1
2 บันทึกข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนวัดจำปา อำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่ ……………../๒๕๖๕ วันที่ 31 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2566 เรื่อง ขอความเห็นชอบรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2565 เรียน ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนวัดจำปา ด้วยคณะกรรมการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ได้ดำเนินการจัดทำ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2565 เพื่อรายงานผลการดำเนินงานในรอบ ปีการศึกษา 2565 ต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต ๑ และผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับ ทราบ และเพื่อใช้เป็นสารสนเทศทางการศึกษาและเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา ในปีการศึกษาต่อไป บัดนี้คณะกรรมการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ดำเนินการจัดทำรายงาน ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) ปีการศึกษา 2565 เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณาให้ความเห็นชอบ (ลงชื่อ) ……………………………………………….. (นางสาวสุรีรัตน์ ดีภา) หัวหน้างานประกันคุณภาพภายใน ความเห็นของผู้อำนวยการ เรียน ประธานกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนวัดจำปา -เพื่อโปรดทราบและพิจารณา (ลงชื่อ)……………………………………………….. (นางสุรชา เขาแก้ว ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดจำปา ทราบ - เห็นชอบ/อนุมัติ (ลงชื่อ)…………………………… …………………. (นายสามารถ โตแย้ม) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนวัดจำปา
ก คำนำ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ ๒) พุทธศักราช ๒๕๔๕ หมวด ๖ มาตรา ๔๘ และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้น พื้นฐาน เพื่อประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่า การประกันคุณภาพภายใน เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา ที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยให้มีการจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองประจำปี เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และรองรับ การประกันคุณภาพภายนอก รายงานผลการประเมินตนเอง ประจำปีการศึกษา 2565 ของโรงเรียนวัดจำปา เล่มนี้ เป็นรายงานผลการ ประเมินตนเอง ที่สะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ซึ่งเป็นผลสำเร็จจากการบริหารและการจัด การศึกษา ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ใน ๓ มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเด็ก มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ และ มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๓ มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผลการ วิเคราะห์จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรายงานผลการจัด การศึกษาในรอบปีที่ผ่านมา ให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต ๑ และสาธารณชน ได้รับทราบ และเตรียมความพร้อมในการรับการประเมินคุณภาพภายนอกต่อไป ขอขอบคุณคณะกรรมการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกคน ที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดียิ่ง ทำให้รายงานผลการ ประเมินตนเองของโรงเรียนวัดจำปา เล่มนี้ สำเร็จลุล่วงด้วยดี และหวังว่ารายงานเล่มนี้ จะเป็นแนวทางในการพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนในปีการศึกษาต่อไป โรงเรียนวัดจำปา 31 มีนาคม ๒๕๖๖
ข สารบัญ เรื่อง หน้า บันทึกขอความเห็นชอบ ก คำนำ ข สารบัญ ค บทสรุปของผู้บริหาร 6 ผลการดำเนินงาน 6 หลักฐานสนับสนุนผลการการดำเนินงาน 6 แผนพัฒนาเพื่อให้ได้มาตรฐานที่สูงขึ้น 7 ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา 11 ๑. ข้อมูลทั่วไป 11 ๒.แนวทางการจัดการศึกษา 11 ๓. ข้อมูลบุคลากร 12 ๔. ข้อมูลนักเรียน 13 ๕. ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา 16 ๖. ผลการประเมินการทดสอบความสามารถขั้นพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ 17 ๗. รางวัลที่โรงเรียนได้รับ 18 ๘. ข้อมูลอาคารสถานที่ 30 ๙. สภาพชุมชนโดยรวม 30 ๑๐. แหล่งเรียนรู้ 31 ส่วนที่ ๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา 33 ระดับการศึกษาปฐมวัย 33 มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเด็ก 37 มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ 43 มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ 46 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 49 มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน 64 มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ 68 มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 73 ส่วนที่ ๓ สรุปผล จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะและแผนพัฒนาคุณภาพ เพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้น 76 สรุปผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย 76 สรุปผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 77 ส่วนที่ ๔ ภาคผนวก 80 ประกาศมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 81
ค ประกาศค่าเป้าหมายตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาระดับปฐมวัย 83 ประกาศค่าเป้าหมายตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 84 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา 86 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา 89 บันทึกการให้ความเห็นชอบรายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียน………………………………… 90 รูปภาพประกอบการจัดกิจกรรมของสถานศึกษา............................................. 91
๑ บทสรุปผู้บริหาร โรงเรียนวัดจำปา ตั้งอยู่เลขที่ 44 หมู่ที่ 13 ตำบลอุทัย อำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จัดการศึกษาในระดับชั้น อนุบาล ๒ ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ มีนักเรียน จำนวน 373 คน ผู้บริหาร ๑ คน ครูผู้สอน จำนวน 18 คน ครูอัตราจ้าง(งบรายได้สถานศึกษา) จำนวน 2 คน เจ้าหน้าที่ธุรการ จำนวน 1 คน นักการ จำนวน ๑ คน จัดทำรายงานการประเมินคุณภาพของตนเอง (SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖5 เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด (สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต ๑) ผลการประเมินตนเองในภาพรวมมีคุณภาพอยู่ในระดับ ดีเลิศ มีผลการดำเนินงาน ตามมาตรฐานการศึกษา ดังต่อไปนี้ ระดับการศึกษาปฐมวัย 1) มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัย ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพเด็ก ระดับยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดับดีเลิศ มาตรฐานที่ ๓ การประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ระดับยอดเยี่ยม ๒) หลักฐานสนับสนุนผลการประเมินตนเอง ด้านคุณภาพเด็ก ๑. เด็กร้อยละ ๙๐.๕๑ มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของ ตนเองได้ ๒. เด็กร้อยละ ๙๖.๕๗ มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้ ๓. เด็กร้อยละ ๙๖.๐๕ มีพัฒนาด้านสังคม ช่วยเหลือตนเองและเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมได้ ๔. เด็กร้อยละ ๙๑.๘๖ มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐานและแสวงหา ความรู้ได้ ด้านกระบวนการบริหารจัดการ ๑. มีการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยให้สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่นและความต้องการ ของผู้ปกครอง ๒. การจัดสิ่งอำนวยความสะดวกให้บริการด้านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์เพื่อสนับสนุน การจัดประสบการณ์และอาคารสถานที่ สะอาด สวยงามและปลอดภัย (CBS: Clean Beautiful Sefty) ๓. มีการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการและการจัดประสบการณ์ ๔. มีการพัฒนาให้เด็กคิดเป็น ทำเป็น โดยการจัดประสบการณ์แบบโครงการ ๕. มีครูครบชั้นและได้รับการพัฒนาด้านวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง ๖. กระบวนการบริหารแบบมีส่วนร่วมและระบบบริหารคุณภาพ PDCA อย่างต่อเนื่องครบวงจร ในทุกส่วนงานของโรงเรียน ด้านการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ๑. ครูทุกคนส่งเสริมพัฒนาการเด็กอย่างสมดุล ผ่านจากการเล่นและปฏิบัติกิจกรรมอย่างหลากหลาย เต็มศักยภาพ ด้วยกิจกรรม ๖ กิจกรรมหลัก กิจกรรมเสริมหลักสูตรและโครงการต่างๆ ๒. ครูทุกคนสร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข ผ่านการบูรณา การการเรียนรู้ตามแนวพหุปัญญาและกิจกรรมเสริมหลักสูตรและการสอนแบบโครงการ การสอนเด็กตามแนวนีโอ ฮิวแมนนิส ด้วยการให้ความรักผ่านการกอดสัมผัส
๒ ๓. ครูทุกคนจัดบรรยากาศ สภาพห้องเรียนและอุปกรณ์เอื้อต่อการเรียนรู้ ประเมินพัฒนาการของ เด็กปฐมวัย จากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ด้วยเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย นำผลการประเมินพัฒนาการ เด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก ๒) โรงเรียนมีแผนพัฒนาตนเองต่อไปอย่างไรให้ได้มาตรฐานที่สูงขึ้นกว่าเดิม ๑ ระดับ ๒.๑ แผนปฏิบัติงานที่ ๑ ด้านคุณภาพเด็ก ๓.๑.๑ จัดโครงการส่งเสริมพัฒนาการ ๔ ด้านให้ต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมประสบการณ์เด็กให้บรรลุ วัตถุประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษา ๓.๑.๒ โครงการส่งเสริมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เพื่อให้เด็กได้รับการดูแลช่วยเหลือ และ ส่งเสริมพัฒนาเต็มศักยภาพเป็นคนที่สมบูรณ์ ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา ๓.๑.๓ จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพให้เด็กปฐมวัย เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีน้ำหนักส่วนสูง และสมรรถภาพ ทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน ๓.๑.๔ ยกระดับการปฏิบัติที่เป็นเลิศให้มีความโดดเด่นเป็นนวัตกรรม ๒.๒ แผนปฏิบัติงานที่ ๒ ด้านการบริหารจัดการ ๓.๒.๑ จัดโครงการพัฒนาครู และบุคลากร ศึกษาดูงาน จัดประชุม เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนา ครูและส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๓.๒.๓ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาสู่มาตรฐานสากล ๓.๒.๔ จัดทำแผนพัฒนาเด็กพิเศษเรียนร่วมและกำหนดให้มีคณะกรรมการและผู้รับผิดชอบชัดเจน ๒.๒ แผนปฏิบัติงานที่ ๒ ด้านการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ๓.๓.๑ ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์เพิ่มขึ้น ๓.๓.๒ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้เป็นปัจจุบันพร้อมใช้งานอยู่เสมอ ๓.๓.๓ ยกระดับการปฏิบัติที่เป็นแบบอย่างที่ดีหรือดีเลิศให้มีความโดดเด่นเป็นนวัตกรรม 4) นวัตกรรม/แบบอย่างที่ดี ๑.การพัฒนาทักษะพื้นฐานด้านสติปัญญาโดยใช้สื่อนิทานของเด็กปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1) มาตรฐานการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม มาตรฐานการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน 1. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ระดับดีเลิศ ระดับดีเลิศ ระดับยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดับยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ ๓ การประสบการณ์ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ระดับยอดเยี่ยม
