The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการสรุปเสวนาออนไลน์ กลุ่มภาคตะวันตก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pachpach2543, 2021-11-05 04:12:31

รายงานผลการสรุปเสวนาออนไลน์ กลุ่มภาคตะวันตก

รายงานผลการสรุปเสวนาออนไลน์ กลุ่มภาคตะวันตก

รายงานสรุปการเสวนา
เรื่อง เศรษฐกิจพเิ ศษทวายทม่ี ีผลตอ่ ปจั จัยพนื้ ฐาน ภาคตะวันตกละประเทศเมยี นมาร์

เสนอ
อาจารย์คมสนั ศรบี ญุ เรือง

จัดทำโดย
1. 62121100104 นายสามารถ รกั ก้อน
2. 62121100110 นายสนั ตภิ าพ เตชะเสนา
3. 62121100115 นางสาวธมลวรรณ ทาใว
4. 62121100211 นายตรที เศศ บำรงุ สุข
5. 62121100213 นางสาวนองมือป้ี –
6. 62121100214 นางสาวณฐั นภาภรณ์ ขวกเขยี ว

สาขาวิชาสงั คมศกึ ษา คณะครุศาสตร์

รายงานเลม่ น้เี ป็นสว่ นหนึ่งของรายวิชา 25326301 ส่ิงแวดลอ้ มและประชากร
และรายวิชา 25423101 ภูมิศาสตร์ประเทศไทย
ภาคการศึกษาปีที่ 1/2564

มหาวิทยาลยั ราชภฏั กาญจนบรุ ี

คำนำ

รายงานผลการเสวนาออนไลน์ ภายใต้หวั ขอ้ เรอ่ื ง “เศรษฐกจิ พิเศษทวายที่มผี ลตอ่ ปัจจยั พืน้ ฐาน ภาค
ตะวนั ตกละประเทศเมียนมาร์” ซง่ึ เป็นกจิ กรรมการเสวนาออนไลนท์ ี่มกี ารบรู ณาการกบั รายวชิ าภูมิศาสตรป์ ระเทศ
ไทย และวชิ าสง่ิ แวดล้อมและประชากร โดยให้นักศึกษาสาขาวชิ าสังคมศึกษา ปี 3 เข้าร่วมกิจกรรมการเสวนา
ออนไลน์ในคร้งั น้ี เพื่อใหน้ ักศึกษาไดร้ ับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการเศรษฐกิจพิเศษทวายท่ีมผี ลกระทบต่อ
ภาคตะวันตก ในเรื่องของ การเมือง สิง่ แวดลอ้ ม สงั คม เศรษฐกจิ และในเร่ืองของอนาคตของโครงการเศรษฐกิจ
พเิ ศษทวายท่ีมีผลต่อภาคตะวันตก

ดังนน้ั นักศึกษาสาขาวชิ าสังคมศกึ ษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยลัยราชภฏั กาญจนบุรี ไดเ้ ห็นถงึ
ความสำคญั ในเรื่องของโครงการเศรษฐกจิ พิเศษทวาย จงึ ได้ดำเนนิ การจัดกจิ กรรมเสวนาออนไลน์ เพ่ือใหน้ กั ศกึ ษา
เกิดความรู้ ความเข้าใจ ที่สอดคล้องกับนกั ศกึ ษา

ทางนกั ศึกษาสาขาวชิ าสงั คมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยลัยราชภัฏกาญจนบุรี ได้ดำเนินกจิ กรรมตา่ งๆ
เสรจ็ ส้ินเรยี บร้อยแลว้ จึงไดร้ วบรวมขอ้ มลู ในการสรปุ ผลการรายงานผลการดำเนินงานตามการเสวนาออนไลน์
ทงั้ นเี้ พ่ือนำผลการดำเนินงานไปใช้ในการพฒั นาในการเสวนาตอ่ ไป

คณะผ้จู ัดทำ

สารบญั หนา้
เร่อื ง
4
เอกสารประกอบการเสวนา 7
- การเมือง 11
- เศรษฐกจิ 13
- สังคม 14
- ส่ิงแวดลอ้ 15
- อนาคตและผลกระทบของโครงการเศรษฐกิจพเิ ศษทวาย

ผลการประเมนิ การเสวนาออนไลน์

เศรษฐกิจพิเศษทวายท่มี ีผลตอ่ ปจั จยั พืน้ ฐาน ภาคตะวนั ตกและประเทศเมียนมาร์
1. การเมือง

การพัฒนาการเมือง เปน็ พน้ื ฐานทางการเมืองของการพัฒนาเศรษฐกิจทวายกบั ภาคตะวันตก ใน
แง่นก้ี ารเมืองท่พี ฒั นาแลว้ จะเปรยี บเสมือนปัจจยั ที่สำคัญท่ีจะเอื้ออำนวยตอ่ ความเจรญิ ทางเศรษฐกิจ เช่น
ชว่ ยใหร้ ายไดเ้ ฉลี่ยตอ่ หวั ของประชากรในภาคตะวนั ตกและทวายเพิ่มขน้ึ แตป่ รากฏวา่ การพฒั นาการเมือง
ในแงน่ ไ้ี ด้รบั การวพิ ากษ์วจิ ารณม์ ากกวา่ แคบไป ทงั้ ความเจริญทางเศรษฐกิจนั้นอาจเกดิ ขึ้นไดใ้ นระบบ
การเมืองทแี่ ตกต่างกนั และจากข้อเท็จริงท่ปี รากฏให้เหน็ ในหลายประเทศปัจจบุ ันเข้ามาลงทุนและเกดิ
ความเจรญิ ทางเศรษฐกจิ แมว้ ่าจะมกี ารเปลยี่ นแปลงทางการเมอื งถึงขนาดที่เราอาจจัดได้ว่าเป็นการ
พัฒนาการเมืองแล้วกต็ าม แนวคดิ นชี้ ี้ให้เห็นวา่ หากระบบการเมอื งมกี ารพฒั นาสูง จะส่งเสริมใหเ้ กดิ ความ
รุง่ เรอื งทางเศรษฐกิจ ความสำเร็จในการพฒั นาเศรษฐกิจจึงข้ึนอยกู่ ับระดบั ของการพฒั นาการเมืองของแต่
ละสงั คม สำหรบั ความเคลอื่ นไหวทางดา้ นรฐั บาล ได้มกี ารประชมุ กันและมกี ารอนุมัตใิ นกรอบแผนงาน
เกยี่ วกบั เขตเศรษฐกิจพิเศษ และไดส้ ร้างโครงการเหล่านีข้ ึ้นมา ซึง่ มีความสอดคล้องกบั การพฒั นา
การเมืองไปดว้ ยในการพัฒนาเศรษฐกจิ และได้มีการปกครองแบบไมใ่ ช่รฐั ในเขตตะนาวศรี แต่ประชากร
ไมใ่ ชช่ าตพิ นั ธุ์พม่าเหมือนเขตอ่ืน เพราะคนส่วนใหญ่เป็นคนไทย แต่ไม่ไดม้ กี องกำลงั แบ่งแยกดินแดน
เหมอื นชนกลมุ่ น้อยอ่ืนๆ ดังนั้นจึงต้องมีการพัฒนาการเมืองมาพฒั นาในภาคตะวันตกและทวาย ชายแดน
ไทย-พม่า

การพฒั นาการเมือง เปน็ การเมอื งของสงั คมอุตสาหกรรมทวายกบั ภาคตะวนั ตกคือมีการมองกนั
วา่ การเมืองในประเทศอุตสาหกรรมไม่ว่าจะเป็นระบอบการเมืองแบบประชาธปิ ไตยหรือเผดจ็ การจะมี
แบบแผนของพฤตกิ รรมของสมาชิกของสงั คมในลกั ษณะทีม่ ีเหตผุ ล รฐั บาลมคี วามยอมรับผดิ ชอบต่อความ
สงบสขุ และมีความกินดีอย่ดู ีของประชาชน ซึ่งเทา่ กบั เป็นการยอมรบั วา่ การเมืองเป็นเพียงเคร่ืองมือในการ
แก้ปัญหา ได้เปน็ เป้าหมายในตัวเองไม่ การเมืองของสังคมอตุ สาหกรรมจึงนับได้ว่าเป็นแบบอยา่ งท่ีดซี งึ่
ชใี้ ห้เหน็ ถงึ ความสำเรจ็ ในการแกป้ ัญหาให้ลุลว่ งไปด้วยดี โดยเฉพาะในปญั หาหลักคือ การแจกแจงความ
กนิ ดอี ย่ดู ีให้กบั สมาชิกอย่างเป็นธรรมกวา่ ในสงั คมอ่ืน ๆ แนวคิดน้ีชใ้ี ห้เหน็ วา่ สังคมทพ่ี ัฒนาจนกา้ วเข้าสู่
สงั คมอตุ สาหกรรมได้นน้ั ระบบการเมืองจะต้องมรี ะดับการพัฒนาสงู ดังนน้ั ลกั ษณะระบบการเมืองของ
สังคมอุตสาหกรรมคือรูปธรรมของระบบการเมืองที่พัฒนาแลว้ เพราะฉะนนั้ การพฒั นาการเมืองในภาค
ตะวนั ตกและทวายเราจะเห็นถงึ ด้านการเมืองของสงั คมอุตสาหกรรมเป็นหลักในการผลักดนั เศรษฐกิจให้มี
ความเจรญิ และรุ่งเรอื งข้นึ แต่รัฐบาลจะตอ้ งมองความเป็นอยู่สุขของประชาชนทีอ่ ยู่ใกล้ชายแดนไทย-พมา่
ตอ้ งมีความรบั ผิดชอบต่อประชาชนเพ่ือไมใ่ ห้เกิดผลกระทบต่อที่อยู่อาศยั ของประชาชน

