารายงานพัฒนาการนกั เรยี นเทอมละ 1 ครัง้ ร่วมกับ เยย่ี มบ้าน)

ผู้ปกครอง

กลยุทธ์ที่ 14. นกั เรยี นมีค่ำนยิ มท่ดี งี ำม ภูมิใจในท้องถ่ินและควำมเป็นไทย เป็นสมำชิกท่ีดตี ่อสังคมและมีสุขภำวะทำง

ร่ำงกำยและจติ ใจท่ดี ี

ตวั ช้วี ัดควำมสำเร็จ กลยทุ ธ์ย่อย โครงกำร/กิจกรรม

1. ร้อยละของนักเรยี นมคี ุณธรรม แผนกวชิ ำกำรระดับปฐมวัย

จริยธรรมและคุณลักษณะที่พึง 1. สง่ เสริมการพูดอยา่ งถกู ต้องตามกาลเทศะ อยา่ งมี - K501 โครงการสง่ เสริม

ประสงค์ มีการอนุรักษ์ความเปน็ มารยาท (เช่น การพูดใหม้ หี างเสียง สวสั ดี ขอบคุณ ขอ คุณธรรมและจรยิ ธรรม

ไทย ภมู ใิ จในทอ้ งถิ่น โทษ การขออนญุ าต) โดยมอบเปน็ เกยี รตบิ ตั รเดอื นละ 1 (กิจกรรมจากใจสูใ่ จ,

ครง้ั ห้องเรียนละ 5 คนต่อ 1 เดือน กจิ กรรมด้วยรักและห่วงใย ,

2. ส่งเสริมนักเรียนทุกระดับให้มีสัมมาคารวะ อ่อนน้อม กจิ กรรมมารยาทไทย ,

ถ่อมตนและกตัญญรู ู้คณุ ต่อพอ่ แม่ ผู้ปกครอง ครูและผ้อู ่ืน กจิ กรรมเด็กดศี รขี จร ,

กจิ กรรมวันพ่อ ,กจิ กรรมวนั

แม,่ กิจกรรมวนั ไหว้ครู ,

กจิ กรรมลอยกระทง ,

กิจกรรมคณะกรรมการ

ห้องเรยี น)

- K301 โครงการประเมิน

คุณลกั ษณะตามวยั และ

พัฒนาการทง้ั 4 ดา้ น

แผนพัฒนำคณุ ภำพกำรจดั กำรศึกษำ ปีกำรศึกษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 41

กลยุทธท์ ี่ 14. นกั เรียนมคี ่ำนิยมที่ดีงำม ภูมใิ จในทอ้ งถ่ินและควำมเป็นไทย เปน็ สมำชกิ ทด่ี ตี อ่ สังคมและมสี ขุ ภำวะทำง

รำ่ งกำยและจิตใจที่ดี

ตวั ชว้ี ัดควำมสำเร็จ กลยุทธย์ ่อย โครงกำร/กจิ กรรม

2. ร้อยละของนักเรียนยอมรับ แผนกวชิ ำกำรระดบั ปฐมวัย

และอยู่ร่วมบนความแตกต่าง 1. สง่ เสรมิ นกั เรียนทุกระดบั มคี วามรบั ผิดชอบต่อตนเอง - K202 โครงการการเรียน

ระหว่างบุคคล เพศ วัย เชื้อชาติ และผอู้ ่นื การรู้จกั บทบาทและหนา้ ที่ของตนเอง รวมท้งั การสอนโดยครชู าวต่างชาติ

ศาสนา ภาษาและวัฒนธรรม การรู้จักปรับตัวเข้ากับสงั คม มจี ติ สาธารณะ และมีส่วน (กิจกรรมHeritage Day,

รว่ มในการบาเพญ็ ประโยชนต์ อ่ สังคม กจิ กรรม Chrismas ,

2. ส่งเสริมนักเรยี นทกุ ระดบั ให้มที ักษะในการสือ่ สารและ กจิ กรรมFundraiser

การทางานร่วมกับผูอ้ ื่นได้ - K501 โครงการส่งเสรมิ

คุณธรรมและจรยิ ธรรม

(กิจกรรมจากใจสูใ่ จ,

กิจกรรมดว้ ยรักและห่วงใย ,

กิจกรรมมารยาทไทย ,

กจิ กรรมวันพ่อ ,กิจกรรมวัน

แม,่ กิจกรรมวนั ไหวค้ ร,ู

กจิ กรรมลอยกระทง )