๓ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน 1. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน โรงเรียนวัดจำปา จัดกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนมีทักษะในการอ่าน ฟัง พูด เขียน และตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม จากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ และสื่อต่างๆ รอบตัว เช่น โครงการ รักการอ่านของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ที่ปลูกฝังให้นักเรียนอ่านหนังสือ โดยเริ่มจาก หนังสือที่ตนชอบ กิจกรรมสัปดาห์วิทยาศาสตร์ เปิดโอกาสให้นักเรียนในแต่ละชั้นสามารถเรียนรู้ร่วมกัน เป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความ คิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกันในเชิงวิทยาศาสตร์ ซึ่งนักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีในการค้นคว้าหาความรู้มาตอบ ข้อซักถาม สามารถนำเสนอผลงานผ่านทางเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือสมาร์ทโฟนได้ โดยให้นักเรียนที่มีความสามารถ ทางด้านวิทยาศาสตร์เป็นผู้ดำเนินการกิจกรรมและให้ความรู้ อีกทั้งยัง มีการทดลองที่น่าสนใจ ทำให้นักเรียนเกิดความ อยากรู้ อยากเห็น และสนุกสนานเพลิดเพลิน รวมทั้งได้ความรู้จากการทดลองด้วย นอกจากนี้ยังมีการจัดกิจกรรม การเลือกตั้งประธานนักเรียน เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน รวมไปถึงบอกต่อไป ยังผู้ปกครองได้อย่างถูกต้อง มีการสอนให้นักเรียนรู้จักการวางแผนการทำงาน ทำงานร่วมกับผู้อื่น ได้ ทำงานอย่างมีความสุข มุ่งมั่นพัฒนางาน ดำเนินการจนสำเร็จ และภูมิใจในผลงานของตนเอง โดยการจัดกิจกรรมที่ หลากหลาย เน้น ให้นักเรียนดำเนินการ จัดกิจกรรมด้วยตนเอง เช่น กิจกรรมหน้าเสาธง ให้ประธานนักเรียนเป็นพิธีกร โดยดำเนินการตั้งแต่ร้องเพลงชาติ สวดมนต์ ร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี กล่าวคำสดุดีครู กล่าวคำสมานฉันท์และให้ คณะกรรมการนักเรียนตรวจสอบรายชื่อนักเรียนที่ขาดเรียน ไม่เข้าแถว ตรวจเวรพื้นที่บริการที่แต่ ละห้องรับผิดชอบ เพื่อปลูกฝังให้นักเรียน มีวินัย มีความรับผิดชอบ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ฝึก ให้นักเรียนเป็นคนกล้า แสดงออก กล้าแสดงความคิดเห็น โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงศักยภาพ ภายในของตนเอง เช่น การนำเสนอ ผลงานของตนเองหน้าชั้นเรียน เพื่อฝึกความกล้าหาญและประสบการณ์ จะได้นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่าง เหมาะสม ๒. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน นักเรียนของโรงเรียนวัดจำปา มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออก กำลังกาย สม่ำเสมอ โดยการจัดกิจกรรมส่งเสริมสมรรถภาพทางกายของนักเรียนอยู่เป็นประจำ เช่น กิจกรรมออก กำลังกาย กิจกรรมวันต่อต้านยาเสพติดโลก กิจกรรมกีฬาสีภายในโรงเรียน ชุมนุมกีฬา ทำให้นักเรียนได้ออกกำลังกาย อยู่เป็นประจำ จนส่งผลให้นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกาย ตามเกณฑ์งานอนามัยของโรงเรียน ก็ ได้จัดกิจกรรมการตรวจร่างกาย สุขภาพอนามัยของร่างกาย ของทั้งครู บุคลากรภายในโรงเรียนและนักเรียนทุกคน มี รายงานผลการตรวจ ร่างกายการวัดการเจริญเติบโตตามวัย สมวัย ทั้งนี้เพื่อเป็นการป้องกันตนเองเบื้องต้น จากสภาวะ ที่เสี่ยง ต่อความรุนแรง โรค ภัย อุบัติเหตุและยังรณรงค์เรื่องเพศ เช่น กิจกรรมวันเอดส์โลก เป็นต้น และยังจัดกิจกรรม การเรียนการสอนเน้นด้านคุณธรรม จริยธรรมด้วยโรงเรียน เป็นโรงเรียน ต้นแบบคุณธรรมชั้นนำ โรงเรียนได้ ดำเนินการจัดกิจกรรมค่ายคุณธรรม เพื่อน้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลเดช บรมนารถบพิตร และเฉลิมพระเกียรติแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวราง กูร รัชกาลปัจจุบัน โดยมุ่งหวังให้นักเรียนมีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบ เอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มี พระคุณ เช่น การมาโรงเรียนให้ทันเวลา การเข้าแถวเคารพธงชาติ การปฏิบัติกิจกรรมหน้าเสาธง เช่น การเคารพกัน โดยการ กล่าวคำสมานฉันท์ (รุ่นน้องไหว้รุ่น รุ่นพี่รับไหว้) การปรบมือแสดงความยินดีกับผู้ที่ประสบผลสำเร็จ การ รู้จักทำงานร่วมกันทั้งภายในห้องเรียนและภายนอกห้องเรียน ให้นักเรียนทุกคนรับผิดชอบงานต่างๆ ที่ครูมอบหมาย ซึ่งกิจกรรมต่างๆ นี้เป็นกิจกรรมที่นักเรียนปฏิบัติจนเป็นวัฒนธรรมของโรงเรียน นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมลูกเสือ-เนตร นารีโดยฝึกให้นักเรียนได้รู้จักการ แต่งกาย ให้ถูกต้องในสถานการณ์ต่างๆ การเดิน ผ่านผู้ใหญ่หรือครู ต้องก้มหลัง มี สัมมาคารวะ กล่าวคำว่า “สวัสดี” “ขอบคุณ” และ “ขอโทษ” ฝึกให้รู้จัก มารยาทในการรับประทานอาหาร กิจกรรม พี่ช่วยน้อง ฝึกให้นักเรียนรุ่นพี่ดูแลช่วยเหลือรุ่นน้อง ฝีก ให้รู้จักแบ่งปันสิ่งของแก่คนที่ควรให้ เช่น การทำบุญตามกำลัง ศรัทธา ให้เพื่อนยืมเครื่องเขียนแบบเรียน การพูดจริง ทำจริง การรักษาทรัพย์สมบัติของโรงเรียน ยอมรับความคิดและ
๔ วัฒนธรรมที่แตกต่าง กิจกรรม วันสำคัญต่างๆ เช่น วันสำคัญทางศาสนาวันแม่ วันพ่อ และวันไหว้ครู ให้นักเรียนเกิด ความกตัญญูกตเวทีต่อแผ่นดิน แก่ผู้มีพระคุณ ฝึกให้รักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ เคารพพ่อแม่ ครู อาจารย์ อีกทั้งยัง สอดแทรกความซื่อสัตย์สุจริตเข้าไปในกิจกรรมต่างๆ ตระหนัก รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม จัดกิจกรรมการเรียนการสอนสอดแทรก การประหยัด เช่น การประหยัดน้ำ ประหยัดไฟฟ้า ในกิจกรรมการเรียนการ สอนทุกกลุ่มสาระฯ เปิดบัญชีเงินฝากออมทรัพย์กับโครงการธนาคารโรงเรียน จัดกิจกรรมบ าเพ็ญประโยชน์ต่อ ส่วนรวม การทำความ สะอาดบริเวณโรงเรียนโดยแบ่งพื้นที่บริการให้นักเรียนแต่ละห้องดูแลพื้นที่ของตนเอง ปลูก ต้นไม้ ตกแต่ง บริเวณโรงเรียนด้วยไม้ดอกไม้ประดับ ร่วมกับเทศบาล ชุมชน วัด รณรงค์การเลือกตั้งในทุกภาคส่วน เป็นต้นมาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและจัดการ โรงเรียนมีการจัดโครงสร้างการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School Base Management) กำกับ ดูแลองค์กรและพัฒนากระบวนการบริหารจัดการยึดหลักธรรมาภิบาล มีการบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา อย่างเป็นระบบ ดำเนินการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการ ของชุมชน ท้องถิ่น โดยได้ประชุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อการดำเนินงานจัดท าแผนพัฒนาการศึกษา และแผนปฏิบัติ การประจำปี ผ่านการเห็นชอบโดยคณะกรรมการสถานศึกษา มีการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา โดยยึดหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖4 ส่งเสริม สนับสนุน ให้ครูทุกคน ได้รับการพัฒนาศักยภาพ เพื่อให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพและจัดให้มีชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มาใช้ใน การพัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรียน มีระบบการนิเทศภายใน โดยครูทุกคนได้รับการนิเทศติดตามการจัดการ เรียนการสอน ภาคเรียนละ ๑ ครั้ง โรงเรียนจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนที่เอื้อต่อการจัดการ เรียนรู้ มีสภาพแวดล้อมที่ร่มรื่น ปลอดภัย จัดให้มีห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ห้องปฏิบัติการเพียงพอ จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ เอื้อต่อการเรียนรู้ และแหล่งสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตที่นักเรียนสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ ต่างๆ ได้ง่าย จัดให้มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ แต่ยังไม่ เพียงพอต่อการใช้งาน อีกทั้งยังมีการสื่อสาร ข่าวสารจากสถานศึกษาให้ผู้ปกครองนักเรียนได้รับทราบอย่างต่อเนื่อง เช่น การสื่อสารทางหนังสือราชการ Facebook Line จดหมายข่าว เอกสารเผยแพร่ บอร์ดความรู้ ประชาสัมพันธ์ เสียงตามสายของผู้นำหมู่บ้าน มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ครูจัดกระบวนการจัดการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น รูปแบบการสอนแบบ Active Learning การสอนแบบโครงงาน โดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ใช้การเสริมแรง ยกย่อง ชื่นชม ยินดี และให้รางวัล ให้เด็กรักครู ครูรักเด็ก สามารถเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ จัดห้องเรียนให้สะอาด ปลอดภัย อบอุ่น สวยงาม น่าเรียน ครูมีการบริหารจัดการชั้นเรียนอย่างเป็นระบบ จัดทำเอกสารในชั้นเรียนอย่าง ถูกต้องและครบถ้วน มีการวิเคราะห์ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล มีการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างเป็นระบบ โดยมีการ ติดต่อสื่อสารกับผู้ปกครองในหลายช่องทาง คือ ทางโทรศัพท์ Facebook การจัดตั้งกลุ่ม Line และการประชุม ผู้ปกครองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับนักเรียนอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ครูมีการดำเนินการเยี่ยมบ้านนักเรียน ในความรับผิดชอบปีการศึกษาละ ๑ ครั้ง แล้วจัดทำข้อมูลพื้นฐานของนักเรียนเป็นรายบุคคล ครูมีการออกแบบการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ ใช้เครื่องมือวัดและประเมินผลที่เหมาะสม และให้ข้อมูล ย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อให้นักเรียนจัดทำแฟ้มสะสมงาน มีการแจ้งผลการประเมินให้ผู้ปกครองทราบ ครูมีการรวมกลุ่ม ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) เพื่อใช้ในการพัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นต้น ครูมีการจัดทำวิจัยในชั้น เรียน มีการผลิตและใช้สื่อในการจัดการเรียนรู้ มีการบริหารจัดการชั้นเรียน
๕ แนวทางพัฒนาคุณภาพให้ดีขึ้นกว่าเดิม ๑. พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถด้านการคิดคำนวณอย่างเป็นระบบ มีการใช้กระบวนการวิจัยใน การ ดำเนินงาน ๒. ให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดต่างๆ มากขึ้น โดยมีการวางแผนการจัดการเรียนรู้ในทุกกลุ่มสาระการ เรียนรู้และมีการประเมินความสามารถในการคิดของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ ๓. พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล ศึกษาหา ความรู้ และ นำเสนอผลงาน โดยออกแบบการเรียนรู้สอดแทรกให้มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๔. ดำเนินงานยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ๕. เพิ่มการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการประเมินคุณภาพภายใน แล้วนำมาสู่การระดมความคิด เพื่อ พัฒนาโรงเรียนอย่างเป็นระบบ ๖. จัดระบบอินเทอร์เน็ตเพื่อการบริหารจัดการในโรงเรียน เช่น การวางระบบการดูแลนักเรียน การให้ข้อมูล ย้อนกลับแก่ผู้ปกครองเพื่อการสร้างการร่วมมือในการดูแลนักเรียน ๗. ส่งเสริมให้นำเทคโนโลยีเข้ามามีส่วนร่วมในการวัดและประเมินผลด้วยระบบออนไลน์ทุกกล่มสาระการ เรียนรู้ ๘. ส่งเสริมให้ครูใช้กิจกรรมส่งเสริมวินัยเชิงบวก เช่น BBL จิตอาสา ฯลฯ ให้มากยิ่งขึ้น ๙. พัฒนาครูให้ทำวิจัยในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
๖ ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 1.ข้อมูลทั่วไป ชื่อโรงเรียนวัดจำปา รหัส 1014310387 ที่ตั้ง เลขที่ 44 หมู่ที่ 13 ตำบลอุทัย อำเภออุทัย จังหวัด พระนครศรีอยุธยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 กระทรวงศึกษาธิการ โทรศัพท์035-356044 โทรสาร 035-356044 email : [email protected] website : http://data.boppobec.info/web/?School_ ID=1014310387 Facebook page : โรงเรียนวัดจำปา อำเภออุทัย ได้รับอนุญาต/จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2497 เปิดสอนระดับชั้นอนุบาล 2 ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชื่อ- สกุล นางสุรชา เขาแก้ว ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดจำปา โทรศัพท์ 089-928-3352 โทรสาร 035-356044 email : [email protected] ๒. แนวทางการจัดการศึกษา ปรัชญา “การศึกษาพัฒนาชีวิต” วิสัยทัศน์ “วิชาการก้าวไกล ใส่ใจสิ่งแวดล้อม น้อมนำเศรษฐกิจพอเพียง เคียงคู่คุณธรรม สัมพันธ์ชุมชน” พันธกิจของโรงเรียน จัดการศึกษาให้กับประชากรทุกกลุ่มอย่างทั่วถึงและเสมอภาค จัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีคุณภาพ มีคุณธรรมจริยธรรม มีวิถีชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง รักและภูมิใจในความเป็นอยุธยา พัฒนาการเรียนการสอนสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ความสามารถด้าน เทคโนโลยีเพื่อการมีงานทำมีความสามารถด้านเทคโนโลยี เพื่อการมีงานทำ พัฒนาระบบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล เสริมสร้างความเข้มแข็งและส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน จัดการศึกษาให้กับประชากรทุกลุ่มอย่างทั่วถึงและเสมอภาค พันธกิจของโรงเรียน นักเรียนทุกคน เก่ง ดี และมีความสุข นักเรียนมีคุณภาพ สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน นักเรียนมีความสมบูรณ์ ด้านร่างกาย จิตใจ สังคมและสติปัญญา ทุกคนได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนได้รับการพัฒนาเข้าสู่มาตรฐาน เอกลักษณ์ “มุ่งวิชาการ” อัตลักษณ์ “จิตอาสา”