การพัฒนาการเมือง เปน็ ความเป็นทนั สมยั ทางการเมืองทวายกับภาคตะวันตกเนื่องจาก
แนวความคดิ ท่ีพยายามโยงการพฒั นาการเมอื งกับการเมืองของสังคม อุตสาหกรรมได้รับการ
วิพากษ์วิจารณ์วา่ เป็นแนวความคิดท่ีท่ลี ำเอียง ไม่ให้ความสำคญั กับประเพณแี ละปทสั ถานของสงั คมอนื่ ๆ
มาตรฐานของสงั คมอุตสาหกรรมหรอื สังคมตะวนั ตกนัน้ ไม่สามารถใชว้ ดั ไดใ้ นทุกระบบสังคม ซง่ึ จากข้อ
แยง้ เหล่านี้กเ็ น่ืองมาจากความเจรญิ ทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี และผลจากความเจริญทางวทิ ยาการ
เหล่านเี้ องจะช่วยสนับสนุนให้มนษุ ยไ์ ด้มองเหน็ แง่มุมตา่ ง ๆ ของสังคม เศรษฐกจิ และการเมืองได้
กวา้ งขวางย่งิ ขน้ึ กลุ่มผลประโยชน์และกลุ่มอิทธพิ ล แตล่ ะกลมุ่ ต่าง ก็พยายามเขา้ ไปมีส่วนรว่ มทางการ
เมอื ง โดยมงุ่ หวงั ที่จะใช้อทิ ธิพลตอ่ การกำหนดนโยบายนนั้ ๆ ออกมาในรปู ของการเอ้ือประโยชน์ต่อกล่มุ ตน
ใหม้ ากทส่ี ดุ เพราะฉะน้ันเราจะมองเห็นว่าการเข้ามาลงทุนของชาวต่างชาตใิ นภาคตะวันตกกับทวายนน้ั
ซ่อื หวงั ผลประโยชน์ในด้านการลงทนุ การใชท้ รัพยากรเหมอื นแร่ การขนส่ง และทำให้รัฐเขา้ มามีบทบาท
และเข้ามามผี ลประโยชนต์ อ่ การลงทนุ และไดม้ ีการก่อสรา้ งท่าเรือน้ำลกึ ซึ่งเหมาสำหรบั การขนส่งสนิ ค้า
ดงั นน้ั การพฒั นาการเมืองได้มีการพัฒนาการเมืองได้มีการเปล่ียนแปลงระบบการเมืองให้มคี วามทันสมัย
ต่อความเจรญิ ดา้ นการเมอื งท่ีมกี ารเข้ามาลงทนุ ในภาคตะวนั ตกและทวาย การเปล่ยี นแปลงระบบ
การเมืองใหม้ ีความทนั สมัยกล่าวคอื จะต้องมีการแบ่งโครงสรา้ งทางการเมืองให้มีความแตกตา่ งซับซ้อน
จะต้องสรา้ งสรรคใ์ หเ้ กิดเอกภาพในอำนาจทางการปกครอง และจะต้องสง่ เสริมให้ประชาชนมสี ่วนรว่ ม
ทางการเมือง

การพัฒนาการเมือง หมายถึงเรอื่ งราวของการพฒั นาระบบบรหิ ารและกฎหมายทวายกบั ภาค
ตะวนั ตกแนวความคิดต่อเนอ่ื งมาจากความเห็นดวี ่าการพฒั นาการเมืองเป็นเรื่องการสร้างชาติ โดยแบ่ง
รปู แบบของการสรา้ งชาติออกเป็น 2 รูปแบบคือ การสร้างสถาบนั และการพฒั นาพลเมืองซึ่งทงั้ 2
รูปแบบนี้จะคล้องจองกันในลักษณะหน่งึ แนวความคดิ น้ีมุง่ ท่กี ารพัฒนาสถาบันบรหิ ารและพฒั นา
เคร่อื งมอื ของสถาบนั น้ไี ปพร้อมๆ กันด้วยน่นั คือการพฒั นากฎหมายเพอ่ื สร้างความสงบเรียบรอ้ ยและ
ประสทิ ธภิ าพในการแกป้ ัญหาทีเ่ กดิ ขึ้นในสังคม แนวทางนี้ช้ีให้เห็นวา่ ระบบบริหารเพื่อตอบสนองความ
ต้องการของประชาชนจะมปี ระสทิ ธิภาพมากน้อยแค่ไหนนั้น ข้นึ อยู่กับระดับของการพฒั นาการเมือง
ระบบการเมืองทม่ี ีระดับการพัฒนาสงู จะส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ การพฒั นาประสิทธิภาพของการบริหาร ตลอดจน
ช้ใี ห้เหน็ วา่ ระบบกฎหมายจะไดร้ บั การพฒั นา เพ่ือดำรงความยตุ ธิ รรมของสงั คมและตอบสนองความ
ตอ้ งการของประชาชนสว่ นใหญ่ ภายใตร้ ะบบการเมืองที่มีการพฒั นา รัฐบาลไทยไดพ้ บหารอื กบั รฐั บาล
พมา่ ในการพัฒนาการเมืองเก่ียวกบั การเข้ามาลงทนุ ของภาคตะวันตกและทวาย ท่ีมรี ฐั บาลพมา่ กับรฐั บาล
ไทยไดส้ รา้ งรว่ มกันโดยการมสี ว่ นร่วมในการลงทนุ รัฐบาลเมียนมาร์ได้ออกกฎหมายในการส่งเสริมการ

ลงทุน 3ฉบบั ได้แก่ กฎหมายดว้ ยการลงทุนจากต่างประเทศ กฎหมายเขตเศรษฐกิจพิเศษ กฎหมาย
เกีย่ วกบั การลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย ดังนัน้ ทำใหร้ ัฐบาลทง้ั สองในการทำงานรว่ มกนั ผลกั ดันให้
เกิดความสำรวจในโครงการและยังทำให้ประเทศไทยได้เป็นเจา้ ภาพจัดการประชุมคณะกรรมประสานงาน
ร่วมครง้ั ท3่ี

การพฒั นาการเมือง เป็นเร่ืองของการระดมพลและการมีส่วนร่วมทางการเมอื งทวายกบั ภาค
ตะวนั ตก แนวความคิดนีอ้ ้างวา่ การฝกึ ฝนและการให้ความสำคญั กบั สมาชิกของสังคมในฐานะเป็นราษฎร
ตลอดจนการสง่ เสริมให้พวกเขาเขา้ มีส่วนร่วมทางการเมืองนน้ั เปน็ สิง่ ที่สำคัญยง่ิ ต่อรฐั ชาติใหม่ และถอื ได้
ว่าเป็นปัจจยั ที่สำคัญยิ่งต่อการพัฒนาการเมอื ง และประเด็นท่สี ำคญั ประการหน่ึงในการศึกษาการพฒั นา
การเมืองในแง่น้ีคือ เรามักจะผูกพันลกั ษณะการเขา้ มามสี ว่ นร่วมทางการเมืองกบั สทิ ธิในการออกเสยี ง
เลอื กตั้งแบบประชาธปิ ไตยมากเกนิ ไปจนมองข้ามการมสี ่วนร่วมทางการเมืองในลักษณะอ่ืนๆ ด้วย หัวใจ
สำคัญของแนวคิดน้ีคอื อำนาจทางการเมืองเป็นของประชาชน ดังน้นั ประชาชนจะต้องแสดงบทบาทใน
การควบคมุ กำกับ และตรวจสอบระบบการเมือง เพ่ือให้แน่ใจว่าระบบการเมอื งที่สง่ เสริมใหป้ ระชาชนมี
สว่ นร่วมทางการเมืองดงั กลา่ ว คอื ระบบการเมืองทพี่ ัฒนา หรืออาจกลา่ วได้ว่า แนวทางการพัฒนาทาง
การเมือง คือ การส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชนมสี ่วนร่วมทางการเมืองอย่างกวา้ งขวางและท่วั ถึง ดังนน้ั ประชาชน
ในภาคตะวันตกและทวายมีสิทธใิ นการอออกเสียงในการเลือกแบบประชาธิปไตยในการยินยอมการมีส่วน
รว่ มในการพฒั นาการเมืองในเขตภาคตะวนั ตกและทวาย โดยการไม่ถูกรงั แกจากภาครัฐในการเข้ามา
พฒั นาเศรษฐกจิ ในภาคตะวันตก ดงั น้นั การท่ภี าครฐั จะสร้างโครงการเศรษฐกิจพิเศษทางภาคตะวนั ตกท่ี
ติดกับชายแดนไทย-พมา่ ได้นั้น ภาครฐั จะต้องขอความร่วมมือต่อประชาชนที่อยู่ใกล้ในพ้ืนทีแ่ ละให้สทิ ธิ
แกพ่ วกเขาเพ่ือไม่ให้เกิดผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ

การพฒั นาการเมือง เป็นแงห่ นึง่ ของกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสงั คมทวายกับภาคตะวันตก
ดังท่เี ราได้กลา่ วมาแลว้ ขา้ งต้นวา่ การพัฒนาการเมอื งนนั้ จะผูกพันอย่างแนน่ แฟน้ กับการเปลี่ยนแปลงทาง
เศรษฐกจิ สังคม การที่ด้านใดดา้ นดา้ นหนง่ึ ของสังคมแปรเปลยี่ นไปจนกระทบถงึ การเปล่ียนแปลงในด้าน
อน่ื ๆ ด้วย การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ก็ถือวา่ เป็นลักษณะหนึง่ ของการเปลย่ี นแปลงท้งั ปวงของสงั คม
ฉะนน้ั ในการศึกษาการพัฒนาการเมืองจงึ จำเปน็ ต้องศึกษาการเปล่ยี นแปลงทางเศรษฐกิจสงั คมพร้อมกนั
ไปด้วย ถา้ จะพูดถึงการพัฒนาการเมืองภาคตะวันตกและทวายน้ันรัฐต้องมองเหน็ ถึงบริบทของคนในพนื้ ที่
ในสงั คมวา่ มรี ะบบการเปน็ อยู่อยา่ งไร รัฐไม่สามารถจะพฒั นาตามความชอบของตนได้เพราะฉะนั้นขนึ้ อยู่
กับสภาพสงั คมการเปลยี่ นของประชาชนทีอ่ ยู่อาศยั ในชายแดนไทย-พมา่

การพัฒนาการเมืองและผลกระทบที่เกดิ ขึน้

การพัฒนาการเมืองและผลกระทบท่จี ะเกิดข้ึนในภาคตะวันตกกบั ทวายนนั้ คอื การได้รบั
ผลกระทบจากการสร้างโครงการเศรษฐกิจพิเศษทวาย ประชาชนที่อยใู่ นพนื้ ทเี่ กดิ การไม่มีท่ีอยู่อาศัย และโครงการ
ทา่ เรอื น้ำลึกทวายนัน้ เป็นโครงการท่มี ีผลดีอยา่ งมากต่อภาคเศรษฐกจิ ของไทย เพราะ นอกจากไทยจะเปน็ ผู้ร่วม
ลงทนุ หลักแล้ว ประเทศไทยเองยงั จะกลายเปน็ ศูนย์กลางการขนสง่ ของภมู ภิ าคอกี ด้วย อย่างไรก็ตามดว้ ยความที่
ประเทศไทยจะกลายเปน็ ศนู ย์กลางดงั กลา่ วน้นั สามารถก่อให้เกดิ ผลกระทบ ดา้ นความมั่นคงของไทย ความมั่งคง
นอกรปู แบบโดยเฉพาะจากทางพม่าทงั้ ในรปู แบบของอาชญากรรมข้ามชาติ ยาเสพติด เป็นตน้

2. ดา้ นเศรษฐกิจ : รปู แบบเศรษฐกจิ ทวายในเขตพ้นื ทภี่ าคตะวนั ตกและเมียนมาร์ เศรษฐกิจ
ภาคตะวันตก เขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย โครงการท่าเรอื นำ้ ลึก และนคิ มอุสาหกรรมทวาย