3. ร้อยละของนักเรียนมีการ 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรใู้ ห้มีความหลากหลาย เพือ่ - K204 โครงการประเมิน

รักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต สง่ เสรมิ ทกั ษะการเรยี นรขู้ องนกั เรียนใหค้ รอบคลุม คณุ ลกั ษณะตามวัยและ

อารมณ์และสังคมและแสดงออก นกั เรยี นทัง้ 4 กลมุ่ ในทุกคาบเรียน พัฒนาการทั้ง 4 ดา้ น

อย่างเหมาะสมในแตล่ ะช่วงวยั 2. สง่ เสรมิ ใหน้ ักเรยี นทกุ ระดบั เข้ารว่ มโครงการ กจิ กรรม - K401 โครงการส่งเสริม

ด้านสุขภาพกายและใจ การเล่นกฬี า การออกกาลังกาย สุขภาพอนามยั และ

การแสดงออกดา้ นศิลปะ ดนตรตี ่างๆ โภชนาการ (กจิ กรรมตรวจ

3. ส่งเสริมนกั เรียนทุกระดับมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเอง สุขภาพ ,กิจกรรมโภชนาการ ,

และผ้อู ื่น การรู้จักบทบาทและหนา้ ท่ีของตนเอง รวมทั้ง กจิ กรรมทนั ตอนามัย

การรู้จักปรับตัวเขา้ กบั สงั คม มีจติ สาธารณะ และมีสว่ น - K601 โครงการส่งเสริม

ร่วมในการบาเพญ็ ประโยชน์ต่อสงั คม สนุ ทรียภาพดา้ นกีฬาและ

นนั ทนาการ(กิจกรรมกีฬาสี

อนุบาล,กิจกรรมการแสดง,

กิจกรรมหนา้ เสาธง,กิจกรรม

วนั เด็ก

- K202 โครงการการเรียน

การสอนโดยครูชาวตา่ งชาติ

(กิจกรรม End of year

show)

แผนพฒั นำคุณภำพกำรจัดกำรศกึ ษำ ปกี ำรศกึ ษำ 2564 – 2566 หน้ำ | 42

กลยุทธท์ ี่ 14. นักเรยี นมีค่ำนยิ มทด่ี ีงำม ภูมใิ จในทอ้ งถน่ิ และควำมเป็นไทย เป็นสมำชกิ ทด่ี ีตอ่ สงั คมและมสี ุขภำวะทำง

ร่ำงกำยและจติ ใจท่ดี ี

ตัวชีว้ ัดควำมสำเร็จ กลยุทธ์ยอ่ ย โครงกำร/กิจกรรม

4. ร้อยละของนักเรียนสามารถ แผนกวชิ ำกำรระดับปฐมวัย

อยู่ร่วมกับคนอื่นอย่างมีความสขุ 1. ส่งเสรมิ นักเรียนทกุ ระดับมคี วามรับผิดชอบต่อตนเอง - K501 โครงการส่งเสริม

เข้าใจผู้อื่น ไม่มีความขัดแย้งกับ และผู้อน่ื การรูจ้ ักบทบาทและหนา้ ท่ีของตนเอง รวมทง้ั คณุ ธรรมและจริยธรรม

ผ้อู น่ื การรจู้ ักปรบั ตวั เข้ากับสังคม มจี ติ สาธารณะ และมีส่วน (กิจกรรมจากใจสใู่ จ,กิจกรรม

รว่ มในการบาเพ็ญประโยชน์ต่อสงั คม ด้วยรักและห่วงใย)

ยุทธศำสตร์ท่ี 6. พฒั นำกำรเรยี นกำรสอนภำษำทส่ี ำม เนน้ กำรสอ่ื สำรเปน็ ธรรมชำตแิ ละมีทัศนคติท่ีดีต่อกำร
เรยี นภำษำ

กลยุทธ์ท่ี 15. นกั เรยี นสำมำรถใชท้ ักษะภำษำทส่ี ำม (ภำษำจนี หรอื ภำษำญี่ปนุ่ ) ได้เหมำะสมกบั ช่วงวยั หรอื ช่วงชน้ั