๗ 3.ข้อมูลบุคลากร ๓.๑ จำนวนบุคลากรจำแนกตามตำแหน่ง เพศ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ในตำแหน่ง ประเภทบุคลากร เพศ (คน) รวม ระดับการศึกษา (คน) ประสบการณ์ ในตำแหน่ง (เฉลี่ย)(ปี) ชาย หญิง ต่ำกว่า ป.ตรี ป.ตรี ป.โท ป. เอก ผู้อำนวยการ - 1 1 - - 1 - 11 ปี รองผู้อำนวยการ - - - - - - - - ข้าราชการครูปฐมวัย - 2 2 - 2 - - 7 ปี - เดือน ข้าราชการครูประถมศึกษา 2 14 16 - 12 4 - 9 ปี- เดือน ข้าราชการครูมัธยมศึกษา - - - - - - - - บุคลากรสนับสนุน - - - - - - - - บุคลากรสนับสนุน (ไม่บรรจุ) - 3 3 - 3 - - 6 ปี ครูต่างประเทศ - - - - - - - - พี่เลี้ยง - - - - - - - - นักการภารโรง 1 - 1 1 - - - 25 ปี คนขับรถ - - - - - - - - ยามรักษาความปลอดภัย - - - - - - - - อื่น ๆ(ระบุ) - - - - - - - - -จำนวนครูที่สอนวิชาตรงเอก 15 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 -จำนวนครูที่สอนตรงความถนัด 3 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 -สาขาที่ขาดแคลนครู วิชา คณิตศาสตร์จำนวน 1 คน ๓.๒ จำนวนครูผู้สอนแยกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ และค่าเฉลี่ยจำนวนชั่วโมงในการสอนของครู / คน กลุ่มสาระการเรียนรู้ จำนวน (คน) ชั่วโมงสอนเฉลี่ย/ คน/สัปดาห์ หมายเหตุ - ภาษาไทย 2 23 - คณิตศาสตร์ 3 23 -วิทยาศาสตร์ 3 23 - สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 1 23 - สุขศึกษาพลศึกษา 1 23 - ศิลปะ 2 23 - การงานอาชีพ 1 23 - ภาษาต่างประเทศ 2 23
๘ ๔. ข้อมูลนักเรียน ๔.๑ จำนวนนักเรียนจำแนกตามระดับชั้นเรียน เพศ ระดับชั้น จำนวนนักเรียน ชาย หญิง รวม อนุบาล ๒ 23 17 40 อนุบาล ๓ 18 14 32 รวม 41 31 72 ประถมศึกษาปีที่ ๑ 30 25 55 ประถมศึกษาปีที่ ๒ 24 22 46 ประถมศึกษาปีที่ ๓ 24 24 48 ประถมศึกษาปีที่ ๔ 24 30 54 ประถมศึกษาปีที่ ๕ 30 22 52 ประถมศึกษาปีที่ ๖ 24 22 46 รวม 155 145 301 รวมทั้งสิ้น 196 176 373 ๔.๒ จำนวนนักเรียนในแต่ละระดับชั้นที่ผ่าน/ไม่ผ่าน การประเมินความสามารถด้านการอ่าน การเขียน การคิด คำนวณ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ทักษะตามหลักสูตร และมีสุขภาพตามเกณฑ์ ๑) ผลการประเมินความสามารถในการอ่านแยกตามระดับคุณภาพ (คิดเป็นร้อยละ) ปีการศึกษา 2565 กลุ่มสาระการเรียนรู้ จำนวน นักเรียน ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม(๓) ดี(๒) พอใช้(๑) ปรับปรุง(๐) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ 56 69.64 19.64 10.71 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ 47 74.47 19.15 6.38 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ 49 75.51 24.49 0.00 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ 52 76.92 13.46 9.62 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ 51 88.24 11.76 0.00 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ 46 91.30 6.52 2.17 0.00 รวม 301 79.35 15.84 4.81 0.00 รวมเฉลี่ยร้อยละ 79.35 15.84 4.81 0.00
๙ ๒) ผลการประเมินความสามารถในการเขียน แยกตามระดับคุณภาพ (คิดเป็นร้อยละ) ปีการศึกษา 2565 กลุ่มสาระการเรียนรู้ จำนวน นักเรียน ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม(๓) ดี(๒) พอใช้(๑) ปรับปรุง(๐) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ 56 64.29 21.43 14.29 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ 47 63.83 27.66 8.51 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ 49 65.31 24.49 10.20 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ 52 59.62 17.31 23.08 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ 51 56.86 17.65 25.49 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ 46 76.09 10.87 13.04 0.00 รวม 301 64.33 19.90 15.77 0.00 รวมเฉลี่ยร้อยละ 64.33 19.90 15.77 0.00 ๓) ผลการประเมินความสามารถในการ คิดคำนวณ แยกตามระดับคุณภาพ (คิดเป็นร้อยละ) ปีการศึกษา 2565 กลุ่มสาระการเรียนรู้ จำนวน นักเรียน ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม(๓) ดี(๒) พอใช้(๑) ปรับปรุง(๐) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ 56 48.21 21.43 30.36 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ 47 48.94 31.91 19.15 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ 49 51.02 28.57 20.41 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ 52 53.85 23.08 23.08 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ 51 47.06 31.37 21.57 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ 46 58.70 21.74 19.57 0.00 รวม 301 51.30 26.35 22.35 0.00 รวมเฉลี่ยร้อยละ 51.30 26.35 22.35 0.00 ๔) ผลการประเมินความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แยกตามระดับคุณภาพ (คิดเป็นร้อยละ) ปีการศึกษา 2565 กลุ่มสาระการเรียนรู้ จำนวน นักเรียน ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม(๓) ดี(๒) พอใช้(๑) ปรับปรุง(๐) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ 56 33.93 25.00 41.07 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ 47 36.17 34.04 29.79 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ 49 44.90 26.53 28.57 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ 52 46.15 23.08 30.77 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ 51 49.02 27.45 23.53 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ 46 65.22 23.91 10.87 0.00 รวม 301 45.90 26.67 27.43 0.00 รวมเฉลี่ยร้อยละ 45.90 26.67 27.43 0.00
๑๐ ๕) ผลการประเมินความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แยกตามระดับคุณภาพ (คิดเป็นร้อยละ) ปีการศึกษา 2565 กลุ่มสาระการเรียนรู้ จำนวน นักเรียน ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม(๓) ดี(๒) พอใช้(๑) ปรับปรุง(๐) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ 56 69.64 17.86 12.50 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ 47 85.11 14.89 0.00 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ 49 79.59 20.41 0.00 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ 52 76.92 23.08 0.00 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ 51 82.35 17.65 0.00 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ 46 84.78 15.22 0.00 0.00 รวม 301 79.73 18.18 2.08 0.00 รวมเฉลี่ยร้อยละ 79.73 18.18 2.08 0.00 ๖) ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์(คิดเป็นร้อยละ) ปีการศึกษา 2565 กลุ่มสาระการเรียนรู้ จำนวน นักเรียน ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม (๓) ดี (๒) ผ่าน (๑) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ 56 100 0 0 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ 47 100 0 0 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ 49 100 0 0 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ 52 100 0 0 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ 51 98.04 1.96 0 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ 46 100 0 0 รวม 301 99.67 0.33 0 รวมเฉลี่ยร้อยละ 99.67 0.33 0 ๗) ร้อยละของจำนวนนักเรียน ที่มีน้ำหนักตามเกณฑ์ ชั้น จำนวน นักเรียน ปกติ สูงกว่าเกณฑ์ ต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ อนุบาล ๒ 40 37 92.50 2 5.00 1 2.50 อนุบาล ๓ 32 31 96.88 1 3.13 0 0.00 รวม 72 68 94.69 3 4.06 1 1.25 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ 56 54 96.43 2.00 3.57 0 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ 47 45 95.74 1.00 2.13 1 2.13 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ 49 48 97.96 1.00 2.04 0 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ 52 50 96.15 1.00 1.92 1 1.92 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ 51 47 92.16 3.00 5.88 1 1.96
๑๑ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ 46 44 95.65 2.00 4.35 0 0.00 รวม 301 288 95.68 10.00 3.32 3 1.00 รวมทั้งสิ้น 373 356 95.19 13 3.69 4 1.13 ๘) ร้อยละของจำนวนนักเรียน ที่มีส่วนสูงตามเกณฑ์ ชั้น จำนวน นักเรียน ปกติ สูงกว่าเกณฑ์ ต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ อนุบาล ๒ 40 40 100.00 0 0.00 0 0.00 อนุบาล ๓ 32 32 100.00 0 0.00 0 0.00 รวม 72 72 100.00 0 0.00 0 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ 56 56 100.00 0.00 0.00 0 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ 47 47 100.00 0.00 0.00 0 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ 49 47 95.92 2.00 4.08 0 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ 52 52 100.00 0.00 0.00 0 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ 51 50 98.04 1.00 1.96 0 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ 46 46 100.00 0.00 0.00 0 0.00 รวม 301 298 98.99 3.00 1.01 0 0.00 รวมทั้งสิ้น 373 370 99.50 3 0.50 0 0.00 ๕. ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา ๕.๑ ค่าเฉลี่ยร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ ปีการศึกษา 2565 กลุ่มสาระการเรียนรู้/ ระดับชั้น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (ค่าเฉลี่ยร้อย) ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ เฉลี่ยร้อยละ ภาษาไทย 88.24 80.83 70.75 76.98 78.17 79.56 79.09 คณิตศาสตร์ 84.54 81.29 72.24 73.44 77.05 76.40 77.49 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 89.27 82.48 78.74 75.65 75.25 79.14 80.09 สังคม ศาสนาและวัฒนธรรม 87.75 83.16 71.94 72.57 71.96 76.55 77.32 สุขศึกษา พลศึกษา 78.94 79.40 74.54 75.46 73.33 75.78 76.24 ศิลปะ 81.37 81.71 80.97 83.15 82.08 82.67 81.99 การงานอาชีพ 82.11 81.32 81.02 78.12 77.51 80.29 80.06 ภาษาต่างประเทศ 76.63 73.05 71.26 73.28 69.60 74.47 73.05 เฉลี่ยร้อยละ 83.61 80.40 75.18 76.08 75.62 78.11 78.17
๑๒ ๖. ผลการประเมินการทดสอบความสามารถขั้นพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ ๖.๑ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา 2565 ๖.๒ เปรียบเทียบผล (O-NET)ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ระหว่างปีการศึกษา 2564 กับปีการศึกษา 2565 ๖.๓ แสดงผล (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ 2563, 2564 และ 2565 ๖.4 เปรียบเทียบผล (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ระหว่างปีการศึกษา 2563 -2565 ระดับ/รายวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ รวมเฉลี่ย เฉลี่ยระดับโรงเรียน 49.51 26.05 44.83 29.94 37.58 เฉลี่ยระดับจังหวัด 54.07 28.36 39.42 37.57 39.86 เฉลี่ยระดับ สังกัด 52.80 26.52 37.90 33.57 37.70 เฉลี่ยระดับประเทศ 53.89 28.06 39.34 37.62 39.73 รายวิชา พ.ศ.๒๕๖4 พ.ศ.๒๕๖5 เพิ่ม/ลด ภาษาไทย 49.38 49.51 0.13 คณิตศาสตร์ 35.38 26.05 -9.33 วิทยาศาสตร์ 36.06 44.83 8.77 ภาษาอังกฤษ 32.01 29.94 -2.07 รวมเฉลี่ย 38.21 37.58 -0.63 รายวิชา พ.ศ. 2563 พ.ศ.2564 พ.ศ.2565 ภาษาไทย 50.60 49.38 49.51 คณิตศาสตร์ 27.56 35.38 26.05 วิทยาศาสตร์ 39.26 36.06 44.83 ภาษาอังกฤษ 30.52 32.01 29.94 รวมเฉลี่ย 36.99 38.21 37.58 รายวิชา ปีการศึกษา 2563 ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 ด้านภาษาไทย 52.88 66.61 69.82 ด้านคณิตศาสตร์ 48.75 61.76 64.36 รวมเฉลี่ย 50.82 64.19 67.09
๑๓ ๗. รางวัลที่โรงเรียนได้รับ ๗.๑ รับรางวัลที่นักเรียนได้รับ ๓ ปีการศึกษา 2563, 2564 และ 2565 ที่ ชื่อ-สกุล ชั้น รางวัลที่ได้รับ ระดับ ปี 2563 ๑ เด็กหญิงณัชชานันท์ ถิ่นโคกสูง ป.6 รับรางวัลนักเรียนพระราชทาน ระดับภูมิภาค สำนักงานเขตพื้นที่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า พระนครศรีอยุธยา เขต 1 ระดับภูมิภาค ๒ เด็กหญิงพิมพ์มาดา พันธุ์โต ป.5 การแข่งขันกิจกรรมการเรียนรู้ ภายใต้โครงการเสริมสร้าง คุณธรรมจริยธรรมและธรรมาภิ บาลในสถานศึกษา (โครงการ โรงเรียนสุจริต) ระดับเขตพื้นที่ การศึกษา ระดับเขต พื้นที่ การศึกษา ๓ เด็กหญิงวรรณิสา วิเศษวงษา ป.4 ๔ เด็กหญิงศุทธินี คงปราโมทย์ ป.5 ๕ เด็กหญิงฐิตาพร สุขีธรรม ป.5 รางวัลรองชนะเลิศ การแข่งขันกิจกรรมการเรียนรู้ ภายใต้โครงการเสริมสร้าง คุณธรรมจริยธรรมและธรรมาภิ บาลในสถานศึกษา (โครงการ โรงเรียนสุจริต) ระดับเขตพื้นที่ การศึกษา ระดับเขต พื้นที่ การศึกษา ๖ เด็กหญิงกัญญารัตน์ รุนจำรัส ๗ เด็กหญิงปุณยนุช ขันเงิน ที่ ชื่อ-สกุล ชั้น รางวัลที่ได้รับ ระดับ ปี 2564 ๑. เด็กหญิงชัญญานุช เจริญกลิ่น ป.3 เกียรติบัตรผู้สอบได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในความสามารถ ด้านคณิตศาสตร์ จากการ ประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปี การศึกษา 2564 สพฐ. 2. เด็กหญิงพลอยนวพัชร คีรี ป.3 เกียรติบัตรผู้สอบได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในความสามารถ ด้านภาษาไทย จากการประเมิน คุณภาพผู้เรียน (NT) ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 สพฐ.