มีรูปแบบเศรษฐกิจการคา้ รปู แบบระเบียงเศรษฐกิจ

เส้นทางระเบียงเศรษฐกิจ เป็นเส้นทางท่ใี หค้ วามสำคญั ต่อความเชือ่ มโยงด้านโครงสรา้ งพ้ืนฐานในอนุ
ภมู ิภาคลมุ่ นำ้ โขง โดยเฉพาะเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจแนวตะวนั ออก-ตะวนั ตก ( East West Economic
Corridor ) หรอื เส้นทางหมายเลข 9 โดยเสน้ ทางหมายเลข 9 จะเป็นเสน้ ทางที่มปี ระโยชน์และมคี วามสำคญั ต่อ
ไทย ทางด้านการขนสง่ โลจสิ ตกิ ส์ และการลงทนุ แตก่ ลบั มีสภาพท่ีสามารถใช้ได้บางสว่ น ซงึ่ ยงั ตอ้ งอาศยั กลไก
ความรว่ มมีอระหว่างประเทศและการแก้ไขปญั หาต่างๆ

เปน็ การเชอื่ มโยงเส้นทางคมนาคมทางบกระหว่างประเทศสมาชิก โดยเส้นทางหมายเลข 9 ถอื เป็นการ
เชือ่ มโยงทางถนนระหวา่ งฝงั่ ตะวันตกและฝง่ั ตะวันออก ผา่ น 4 ประเทศคือประเทศเวียดนาม ประเทศลาว
ประเทศไทย และประเทศสหภาพพม่าการเพม่ิ พูนความเช่ือมโยงทางถนนผ่านเสน้ ทางหมายเลข 9 จะช่วยใหอ้ นุ
ภมู ิภาคลมุ่ นำ้ โขง ( GMS ) สามารถเพิ่มพนู โอกาสระหว่างประเทศสมาชกิ ในการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจและจะช่วย
เพ่มิ พูนความสามารถในการแขง่ ขนั ควบคู่กับการเสรมิ สรา้ งการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจและความยง่ั ยืนใหแ้ ก่อนุ
ภมู ิภาคลุม่ นำ้ โขง

ผลประโยชน์บนเสน้ ทางระเบียงเศรษฐกิจ ( แนวตะวนั ออก - ตะวันตก )
1. ความเช่อื มโยงดา้ นโครงสร้างพนื้ ฐาน

ความเช่อื มโยงด้านโครงสรา้ งพ้ืนฐานสำหรับภาครฐั มกั มองวา่ มปี ระโยชน์และมคี วามสำคัญตอ่ ไทย
ทางด้านการขนส่ง โลจสิ ตกิ ส์ และการลงทนุ แตม่ สี ภาพท่ีสามารถใช้งานไดเ้ ป็นบางส่วน โดยมปี จั จัยสำคัญ ไดแ้ ก่
การมคี วามพร้อมทางดา้ นโครงสรา้ งพันฐาน บคุ ลากร และเทคโนโลยี นอกจากน้ี ยังต้องอาศยั กลไกความร่วมมือ

ระหวา่ งประเทศ อาทิ GMS, ACMECS และความร่วมมือระดบั ทวภิ าคี-สหภาพพมา่ รวมทง้ั การเข้าสู่ ประชาคม
เศรษฐกจิ อาเซียน (AEC) ในอนาคตและการบงั คบั ใชข้ อง FTAซง่ึ ปัจจัยทเี่ ป็นตวั กำหนดของความพร้อมของภาครัฐ
ไดแ้ ก่ นโยบาย แผนงาน และยุทธศาสตรด์ า้ นการขนส่งและโลจสิ ตกิ ส์ ความต่อเนื่องของนโยบาย และความ
ตอ้ งการของภาคธรุ กิจ ขณะท่ีปัจจัยทเี่ ป็นตวั กำหนดโอกาสของภาคเอกชน ได้แก่ ประโยชนท์ างธรุ กจิ และความ
พร้อมของธรุ กิจ สำหรับปญั หา

2. ด้านการคา้ บนเส้นทางระเบยี งเศรษฐกิจ

กิจกรรมดา้ นการคา้ บนเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจที่มีผลต่อการเตบิ โตและพัฒนาด้านโครงสรา้ งพ้นื ฐาน
(เสน้ ทางหมายเลข 9) ประกอบด้วย การค้า การผลิต และการลงทุน ขณะทก่ี ิจกรรมทางเศรษฐกิจทช่ี ่วยส่งเสรมิ
ความร่วมมือในภูมภิ าคตามแนวเสน้ ทางหมายเลข 9 ท่ีสำคัญกค็ ือ การค้าผ่านแดน / การคา้ ชายแดน อตุ สาหกรรม
การเกษตร และการขนส่ง โดยตอ้ งคำนึงถงึ ตน้ ทนุ ขนสง่ ตลาดสินค้าและผูป้ ระกอบการ ขณะท่ปี ระเภทของการคา้
ท่ีมผี ลโดยตรงตอ่ การใช้ประโยชนจ์ ากเส้นทางหมายเลข 9 กค็ อื การนำเข้า-ส่งออกกบั ประเทศเพื่อนบ้าน การคา้
ชายแดนและการคา้ ผา่ นแดน

3. ดา้ นการผลติ บนเสน้ ทางระเบยี งเศรษฐกิจ

ถา้ จะกลา่ วถึงการผลิตในภาคอุตสาหกรรมก็จะพบว่า ประเภทของอตุ สาหกรรมการผลติ ที่มผี ลต่อการใช้
ประโยชนจ์ ากเสน้ ทางหมายเลข ประกอบดว้ ย การเกษตร วัสดกุ ่อสร้าง และสงิ่ ทอและเครื่องแตง่ กาย ในขณะท่ี
ปัจจัยที่มผี ลต่อภาคการผลติ เพ่ือใช้ประโยชนจ์ ากเสน้ ทางหมายเลข 9 ยงั คงเป็นปัจจยั การผลติ ดา้ นทรพั ยากร
แรงงาน วตั ถดุ ิบ เทคโนโลยี ฯลฯทีเ่ ปน็ ปัจจัยสนบั สนนุ และเก่ียวเนื่อง กบั คณุ ภาพและปริมาณความต้องการสนิ ค้า
และบริการในภาคอุตสาหกรรม โดยปัจจยั ท่มี ีผลต่อการใชป้ ระโยชน์จากเส้นทางหมายเลข 9 เม่อื เปรยี บเทยี บกับ
เสน้ ทางเศรษฐกจิ อน่ื ๆ กค็ ือ ปัจจัยดา้ นกฎระเบียบ นโยบายรัฐบาล หนว่ ยงานภาครัฐ ฯลฯ นอกจากนย้ี ังมีปัจจยั
ด้านสิ่งอำนวยความสะดวกท่เี อ้อื ต่อการขนส่งสนิ คา้ อัน ได้แก่ จดุ พักรถ ศูนยก์ ระจายสินค้า สถานีน้ำมนั รวมทัง้
ผู้ประกอบการ

การเกดิ การค้าทางเศรษฐกิจทวายระหว่างไทยกับเมียนมาร์

ปัจจุบันมปี ัญหาเรอื่ งต้นทนุ โลจิสตกิ ส์ทีส่ งู ขึน้ กับราคานำ้ มนั เชือ้ เพลิง เป็นปจั จยั การขนส่งทางรถยนตแ์ ละ
ทางเรือ มเี สน้ ทางการเดนิ ทางนอกจากทางด้านตะวนั ออก เพื่อไปดา้ นตะวนั ตก เมืองมองไปยงั ภาคตะวนั ตก
ออกไปยงั ชายฝั่งอนั ดามนั เป็นพ้ืนทก่ี ารเดนิ ทางขนสง่ สินค้าท่ีมคี วามหน้าสนใจ ระหวา่ งไทยและเมียนมาร์ ดา้ น
ภาคตะวันตก มจี ังหวัดกาญจนบุรเี ป็นศูนย์กลางทางดา้ นเศรษฐกจิ เพ่ือรับมือกบั โครงการทวายทเี่ กิดขึ้น

1. การพฒั นาทา่ เรอื นำ้ ลึกช่วยในด้านเศรษฐกจิ การเดนิ ทางขนส่งของประเทศเปดิ โอกาสประเทศไทยสู่
เส้นทางการเดนิ ทางที่เชื่อมไปยังเมยี นมาร์และประเทศต่างๆ จีน อนิ เดีย บังคลาเทศ รวมทัง้ สรา้ ง

โอกาสการเดินทางโลจิสติกส์ยังพืน้ ท่ภี าคตะวันตกไปยังภาคตะวันออก นิคมแหลมฉบังและประเทศ
โดยรอบ
2. มกี ารพัฒนาท่าเรือนำ้ ลึก นคิ มอสุ าหกรรม เมืองและรีสอร์ท ชว่ ยในการกระตนุ้ เศรษฐกิจ สนิ ค้า
อปุ โภคบรโิ ภค และส่งิ อำนวยความสะดวก สำหรับคนงาน นักทอ่ งเท่ยี ว นกั ธรุ กจิ สร้างโอกาสนกั
ธรุ กิจไทย ในการผลิตสินค้าไปจำหนา่ ยยังพม่า ตำแหนง่ เมืองทวายเป็นแหลง่ กระจายสินคา้ ต่อไปยัง
เมอื งเย่ เมืองเมาะลำไย และย่างกุ้งได้ และสามารถนำวตั ถดุ ิบพม่า กลบั เขา้ มาผลติ และแปรรปู มูลค่า
ไทย เช่น ไม้ สินแร่
3. ประเทศไทยเนน้ การพฒั นาเสน้ ทางขนส่งสินค้าและระบบโลจิสตกิ เชื่อมโยง เพื่อที่จะให้ประเทศไทย
เปน็ ศูนย์กลางขนสง่ ของภมู ภิ าค
4. เปิดชอ่ งทางการค้าขายกบั ประเทศไทย โดยเฉพาะภาคตะวันตก จังหวดั กาญจนบรุ ี บา้ นน้ำพรุ ้อน
ขยายการค้าการลงทนุ เชื่อมโยงการท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์

ปัญหาและอุปสรรคท่ีส่งผลตอ่ เศรษฐกิจประเทศไทยในการลงทุนกบั เมยี นมาร์

1. การขาดแคลนปัจจยั พืน้ ฐานทางเศรษฐกิจอย่างมาก ถนนพื้นที่พมา่ ยังขาดแคลนการพฒั นาที่ไม่ได้
มาตรฐาน การเดนิ ทางขนส่งไปยงั พ้นื ท่ลี า้ ชา้ มตี ้นทุนการใชจ้ ่ายสงู

2. ขาดแคลนปัจจัยสนับสนุนในการดำเนนิ ธรุ ะกจิ เช่น ปญั หาการล้าหลังของระบบธนาคารเมียนมา่ การ
ดำเนินงานท่ีส่วนมากจะใชเ้ งินสดเปน็ หลัก

3. การขาดแคลนแรงงานฝีมอื เนื่องจากรัฐบาลละเลย สนบั สนนุ การศึกษา ประเทศเมยี นม่าจึงมีแรงงาน
ภาคอตุ สาหกรรมมากมาย กว่าแรงงานท่ีมีความต้องการของอตุ สาหกรรม