ตวั ช้ีวัดควำมสำเรจ็ กลยุทธย์ ่อย โครงกำร/กิจกรรม

1.ร้อยละขององนักเรียนมีความ แผนกวิชำกำรระดบั ปฐมวัย

สามารถในการสื่อสารภาษาที่ 1. เม่อื นกั เรียนจบช่วงชน้ั สามารถฟัง พูด อ่าน เขียน - K202 โครงการการเรียน

สาม (ภาษาจนี ) เหมาะสมตามวยั ภาษาจนี ตามหลักสูตรแตล่ ะชว่ งวัย โดยการประเมนิ ของ การสอนโดยครูชาวต่างชาติ

ครูผสู้ อน

2. จัดกิจกรรมการแข่งขนั ทักษะการใชภ้ าษาจีน เช่น รอ้ ง

เพลงจนี คาศพั ท์ภาษาจนี การแนะนาตวั เองและกลา่ ว

ทกั ทาย นับเลขจีน ตามชว่ งวัย เทอมละ 1 ครง้ั

ยุทธศำสตรท์ ี่ 7. ส่งเสริมสนับสนนุ กำรมีส่วนร่วมจำกทุกภำคใี นกำรพัฒนำโรงเรยี นและสังคมทกุ มติ ิ

กลยุทธ์ที่ 16. ส่งเสริมใหน้ กั เรยี นมีแรงบันดำลใจและแรงจงู ใจในกำรใช้ชีวติ และสร้ำงควำมรักควำมผูกพันกับโรงเรยี น

ตัวชี้วัดควำมสำเร็จ กลยุทธย์ อ่ ย โครงกำร/กิจกรรม

1. โรงเรียนมีการบริหารจัดการ แผนกวิชำกำรระดบั ปฐมวยั

แบบมีส่วนร่วมในการจัดการ 1. สง่ เสริมให้นักเรยี นเคารพกตกิ าทางสังคมร้จู กั แบ่งปัน - K701 โครงการระบบดแู ล

ศึกษาของศิษย์ปัจจุบัน ศิษย์เก่า และรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผูอ้ ืน่ ชว่ ยเหลอื นักเรยี น

โรงเรียน ผูป้ กครอง ชุมชน และผู้ (กิจกรรมบัณฑติ น้อย)

ทีเ่ กี่ยวข้อง

แผนพฒั นำคณุ ภำพกำรจัดกำรศึกษำ ปีกำรศกึ ษำ 2564 – 2566 หน้ำ | 43

กลยุทธ์ท่ี 17. นักเรียนมจี ิตอำสำต่อสังคมทง้ั ภำยในและภำยนอกโรงเรยี น

ตวั ช้วี ัดควำมสำเรจ็ กลยทุ ธย์ ่อย โครงกำร/กจิ กรรม

1. ร้อยละของนักเรียนรู้คณุ ค่า มี แผนกวิชำกำรระดบั ปฐมวัย

ส่วนร่วมกันอนุรักษ์และพัฒนา 1. ส่งเสริมนกั เรยี นทกุ ระดบั ให้มีจิตสานกึ ในการดแู ลรักษา - K402 โครงการหอ้ งสวยด้วย

ชมุ ชนและสง่ิ แวดลอ้ ม และใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ รวมท้งั สงิ่ แวดล้อมใหเ้ กดิ มอื เรา

ประโยชนส์ ูงสุด - K501 โครงการคณุ ธรรม

และจรยิ ธรรม

(กจิ กรรมลอยกระทง)

กลยุทธท์ ี่ 18. นกั เรยี นและผปู้ กครองมคี วำมเช่ือมนั่ ในคณุ ภำพกำรสอนของโรงเรียน

ตัวชีว้ ัดควำมสำเรจ็ กลยทุ ธย์ อ่ ย โครงกำร/กจิ กรรม

1. โรงเรียนมีการบริหารจัด แผนกวชิ ำกำรระดบั ปฐมวยั

การศึกษา ระบบการประกัน 1. สง่ เสริมใหม้ กี ารตรวจสอบติดตามการจัดคุณภาพ - K101 โครงการพฒั นา