๑๔ ที่ ชื่อ-สกุล ชั้น รางวัลที่ได้รับ ระดับ 3. เด็กชายนนทพันธ์ บุญรอด ป.1 เกียรติบัตร ผู้สอบได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการประเมิน ความสามารถด้านการอ่านของ ผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ปีการศึกษา 2564 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 4. เด็กหญิงกัญญารัตน์ อริยโชติพินิธ ป.1 เกียรติบัตร ผู้สอบได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการประเมิน ความสามารถด้านการอ่านของ ผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ปีการศึกษา 2564 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 5. เด็กชายธนภัทร ชวรัตน์ ป.1 เกียรติบัตร ผู้สอบได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการประเมิน ความสามารถด้านการอ่านของ ผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ปีการศึกษา 2564 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 6. เด็กหญิงกนกวรรณ พูลศิลป์ ป.1 เกียรติบัตร ผู้สอบได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการประเมิน ความสามารถด้านการอ่านของ ผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ปีการศึกษา 2564 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 ปี 2565 1. เด็กชายธราธร รุ่งพัฒน์ ป.1 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การ แข่งขันคัดลายมือ โครงการ ม ห ก ร ร ม ว ิ ช า ก า ร ส พ ป . พระนครศรีอยุธยา เขต 1 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 2. เด็กหญิงปิยดา พึ่งเพ็ง ป.6 รางวัลชมเชย การแข่งขัน “อัจฉริยภาพทางคณิตศาสตร์” โครงการมหกรรมวิชาการ สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 3. เด็กหญิงจันทราพร โพธิ์ศรี ป.1 เกียรติบัตร ผู้สอบได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการประเมิน ความสามารถด้านการอ่านของ ผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1
๑๕ ที่ ชื่อ-สกุล ชั้น รางวัลที่ได้รับ ระดับ 4. เด็กหญิงณัฐจิรา ต่ายนิน ป.1 เกียรติบัตร ผู้สอบได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการประเมิน ความสามารถด้านการอ่านของ ผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 5. เด็กหญิงพรรณิตา เรืองสุวรรณ์ ป.1 เกียรติบัตร ผู้สอบได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการประเมิน ความสามารถด้านการอ่านของ ผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 6. เด็กหญิงสุชาดา ปะทุมตะ ป.1 เกียรติบัตร ผู้สอบได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการประเมิน ความสามารถด้านการอ่านของ ผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 7. เด็กชายธราธร รุ่งพัฒน์ ป.1 เกียรติบัตร ผู้สอบได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการประเมิน ความสามารถด้านการอ่านของ ผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 ปี 2565 8. เด็กชายธีระเทพ ชัยโชติ ป.1 เกียรติบัตร ผู้สอบได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการประเมิน ความสามารถด้านการอ่านของ ผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 9. เด็กชายภูดิษ เพชรมีค่า ป.1 เกียรติบัตร ผู้สอบได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการประเมิน ความสามารถด้านการอ่านของ ผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 10. เด็กชายศุภวิชญ์ โสมณี ป.1 เกียรติบัตร ผู้สอบได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการประเมิน ความสามารถด้านการอ่านของ ผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1
๑๖ ที่ ชื่อ-สกุล ชั้น รางวัลที่ได้รับ ระดับ 11. เด็กชายสถิตคุณ สาดสิทธิ์ ป.1 เกียรติบัตร ผู้สอบได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการประเมิน ความสามารถด้านการอ่านของ ผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 12. เด็กหญิงอาภัสรา สุดกล้า ป.1 เกียรติบัตร ผู้สอบได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการประเมิน ความสามารถด้านการอ่านของ ผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 13. เด็กหญิงลิลาวัลย์ ทาสะโก ป.1 เกียรติบัตร ผู้สอบได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการประเมิน ความสามารถด้านการอ่านของ ผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 14. เด็กหญิงพจนินท์ เทียนคำ ป.1 เกียรติบัตร ผู้สอบได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการประเมิน ความสามารถด้านการอ่านของ ผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 ปี 2565 15. เด็กหญิงนลิน วิบูลย์วัฒนกุล ป.3 เกียรติบัตรผู้สอบได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในความสามารถ ด้านคณิตศาสตร์ จากการ ประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปี การศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 16. เด็กชายเฉลิมนรินทร์ สุขศิริ ป.3 เกียรติบัตรผู้สอบได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในความสามารถ ด้านคณิตศาสตร์ จากการ ประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปี การศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 17. เด็กชายธนพล คงปราโมทย์ ป.3 เกียรติบัตรผู้สอบได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในความสามารถ ด้านคณิตศาสตร์ จากการ ประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปี การศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1
๑๗ ที่ ชื่อ-สกุล ชั้น รางวัลที่ได้รับ ระดับ 18. เด็กหญิงนิชาภัทร ลมูลภักตร์ ป.3 เกียรติบัตรผู้สอบได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในความสามารถ ด้านภาษาไทย จากการประเมิน คุณภาพผู้เรียน (NT) ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 19. เด็กหญิงปิยาภรณ์ หนูแสง ป.3 เกียรติบัตรผู้สอบได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในความสามารถ ด้านภาษาไทย จากการประเมิน คุณภาพผู้เรียน (NT) ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 20. เด็กหญิงโชติกา จันทร์ศิริ ป.3 เกียรติบัตรผู้สอบได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในความสามารถ ด้านภาษาไทย จากการประเมิน คุณภาพผู้เรียน (NT) ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 ปี 2565 21. เด็กชายอธิภัทร ใบไกร ป.3 เกียรติบัตรผู้สอบได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในความสามารถ ด้านภาษาไทย จากการประเมิน คุณภาพผู้เรียน (NT) ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 ๗.๒ รับรางวัลที่ครูได้รับ ๓ ปีการศึกษา 2563, 2564 และ 2565 ที่ ชื่อ-สกุล รางวัลที่ได้รับ ระดับ ปี 2563 ๑. นางนิภา สุ่มอินทร์ เกียรติบัตรครูดีไม่มีอบายมุข ประจำปีการศึกษา 2563 ประเทศ ๒. นางปัญชรัสม์ คำสอน เกียรติบัตรครูดีไม่มีอบายมุข ประจำปีการศึกษา 2563 ประเทศ รางวัลครูดีของแผ่นดินขั้นพื้นฐาน ประเทศ รางวัลครูดี ประจำปี 2564 จังหวัด ๓. นางพัชรี ผาสุขรูป เกียรติบัตรครูดีไม่มีอบายมุข ประจำปีการศึกษา 2563 ประเทศ ๔. นางสาวกรรณิกา อารีรบ เกียรติบัตรครูดีไม่มีอบายมุข ประจำปีการศึกษา 2563 ประเทศ
๑๘ ที่ ชื่อ-สกุล ชั้น รางวัลที่ได้รับ ระดับ ๕. นางสาวจารุณี ศรีบุรี เกียรติบัตรครูดีไม่มีอบายมุข ประจำปีการศึกษา 2563 ประเทศ ๖. นางสาวนวพร อินทร์ทองดี เกียรติบัตรครูดีไม่มีอบายมุข ประจำปีการศึกษา 2563 ประเทศ รางวัลครูดีของแผ่นดินขั้นพื้นฐาน ประเทศ รางวัลครูดีศรีอุทัย ประจำปี 2564 อำเภอ 7. นางสาวนิสรีน ขันธวิธิ เกียรติบัตรครูดีไม่มีอบายมุข ประจำปีการศึกษา 2563 ประเทศ 8. นางสาวเรืองรอง สิริเถลิงเกียรติ เกียรติบัตรครูดีไม่มีอบายมุข ประจำปีการศึกษา 2563 ประเทศ รางวัลพระพฤหัสบดี ระดับ สำนักงาน สกสค. จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โครงการ “พระพฤหัสบดี” ประจำปี 2563 จังหวัด 9. นางสาววรรณิสา ศรีสุขา เกียรติบัตรครูดีไม่มีอบายมุข ประจำปีการศึกษา 2563 ประเทศ ปี 2563 ๑0. นางสาววิจิตรา แก้วปัญญา เกียรติบัตรครูดีไม่มีอบายมุข ประจำปีการศึกษา 2563 ประเทศ รางวัลครูดีของแผ่นดินขั้นพื้นฐาน ประเทศ 11. นางสาววิรัญดา มงคลทรัพย์ เกียรติบัตรครูดีไม่มีอบายมุข ประจำปีการศึกษา 2563 ประเทศ 12. นางสาวศิริวรรณ ดอนตาชิด เกียรติบัตรครูดีไม่มีอบายมุข ประจำปีการศึกษา 2563 ประเทศ 13. นางสาวศิริวรรณ สังข์ประไพ เกียรติบัตรครูดีไม่มีอบายมุข ประจำปีการศึกษา 2563 ประเทศ รางวัลพระพฤหสบดี ประเภทบุคคล กลุ่มครูและ คณาจารย์ ระดับจังหวัด ประจำปี 2563 จังหวัด 14. นางสาวสุรีรัตน์ ดีภา เกียรติบัตรครูดีไม่มีอบายมุข ประจำปีการศึกษา 2563 ประเทศ 15. นางสาวสุรีรัตน์ วงษ์พิทักษ์ เกียรติบัตรครูดีไม่มีอบายมุข ประจำปีการศึกษา 2563 ประเทศ รางวัลครูดี ประจำปี 2564 จังหวัด 16. นายจตุพร ทิพยไพฑูรย์ เกียรติบัตรครูดีไม่มีอบายมุข ประจำปีการศึกษา 2563 ประเทศ 17. นายดนัย ฝั่งไธสง เกียรติบัตรครูดีไม่มีอบายมุข ประจำปีการศึกษา 2563 ประเทศ 18. นายสัตยา สิริเกียรติ เกียรติบัตรครูดีไม่มีอบายมุข ประจำปีการศึกษา 2563 ประเทศ
๑๙ ที่ ชื่อ-สกุล รางวัลที่ได้รับ ระดับ 19. นายณัฐพงษ์ คนมั่ง เกียรติบัตรครูดีไม่มีอบายมุข ประจำปีการศึกษา 2563 ประเทศ เครื่องหมายเชิดชูเกียรติ คุรุสดุดี ประจำปี 2564 ประเทศ ปี 2564 20. นางพัชรี ผาสุขรูป รางวัล “ครูดีศรีวชิรปราการ” ประจำปี 2565 อำเภอ 21. นางสาวนวพร อินทร์ทองดี รางวัล ครูดี ประจำปี 2565 จังหวัด 22. นางสาวสุรีรัตน์ ดีภา รางวัล ครูดี ประจำปี 2565 จังหวัด 23. นางสาวนิสรีน ขันธวิธิ รางวัลครูดีของแผ่นดินขั้นพื้นฐาน ประเทศ 24. นางสาวศิริวรรณ ดอนตาชิด รางวัลครูดีของแผ่นดินขั้นพื้นฐาน ประเทศ 25. นางสาวณิชา อิกำเหนิด รางวัลครูดีของแผ่นดินขั้นพื้นฐาน ประเทศ 26. นางสาวหทัยชนก อภิรัตนพันธุ์ รางวัลครูดีของแผ่นดินขั้นพื้นฐาน ประเทศ 27. นางสาววิจิตรา แก้วปัญญา รางวัลเชิดชูเกียรติ “ครูดีศรีอุทัย” ประจำปี 2565 อำเภอ ปี 2564 28. นางสาวณิชา อิกำเหนิด เกียรติบัตรครูผู้สอนที่มีความมุ่งมั่นและทุ่มเท จนทำให้นักเรียนสอบความสามารถด้าน คณิตศาสตร์ มีคะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการ ประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ประจำปีการศึกษา 2564 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 29. นางสาวศิริวรรณ สังข์ประไพ เกียรติบัตรครูผู้สอนที่มีความมุ่งมั่นและทุ่มเท จนทำให้นักเรียนสอบความสามารถด้าน ภาษาไทยมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการ ประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ประจำปีการศึกษา 2564 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 30. นางปัญชรัสม์ คำสอน เกียรติบัตรครูผู้สอนที่มีความมุ่งมั่นและทุ่มเท จนทำให้นักเรียนมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน ใน การประเมินความสามารถด้านการอ่านของ ผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ประจำปี การศึกษา 2564 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 ปี 2565 1. นางสาววรรณิศา ศรีสุขา รางวัลครูดีศรีวชิรปราการ ประจำปีการศึกษา 2566 อำเภอ 2. นางสาวศิริวรรณ ดอนตาชิด เกียรติบัตรครูดีไม่มีอบายมุข ในปีที่ 12 รุ่น ติดตามความเพียร ประจำปีการศึกษา 2565 ประเทศ 3. นางนิภา สุ่มอินทร์ เกียรติบัตรครูดีไม่มีอบายมุข ในปีที่ 12 รุ่น ติดตามความเพียร ประจำปีการศึกษา 2565 ประเทศ
๒๐ ที่ ชื่อ-สกุล รางวัลที่ได้รับ ระดับ 4. นางสาวณัฐชานันท์ รัตนกรัณฑ์ เกียรติบัตรครูผู้สอนที่มีความมุ่งมั่นและทุ่มเท จนทำให้นักเรียนมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน ใน การประเมินความสามารถด้านการอ่านของ ผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ประจำปี การศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 5. นางปัญชรัสม์ คำสอน เกียรติบัตรครูผู้สอนที่มีความมุ่งมั่นและทุ่มเท จนทำให้นักเรียนมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน ใน การประเมินความสามารถด้านการอ่านของ ผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ประจำปี การศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 6. นางสาวณิชา อิกำเหนิด เกียรติบัตรครูผู้สอนที่มีความมุ่งมั่นและทุ่มเท จนทำให้นักเรียนสอบความสามารถด้าน คณิตศาสตร์ มีคะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการ ประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ประจำปีการศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 ปี 2565 7. นางสาวศิริวรรณ สังข์ประไพ เกียรติบัตรครูผู้สอนที่มีความมุ่งมั่นและทุ่มเท จนทำให้นักเรียนสอบความสามารถด้าน ภาษาไทย มีคะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการ ประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ประจำปีการศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 เกียรติบัตรได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ เป็น ผู้ทำคุณประโยชน์ทางการศึกษา “คนดี ศรี สพป.พระนครศรีอยุธยา เขต 1” สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 8. นางสาวสุรีรัตน์ ดีภา เกียรติบัตรได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ เป็น ผู้ทำคุณประโยชน์ทางการศึกษา “คนดี ศรี สพป.พระนครศรีอยุธยา เขต 1” สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 9. นางสาวนวพร อินทร์ทองดี เกียรติบัตรได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ เป็น ผู้ทำคุณประโยชน์ทางการศึกษา “คนดี ศรี สพป.พระนครศรีอยุธยา เขต 1” สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 10. นางสาวจารุณี ศรีบุรี เกียรติบัตรได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ เป็น ผู้ทำคุณประโยชน์ทางการศึกษา “คนดี ศรี สพป.พระนครศรีอยุธยา เขต 1” สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 11. นางสาวศิริวรรณ ดอนตาชิด เกียรติบัตรได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ เป็น ผู้ทำคุณประโยชน์ทางการศึกษา “คนดี ศรี สพป.พระนครศรีอยุธยา เขต 1” สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1