เขตเศรษฐกจิ ทวายกับพนื้ ที่ภาคตะวนั ตก

เขตเศรษฐกิจทวายเมื่อเช่อื มกับพนื้ ที่ภาคตะวันตก หรือบา้ นน้ำพุรอ้ น จงั หวดั กาญจนบุรี จะทำใหส้ ามารถ
ขนส่งและแปรรูปวตั ถดุ ิบและสินคา้ ไปสู่ตลาดโลกได้อย่างสะดวกยิ่งขน้ึ โดยเป็นพ้ืนฐานเศรษฐกิจหลกั ที่กระการ
พัฒนาอสุ าหกรรมและพาณชิ ยกรรมของภาคตะวนั ตก

1. การพฒั นานิคมอุสาหกรรมและท่าเรือน้ำลกึ ทวาย เปดิ เส้นทางทางการคา้ ใหม่และเชื่อมไปยงั พนื้ ท่ตี า่ งๆ
ของโลก เมื่อเชือ่ มกบั ประเทศไทย โดยเฉพาะจังหวดั กาญจนบุรีทำให้จัดต้ังนิคมอุสาหกรรมในเขต
เศรษฐกิจกาญจนบุรี เพ่ือทจ่ี ะรองรับอุสาหกรรมหนกั ในอุสาหกรรมทวาย อุสาหกรรมหนัก เช่น ปโิ ตรเคมี
โรงถลงุ เหล็ก การผลติ ไฟฟ้า เพือ่ ที่จะไม่ให้สง่ ผลกระทบต่อสิ่งแวดลอ้ มและประชาชนจงั หวัดกาญจนบรุ ี

2. มกี ารสนบั สนนุ อยา่ งเพียงพอจาก จังหวัดกาญจนบุรี ทเ่ี ป็นจดุ เชอ่ื มต่อแรกของทวายเขา้ สู่ประเทศไทย มี
การสนับสนุนดา้ นการบริการธุรกิจ การศกึ ษา และจังหวัดกาญเปน็ จุดท่ีเช่ือมกับกรุงเทพมหานครได้อยา่ ง
รวดเร็ว

3. เขตพืน้ ทภี่ าคตะวนั ตกเปน็ ศนู ยก์ ลางสำคญั ในการเช่อื มการขนสง่ กับเมยี นม่า มีบทบาทที่สำคญั ในการ
แก้ไขข้อจำกดั การขยายอสุ าหกรรมในประเทศไทย และสนับสนนุ การเพ่มิ ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั
ของประเทศในอนาคต

4. การลงทุนของไทยและพมา่ มกี ารขายแฟรนไซส์ให้กับบริษทั พม่า เหมาะกบั ผปู้ ระกอบการทีย่ งั ไมม่ ีความ
พร้อมและไม่ต้องการท่จี ะเสี่ยงในการลงทุน เช่น การเปิดรา้ นช็อป มีการจัดตัง้ ษริทษัทจำหนา่ ยในพมา่
โดยทก่ี ระบวนการผลติ สินค้าอยูท่ ี่ประเทศไทย ลงทนุ ตงั้ บริษทั ท่ีพมา่ เพ่อื ดำเนนิ การขายโดยชาวตา่ งชาติ
ซ่งึ รปู แบบนี้ยังไม่เหมาะสม หรือการจัดตั้งโรงงานเป็นหุ้นส่วนกบั พม่ามสี ่วนร่วมในการลงทุน

ประเทศไทยไดร้ ับประโยชน์ในดา้ นเศรษฐกจิ

1. ภาคตะวนั ตกเป็นศนู ย์กลางทางการค้า เปน็ ฐานในการผลิต และฮับโลจสิ ติกสใ์ นการนำเข้าและส่งออก
จังหวัดในภาคตะวันตกตา่ งๆ กาญจนบุรี ราชบรุ ี เพชรบรุ ี สมทุ รสงคราม สมุทรสาคร สุพรรณบุรี

2. พน้ื ทีข่ องจังหวดั กาญจนบรุ ี ราชบุรี สุพรรณบุรี จะเป็น Gate way ของ 6 ภมู ิภาคอาเซียน พมา่ ลาว
กัมพูชา เวียดนามมาเลเซยี ซ่ึงไทยจะเป็นศนู ย์กลางการขนสง่ แหง่ ภมู ิภาคแทนประเทศสงิ คโ์ ปรโ์ ดยทนั ที

3. ประเทศไทยมีจุดแข็งทมี่ ีความสำคญั คือ เปน็ ศนู ย์กลางทางการค้าการผลิตและการส่งออกสนิ คา้ หรอื เรา
สามารถเรยี กว่า เปน็ ครวั โลก

4. จงั หวดั กาญจนบุรี ในเขตพ้ืนท่เี ศรษฐกิจใหม่จะมกี ารเจรญิ เติบโตแบบก้าวกระโดด ไม่ว่าจะเป็นเศรษฐกิจ
ท่ีจะมีเศรษฐกิจท่ีดี

5. เมอื งหนา้ ด่านทางด้านตะวนั ตก จะเปน็ เส้นทางการค้าแหง่ ใหม่ของโลก เปน็ จดุ ทีเ่ ชือ่ มต่อภูมภิ าคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ อุสาหกรรมท่อี ยู่พมา่ จะต้องใชแ้ รงงานพม่ามาประกอบบบรรจุในประเทศไทยแลว้ สง่
ท่าเรือแหลงฉบวั สินคา้ ที่ไทยส่งออกพมา่ ไดแ้ ก่ นำ้ มันสำเร็จรปู เคร่ืองดม่ื ปนู ซเี มนต์ อุปกรณ์ผา้ อาหาร
สำเรจ็ รปู เคร่ืองอำอาง สบู่

3. สงั คม กล่มุ ชาตพิ นั ธุใ์ นภมู ิภาคตะวันตก

พบว่า มีกลมุ่ ชาติพนั ธต์ุ ่างๆ ในภาคตะวันตกดังน้ี กะเหร่ยี ง มอญ ละว้า พม่า ลาวพวน ลาวโซ่ง ลาว
คร่งั ลาวตี้ ลาวเวยี ง ลาวยวน เขมร ญวน กวย(ส่วย) มุสลมิ และจีน

ชาติพนั ธุ์แรกท่ีจะกล่าวถึงคือ กะเหรีย่ ง เปน็ ชาติพนั ธทุ์ ่มี จี ำนวนมากทสี่ ดุ อาศัยอยู่ 5 จงั หวดั ของภาค
ตะวันตก คือ กาญจนบุรี ราชบรุ ี ประจวบคีรีขันธ์ สุพรรณบรุ ี และเพชรบรุ ี กะเหรีย่ งในจังหวัดราชบรุ ีตัง้ ถน่ิ
ฐานอยูบ่ ริเวณชายแดนใกลเ้ ทือกเขาตะนาวศรี มีผสู้ ันนิษฐานวา่ กะเหรีย่ งกลุ่มราชบรุ ี เพชรบุรี และ
ประจวบคีรีขนั ธ์ นา่ จะอพยพโยกยา้ ยมาจากเมืองทวายในพมา่ ชาวกะเหรย่ี งรุ่นเก่าท่ีอยู่ในตำบลสวนผ้งึ เล่าตอ่
กนั มาว่าราว ๒๐๐ ปเี ศษผ่านมาแล้ว ได้ถูกพม่ารกุ รานจงึ พากนั อพยพข้ามเทอื กเขาตะนาวศรเี ข้าชายแดนไทย
ทางอำเภอไทรโยค จงั หวัดกาญจนบุรี ตัง้ บา้ นเรือนอย่ใู นอำเภอไทรโยค อำเภอทองผาภูมิ อำเภอสงั ขละบรุ ี
แล้วแยกย้ายกันไปอยู่ทจี่ ังหวดั ราชบุรตี ำบลยางหกั อำเภอปากท่อ แล้วโยกยา้ ยต่อมาทางตะวนั ตกจนถึงลำน้ำ
ภาชี ตงั้ บา้ นเรอื นอยูใ่ นอำเภอสวนผงึ้ และกงิ่ อำเภอบา้ นคาสว่ นอีกสายแยกลงไปทางใตถ้ ึงตน้ น้ำเพชรบรุ ที ่ี
อำเภอท่ายางจงั หวดั เพชรบุรี นอกจากน้ียังอยู่ทีอ่ ำเภอปราณบุรี จงั หวัดประจวบคีรีขันธ์ อำเภอด่านชา้ ง
จงั หวัดสพุ รรณบรุ อี ีกดว้ ย

พมา่ หรอื เมยี นมา มีช่ือทางการวา่ สาธารณรฐั แห่งสหภาพเมียนมา ตงั้ อยใู่ นภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออก
เฉยี งใต้ ในส่วนของดินแดนภาคพนื้ ทวีป มีอาณาเขตติดกับไทย ลาว จีน อนิ เดยี และบงั คลาเทศ มจี ำนวน
ประชากร 53.26 ลา้ นคน (The World Bank, 2015) ประกอบไปดว้ ยกลุ่มชาตพิ ันธต์ุ า่ งๆ ถงึ 135 กลมุ่ ที่
รู้จักกันทัว่ ไป ไดแ้ ก่ พม่า มอญ ฉาน กะเหร่ียง คะฉิ่น ฉิน่ คะยา ยะไข่ กลมุ่ ชาติพนั ธุท์ ้ัง 8 กลุ่มเปน็ กลมุ่ ชาติ
พันธท์ุ ไ่ี ด้รับความสำคญั ต่อประวตั ิศาสตร์ชาติ โดยมีการกำหนดช่อื กลุ่มชาติพนั ธ์ุใหเ้ ปน็ ชอื่ รฐั 7 รฐั ยกเว้นกลุ่ม
ชาตพิ นั ธพุ์ มา่ ทร่ี ะบุใหเ้ ป็นกลุ่มชาตพิ ันธห์ุ ลกั ของ 7 เขต คือ สะกาย มณั ฑะเลย์ พะโค ย่างก้งุ เอยาวดี มะเกว
และตะนาวศรี