คุณภาพ เพื่อให้นักเรียน ผู้ปก การศกึ ษาตามกฎกระทรวงและระบบ การประกัน หลกั สูตรปฐมวัย

ครอง พึงพอใจในการบริหารจัด คณุ ภาพการศกึ ษา - K801 โครงการพฒั นาระบบ

การศกึ ษา สารสนเทศ

แผนกธุรกำร

1. จัดทางบประมาณท่ีเหมาะสมกับการบรหิ ารการศกึ ษา - A101 โครงการงบประมาณ

ของโรงเรียน สถานศกึ ษา

2. จัดทาสรปุ การใชง้ บประมาณของแต่ละแผนกครบถ้วน

ถกู ตอ้ ง และตรวจสอบได้

แผนกสนับสนุน HR ครูตำ่ งชำติ

1. กาหนดทิศทางในการสรรหา คัดเลอื ก ครูชาว - F101 โครงการสรรหา

ตา่ งประเทศทีม่ ีคุณสมบตั คิ รบถว้ น และมปี ระสบการณ์ใน แตง่ ตง้ั และถอดถอนครูชาว

การสอน ปีการศกึ ษาละ 1 ครง้ั ต่างประเทศ

2. สรรหาและคัดเลือกครชู าวต่างประเทศไดท้ ันเวลาตาม - กจิ กรรมวนั ปฐมนิเทศ

แผนกาลังคน (มากกว่า 85% ของตาแหนง่ วา่ งท้งั หมด) Induction Day

3. กาหนดอตั ราการลาออกของครชู าวต่างประเทศ - F201 โครงการพฒั นา

ระหว่างปกี ารศกึ ษา จะต้องนอ้ ยกว่า 10% ของครชู าว ศักยภาพและสวัสดิการ

ต่างประเทศท้งั หมด ทรัพยากรมนษุ ย์

4. วเิ คราะห์ความพึงพอใจของครชู าวต่างประเทศดา้ น - F103 โครงการตรวจลงตรา

ความผกู พนั ธก์ บั องค์กร (Engagement) ผา่ น Online วซี ่า ใบอนญุ าตทางาน และใบ

Contract Renewal Survey/Exit ประกอบวชิ าชีพฯ ครชู าว

ตา่ งประเทศ

แผนพัฒนำคุณภำพกำรจดั กำรศึกษำ ปีกำรศึกษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 44

กลยทุ ธท์ ่ี 18. นกั เรยี นและผปู้ กครองมคี วำมเช่อื มน่ั ในคณุ ภำพกำรสอนของโรงเรียน

ตัวชี้วัดควำมสำเร็จ กลยุทธ์ยอ่ ย โครงกำร/กจิ กรรม

1. โรงเรียนมีการบริหารจัด แผนกสนับสนุน HR ครูต่ำงชำติ

การศึกษา ระบบการประกัน Interview (มากกว่า 85% ของครูชาวตา่ งประเทศตอ่

คุณภาพ เพื่อให้นักเรียน ผู้ปก สญั ญาว่าจา้ งงานในปกี ารศึกษาหนา้ )