๒๑ ที่ ชื่อ-สกุล รางวัลที่ได้รับ ระดับ 12. นายจตุพร ทิพยไพฑูรย์ เกียรติบัตรได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ เป็น ผู้ทำคุณประโยชน์ทางการศึกษา “คนดี ศรี สพป.พระนครศรีอยุธยา เขต 1” สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 13. นางสาวณัฏฐารีย์ โฉมอินทร์ รางวัลครูดีศรีวชิรปราการ ประจำปีการศึกษา 2566 อำเภอ 14. นางสาวสุรีรัตน์ วงษ์พิทักษ์ รางวัลครูดีศรีวชิรปราการ ประจำปีการศึกษา 2566 อำเภอ 15. นางสาวพนัชกร ดีวิชา รางวัลครูดีศรีวชิรปราการ ประจำปีการศึกษา 2566 อำเภอ 16. นางสาวณัฐชานันท์ รัตนกรัณฑ์ รางวัลครูดีศรีวชิรปราการ ประจำปีการศึกษา 2566 อำเภอ 17. นางสาววิรัญดา มงคลทรัพย์ รางวัลครูดีศรีวชิรปราการ ประจำปีการศึกษา 2566 อำเภอ 18. นางนิภา สุ่มอินทร์ รางวัลครูดีศรีวชิรปราการ ประจำปีการศึกษา 2566 อำเภอ ๗.3 รับรางวัลที่ผู้บริหารและสถานศึกษาได้รับ ๓ ปีการศึกษา 2563, 2564 และ 2565 ที่ ชื่อ-สกุล รางวัลที่ได้รับ ระดับ ปี 2563 ๑ โรงเรียนวัดจำปา โล่รางวัลโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำ รุ่นที่ 11 มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จังหวัด ๒ โรงเรียนวัดจำปา รางวัลโรงเรียนพระราชทาน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา สพป.พระนครศรีอยุธยา เขต 1 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 ๓ โรงเรียนวัดจำปา โรงเรียนต้นแบบนักเรียนไทยสุขภาพดี รุ่นที่ 6 ระดับประเทศ สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ประเทศ ๔ โรงเรียนวัดจำปา รางวัลเกียรติบัตรโรงเรียนดีไม่มีอบายมุข ปีการศึกษา 2563 ปีที่ 5 ประเทศ 5 โรงเรียนวัดจำปา ได้รับการคัดเลือกเป็น “สถานศึกษา ต้นแบบ” ระดับดี ประเภทสถานศึกษา ขนาดกลาง ด้านการส่งเสริมสนับสนุนการ ขจัดสวัสดิการและสวัสดิภาพให้แก่ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ประจำปี 2563 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 6 โรงเรียนวัดจำปา รางวัลชนะเลิศ การประกวดระเบียบแถว ลูกเสือ เนตรนารี ระดับจังหวัด ประจำปี การศึกษา 2563 จังหวัด
๒๒ ที่ ชื่อ-สกุล รางวัลที่ได้รับ ระดับ 7 โรงเรียนวัดจำปา รางวัลชมเชย การประกวดระเบียบแถว ลูกเสือ เนตรนารี ระดับประเทศ ประจำปี การศึกษา 2563 ประเทศ 8 โรงเรียนวัดจำปา รางวัลโรงเรียนต้นแบบอาหารกลางวัน ระดับดี ระดับประเทศ ประจำปีการศึกษา 2563 ประเทศ 9 โรงเรียนวัดจำปา รางวัลโรงเรียนดีวิถีลูกเสือ ระดับดี ประจำปี การศึกษา 2563 ประเทศ ปี 2563 10 นางสุรชา เขาแก้ว รับรางวัลเสมา ป.ป.ส. ประเภทผลงานดีเด่น ระดับเงิน โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยา เสพติดและอบายมุข กระทรวงศึกษา 11 นางสุรชา เขาแก้ว รางวัลพระพฤหัสบดี ประเภทบุคคล กลุ่มผู้บริหาร สถานศึกษา สกสค. พระนครีอยุธยา ประจำปี การศึกษา 2563 จังหวัด 12 นางสุรชา เขาแก้ว เกียรติบัตรครูดีไม่มีอบายมุข ประจำปี การศึกษา 2563 ประเทศ 13 นางสุรชา เขาแก้ว รางวัลบริหารจัดการสถานศึกษาดีเด่น ประจำปี 2563 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 ปี 2564 14 โรงเรียนวัดจำปา ได้รับการประกันคุณภาพภายนอก (พ.ศ.2564- 2568) จากสำนักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ประเทศ 15 โรงเรียนวัดจำปา รางวัล “สถานศึกษาปลอดภัย” ประจำปี พ.ศ.2564 ปีที่ 1 ประเทศ 16 โรงเรียนวัดจำปา เกียรติบัตรเป็นสถานศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ย “วิชาวิทยาศาสตร์” สูงกว่าคะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศในการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational Test : O-NET)ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ปีการศึกษา 2564 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1
๒๓ ที่ ชื่อ-สกุล รางวัลที่ได้รับ ระดับ 17 โรงเรียนวัดจำปา เกียรติบัตรเป็นสถานศึกษาที่มี “คะแนนเฉลี่ย ร้อยละรวม 2 ด้าน” สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยร้อย ละรวมระดั บประเทศในการประเมิ น ความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2564 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 18 โรงเรียนวัดจำปา เกียรติบัตรเป็นสถานศึกษาที่มีนักเรียนสอบ “ความสามารถด้านภาษาไทย” ได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ประจำปีการศึกษา 2564 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 ปี 2564 19 โรงเรียนวัดจำปา เกียรติบัตรเป็นสถานศึกษาที่มีนักเรียนสอบ “ความสามารถด้านคณิตศาสตร์” ได้คะแนน เต็ม 100 คะแนน ในการประเมินคุณภาพ ผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ประจำปี การศึกษา 2564 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 20 นางสุรชา เขาแก้ว เกียรติบัตรเป็นผู้ที่ส่งเสริมสนับสนุนและจัด สวัสดิการและสวัสดิภาพให้แก่ผู้ประกอบ วิชาชีพทางการศึกษาและผู้ปฏิบัติงานด้าน การศึกษาจนเป็นที่ประจักษ์อยู่ในเกณฑ์ดีมาก จังหวัด 21 นางสุรชา เขาแก้ว เกียรติบัตรได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ เป็น ผู้ทำคุณประโยชน์ทางด้านการศึกษา สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 22 นางสุรชา เขาแก้ว เกียรติบัตรผู้บริหารที่มีความมุ่งมั่นและทุ่มเท จนทำให้นักเรียนสอบความสามารถด้าน ภาษาไทย มีคะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการ ประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 3 ประจำปีการศึกษา 2564 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 23 นางสุรชา เขาแก้ว เกียรติบัตรผู้บริหารที่มีความมุ่งมั่นและทุ่มเท จนทำให้นักเรียนสอบความสามารถด้าน คณิตศาสตร์ มีคะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการ ประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 3 ประจำปีการศึกษา 2564 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 24 นางสุรชา เขาแก้ว เกียรติบัตรผู้บริหารที่มีความมุ่งมั่นและทุ่มเท จนทำให้นักเรียนมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการประเมินความสามารถด้านการอ่านของ ผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ประจำปี การศึกษา 2564 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1
๒๔ ที่ ชื่อ-สกุล รางวัลที่ได้รับ ระดับ ปี 2565 1 โรงเรียนวัดจำปา รางวัล “สถานศึกษาปลอดภัย” ประจำปี พ.ศ.2565 ปีที่ 2 ประเทศ 2 โรงเรียนวัดจำปา เกียรติบัตร มีผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Good Practice) การจัดการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงสู่ การสร้างอาชีพและการมีงานทำ ระดับ ประถมศึกษา เรื่อง กล้วย กล้วย สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 3 โรงเรียนวัดจำปา ได้รับรางวัลชมเชย ระดับประถมศึกษา การ ประกวดเทียนพรรษา ประจำปีการศึกษา 2565 อำเภอ ปี 2565 4 โรงเรียนวัดจำปา รับรางวัลชมเชย การแข่งขันบริษัทสร้างการดี ภายใต้โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 5 โรงเรียนวัดจำปา เกียรติบัตรเป็นสถานศึกษาที่มี “คะแนนเฉลี่ย ร้อยละรวม 2 ด้าน” สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยร้อย ละรวมระดั บประเทศในการประเมิ น ความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 6 โรงเรียนวัดจำปา เกียรติบัตรเป็นสถานศึกษาที่มีนักเรียนสอบ “ความสามารถด้านภาษาไทย” ได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ประจำปีการศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 7 โรงเรียนวัดจำปา เกียรติบัตรเป็นสถานศึกษาที่มีนักเรียนสอบ “ความสามารถด้านคณิตศาสตร์” ได้คะแนน เต็ม 100 คะแนน ในการประเมินคุณภาพ ผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ประจำปี การศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 8 โรงเรียนวัดจำปา เกียรติบัตรเป็นสถานศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ย “วิชาวิทยาศาสตร์” สูงกว่าคะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศในการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational Test : O-NET)ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ปีการศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1
๒๕ ที่ ชื่อ-สกุล รางวัลที่ได้รับ ระดับ 9 นางสุรชา เขาแก้ว เกียรติบัตรผู้บริหารที่มีความมุ่งมั่นและทุ่มเท จนทำให้นักเรียนสอบความสามารถด้าน ภาษาไทย มีคะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการ ประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 3 ประจำปีการศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 10 นางสุรชา เขาแก้ว เกียรติบัตรผู้บริหารที่มีความมุ่งมั่นและทุ่มเท จนทำให้นักเรียนสอบความสามารถด้าน คณิตศาสตร์ มีคะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการ ประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 3 ประจำปีการศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 ปี 2565 11 นางสุรชา เขาแก้ว เกียรติบัตรผู้บริหารที่มีความมุ่งมั่นและทุ่มเท จนทำให้นักเรียนมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการประเมินความสามารถด้านการอ่านของ ผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ประจำปี การศึกษา 2565 สพป. พระนครศรีอยุธยา เขต 1 ๘. ข้อมูลอาคารสถานที่ อาคารสิ่งก่อสร้าง โรงเรียนมีอาคารสถานที่เพื่อใช้ในการดำเนินการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา ดังนี้ ข้อมูลอาคารสถานที่ ประกอบด้วย จำนวนอาคาร จำนวนห้องประกอบ อาคารเรียนจำนวน 3 หลัง อาคารประกอบจำนวน 1 หลัง ห้องน้ำ 5 ห้อง สนามวอลเลย์บอล 1 สนาม สนามเด็กเล่น 1 สนาม สนามฟุตบอล 1 สนาม สนามบาสเก็ตบอล 1 สนาม สนามเปตอง 1 สนาม สนาม BBL 3 สนาม อื่นๆ (ระบุ) ๙. สภาพชุมชนโดยรวม 9.๑ สภาพชุมชนรอบโรงเรียนมีลักษณะชนบท มีประชากรประมาณ 5,317 คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบ โรงเรียน ได้แก่ วัดขุนทราย วัดโคกช้าง เทศบาลตำบลอุทัย อาชีพหลักของชุมชน คือ อาชีพรับจ้าง เนื่องจากอยู่ใกล้ สถานประกอบการ ส่วนใหญ่นับถือศาสนา พุทธ ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่รู้จักโดยทั่วไปคือ วันสงกรานต์ วันเข้าพรรษา วันลอยกระทง ทำบุญวันขึ้นปีใหม่และวันสำคัญทางศาสนา ฯลฯ 9.๒ ผู้ปกครองส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน อาชีพหลัก คือ รับจ้าง รายได้โดยเฉลี่ย ประมาณ ๗๒,๐๐๐ บาท/คน/ปี จำนวนคนเฉลี่ยต่อครอบครัว ๔ คน 9.๓ โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรียน ⚫ โอกาส โรงเรียนมีชุมนุมที่ให้การสนับสนับสนุนด้านการศึกษา และทางโรงเรียนสามารถพัฒนา การศึกษาให้เป็นที่ยอมรับของชุมชน ผู้ปกครองนักเรียนได้เป็นอย่างดี ⚫ ข้อจำกัด โรงเรียนวัดจำปามีนักเรียนในเขตพื้นที่บริการมีจำนวนน้อย เขตพื้นที่บริการ หมู่ที่ 8 บ้านชายเคือง ตำบลอุทัย อำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๒๖ หมู่ที่ 9 บ้านท้ายคุ้ง ตำบลอุทัย อำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา หมู่ที่ 10 บ้านอ้อย ตำบลอุทัย อำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา หมู่ที่ 11 บ้านคลองชนะ ตำบลอุทัย อำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา หมู่ที่ 12 บ้านชายสิงห์เหนือ ตำบลอุทัย อำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา หมู่ที่ 13 บ้านชายสิงห์ใต้ ตำบลอุทัย อำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อาณาเขต ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอนครหลวงและอำเภอภาชี ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอหนองแค (จังหวัดสระบุรี) ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอบางปะอินและอำเภอวังน้อย ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอพระนครศรีอยุธยา ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปของตำบลขยาย มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่ม มีคลองข้าวเม่าไหลผ่านทางทิศ ตะวันตกของตำบล สภาพพื้นที่มีความเหมาะสมกับการเกษตรกรรม สภาพเศรษฐกิจ อาชีพหลัก ได้แก่ เนื่องจากอำเภออุทัย มีพื้นที่เกษตรกรรม เป็นส่วนใหญ่ ของพื้นที่ทั้งหมด ทำให้ประชาชน ส่วนใหญ่มักประกอบอาชีพเกษตรกรรม บางส่วนประกอบอาชีพเลี้ยงสัตว์ แต่ในปัจจุบันได้มีพื้นที่บางส่วนขยายเป็น แหล่งอุตสาหกรรม ทำให้มีประชาชนบางส่วนประกอบอาชีพพนักงานโรงงาน อาชีพเสริม ได้แก่ - ปลูกเห็ดฟาง - ทำดอกไม้จันทร์ - ทำธูปหอม ครกหิน - ทำดอกไม้ประดิษฐ์จากยางพารา - ทำพรมเช็ดเท้า สถานศึกษาที่อยู่ใกล้เคียง ๑. โรงเรียนวัดโคกช้าง (ราษฎร์บำรุง) ๒. โรงเรียนวัดขุนทิพย์ (สาครราษฎ์บำรุง) ๓. โรงเรียนวัดสะแก ๔. โรงเรียนวัดโตนดเตี้ย ๕. โรงเรียนวัดอุทัย (เชาวนวิทยา) ๖. โรงเรียนบ้านช้าง ๗. โรงเรียนวัดโคกมะยม ๑๐. แหล่งเรียนรู้ ๑๐.๑ ห้องปฏิบัติการ โรงเรียนมีห้องปฏิบัติการ จำนวน 6 ห้อง ดังนี้ ๑.ห้องคอมพิวเตอร์ ๒.ห้องวิทยาศาสตร์ ๓.ห้องสมุด ๔.ห้องศูนย์การเรียนรู้ ๕.ห้องธนาคารขยะ ๖.ห้องลูกเสือ