นอกจากกลมุ่ ชาติพันธุ์หลกั ดังกลา่ ว พม่ายงั มีกลุ่มชาติพันธุ์ยอ่ ยๆ อีกมากมาย เชน่ ธนุ ต่องโย แตะ้
มรมาจี ดายนา อีงตา ระวาง ลีซู ลาหู่ กอ ขขุ ลาซี ขมี นาคะ แมว้ ว้า ปะหล่อง ปะเล ยีง ปะโอ ซะโหล่ง ซะ
เหย่ง ยงี บ่อ บะแระ ปะด่อง ยงี ตะแล คำตี่ โย หล่ำ ขมุ ลุ และ ขนึ กลุม่ ชาติพนั ธเ์ุ หล่านส้ี ว่ นมากอาศยั
กระจายอยบู่ นพืน้ ทสี่ งู และเขตภเู ขาทางภาคเหนือ ภาคตะวนั ตก และภาคตะวนั ออก มีบา้ งเล็กน้อยท่ีอาศยั อยู่
ทางภาคใต้ ส่วนใหญ่ไมเ่ ป็นท่ีคนุ้ เคยแม้ในหมู่ชาวพม่าท่วั ไป กล่มุ ชาตพิ ันธส์ุ ว่ นใหญ่มีความเปน็ อยู่ทีใ่ กล้ชิดกับ
ธรรมชาติ กล่มุ ท่ไี ดร้ บั ความสนใจจากรฐั บาลเน่ืองเพราะปัญหาค้ายาเสพติด คือ กลุ่มโกก้งั และกลมุ่ วา้ อาศัย
อยใู่ นรัฐฉานใกลช้ ายแดนจีน ภายหลังกลุ่มวา้ ไดข้ ยายพ้ืนที่มาใกล้ไทย ส่วนอีกกลุ่มหน่ึงที่รัฐให้ความสนใจมาก
ขน้ึ คอื นาคะ ซ่ึงอยใู่ กลช้ ายแดนจรดกบั อินเดียเพราะมรี ปู แบบในการดำรงชีวติ ทใ่ี กล้ชิดกับธรรมชาตแิ ละมีการ

ลา่ หวั มนษุ ย์ สว่ นอีกกลุม่ ทไ่ี ด้รับความสนใจจากรัฐเพราะวิถชี ีวติ และวฒั นธรรมของพวกเขาสามารถดึงดดู
นกั ท่องเทย่ี วได้ คือ ปะด่อง หรอื กะเหรีย่ งคอยาว และชาวอีงตา ซงึ่ อาศยั ในทะเลสาบอีงเลในรัฐฉาน ต้น
(วิรัช นิยมธรรม และ อรนุช นิยมธรรม, 2551:2)

พม่ามีพ้นื ท่ีทัง้ หมดประมาณ 675,552 ตารากิโลเมตร มคี วามกวา้ งจากทศิ ตะวันออกจรดทิศตะวันตก
ประมาณ 920 กิโลเมตร และมคี วามยาวจากเหนือจรดใต้ประมาณ 1,450 กิโลเมตร ชายแดนพม่ามีความยาว
โดยรอบประมาณ 5,102 กิโลเมตร ส่วนใหญ่เปน็ เทอื กเขาสูงและท่ีราบสงู ล้อมรอบบริเวณทรี่ าบใจกลาง
ประเทศ ลักษณะภูมิประเทศคลา้ ยรปู ทรงเกือกมา้ ด้วยสภาพทางภูมิศาสตรด์ งั กล่าว ได้แบง่ แยกพมา่ ออกจาก
กนั เป็นสองส่วน คือ ส่วนท่ีอยู่ใจกลางของประเทศ ได้แก่พน้ื ทบ่ี รเิ วณท่ีราบลมุ่ แม่นำ้ เชน่ ท่รี าบลุ่มแม่นำ้ อริ ะวดี
ตอนลา่ ง แมน่ ้ำสะโตง และแม่น้ำชินวนิ และสว่ นเทอื กเขาสงู กนิ อาณาเขตจรดชายแดนของพม่าท้งั ด้าน
ตะวันตก ตะวนั ออก และภาคเหนือ พ้นื ท่บี รเิ วณเทือกเขาสงู นีจ้ ะกนิ อาณาเขตประมาณ 2 ใน 3 ของเน้ือท่ีท้งั
ประเทศ

กลุ่มชาตพิ ันธ์พุ ม่าซึง่ เปน็ ประชากรส่วนใหญ่ จะอาศัยอยูบ่ ริเวณทร่ี าบรมิ แม่น้ำ เช่น แม่น้ำอิระวดี
แมน่ ้ำสะโตง และแม่นำ้ ชินวนิ เป็นต้น นอกจากชาวพม่าแล้วยงั มีชาวมอญและกะเหร่ียงซ่ึงอพยพลงมาจาก
ภเู ขาสงู ในขณะท่ีกลมุ่ ชาตพิ ันธ์อุ ืน่ จะอาศัยอยูใ่ นบรเิ วณที่ราบสงู หรือเทือกเขาสูงบริเวณชายแดน ดงั นนั้ ด้วย
ปญั หาสภาพทางภมู ิประเทศทีเ่ ป็นอปุ สรรค ทำให้กลุ่มชาติพนั ธุ์ทีเ่ ป็นชนกลุม่ น้อยในบรเิ วณชายแดนและชาว
พมา่ ในบรเิ วณที่ราบลุ่มแมน่ ำ้ ไมไ่ ด้ตดิ ต่อสัมพันธ์กนั มากเท่าใดนัก การสญั จรไปมาในบริเวณเทอื กเขาสงู และ
ป่าทบึ ทำไดไ้ ม่สะดวก ส่วนใหญเ่ ป็นทางเดินเล็กๆ เหมาะกับการสัญจรดว้ ยเท้าหรอื กองคาราวานที่อาศัยสตั ว์
เปน็ พาหนะ เชน่ ชา้ ง ม้า ววั ควาย และลา เปน็ ตน้ เทือกเขาและทรี่ าบสงู จงึ เปน็ เสมือนเส้นแบ่งแดนทีแ่ ยก
ชนกลมุ่ นอ้ ยออกจากชาวพม่า รวมทั้งศนู ยอ์ ำนาจรฐั พม่าจากส่วนกลาง

ทีต่ ง้ั ของเศรษฐกิจพิเศษทวายอย่ใู นเขตพื้นท่ีทร่ี ้จู กั กันในท้องถนิ่ ว่า นาบเู ล เปน็ เขตทเี่ ช่ือในเรื่องผืนนา
และชายฝั่งทะเลทอ่ี ุดมสมบรู ณ์ ซ่งึ ดึงดูดให้ชาวบา้ นกลมุ่ ต่างๆในท้องถิน่ มาต้ังรกราก กว่าหลายศตวรรษ กลมุ่
ชาติพันธห์ุ ลักทีอ่ าศัยอยใู่ นพ้นื ทเ่ี ขตเศรษฐกจิ พิเศษทวายและพื้นทใ่ี กลเ้ คยี งคือกลมุ่ ชาติพันธุ์ทวาย ชาวบา้ น
สว่ นใหญใ่ นเขตพน้ื ท่รี าบลมุ่ มีวิถชี ีวิตทีพ่ ่ึงพาเกษตรกรรมเป็นหลัก แตท่ ีม่ ากไปกว่านั้นคือ ประมาณ 41
เปอร์เซ็นต์ของผู้ครอบครองท่ีดนิ สำรวจในหมูบ่ ้านพืน้ ท่รี าบลมุ่ ใชท้ ี่ดินทำการเกษตรแบบผสมผสาน ทั้งสวน
ผลไม้ นาขา้ ว และทำไร่บนพ้ืนที่สงู ซง่ึ ช่วยให้ชาวบ้านมโี อกาสหลากหลายในแหลง่ รายไดแ้ ละอาหารและ
เพิ่มพูนความม่ันคงต่อการดำรงชีพ การทำนาขา้ วเปน็ อาชีพท่ีสำคญั ของวถิ ชี ีวติ ชาวบ้านในพน้ื ทีร่ าบลุม่ โดย
ครวั เรอื นเกือบ 45 เปอรเ์ ซ็นต์ใหส้ มั ภาษณว์ า่ เป็นเจเของท่ีนา หม่บู า้ นทพ่ี ่ึงพาการทำนามากที่สดุ คอื หมูบ่ ้าน
มะยนิ จี ประมาณ 3 ใน 4 ของครัวเรือนในหมูบ่ ้านมะยนิ จีมีท่นี าและถือการทำนาเป็นอาชีพหลกั สว่ นหมู่บา้ น

ทีอ่ ยใู่ กล้กบั ชายฝงั่ การทำประมงและทำนาเกลือเปน็ วิถีอาชพี ที่สำคญั ชาวบา้ นที่อยู่ในพ้ืนทรี่ าบลุม่ บางส่วน
เป็นแรงงานอพยพตามฤดกู าล ซง่ึ ทงั้ ทำไร่ทำนาและประมงในชว่ งแต่ละฤดูกาล

พน้ื ทถี่ นนเชื่อมต่อหม่บู ้านในพนื้ ทสี่ งู การสร้างถนนตดั ผา่ นพน้ื ที่สงู ของเทือกเขาตะนาวศรี ซ่งึ เปน็
ถ่ินอาศยั ของกลมุ่ ชาติพนั ธุก์ ะเหรีย่ ง อนั เปน็ กลุ่มชาติพนั ธ์หุ ลกั ท่มี ีประวัติการต้ังถน่ิ ฐานในบรเิ วณนั้นมา
ยาวนานกว่า 1000 ปี ชมุ ชนในพ้ืนทสี่ ูงพงึ่ พาทรัพยากรทีด่ ินและทรัพยากรธรรมชาติมากกวา่ ชมุ ชนในพื้นที่
ราบลุ่ม ครวั เรือนมากถึง 94 เปอรเ์ ซ็นต์ ในหมบู่ ้านพนื้ ท่สี ูงถือครองท่ีทำกนิ การทำสวนเป็นอาชีพสำคัญใน
พน้ื ทีส่ งู พอๆกันกบั พ้ืนท่ีราบลุ่ม ทง้ั หมดถือครองท่ีดินการทำสวน ปลูกยางพาราและตน้ หมาก และพชื
เศรษฐกจิ หลกั อื่นๆ

4. ส่งิ แวดลอ้ ม
ทรัพยากรปา่ ไม้

ความตอ้ งการใชท้ ีด่ นิ ที่เพ่ิมขึ้นเพือ่ พฒั นาโครงสรา้ งพื้นฐานตามนโยบายเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษได้
สรา้ งแรงกดดนั ต่อพืน้ ทป่ี ่าไม้และพน้ื ทีก่ ารเกษตรอยา่ งมาก เน่ืองจากรัฐบาลต้องการให้การพฒั นาดำเนินการ
ไปได้อย่างรวดเร็ว จงึ เลอื กดำเนินการในพืน้ ที่ปา่ ไม้ ทัง้ เขตปา่ สงวนและปา่ เสอ่ื มโทรมซ่งึ เป็นพ้ืนทข่ี องรฐั การ
จดั สรรพนื้ ที่ปา่ สงวนและป่าเสื่อมโทรมทเี่ ป็นทีส่ าธารณะกลายเป็นประเด็นถกเถียง เพราะหน่วยงานภาครัฐ
และภาคเอกชนวางแผนการใช้ทด่ี ินโดยไม่คำนึงถึงระบบนเิ วศปา่ ไมท้ ่ีมอี ยูห่ รือการใชป้ ระโยชน์ของชุมชนใน
พน้ื ท่ี การดำเนินงานทำนองน้ีมักจะนำไปสู่ความขดั แยง้ ระหวา่ งหน่วยงานรัฐบาลและชมุ ชนท้องถ่ิน