ครอง พึงพอใจในการบริหารจัด 5. ประชุมแผนกฯ เดือนละ 1 ครงั้ และกาหนดให้มี

การศกึ ษา Morning Brief ในแต่ละวนั เพ่ือเตรยี มความพรอ้ มในการ

ทางาน

6. ดาเนนิ การเอกสารวซี า่ ใบอนญุ าตทางาน และใบ

ประกอบวิชาชีพฯ ให้กบั ครชู าวต่างประเทศ ไดต้ ามท่ี

กฎหมายกาหนด

แผนกสนับสนุน HR ครูไทย

1. บันทึกขอ้ มลู สาหรับครูและบคุ ลากรฯ ใหม,่ ปรับปรุง - H101 โครงการบริหาร

ขอ้ มลู เกา่ ใหเ้ ป็นปัจจุบัน จดั การทรพั ยากรมนษุ ย์

2. แยกประเภทข้อมูลครูและบคุ ลกรตามโครงสร้างที่ - กิจกรรมสรรหา

กาหนดให้เป็นปัจจบุ ัน - กจิ กรรมบรรจุ – แต่งตั้ง

3. เตรียมขอ้ มูล, เอกสารท่ีเกย่ี วขอ้ งเสนอฝ่ายบริหาร เพอ่ื

ดาเนินการบรรจุ-แตง่ ตง้ั ครูและบคุ ลากรฯ ทไี่ ด้รับ

ประเมินผลเพอื่ บรรจุ สง่ ศธ.จ.ภูเกต็ ตามระเบียบที่

กาหนด

4. เตรยี มข้อมูล, เอกสารที่เกยี่ วข้อง เพอ่ื ดาเนนิ การถอด

ถอนครแู ละบคุ ลากรฯ ท่ไี ด้ลาออก เพือ่ รายงานต่อ สง่

ศธ.จ.ภูเกต็ ตามระเบียบทก่ี าหนด

5. วางแผน, กาหนดปฏิทนิ ตารางการประชุม - H401 โครงการระบบ

ประจาเดือนในแตล่ ะภาคเรยี น สารสนเทศแผนกทรพั ยากร

6. จดั การประชุม และสรปุ รายงานการประชมุ , เสนอฝ่าย มนุษย์

บริหาร

7. จดั ทาขอ้ มูลสารสนเทศท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั ครู, บคุ ลากรฯ

พนักงาน หรือผทู้ ปี่ ฏิบตั ิงานในสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ ระบบ

8. มีการปรับปรุงขอ้ มูลใหเ้ ปน็ ปจั จุบัน เพอื่ ใหส้ ามารถ

นาไปใชง้ านไดอ้ ยา่ งเร็วถูกตอ้ งชัดเจน

แผนพัฒนำคณุ ภำพกำรจดั กำรศึกษำ ปกี ำรศกึ ษำ 2564 – 2566 หนำ้ | 45

กลยุทธ์ที่ 18. นักเรยี นและผู้ปกครองมคี วำมเชอ่ื ม่นั ในคุณภำพกำรสอนของโรงเรียน

ตวั ชีว้ ัดควำมสำเรจ็ กลยทุ ธ์ย่อย โครงกำร/กจิ กรรม

2. โรงเรยี นมีการแลกเปลย่ี นเรยี น แผนกวชิ ำกำรระดบั ปฐมวยั

รู้ระหว่าง บุคลากร องค์กร 1. ส่งเสรมิ ศกั ยภาพของนกั เรยี นให้มภี าวะผนู้ า สื่อสาร - K201 โครงการส่งเสริมการ

หน่วยงาน หรือชุมชน ทั้งภายใน และทางานรว่ มกบั ผูอ้ ่นื ได้ เรยี นการสอน (กิจกรรมสนุก

และ ภายนอก เพื่อเกิดการมีสว่ น คดิ สนุกทา, กจิ กรรมทศั น

รว่ มในการพัฒนาการศกึ ษา ศกึ ษาแหลง่ การเรียนรู้)

- K202 โครงการการเรยี น

การสอนโดยครชู าวตา่ งชาติ

กิจกรรมRoad Safety

Week)

แผนกธุรกำร

1. สร้างระบบงานสารบรรณใหเ้ ป็นหมวดหมูต่ รวจ สอบได้ - A201 โครงการสารบรรณ

2. พัฒนางานสารบรรณให้เป็นระบบรวดเรว็ และงา่ ยต่อ

การสืบค้น โดยใช้เครื่องมอื ทางดิจทิ ัลเปน็ ตวั ชว่ ย

แผนกสนบั สนุน HR ครไู ทย

1. วางแผน, กาหนดปฏิทนิ ตารางการประชุม - H401 โครงการระบบสาร

ประจาเดอื นในแตล่ ะภาคเรยี น สนเทศแผนกทรพั ยากรมนุษย์

2. จัดการประชุม และสรปุ รายงานการประชุม, เสนอฝ่าย

บริหาร

3. จัดทาขอ้ มูลสารสนเทศท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั คร,ู บุคลากรฯ

พนักงาน หรือผู้ท่ีปฏบิ ตั ิงานในสถานศกึ ษาใหเ้ ป็นระบบ

4. มีการปรบั ปรงุ ขอ้ มลู ให้เป็นปัจจบุ ัน เพอื่ ใหส้ ามารถ

นาไปใช้งานได้อยา่ งเรว็ ถกู ตอ้ งชัดเจน


Click to View FlipBook Version