๒๗ ๑๐.๒ แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน แหล่งเรียนรู้ภายใน สถิติการใช้จำนวนครั้ง/ปี ชื่อแหล่งเรียนรู้ ๑.ห้องคอมพิวเตอร์ ๒.ห้องวิทยาศาสตร์ ๓.ห้องสมุด ๔.ห้องศูนย์การเรียนรู้ ๕.ห้องธนาคารขยะ ๖.ห้องลูกเสือ ๗.ห้องแท็บเล็ต ๘.ห้องพยาบาล ๙.ห้องพลศึกษา (สนามฟุตบอล , สนามวอลเลย์บอล , สนามเปตอง,สนามบาสเกตบอล) ๑๐.วิหารพระพุทธรูปหลวงพ่อหิน ๑๑.สวนหย่อมวิทยาศาสตร์ ๑๒. สวนเกษตรตามโครงการเศรษฐกิจพอเพียง ๑๕๐ ๑0๐ 35๐ ๒๔๐ 40 ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๖๐ 120 200 120 ๑๐.๓ แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน ที่ รายการแหล่งเรียนรู้ภายนอก ชื่อโครงการ/กิจกรรม ๑ ทัศนศึกษาดรีมเวิลด์ สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับ อนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน (15 ปีเรียนฟรี อย่างมีคุณภาพ) ๑๐.๔ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่ ชื่อ – สกุล / สถานที่ ด้าน จำนวนครั้ง ๑ นางละมุล พรหมบุตร การเกษตร 2 ๒ ๓
๒๘ ส่วนที่ ๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเด็ก ๑.๑ มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ ค่าเป้าหมาย ระดับ ดีเลิศ ประเด็นการประเมิน จำนวน เด็ก ทั้งหมด ค่า เป้าหมาย (ร้อยละ) จำนวนเด็ก ที่มี พฤติกรรม ตามเกณฑ์ ร้อยละของ เด็กที่มี พฤติกรรม ตามเกณฑ์ ระดับ คุณภาพ ๑.เด็กมีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน ของกรมอนามัย 70 ๗๕ 37 71.43 ดี ๒.เด็กเคลื่อนไหว ร่างกายคล่องแคล่ว ทรงตัวได้ ดี 70 ๗๕ ๖๕ ๙๒.๘๖ ยอดเยี่ยม ๓.เด็กใช้มือและตาประสานสัมพันธ์ได้ดี 70 ๗๕ ๖๗ ๙๕.๗๑ ยอดเยี่ยม ๔.เด็กดูแลรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตน และ ปฏิบัติจนเป็นนิสัย 70 ๗๕ ๗๐ ๑๐๐.๐๐ ยอดเยี่ยม ๕.เด็กปฏิบัติตนตามข้อตกลง เกี่ยวกับความ ปลอดภัย 70 ๗๕ ๖๕ ๙๒.๘๖ ยอดเยี่ยม ๖.เด็กหลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค สิ่งเสพ ติด 70 ๗๕ ๗๐ ๑๐๐.๐๐ ยอดเยี่ยม ๗.เด็กระวังภัยจากบุคคล สิ่งแวดล้อม และ สถานการณ์ที่เสี่ยงอันตราย 70 ๗๕ ๗๐ ๑๐๐.๐๐ ยอดเยี่ยม สรุปผลการประเมิน ๑.๑ ระดับ ยอดเยี่ยม กระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อผลการประเมิน โรงเรียนวัดจำปา มีกระบวนการพัฒนาเด็กที่หลากหลาย ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มี สุขนิสัยที่ดี มีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย สามารถเคลื่อนไหว ร่างกายได้อย่างคล่องแคล่ว ทรง ตัวได้ดี สามารถใช้มือ และตาให้ประสานสัมพันธ์ได้ดี ดูแลรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตน และปฏิบัติจนเป็นนิสัย ปฏิบัติ ตนตามข้อตกลงต่างๆ หลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค สิ่งเสพติด ระวังภัยจากบุคคล สิ่งแวดล้อม และสถานการณ์ที่ เสี่ยงอันตราย
๒๙ ๑.๒ มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ ค่าเป้าหมาย ระดับคุณภาพ ระดับ ดีเลิศ ประเด็นการประเมิน จำนวน เด็ก ทั้งหมด ค่า เป้าหมาย (ร้อยละ) จำนวนเด็ก ที่มี พฤติกรรม ตามเกณฑ์ ร้อยละของ เด็กที่มี พฤติกรรม ตามเกณฑ์ ระดับ คุณภาพ ๑.เด็กร่าเริงแจ่มใส แสดงอารมณ์ความรู้สึกได้ เหมาะสม 70 ๗๕ ๗๐ ๑๐๐.๐๐ ยอดเยี่ยม ๒.รู้จักยับยั้งชั่งใจ อดทนในการรอคอย 70 ๗๕ ๖๐ ๘๕.๗๑ ดีเลิศ ๓.เด็กยอมรับ และพอใจในความสามารถ และ ผลงานของตนเอง และผู้อื่น 70 ๗๕ ๗๐ ๑๐๐.๐๐ ยอดเยี่ยม ๔.เด็กมีจิตสำนึก และค่านิยมที่ดี 70 ๗๕ ๗๐ ๑๐๐.๐๐ ยอดเยี่ยม ๕.เด็กมีความมั่นใจ กล้าพูด กล้าแสดงออก 70 ๗๕ ๖๕ ๙๒.๘๕ ยอดเยี่ยม ๖.เด็กช่วยเหลือแบ่งปัน 70 ๗๕ ๖๕ ๙๒.๘๕ ยอดเยี่ยม ๗.เด็กเคารพสิทธิ รู้หน้าที่รับผิดชอบ 70 ๗๕ ๗๐ ๑๐๐.๐๐ ยอดเยี่ยม ๘.เด็กอดทนอดกลั้น ซื่อสัตย์สุจริต 70 ๗๕ ๕๕ ๗๘.๕๗ ดี ๙.เด็กชื่นชม และมีความสุขกับศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว 70 ๗๕ ๖๖ ๙๔.๒๙ ยอดเยี่ยม สรุปผลการประเมิน ๑.๒ ระดับ ยอดเยี่ยม กระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อผลการประเมิน โรงเรียนวัดจำปา มีกระบวนการพัฒนาเด็กที่หลากหลาย ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ สามารถแสดงอารมณ์ความรู้สึกได้อย่างเหมาะสม รู้จักยับยั้งชั่งใจ อดทนในการรอคอย ยอมรับ และพอใจใน ความสามารถของตนเอง และผู้อื่น มีจิตสำนึกที่ดี และมีค่านิยมที่ดี มีความมั่นใจในตนเอง กล้าพูด กล้าแสดงออก สามารถช่วยเหลือ และแบ่งปัน เคารพสิทธิ รู้หน้าที่รับผิดชอบ อดทนอดกลั้น ซื่อสัตย์สุจริต ชื่นชมและมีความสุขกับ ศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว เป็นต้น
๓๐ ๑.๓ มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม เป้าหมายคุณภาพ ระดับ ดีเลิศ ประเด็นการประเมิน จำนวน เด็ก ทั้งหมด ค่า เป้าหมาย (ร้อยละ) จำนวนเด็ก ที่มี พฤติกรรม ตามเกณฑ์ ร้อยละของ เด็กที่มี พฤติกรรม ตามเกณฑ์ ระดับ คุณภาพ ๑.เด็กช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน 70 ๗๕ ๖๕ ๙๒.๘๖ ยอดเยี่ยม ๒.เด็กมีวินัยในตนเอง ประหยัดและพอเพียง 70 ๗๕ ๖๐ ๘๕.๗๑ ดีเลิศ ๓.เด็กมีส่วนร่วมดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมใน และ นอกห้องเรียน 70 ๗๕ ๖๔ ๙๑.๔๓ ยอดเยี่ยม ๔.เด็กมีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้ การยิ้ม ทักทาย และมีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ 70 ๗๕ ๗๐ ๑๐๐.๐๐ ยอดเยี่ยม ๕.เด็กยอมรับหรือเคารพความแตกต่างระหว่าง บุคคล เช่น ความคิด พฤติกรรม พื้นฐาน ครอบครัว เชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม 70 ๗๕ ๗๐ ๑๐๐.๐๐ ยอดเยี่ยม ๖.เด็กเล่น และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ แก้ไขข้อ ขัดแย้ง โดยปราศจากการใช้ความรุนแรง 70 ๗๕ ๖๕ ๙๒.๘๖ ยอดเยี่ยม สรุปผลการประเมิน ๑.๓ ระดับ ยอดเยี่ยม กระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อผลการประเมิน โรงเรียนวัดจำปา มีกระบวนการพัฒนาเด็กที่หลากหลาย ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม สามารถ ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน มีวินัยในตนเอง เรียนรู้การประหยัด และพอเพียง มีส่วนร่วมดูแลรักษา สิ่งแวดล้อมทั้งในโรงเรียน และนอกห้องเรียน มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้ การยิ้ม ทักทาย และมีสัมมา คารวะต่อผู้ใหญ่ ยอมรับ หรือเคารพความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่น ความคิด พฤติกรรม พื้นฐานครอบครัว เชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม สามารถเล่น และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้ง โดยปราศจากการใช้ความรุนแรง
๓๑ ๑.๔ มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ ค่าเป้าหมายคุณภาพ ระดับ ดีเลิศ ประเด็นการประเมิน จำนวน เด็ก ทั้งหมด ค่าเป้าหมาย (ร้อยละ) จำนวนเด็ก ที่มี พฤติกรรม ตามเกณฑ์ ร้อยละของ เด็กที่มี พฤติกรรม ตามเกณฑ์ ระดับ คุณภาพ ๑.เด็กสนทนาโต้ตอบ และเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ 70 ๗๕ ๖๗ ๙๕.๗๑ ยอดเยี่ยม ๒.เด็กตั้งคำถามในสิ่งที่ตนเองสนใจหรือสงสัย และพยายามค้นหาคำตอบ 70 ๗๕ ๖๗ ๙๕.๗๑ ยอดเยี่ยม ๓.เด็กอ่านนิทาน และเล่าเรื่องที่ตนเองอ่านได้ เหมาะสมกับวัย 70 ๗๕ ๖๕ ๘๗.๕๐ ดีเลิศ ๔.เด็กมีความสามารถในการคิดรวบยอด การ คิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 70 ๗๕ ๖๐ ๘๕.๗๑ ดีเลิศ ๕.เด็กคิดแก้ปัญหา และสามารถตัดสินใจใน เรื่องง่ายๆ ได้ 70 ๗๕ ๖๕ ๙๒.๘๖ ยอดเยี่ยม ๖.เด็กสร้างสรรค์ผลงานตามความคิด และ จินตนาการ เช่น งานศิลปะ การเคลื่อนไหวท่าทาง การเล่นอิสระ เป็นต้น 70 ๗๕ ๖๐ ๘๕.๗๑ ดีเลิศ ๗.เด็กใช้สื่อเทคโนโลยีเช่น แว่นขยาย แม่เหล็ก กล้องดิจิตอล เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้และ แสวงหาความรู้ได้ 70 ๗๕ ๖๖ ๙๔.๒๙ ยอดเยี่ยม สรุปผลการประเมิน ๑.๔ ระดับ ยอดเยี่ยม กระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อผลการประเมิน โรงเรียนวัดจำปา มีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และหลักสูตรของ สถานศึกษา เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญาของเด็ก เพื่อให้เด็กสามารถสนทนาโต้ตอบ และเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ การตั้งคำถามในสิ่งที่ตนเองสนใจ หรือสงสัย และพยายามค้นหาคำตอบ การอ่านนิทาน และเล่าเรื่องที่ตนเองอ่านได้ เหมาะสมกับวัย มีความสามารถในการคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ผ่านการจัด กิจกรรมในชั้นเรียน การคิดแก้ปัญหา และสามารถตัดสินใจในเรื่องง่ายๆ ได้อย่างเหมาะสมตามวัย สามารถสร้างสรรค์ ผลงานตามความคิดและจินตนาการของตนเอง เช่น งานศิลปะ การเคลื่อนไหวท่าทาง การเล่นอิสระ สามารถใช้สื่อเทคโนโลยีต่างๆ ได้ด้วยตนเอง เช่น แว่นขยาย แม่เหล็ก กล้องดิจิตอล เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง
๓๒ สรุปผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเด็ก ค่าเป้าหมายคุณภาพ ระดับ ดีเลิศ ประเด็นการประเมิน ค่าเป้าหมาย ระดับคุณภาพ ๑.๑ มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความ ปลอดภัยของตนเองได้ ดีเลิศ ยอดเยี่ยม ๑.๒ มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออก ทางอารมณ์ได้ ดีเลิศ ยอดเยี่ยม ๑.๓ มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดี ของสังคม ดีเลิศ ยอดเยี่ยม ๑.๔ มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิด พื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ ดีเลิศ ยอดเยี่ยม สรุปผลการประเมินคุณภาพระดับการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเด็ก ระดับ คุณภาพ ยอดเยี่ยม ร่องรอยความพยายาม โครงการ หรือกิจกรรมที่โรงเรียนทำ ๑.๑ โครงการ โครงการวัสดุอุปกรณ์เครื่องใช้สำหรับคุณหนูโครงการวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย โครงการบัณฑิตน้อยจำปาพาเพลิน โครงการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย โครงการปรับปรุงห้องเรียนปฐมวัยน่าอยู่ น่าเรียน โครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน และการใฝ่เรียนรู้สมวัย โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพอนามัยวัยใส โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมวัยอนุบาล โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต และสุนทรียภาพเด็กปฐมวัย โครงการ นิเทศภายในระดับปฐมวัย มีกิจกรรมดังนี้ - กิจกรรมในชั้นเรียนตามแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ - กิจกรรมบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย - กิจกรรมบัณฑิตน้อย - กิจกรรมการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย - กิจกรรมการปรับปรุงห้องเรียน - กิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกโรงเรียน - กิจกรรมรักการอ่าน - กิจกรรมอนามัยวัยอนุบาล - กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของเด็กปฐมวัย - กิจกรรมตามโครงงานในชั้นเรียนปฐมวัย