ทรัพยากรนำ้
แนวทางจดั การการใชท้ ีด่ นิ มีบทบาทสำคัญในการจดั การคุณภาพแหล่งน้ำ

การพัฒนาเขตอุตสาหกรรมผ่านเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษมกั จะลงเอยดว้ ยการแปลงพนื้ ท่ี
ธรรมชาติเป็นเขตอตุ สาหกรรมและก้าวสคู่ วามเปน็ เมืองในท่ีสดุ ทำใหเ้ กดิ ความต้องการใชน้ ้ำเชิงแขง่ ขัน
อย่างสูงซงึ่ จำเปน็ ต้องไดร้ บั การบรหิ ารจัดการ ไมเ่ ช่นนัน้ จะนำไปสภู่ าวะกดดันตอ่ ทรัพยากรนำ้ เขตพฒั นา
เศรษฐกิจพเิ ศษสามารถก่อผลกระทบตอ่ ความพร้อมของน้ำท่ีใช้เพ่ือการเกษตร แหลง่ นำ้ ภายในประเทศ
รวมถึงสภาพแวดล้อมโดยรวม ท้ังน้ี มีการคาดการณ์วา่ การพฒั นาเขตเศรษฐกิจพเิ ศษในหลายๆ แหง่ มี
แนวโน้มทจ่ี ะสร้างปัญหาการขาดแคลนนำ้ ในอนาคต

คุณภาพอากาศ

มีการคาดการณ์วา่ จะมกี ารปลอ่ ยมลพิษเพ่ิมข้นึ จากความเจรญิ ของเมืองและอุตสาหกรรมที่
เกี่ยวข้องกบั เขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษ ซึง่ รวมถึงก๊าซเรือนกระจกที่เพ่ิมข้นึ ปัญหาฝนุ่ ละออง (PM) และการปล่อย

สารอนิ ทรยี ์ระเหย ซงึ่ มีการสังเกตเฝา้ ดปู ัญหาน้วี ่า ไดส้ ่งผลกระทบต่อสขุ ภาพของคนในพื้นท่ีชมุ ชนและ
สิง่ แวดล้อมโดยรอบ

ปัญหาขยะมูลฝอยและสง่ิ ปฏกิ ูล

ความเปน็ เมืองและอตุ สาหกรรมท่ขี ยายตวั เพิ่มมากข้ึนในเขตพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ ส่งผลให้
เกิดความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศและส่ิงแวดลอ้ ม จากความเจรญิ ดา้ นอุตสาหกรรม การทอ่ งเทย่ี วอยา่ งรวดเร็ว
ก่อใหเ้ กิดปญั หาขยะมลู ฝอยและของเสยี อนั ตรายท่ีเกินขดี การรองรบั ของระบบนเิ วศทุกจังหวดั ในเขตพฒั นา
เศรษฐกจิ พิเศษเสยี่ งต่อการเกิดปญั หาดา้ นมลพษิ สิ่งแวดลอ้ ม เชน่ แหล่งขยะมูลฝอย และสงิ่ ปฏกิ ูลต่างๆ ดังนั้น
การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษจำเป็นตอ้ งมีแนวทางบำบัดและกำจัดขยะมูลฝอย รวมทง้ั ดำเนินการวางแผน
ปรับปรุงสถานท่ีกำจดั ขยะมูลฝอยใหด้ ำเนนิ การได้อยา่ งถกู ตอ้ ง เช่น วางแผนการขนย้ายขยะจากสถานที่กำจัดขยะ
มูลฝอยขนาดเล็กไปยังสถานท่ีกำจัดขยะมลู ฝอยขนาดใหญ่เพ่อื การจัดการได้อยา่ งถูกวธิ จี ากรายงานสถานกาณ์ขยะ
มลู ฝอยชมุ ชนของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559 ยงั พบว่า หลายจังหวัดมปี ัญหาปรมิ าณขยะมลู ฝอยตกค้าง และมี
แนวโน้มจะทวีความรุนแรงขึ้นหากมกี ารดำเนินงานเป็นเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ รายงานนี้ยงั แสดงให้เห็นวา่
จังหวดั ท่มี ีการดำเนนิ การเป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมปี รมิ าณขยะมูลฝอยมากทส่ี ดุ อย่ใู นอันดบั ตน้ ๆ โดยเขต
พฒั นาระเบียงเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวนั ออก จงั หวัดฉะเชิงเทรามีการสะสมของขยะตกค้างเป็นจำนวน 1,242,000
ตนั ในปี พ.ศ. 2559

ผลกระทบทางส่ิงแวดล้อม

เน่อื งจากรัฐบาลตอ้ งการเร่งพัฒนาเขตเศรษฐกิจพเิ ศษในประเทศไทย จึงสง่ ผลกระทบมากมายตอ่
สิ่งแวดลอ้ ม ตัง้ แตป่ ่าสงวน คณุ ภาพนำ้ และอากาศ และการจดั การขยะ

5. อนาคตของเขตเศรษฐกิจพเิ ศษทวาย
รฐั บาลไทยและรฐั บาลพม่าส่งผลกระทบตอ่ โครงการเขตเศรษฐกจิ พิเศษทวายอย่างไร

เมียนมายกเลิกสัญญา ITD โปรเจกตท์ วาย-สะท้อนภาพความขัดแย้งการเมืองภายในประเทศ
พมา่ และรฐั บาลไทย
โปรเจ็กต์ทวาย หลงั รฐั ประหารในเมยี นมา

หลงั รฐั ประหาร กจ็ ะเปน็ คนในกองทัพที่ลงมาดูโปรเจ็กต์ของทวายโดยตรง สำหรับนักธรุ กจิ
อย่างอติ าเลียนไทย ต้ังแต่ตน้ เขากด็ ลี งานกบั กองทพั แล้วเนอ่ื งจากว่าประเทศไทยเราอยูภ่ ายใต้
รฐั บาลท่ีปกครองโดยรฐั บาลกึ่งทหาร แล้วด้วยสายสัมพนั ธ์ของทหารไทยกับทหารพม่าเรียกว่ากลม
เกลยี ว มากเลยทเี ดยี ว เพราะว่านบั ตัง้ แตร่ ฐั ประหาร มากจ็ ะมคี นชอบพดู ถงึ พลเอกอาวโุ ส มิน ออ่ ง

หลาย เป็นลกู เลยี้ งของป๋าเปรม ( พล.อ.เปรม ติณสลู านนท์ ) กเ็ หน็ ถงึ สายสัมพันธ์ เขามีเรอื่ งศักดศิ์ รี
ความเป็นทหาร ความเป็นพวก เปน็ เหลา่ เดยี วกันเลยมองว่า อาจจะคยุ ได้งา่ ยกวา่ ถ้า ทหาร กองทัพ
ไทย หรือ พลเอกประยทุ ธ์ ไปเจรจากับกองทัพทหารพม่าโดยตรง เปน็ สาเหตุหนึง่ ทท่ี ำให้ โครงการ
ท่าเรือน้ำลกึ ทวายเดนิ หน้าต่อไปได้ อติ าเลยี นไทยก็มปี ญั หาความน่าเช่อื ถือทคี่ นพมา่ และคนไทยมีต่อ
อติ าเล่ยี นไทยกล็ ดนอ้ ยลงไป

ภายใต้รัฐบาลทหาร โครงการอาจกลบั คนื มาอยู่ในมือของรฐั บาลไทย และอติ าเลีย่ นไทยคอื
ควรจะระดมทุนและทำใหถ้ กู ตอ้ งตามสัญญาสกั ที คอื โครงการนีถ้ ้าทำเสร็จจริงมนั กม็ ีประโยชน์ ที่จะ
เช่อื มมหาสมุทรอินเดยี กบั ไทยได้ แตท่ ผ่ี า่ นมาติดเรอื่ งกล่มุ ชาติพันธก์ุ ะเหรี่ยง
รัฐประหารพมา่ ซ้ำเติมความยากจน กระทบการค้าลงทุนลามไปท่ัวอาเซยี นและโครงการเขตเศรษฐกจิ
พเิ ศษทวาย

อดตี กรรมการนโยบายและกำกบั การบรหิ ารหน้ีสาธารณะ กระทรวงการคลงั มองว่า ความ
เสย่ี งจากการ " รัฐประหาร " และความไมม่ ีเสถียรภาพทางการเมอื งในเมียนมา จะทำใหก้ ารลงทนุ
จำนวนไม่น้อยโดยเฉพาะโครงการลงทนุ ขนาดใหญร่ ะยะยาว เคลื่อนยา้ ยมายงั ประเทศไทยและ
เวียดนามแทน โดยเขตเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวันออก อาจไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการเคลอื่ นยา้ ยทนุ
เหล่านี้ เส้นทางระเบียงเศรษฐกิจ สายตะวันออก-ตะวนั ตก อาจล่าช้าออกไป จากความไมแ่ นน่ อนท่ี
อาจเกิดข้ึนกับโครงการเขตเศรษฐกิจทวาย และการชะลอตวั ลงของเศรษฐกิจเมียนมา
รัฐประหาร ทำลายประชาธิปไตย สน่ั คลอนเอกภาพประชาคมอาเซียน

จากผลกระทบทางเศรษฐกจิ แล้ว อาจมผี ลกระทบทางการเมืองระหว่างประเทศและ
ผลกระทบตอ่ เอกภาพของประชาคมอาเซยี นได้ การรฐั ประหารไดท้ ำลายความเป็นสถาบันของระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั เป็นพ้ืนฐานสำคัญของเสถียรภาพในเมยี นมาและภูมิภาคอาเซียน การรัฐประหาร
ทำลายสนั ตภิ าพและอาจเปิดประตใู หก้ บั การแก้ปัญหาความขดั แย้งตามแนวชายแดนไทย-เมียนมา
ไปสู่แนวทางการใชก้ ำลังรุนแรงอกี ครั้งหนึ่ง มผี ลกระทบตอ่ การคา้ ตามแนวชายแดนอย่างหลีกเลี่ยง
ไมไ่ ด้ สรา้ งความยงุ่ ยากในการบริหารจดุ ผ่านแดน 21 จุดและ 3 ด่านสำคัญประเมนิ วา่ มูลคา่ การค้า
แนวชายแดนนา่ จะลดลงไม่ต่ำกวา่ 30,000-40,000 ลา้ นบาทในระยะสั้น ส่วนในระยะยาวข้ึนอยูก่ บั

ความสงบตามแนวชายแดน และกระบวนการเจรจาระหวา่ งกองกำลงั ของชนกล่มุ น้อยกบั รัฐบาลเผด็จ
การทหารพม่า
การยกเลกิ โปรเจคโครงการเขตเศรษฐกิจพเิ ศษทวาย

กรณีเมียนมายกเลกิ สญั ญากบั อิตาลีไทย ในมมุ มองของคณุ สง่ ผลกระทบตอ่ ดา้ นการเมอื ง
เศรษฐกิจ และการลงทุน

เศรษฐกจิ ในองค์รวมอาจไม่กระทบทั้งหมด แต่สง่ ผลตอ่ ความเช่ือมั่นของนกั ลงทนุ พม่าแล้วก็
รัฐบาลพม่ามองฝ่ังไทย แตต่ ้องบอกก่อนวา่ โครงการอิตาเลียนไทย ถ้าเราไปคุยกบั คนพมา่ หรือนัก
ธรุ กจิ พม่าจรงิ ๆ กจ็ ะรวู้ ่า มันมปี ญั หามาโดยตลอด ไม่ใชว่ ่าเพ่ิงจะโผลพ่ น้ พรม

ประเด็นแรก ต้องเข้าใจว่าสเกลมนั ใหญ่ เขาโฆษณาว่าเป็นเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษทา่ เรือน้ำลึกที่
ใหญ่ทีส่ ุดในพมา่ คอื มนั ใหญ่ แลว้ ตัว ambition หรือเป้าประสงคข์ องทวายท่ีจะเชอ่ื มมหาสมุทร
อินเดียเข้ากบั กาญจนบุรกี ับอา่ วไทย มนั เป็นเปา้ หมายท่ยี ิ่งใหญม่ าก

ประเดน็ ทีส่ องการสร้างถนน เชือ่ มทวายกับกาญจนบุรี เราต้องเข้าใจด้วยวา่ มนั ไม่ใช่พื้นที่พม่า
แมเ้ พยี งอยา่ งเดียว มันผ่านพนื้ ทีแ่ ละเขตอทิ ธิพลของชนกล่มุ น้อย โดยเฉพาะในพน้ื ทีน่ ัน้ คอื คน
กะเหรี่ยง แล้วก็ยงั มีประเดน็ ท่ีเราต้องพจิ ารณา เปน็ ประเด็นที่สามคือ ประเดน็ ดา้ นสงิ่ แวดล้อม จึงมี
ผลอยา่ งมากในช่วงไมก่ ่ีปที ผ่ี ่านมา เน่อื งจากรัฐบาลพม่า คือ NLD ซ่งึ เป็นรัฐบาลพลเรือนข้นึ มา
ในขณะทีก่ ่อนหนา้ นกี้ ารจะดีลระหว่างอิตาเลยี นไทย เปน็ การดีลกับกองทพั หรือทหาร ถ้าดิฉันจะฟนั
ธง คอื มนั เป็นดลี ทางการเมอื งที่ผ่านคอนเนคช่นั ส่วนตัวประมาณหน่งึ ด้วยแตว่ า่ เนื่องจากว่านโยบาย
ของ NLD ไม่ถูกกบั กองทพั ไมถ่ กู กบั ทหาร แลว้ สิ่งทีเ่ กดิ ข้นึ กับพม่าคอื อะไรทีเ่ ป็นของกองทพั NLD ก็
จะมองวา่ มันไมด่ ี ต้องรอื้ ทำใหมต่ ลอดแลว้ ก็เท่าท่สี ังเกตดู ชว่ งปที ีแ่ ล้วเป็นตน้ มา ทางกองทพั และ
NLD ดูจะมีความขัดแย้งกนั แบบเปิดเผยมากข้นึ อย่างเช่น การที่กองทพั ไปมีการเจรจาพูดคุยกับ
อาระกนั อาร์ม่ี ( Arakan Army ) ซึง่ เรารู้อยแู่ ลว้ ว่าตอ้ งเป็นกลุ่มกองกำลังติดอาวุธกลุ่มใหมท่ ม่ี ี
อทิ ธพิ ล และสรา้ งความเดอื ดรอ้ นให้กับรัฐบาล NLD พอสมควร
รฐั บาลไทยควรดำเนินการอย่างไรตอ่ กรณียกเลิกโปรเจค

รฐั บาลไทยสง่ คนไปเจรจาแลว้ วา่ ขอให้อยา่ เพงิ่ ยกเลิกสัญญา ไดอ้ ะลมุ่ อลว่ ยกนั แล้วทางกองทพั
ไทย เขามีความสมั พนั ธท์ ่ดี ีมากกับกองทพั พมา่ ตัง้ แต่ยุคบิก๊ จว๋ิ ( พล.อ.ชวลติ ยงใจยุทธ ) มนั ก็

เหมือนกับเป็น Legacy ของทหารไทย กบั พม่าที่อารีอารอบกันเสมอมา แล้วพลเอกอาวุโส มิน ออ่ ง
หลา่ ย ก็เหมือนเป็นลูกเลีย้ งของป๋าเปรม ( พลเอกเปรม ติณสลู านนท์ ) แต่ว่าคือทั้งนัน้ ท้ังนี้ มนั ต้อง
ตั้งอยบู่ นสมมตฐิ านทว่ี า่ NLD ไมถ่ ูกกบั ทหารอยา่ งแรง กพ็ ยายามแสดงออกมาก่อนหน้านี้ เวลารัฐบาล
พลเรือนกบั กองทัพเขาทะเลากัน ประชาชนพม่าจะสังเกตเป็น Body Language เช่น ทำไมไมม่ อง
หน้ากนั ทำไมจบั มือกันไม่แน่น แตป่ จั จุบนั สิ่งที่เกิดขนึ้ ( ก่อนการรัฐประหาร ) คอื มีการแถลงการณ์
ประณาม NLD กองทัพแถลงการณ์ประณาม กกต.ของพม่าซึ่ง NLD เป็นคนจัดต้งั ข้ึนมา เปน็ การเปิด
ศึกกนั อย่างชดั เจน
หลงั การประกาศยกเลกิ สญั ญา ความพยายามของรัฐบาลไทย

พม่าได้ผา่ นทางเจรจา แตศ่ กั ยภาพ อติ าเลียนไทยท่จี ะส่งงานให้ทนั นัน้ ไมแ่ น่ใจ เพราะรฐั บาล
ไทย ไม่ถนดั ไปสรา้ ง infrastructure ( โครงสรา้ งพน้ื ฐาน ) ในประเทศเพอ่ื นบ้าน ถา้ มันเยอะเกนิ กว่าท่ี
ประเมนิ ไว้ เขาก็จะมองว่ามันไม่คุม้ แต่ขณะที่จีนและญ่ีปุ่น เรื่อง อินฟราสตรคั เจอร์ เขาถึงไหนถงึ กนั
กรณใี นแอฟริกา ชดั เจนมาก จีนเอาเงินไปลงทีแ่ อฟริกา เขาลงหมดหนา้ ตัก เช่น ไปสร้างมหาวิทยาลยั
ให้ แต่วา่ รฐั บาลไทย ไมค่ อ่ ยเน้นตรงจุดนัน้ เพราะว่ามนั แพง แล้วเราอาจจะได้ยนิ วา่ ก็เพราะไทยไมใ่ ช่
ประเทศพัฒนา กค็ วรทำท่สี มฐานะ แต่ถ้าเป็นจนี ญี่ปุ่น เกาหลี ไม่ใชเ่ ลยนะคะ ตัวอย่างเช่น เกาหลี
เพิ่งใชเ้ งนิ หนง่ึ ลา้ นดอลล่าร์ เพื่อสร้างศูนย์เอเชียศึกษา ท่กี านา ส่วนจนี เขาสร้างมหาลยั สร้างถนน
สร้างกระทรวงการต่างประเทศให้ประเทศในแอฟรกิ า
การเจรจายุค พลเอก ประยุทธจ์ นั ทร์โอชา ก่อนเกิดการยกเลิกโปรเจคทวาย

โครงการท่าเรือนํ้าลกึ และนิคมอุตสาหกรรมทวายเป็นหนึ่งในหวั ขอ้ การเจรจาระหวา่ งรัฐบาล
เมียนมารก์ ับ ประเทศไทย ระหวา่ งการเยือนพมา่ อย่างเป็นทางการของ พล.อ.ประยทุ ธ์จนั ทร์โอชา
นายกรัฐมนตรีเมือ่ วนั ท่ี 9-10 ตุลาคม 2557 ที่ผา่ นมานบั เปน็ ความพยายามของรฐั บาลไทยท่ีจะฟน้ื
โครงการขนาดใหญม่ ลู ค่า กวา่ 1.6 ล้านล้านบาท ท่ีไมม่ คี วามคบื หนา้ ใด ๆ นบั ต้ังแตก่ ารลงนามเซ็น
สัญญาระหว่างรัฐบาลเมยี นมารก์ ับ บรษิ ทั อติ าเลยี นไทยดีเวลล๊อปเมนตจ์ ํากัด (มหาชน) หรอื ITD
เมอื่ วนั ที่ 2 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2553 เน่ืองจาก โครงการทวายมขี นาดใหญ่ ใช้เงินลงทนุ สูงมาก เกิน
กาํ ลังของไอทีดีหรอื แม้แตร่ ฐั บาลไทยเองก็ตาม ดังน้ัน จงึ จําเป็นตอ้ งดึงต่างชาติเป็นผู้ร่วมลงทุนด้วย
โดยไอทดี แี ละรฐั บาลชุดทแี่ ล้ว รวมทง้ั รัฐบาลเมยี นมาร์ตอ้ งการ ใหร้ ัฐบาลญป่ี ุ่น เขา้ มารว่ มทุนใน

โครงการน้แี ตท่ ผี่ า่ นมารัฐบาลญี่ปุ่นแสดงท่าทีชัดเจนวา่ ไมส่ นใจที่จะลงทุน ในโครงการทวาย เพราะ
รัฐบาลญ่ีปุ่นกาํ ลงั พัฒนาโครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษ “ตลิ ะวา” ทอี่ ยู่ห่างจาก กรงุ ย่างกุ้งเพียง 25
กโิ ลเมตรเท่านัน้ และมีขนาดเล็กกว่าโครงการทวายถึง 10 เท่า ซึ่งทางรัฐบาลญี่ปนุ่ จะรอให้ การ
พัฒนาโครงการเขตเศรษฐกจิ พิเศษตลิ ะวาเสรจ็ สมบูรณ์ตามกําหนดในปี 2558 หลังจากนัน้ จงึ คอ่ ย
พิจารณา ว่าจะลงทนุ ในโครงการทวายหรอื ไม่ ดังน้ัน ประเดน็ สําคัญทเี่ กี่ยวข้องกบั โครงการทวายจึง
เป็นการขอให้ รัฐบาลเมยี นมาร์ช่วยเจรจากับญี่ปุน่ ใหเ้ ขา้ มาลงทุนในโครงการน้อี ีกครัง้ เพ่ือ
ผลประโยชน์