๓๓ ๑.๒ ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิญประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง ประกอบด้วยรายงาน โครงการดังต่อไปนี้ รายงานโครงการวัสดุอุปกรณ์เครื่องใช้สำหรับคุณหนู - การจัดกิจกรรมในชั้นเรียนตามแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทุกระดับชั้น รายงานโครงการวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย - กิจกรรมวิทยาศาสตร์ ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รายงานโครงการบัณฑิตน้อยจำปาพาเพลิน - กิจกรรมบัณฑิตน้อยชั้นอนุบาลปีที่ 3 รายงานโครงการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย - กิจกรรมการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยที่จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และเลื่อนชั้น รายงานโครงการปรับปรุงห้องเรียนปฐมวัยน่าอยู่น่าเรียน - กิจกรรมการจัดสภาพแวดล้อมในชั้นเรียน รายงานโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน และการใฝ่เรียนรู้สมวัย - กิจกรรมรักการอ่านในระดับปฐมวัย - กิจกรรมการศึกษาแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน และนอกโรงเรียน รายงานโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพอนามัยวัยใส - กิจกรรมการตรวจผม เล็บ ฟัน และเครื่องแต่งกาย - กิจกรรมการทำความสะอาด - กิจกรรมวันต่อต้านยาเสพติด - กิจกรรมกีฬาปฐมวัย รายงานโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมวัยอนุบาล - กิจกรรมวันสำคัญทางศาสนา รายงานโครงการส่งเสริมสุขภาพจิต และสุนทรียภาพเด็กปฐมวัย - กิจกรรมโครงงานในชั้นเรียนปฐมวัย รายงานโครงการนิเทศภายในระดับปฐมวัย - กิจกรรมการนิเทศครูผู้สอนในระดับปฐมวัย กระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อคุณภาพเด็ก โรงเรียนวัดจำปา มีกระบวนการพัฒนาเด็กที่หลากหลาย ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มี สุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ โรงเรียนจัดให้เด็กได้รับประทานอาหารที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ ใน ปริมาณที่เหมาะสมตามวัย มีการควบคุมดูแลให้เด็กดื่มนมเป็นประจำทุกวันอย่างสม่ำเสมอ มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เดือนละ 1 ครั้ง ทำให้เด็กมีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน และจัดหาอุปกรณ์ให้เด็กได้เล่น และเรียนรู้อย่าง เหมาะสมตามวัย และมีความปลอดภัย มีกฎ กติกา ข้อตกลงในการดูแลตนเองให้ปลอดภัย หลีกเลี่ยงจากอันตราย
๓๔ สามารถเคลื่อนไหวร่างกายคล่องแคล่ว ทรงตัวได้ดี สามารถใช้มือ และตาให้ประสานสัมพันธ์กันได้ดี มีการจัดบอร์ดให้ ความรู้กับเด็กๆ และผู้ปกครอง การป้องกันต่างๆ เช่นอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นได้ในชีวิตประจำวัน มีการรณรงค์ต่อต้านยา เสพติด มีการจัดกิจกรรมให้กับเด็กๆ เพื่อดูแลรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตัว และปฏิบัติตนให้ถูกต้องตามสุขอนามัย ได้รับความร่วมมือจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอุทัย ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็ก การส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ครูปลูกฝังให้เด็กมีความซื่อสัตย์สุจริต มีความอดทนมีความมั่นใจ กล้าพูด และกล้าแสดงออก ยิ้มแย้มแจ่มใส อารมณ์ดี โดยจัดกิจกรรมต่างๆ ทั้งในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียน เพื่อให้ เด็กแสดงความรู้สึกได้เหมาะสมตามวัย รู้จักยับยั้งชั่งใจ อดทนในการรอคอย ยอมรับ และพอใจในความสามารถใน ผลงานของตนเอง และผู้อื่น มีจิตสำนึก และมีค่านิยมที่ดี ตามที่สถานศึกษากำหนด มีการจัดกิจกรรมทางศิลปะ ดนตรี ให้เด็ก เพื่อส่งเสริมจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ ให้เด็กมีอารมณ์ที่สดใส และสามารถทำกิจกรรมด้วยความ สนุกสนาน มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อน ทั้งใน และนอกห้องเรียน เป็นต้น โรงเรียนวัดจำปา ได้จัดกิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกโรงเรียน และกิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้ภายใน โรงเรียน เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม สามารถช่วยเหลือตนเอง เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม มีวินัยในตนเอง มีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ มีมารยาทที่ดี ยิ้ม ไหว้ ทักทาย ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจกรรมประจำวัน สามารถ รับประทานอาหารด้วยตนเอง และมีมารยาทในการรับประทานอาหารที่ดีรู้จักดูแลรักษาความสะอาดของตนเอง และ ช่วยเหลือผู้อื่น รู้จักช่วยเหลือแบ่งปันเพื่อนในห้องเรียน ทำงานร่วมกับเพื่อนๆ ได้ โดยการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ตามแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในแต่ละชั้นเรียน ปลูกฝังให้เด็กรู้จักประเพณี วัฒนธรรม โดยจัดกิจกรรมวัน สำคัญทางศาสนาให้เด็กๆ ได้เรียนรู้การใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมตามวัย ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา สามารถสื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ โดยการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตร และแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้าน สติปัญญาของเด็ก ให้เด็กสามารถสนทนาโต้ตอบ และเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ สร้างสรรค์ผลงานตามจินตนาการและความคิด สร้างสรรค์ของเด็กสามารถอ่านนิทานจากภาพ และเล่าเรื่องที่ตนเองอ่านได้เหมาะสมตามวัย สามารถคิดแก้ปัญหา และ ตัดสินใจในเรื่องง่ายๆ ได้ด้วยตนเอง มีการจัดกิจกรรมบ้านวิทยาศาสตร์น้อย เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีทักษะการคิดพื้นฐาน การคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ และแสวงหาความรู้สามารถตั้งคำถามในสิ่งที่ ตนเองสนใจ และพยายามค้นหาคำตอบได้ แนวทางพัฒนาในอนาคต 1.ส่งเสริมให้เด็กมีร่างกายเติบโตตามวัย มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย สามารถ ดูแลสุขภาพของตนเอง และปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง มีความสนุกสนาน ร่าเริง แจ่มใสสามารถร่วม กิจกรรมในสังคมได้อย่างมีความสุข มีสติปัญญาสามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆ ได้ด้วยตนเองตามความเหมาะสมของวัย 2.การปลูกฝังในเรื่องสุขนิสัยที่ดี เช่น การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร ล้างมือหลังออกจากห้องน้ำ ห้อง ส้วม และการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้เป็นนิสัย การรักษาความสะอาดในห้องเรียน และรอบๆ บริเวณ โรงเรียน การยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ การใช้คำพูดขอบคุณ ขอโทษ การใช้วาจาสุภาพเหมาะสมกับวัย
๓๕ ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ๒.๑ มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น ค่าเป้าหมายคุณภาพ ระดับ ดีเลิศ ประเด็นการประเมิน ค่าเป้าหมาย ผลการประเมิน ๑.มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น ดีเลิศ ดีเลิศ ๒.มีหลักสูตรสถานศึกษาที่ยืดหยุ่น และสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ดีเลิศ ดีเลิศ ๓.ออกแบบการจัดประสบการณ์ที่เตรียมความพร้อม และไม่เร่งรัดวิชาการ ดีเลิศ ดีเลิศ ๔.เน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่น และการลงมือปฏิบัติ ตอบสนองความ ต้องการ และความแตกต่างของเด็กปกติและกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ดีเลิศ ดีเลิศ ๕.เน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่น และการลงมือปฏิบัติ สอดคล้องกับวิถีชีวิต ของครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น ดีเลิศ ดีเลิศ สรุปผลการประเมิน ระดับคุณภาพ ดีเลิศ กระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อผลการประเมิน การจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนวัดจำปา ได้มีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของ สถานศึกษาไว้อย่างชัดเจน มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน หลักสูตรสถานศึกษามีความยืดหยุ่น และสอดคล้อง กับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2560 และบริบทของท้องถิ่น มีการออกแบบการจัดประสบการณ์ที่เตรียมความ พร้อม และไม่เร่งรัดวิชาการ เน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่น และการลงมือปฏิบัติ ตอบสนองความต้องการ และความ แตกต่างของเด็กปกติและกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติ สอดคล้องกับวิถีชีวิต ของครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น โดยเป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาเด็กทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และ สติปัญญา เพื่อให้เด็กมีความสุขในการเรียนรู้ ๒.๒ จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน ค่าเป้าหมายคุณภาพ ระดับ ดีเลิศ ประเด็นการประเมิน ค่าเป้าหมาย ผลการประเมิน ๑.สถานศึกษาจัดครูให้เหมาะสมกับภารกิจการเรียนการสอนปฐมวัย ดีเลิศ ยอดเยี่ยม ๒.สถานศึกษาจัดครูที่จบการศึกษาปฐมวัย หรือผ่านการอบรมการศึกษา ปฐมวัยอย่างพอเพียงกับชั้นเรียน ดีเลิศ ยอดเยี่ยม สรุปผลการประเมิน ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม
๓๖ กระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อผลการประเมิน โรงเรียนวัดจำปา มีครูประจำการที่จบการศึกษาปฐมวัย และส่งบุคลากรเข้ารับการอบรม เพื่อพัฒนาศักยภาพ และคุณภาพครูด้านการศึกษาปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง ๒.๓ ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ ค่าเป้าหมายคุณภาพ ระดับ ดีเลิศ ประเด็นการประเมิน ค่าเป้าหมาย ผลการประเมิน ๑.พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และ ออกแบบหลักสูตรสถานศึกษา ดีเลิศ ดีเลิศ ๒.พัฒนาครูและบุคลากรให้มีทักษะในการจัดประสบการณ์และการ ประเมินพัฒนาการเด็ก ดีเลิศ ดีเลิศ ๓.พัฒนาครูและบุคลากรให้ใช้ประสบการณ์สำคัญ ในการออกแบบการจัด กิจกรรม ดีเลิศ ดีเลิศ ๔.พัฒนาครูและบุคลากรให้มีการสังเกต และประเมินพัฒนาการเด็กเป็น รายบุคคล ดีเลิศ ดีเลิศ ๕.ส่งเสริมให้ครูและบุคลากรมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก และครอบครัว ดีเลิศ ดีเลิศ สรุปผลการประเมิน ระดับคุณภาพ ดีเลิศ กระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อผลการประเมิน โรงเรียนวัดจำปา มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และออกแบบ หลักสูตรสถานศึกษา มีทักษะในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และการประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล โดยใช้ ประสบการณ์สำคัญในการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มีทักษะการสังเกต และสามารถประเมินพัฒนาการเด็ก ได้อย่างเหมาะสมกับวัยของเด็ก มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก และผู้ปกครอง เป็นต้น ๒.๔ จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัยและเพียงพอ ค่าเป้าหมายคุณภาพ ระดับ ดีเลิศ ประเด็นการประเมิน ค่าเป้าหมาย ผลการประเมิน ๑.สถานศึกษาจัดภาพแวดล้อมภายใน และภายนอกห้องเรียนที่คำนึงถึงความ ปลอดภัย ดีเลิศ ดีเลิศ ๒.สถานศึกษาจัดภาพแวดล้อมภายใน และภายนอกห้องเรียนที่ส่งเสริมให้ เกิดการเรียนรู้เป็นรายบุคคล และกลุ่ม ดีเลิศ ดีเลิศ ๓.สถานศึกษาจัดภาพแวดล้อมภายใน และภายนอกห้องเรียนที่ส่งเสริมให้ เกิดการเล่นแบบร่วมมือร่วมใจ ดีเลิศ ดีเลิศ
๓๗ ๔.สถานศึกษาจัดให้มีมุมประสบการณ์หลากหลาย มีสื่อการเรียนรู้ เช่น ของ เล่น หนังสือนิทาน สื่อจากธรรมชาติสื่อสำหรับเด็กมุด ลอด ปีนป่าย สื่อ เทคโนโลยี สื่อเพื่อการสืบเสาะหาความรู้ ดีเลิศ ดีเลิศ สรุปผลการประเมิน ระดับคุณภาพ ดีเลิศ กระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อผลการประเมิน โรงเรียนวัดจำปา มีการจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายใน และนอกห้องเรียนที่คำนึงถึงความปลอดภัยของผู้เรียน ได้จัดสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็นซึ่งเอื้อประโยชน์ และอำนวยความสะดวกต่อการพัฒนาเด็ก ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา คือ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ จัดให้มีวัสดุ อุปกรณ์ ของเล่น ของใช้ สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ให้พอเพียงกับจำนวนของเด็ก โดยจัดให้เหมาะสม สะอาด ปลอดภัย ให้มีมุมนิทานที่จำเป็นต่อพัฒนาการของเด็ก ให้เพียงพอ และเหมาะสมกับวัย จัดให้มีเครื่องเล่นสนามที่ เหมาะสมปลอดภัย จัดให้มีพื้นที่สำหรับล้างมือ แปรงฟัน ทำความสะอาดร่างกาย ห้องน้ำห้องส้วม พร้อมอุปกรณ์ที่ จำเป็น และเหมาะสมกับเด็ก มีหลักสูตรปฐมวัยที่ยืดหยุ่น และสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา เป็นรูปแบบการจัด ประสบการณ์ที่เตรียมความพร้อม เน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่น และการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง สอดคล้องกับวิถีชีวิต ของครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ทั้งแบบรายบุคคล และรายกลุ่ม มีมุมประสบการณ์และ สื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย ที่ได้จากธรรมชาติหรือสื่อในชุมชน มุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้แบบเรียนปนเล่นมีความสุขใน การเรียนรู้ ๒.๕ ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์ ค่าเป้าหมายคุณภาพ ระดับ ดีเลิศ ประเด็นการประเมิน ค่าเป้าหมาย ผลการประเมิน ๑.สถานศึกษาอำนวยความสะดวก และให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์ และพัฒนาครู ดีเลิศ ดีเลิศ ๒.สถานศึกษาอำนวยความสะดวก และให้บริการวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อ สนับสนุนการจัดประสบการณ์และพัฒนาครู ดีเลิศ ดีเลิศ สรุปผลการประเมิน ระดับคุณภาพ ดีเลิศ กระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อผลการประเมิน โรงเรียนวัดจำปา มีสื่อเทคโนโลยีใช้ในการสืบเสาะหาความรู้ มีการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกให้บริการด้านสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาครูอย่างเพียงพอ และทั่วถึง