ประโยชนส์ าํ คญั ของทา่ เรือน้ำลกึ และนคิ มอตุ สาหกรรมทวายนั้นคอื ทาํ หน้าที่เปน็ ประตกู ารคา้
ใหม่ ทางทะเล ไมว่ ่าจะเป็นทางเลอื กให้กบั อนิ เดีย จีน ตะวนั ออกกลาง ยโุ รปและแอฟรกิ า ซงึ่ จะชว่ ย
ลดการจราจร ทีค่ ับค่งั ในช่องแคบมะละกา ลดเวลาการขนส่งและค่าใช้จา่ ยในการขนสง่ และเป็น
สถานทท่ี ไ่ี ดเ้ ปรียบ ในการค้า เน่ืองจากตรงเข้าถึงทะเลอันดามันและมหาสมทุ รอนิ เดียในการขนสง่
สนิ ค้า นอกจากนี้ นิคมอตุ สาหกรรมยงั ช่วยสร้างตลาดใหมส่ าํ หรับการลงทนุ ของตา่ งประเทศ จาก
ความตอ้ งการที่เพ่มิ ขนึ้ และ การคมนาคมทีเ่ ช่ือมตอ่ ระหวา่ งภูมภิ าค ความร่วมมือทางเศรษฐกจิ
การค้าและการพฒั นาระหวา่ งประเทศใน ภูมภิ าคลมุ่ แม่น้ำโขง ขอ้ ตกลงความรว่ มมอื ระหวา่ งเมียน
มาร์กบั ไทย เป็นการสร้างโอกาสในกิจกรรมดา้ นพาณิชยน์ าวขี อง ท้ังสองฝ่ายให้เกิดบทบาทสูงยิ่งข้ึน
โดยท่ฝี ่ายไทยอาจจะไดเ้ ปรียบจากโครงการท่ีดาํ เนนิ การอย่แู ลว้ ขณะที่ เมียนมาร์เปน็ การเร่มิ ตน้ ของ
การพฒั นาพ้ืนทร่ี องรับส่งิ กอ่ สรา้ ง ( คมชดั ลกึ , 2555 ) แต่มีขอ้ สังเกตอีก ประการคือ โครงการทวาย
เป็นโครงการทคี่ ่อนขา้ งเอ้ือประโยชนใ์ หแ้ ก่นกั ลงทุนมากกว่าประชาชนในพน้ื ท่ี จากการท่ีรัฐบาลพม่า
ออกกฎหมายกาํ หนดเปน็ เขตเศรษฐกจิ พิเศษ เพื่อเอ้ือประโยชน์ให้นักลงทุนเรียกได้ว่า เปน็ การพัฒนา
ที่ตอบสนองความต้องการใหน้ ายทุน ( มติชน, 2556 ) ในขณะทด่ี ้านส่งิ แวดล้อมจะกอ่ ใหเ้ กดิ

หากเปรียบเทียบขอ้ ดี-ข้อเสียของโครงการทา่ เรือน้ำลึกทวายท่ีมีตอ่ ประเทศไทยจะเหน็ ไดว้ ่ามี
ประโยชน์ ต่อไทยคอ่ นขา้ งมาก และมคี วามสอดคล้องกบั นโยบายการสง่ เสริมใหป้ ระเทศไทยเปน็
ศนู ย์กลางการเชอ่ื มโยง (Hub) ของโลจสิ ติกสใ์ นภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ดังนั้นการท่รี ัฐบาล
ไทยจะเขา้ ไปสนับสนนุ เมียนมาร์ ในการกอ่ สร้างท่าเรือทวาย ถอื เป็นการลงทนุ ทคี่ ุ้มค่าเพราะภายหลงั
จากทเี่ มยี นมาร์ได้ลงทนุ กอ่ สร้าง โครงการฯ นี้ผ่านการสนับสนนุ จากจีน เมียนมารก์ ต็ อ้ งการท่จี ะให้

การใชป้ ระโยชน์จากทา่ เรือแห่งนี้ 6 เช่อื มการค้าขายกบั ชายฝ่งั ทะเลตะวนั ตกและตะวันออกด้วย การ
ท่ไี ทยเขา้ ไปสนับสนนุ การดาํ เนินงานเร่ืองน้ี จะทําให้ไทยไดร้ ับประโยชนอ์ ย่างเตม็ ท่ี โดยเฉพาะการ
เปน็ ศูนยก์ ลางในการเชือ่ มโยงเส้นทางท้งั หมด แต่ท้งั น้ปี ัจจยั ทีส่ ง่ ผลตอ่ การตัดสินใจของเมยี นมาร์คอื
รฐั บาลเมยี นมารแ์ ละนักลงทุนญ่ปี ุน่ เกาหลี น้ันมที างเลือกใหม่ๆ ใหเ้ ลอื ก หลังจากเมยี นมาร์เปิดรับ
การลงทนุ จากทั่วโลก ทาํ ให้โครงการท่าเรอื น้ำลกึ และ นิคมอุตสาหกรรมทวาย ไมม่ ีความหมายต่อ
เมียนมาร์เลย หรอื รัฐบาลเมยี นมาร์เองก็เล็งเหน็ วา่ ผู้ทจี่ ะรับ ประโยชน์จากโครงการน้ีมากท่สี ดุ คือ
ประเทศไทย เป็นผลใหท้ า่ ทีของรัฐบาลเมียนมาร์ต่อโครงการท่าเรือ นำ้ ลกึ ทวายไม่ชดั เจน แมร้ ฐั บาล
เมยี นมารต์ ัดสนิ ใจลดขนาดโครงการลง เหลือเพียง 30,000 ไร่แตท่ ่สี ดุ แล้ว โครงการทวายก็ยังไม่มี
ความคบื หน้าและหลังการเยอื นประเทศญป่ี นุ่ ของ พลเอก ประยุทธจ์ ันทรโ์ อชา นายกรัฐมนตรีท่าที
ของรัฐบาลญี่ป่นุ ตอ่ โครงการทวายทจี่ ะร่วมทนุ กไ็ ม่ปรากฏผลการเจรจาแต่อยา่ งใดเชน่ กนั จนกระท่งั
ล่าสดุ รัฐบาลญ่ปี ุน่ ตกลงทีจ่ ะเขา้ มารว่ มลงทุนในโครงการระยะที่ 2 ซึ่งเป็นการพฒั นาโครงการทวาย
ระยะสมบรู ณ์ (ไทยรัฐ, 2558) โดยจะเข้าร่วมเปน็ นิติบคุ คลเฉพาะกจิ (SPV) รว่ มกับไทยและพมา่ ที่
ปัจจบุ ัน ถอื หุน้ ใน SPV ประเทศละร้อยละ 50 คาดว่าจะมีการลงนามในสัญญาความร่วมมอื ระหวา่ ง 3
ฝ่าย

สรุปผลการสำรวจการจัดกิจกรรมการเสวนาออนไลน์

ประทบั เวลา 1. เพศ 2. อายุ 4. ชนั้ ปี 5. วฒุ ิ ดา้ นเนอื้ หา ดา้ นเนอ้ื หา ดา้ นเนอ้ื หา ดา้ นเนอ้ื หา ดา้ นเนอื้ หา ดา้ นเนอื้ หา ดา้ น ดา้ น ดา้ น ดา้ น ดา้ นการ ดา้ นการ ดา้ นการ ดา้ นการ ดา้ นการ ดา้ นการ ดา้ นการ ดา้ นการ ดา้ นการ ดา้ นการ ดา้ น ดา้ น ดา้ น ดา้ น ดา้ น
(เกนิ 6 การศกึ ษา [มคี วาม [ปรมิ าณ [การ [มกี ารจดั [เนอื้ หากับ [เนอ้ื หา วทิ ยากรผู ้ วทิ ยากรผู ้ วทิ ยากรผู ้ วทิ ยากรผู ้ ออกแบบ ออกแบบ ออกแบบ ออกแบบ ออกแบบ ออกแบบ ออกแบบ ออกแบบ ออกแบบ ออกแบบ คณุ ภาพ คณุ ภาพ คณุ ภาพ คณุ ภาพ คณุ ภาพ
29/10/2021, เดอื นให ้ ชดั เจน เนอื้ หามี จดั ลาดบั หมวดหมใู่ ห ้ ภาพมคี วาม สามารถ ใหบ้ รกิ าร ใหบ้ รกิ าร ใหบ้ รกิ าร ใหบ้ รกิ าร และการ และการ และการ และการ และการ และการ และการ และการ และการ และการ การ การ การ การ การ
14:39:21 หญงิ นับเป็ น 1 ปี) 3. สถานะ ถูกตอ้ ง ความพอดี เนอื้ หาเป็ น งา่ ยตอ่ การ สอดคลอ้ ง นาไปใช ้ [ความรอบรู ้ [ความสามาร [การตอบ [ความ จดั รูปแบบ จดั รูปแบบ จดั รูปแบบ จดั รูปแบบ จดั รูปแบบ จดั รูปแบบ จดั รูปแบบ จดั รูปแบบ จดั รูปแบบ จดั รูปแบบ ใหบ้ รกิ าร ใหบ้ รกิ าร ใหบ้ รกิ าร ใหบ้ รกิ าร ใหบ้ รกิ าร
และ เหมาะสม] ขนั้ ตอน คน้ หาและ กัน] ประโยชน์ ในเนอื้ หา ถในการ คาถาม] เหมาะสม ของสอ่ื การ ของสอื่ การ ของสอ่ื การ ของสอ่ื การ ของสอ่ื การ ของสอื่ การ ของสอื่ การ ของสอ่ื การ ของสอื่ การ ของสอ่ื การ [ทา่ นไดร้ ับ [ทา่ น [สง่ิ ทท่ี า่ น [เสวนา [ประโยชน์
29/10/2021,
14:39:40 ชาย 20 นักศกึ ษา ปี 3 ปรญิ ญาตรี 5555555555555555555555555

29/10/2021, 21 นักศกึ ษา ปี 3 ปรญิ ญาตรี 4433444344444444444444444
14:39:43 หญงิ
21 นักศกึ ษา ปี 3 ปรญิ ญาตรี 4444444444444444444444444
29/10/2021,
14:39:57 หญงิ 21 นักศกึ ษา ปี 3 ปรญิ ญาตรี 5455545455554554545554554

29/10/2021, 21 นักศกึ ษา ปี 3 ปรญิ ญาตรี 5545444555555555555555555
14:40:42 หญงิ
21 นักศกึ ษา ปี 3 ปรญิ ญาตรี 5555555555555555555555555
29/10/2021,
14:41:14 หญงิ 21 นักศกึ ษา ปี 3 ปรญิ ญาตรี 4544544444445444444444444

29/10/2021, 22 นักศกึ ษา ปี 3 ปรญิ ญาตรี 4444444444444444444444444
14:42:16 หญงิ
21 นักศกึ ษา ปี 3 ปรญิ ญาตรี 4445555445545555554443444
29/10/2021, 5445444555555555455555555
14:42:33 ชาย 21 นักศกึ ษา ปี 3 ตา่ กวา่
ปรญิ ญาตรี
29/10/2021,
14:46:03 ชาย 21 นักศกึ ษา ปี 3 ปรญิ ญาตรี 5555555555555555555555555

29/10/2021,
15:03:35 หญงิ

29/10/2021,
18:09:14 หญงิ


Click to View FlipBook Version