๓๘ ๒.๖ มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ค่าเป้าหมายคุณภาพ ระดับ ดีเลิศ ประเด็นการประเมิน ค่าเป้าหมาย ผลการประเมิน ๑.สถานศึกษากำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และกำหนด เป้าหมายไว้อย่างชัดเจน ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ที่สถานศึกษากำหนด ดีเลิศ ดีเลิศ ๒.สถานศึกษาจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดรับกับ มาตรฐานที่สถานศึกษากำหนด ดีเลิศ ดีเลิศ ๓.สถานศึกษาดำเนินการตามแผนที่สถานศึกษากำหนด ดีเลิศ ดีเลิศ ๔.สถานศึกษามีการประเมินผล และตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ดีเลิศ ดีเลิศ ๕.สถานศึกษามีการติดตามผลการดำเนินงานทั้งระดับบุคคลบุคคล และ ระดับสถานศึกษา ดีเลิศ ดีเลิศ ๖.สถานศึกษามีการจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองประจำปี ดีเลิศ ดีเลิศ ๗.สถานศึกษามีการนำผลการประเมินไปปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพ สถานศึกษา โดยผู้ปกครอง และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ดีเลิศ ดีเลิศ ๘.สถานศึกษาจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสังกัด ดีเลิศ ดีเลิศ สรุปผลการประเมิน ระดับคุณภาพ ดีเลิศ กระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อผลการประเมิน โรงเรียนวัดจำปา มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ที่สถานศึกษากำหนด มีการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับมาตรฐานตาม หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีการประเมินผล ตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงาน และ จัดทำรายงานผลการประเมินตนเองประจำปี มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุก ฝ่ายมีส่วนร่วม พร้อมทั้งรายงานผลการประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสังกัดอย่างต่อเนื่อง
๓๙ สรุปผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ค่าเป้าหมายคุณภาพ ระดับ ดีเลิศ ด้าน/ประเด็นการประเมิน ค่า เป้าหมาย ระดับ คุณภาพ ๒.๑ มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น ดีเลิศ ดีเลิศ ๒.๒ จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน ดีเลิศ ยอดเยี่ยม ๒.๓ ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ ดีเลิศ ดีเลิศ ๒.๔ จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัยและเพียงพอ ดีเลิศ ดีเลิศ ๒.๕ ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัด ประสบการณ์ ดีเลิศ ดีเลิศ ๒.๖ มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ดีเลิศ ดีเลิศ สรุปผลการประเมินมาตรฐานที่ ๒ ระดับคุณภาพ ดีเลิศ ร่องรอยความพยายาม โครงการ หรือกิจกรรมที่โรงเรียนทำ ๑.๑ โครงการ โครงการนิเทศภายในระดับปฐมวัย และโครงการวัสดุอุปกรณ์เครื่องใช้สำหรับคุณหนู มีกิจกรรมดังนี้ - กิจกรรมการนิเทศครูผู้สอนในระดับปฐมวัย - กิจกรรมส่งเสริมทักษะทางวิชาการของครูปฐมวัย - กิจกรรมการจัดหาวัสดุอุปกรณ์เครื่องใช้ และสิ่งอำนวยความสะดวกและซ่อมแซมวัสดุครุภัณฑ์ ๑.๒. ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิญประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง ได้แก่ รายงานโครงการ ดังต่อไปนี้ รายงานโครงการนิเทศภายในระดับปฐมวัย - กิจกรรมการนิเทศครูผู้สอนในระดับปฐมวัย - กิจกรรมส่งเสริมทักษะทางวิชาการของครูปฐมวัย รายงานโครงการวัสดุอุปกรณ์เครื่องใช้สำหรับคุณหนู - กิจกรรมการจัดหาวัสดุอุปกรณ์เครื่องใช้ และสิ่งอำนวยความสะดวก กระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อคุณภาพกระบวนการบริหารและการจัดการ โรงเรียนวัดจำปา มีกระบวนการบริหาร และการจัดการตามเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของ สถานศึกษา จากโครงการนิเทศภายในปฐมวัย กิจกรรมการจัดการเรียนรู้และการบูรณาการจัดการเรียนรู้ ทำให้เด็กๆ ปฐมวัย ได้รับการเรียนรู้ที่หลากหลาย มีการจัดทำหลักสูตรปฐมวัยที่ยืดหยุ่น และสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา เป็นรูปแบบการจัดประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดการเตรียมความพร้อม เน้นการจัดการเรียนรู้ผ่านการเล่น และการลงมือ ปฏิบัติด้วยตนเอง สอดคล้องกับวิถีชีวิตของครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น โรงเรียนวัดจำปา มีหลักสูตรสถานศึกษา ปฐมวัยตามพุธศักราช 2560 และมีการจัดหาครูให้เพียงพอต่อชั้นเรียน คือมีครูประจำการที่จบการศึกษาปฐมวัย โรงเรียนวัดจำปาได้ส่งบุคลากรเข้ารับการอบรม เพื่อพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง และยังมีด้านการ ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู้มีการพัฒนาคุณภาพครูด้านการศึกษาปฐมวัยอย่าง
๔๐ ต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลให้ครูปฐมวัย มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย มี ทักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล มีประสบการณ์ในการออกแบบการจัด กิจกรรม ทักษะการสังเกต และการปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก และผู้ปกครอง จากโครงการวัสดุอุปกรณ์เครื่องใช้สำหรับ คุณหนูเป็นการจัดวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ให้เพียงพอต่อจำนวนนักเรียน และทั่วถึง ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ๑. ส่งเสริมให้มีการพัฒนาหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น 2. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เพิ่มช่อง ทางการเผยแพร่ผลการจัดกิจกรรมของแต่ละชั้นเรียน ต่อพ่อ แม่ ผู้ปกครอง และชุมชน ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ๓.๑ จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้าน ค่าเป้าหมายคุณภาพ ระดับ ดีเลิศ ประเด็นการประเมิน ค่าเป้าหมาย ผลการประเมิน ๑.ครูวิเคราะห์ข้อมูลเด็กเป็นรายบุคคล ดีเลิศ ยอดเยี่ยม ๒.ครูจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ จากการวิเคราะห์มาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ในหลักสูตรสถานศึกษา ดีเลิศ ยอดเยี่ยม ๓.ครูจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ โดยมีกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ครบทุกด้านทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้าน สติปัญญา ไม่มุ่งเน้นการพัฒนาด้านใดด้านหนึ่งเพียงด้านเดียว ดีเลิศ ยอดเยี่ยม สรุปผลการประเมิน ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม กระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อผลการประเมิน โรงเรียนวัดจำปา มีจัดการศึกษาปฐมวัยมุ่งเน้นความสำคัญของการพัฒนาการในทุกๆ ด้าน ทั้งทางด้าน ร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา มีการวิเคราะห์ข้อมูลเด็กเป็นรายบุคคล มีการจัดทำแผนการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ จากการวิเคราะห์มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในหลักสูตรสถานศึกษา โดยมีกิจกรรม ที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กครบทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา ไม่มุ่งเน้นการ พัฒนาด้านใดด้านหนึ่งเพียงด้านเดียว เพื่อส่งผลให้เด็กปฐมวัยเป็นเด็กเก่ง ดี และมีความสุข
๔๑ ๓.๒ สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงเล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข ค่าเป้าหมายคุณภาพ ระดับ ดีเลิศ ประเด็นการประเมิน ค่าเป้าหมาย ผลการประเมิน ๑.ครูจัดประสบการณ์ที่เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม ให้เด็กมีโอกาสเลือก ทำกิจกรรมอย่างอิสระ ตามความต้องการ ความสนใจ ความสามารถ ดีเลิศ ยอดเยี่ยม ๒.ครูจัดประสบการณ์ที่ตอบสนองต่อวิธีการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคล หลากหลายรูปแบบจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ดีเลิศ ยอดเยี่ยม ๓.ครูจัดประสบการณ์ที่เด็กได้เลือกเล่น เรียนรู้ ลงมือ กระทำ และสร้างองค์ ความรู้ด้วยตนเอง ดีเลิศ ดีเลิศ สรุปผลการประเมิน ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม กระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อผลการประเมิน โรงเรียนวัดจำปา มีการจัดประสบการณ์ที่เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม ให้เด็กมีโอกาสเลือกทำกิจกรรม อย่างอิสระ ตามความต้องการ ความสนใจ ความสามารถ ที่ตอบสนองต่อวิธีการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคล และมีการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้หลากหลายรูปแบบจากแหล่งเรียนรู้ทั้งในโรงเรียน และนอกโรงเรียน เด็กได้เลือกเล่น เรียนรู้ ลงมือ กระทำ และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ๓.๓ จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย ค่าเป้าหมายคุณภาพ ระดับ ดีเลิศ ประเด็นการประเมิน ค่าเป้าหมาย ผลการประเมิน ๑.ครูจัดห้องเรียนให้สะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภัย ดีเลิศ ยอดเยี่ยม ๒.ครูจัดห้องเรียนให้มีพื้นที่แสดงผลงานเด็ก พื้นที่สำหรับมุมประสบการณ์และ การจัดกิจกรรม ดีเลิศ ยอดเยี่ยม ๓.ครูจัดให้เด็กมีส่วนร่วมในการจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียน เช่น ป้ายนิเทศ การดูแลต้นไม้ ดีเลิศ ยอดเยี่ยม ๔.ครูใช้สื่อ และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับช่วงอายุ ระยะความสนใจ และวิถี การเรียนรู้ของเด็ก เช่น กล้องดิจิตอล คอมพิวเตอร์ สำหรับการเรียนรู้กลุ่ม ย่อย ดีเลิศ ดีเลิศ ๕.ครูใช้สื่อของเล่นที่กระตุ้นให้เด็กคิดและหาคำตอบ ดีเลิศ ดีเลิศ สรุปผลการประเมิน ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม
๔๒ กระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อผลการประเมิน โรงเรียนวัดจำปา มีการจัดบรรยากาศในห้องเรียนให้สะอาด ปลอดภัย มีอากาศถ่ายเท มีพื้นที่สำหรับทำ กิจกรรม การแสดงผลงานของเด็ก มีพื้นที่สำหรับมุมประสบการณ์ต่าง และการจัดกิจกรรมให้เด็กๆ มีส่วนร่วมในการจัด สภาพแวดล้อมในห้องเรียน เช่น มีป้ายนิเทศ การตกแต่งห้องเรียนด้วยสื่อที่หลากหลาย การดูแลรักษาต้นไม้ในเขตรับผิดชอบ ของชั้นเรียนอนุบาล มีสื่อ และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับช่วงอายุ ระยะความสนใจ และวิถีการเรียนรู้ของเด็ก มีการใช้ สื่อของเล่นที่กระตุ้นให้เด็กคิด และสามารถหาคำตอบด้วยตนเองได้ ๓.๔ ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุง การจัดประสบการณ์ และพัฒนาเด็ก ค่าเป้าหมายคุณภาพ ระดับ ดีเลิศ ประเด็นการประเมิน ค่าเป้าหมาย ผลการประเมิน ๑.ครูประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรม และกิจวัตรประจำวันด้วย เครื่องมือ และวิธีการที่หลากหลาย ไม่ใช้แบบทดสอบ ดีเลิศ ยอดเยี่ยม ๒.ครูวิเคราะห์ผลการประเมินพัฒนาการเด็กโดยผู้ปกครอง และผู้เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วม ดีเลิศ ยอดเยี่ยม ๓.ครูนำผลการประเมินที่ได้ไปพัฒนาคุณภาพเด็ก และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดประสบการณ์ที่มีประสิทธิภาพ ดีเลิศ ดีเลิศ ๔.ครูนำผลการประเมินที่ได้ไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดประสบการณ์ที่มี ประสิทธิภาพ ดีเลิศ ดีเลิศ สรุปผลการประเมิน ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม กระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อผลการประเมิน โรงเรียนวัดจำปา มีการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยจากการจัดกิจกรรม และการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน ด้วยตนเอง มีเครื่องมือ และวิธีการที่หลากหลายในการประเมินพัฒนาการเด็ก มีการวิเคราะห์ผลการประเมิน พัฒนาการเด็ก โดยผู้ปกครอง และผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม นำผลการประเมินที่ได้ไปพัฒนาคุณภาพเด็ก และแลกเปลี่ยน เรียนรู้การจัดประสบการณ์ที่มีประสิทธิภาพให้กับเด็กปฐมวัย
๔๓ สรุปผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ค่าเป้าหมายคุณภาพ ระดับ ดีเลิศ ที่ ประเด็นย่อย จำนวนครู ทั้งหมด จำนวนครู ที่ปฏิบัติ ทุกประเด็น การประเมิน ร้อยละ ของครู ที่ปฏิบัติ ทุกประเด็น การประเมิน ระดับคุณภาพ ๓.๑ จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมี พัฒนาการทุกด้าน ๒ ๒ ๑๐๐.๐๐ ยอดเยี่ยม ๓.๒ สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่น และปฏิบัติอย่างมีความสุข ๒ ๒ ๑๐๐.๐๐ ยอดเยี่ยม ๓.๓ จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและ เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย ๒ ๒ ๑๐๐.๐๐ ยอดเยี่ยม ๓.๔ ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำ ผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุง การจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก ๒ ๒ ๑๐๐.๐๐ ยอดเยี่ยม สรุปมาตรฐานที่ ๓ ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม ร่องรอยความพยายาม โครงการหรือกิจกรรมที่โรงเรียนทำ ๑.๑ โครงการ โครงการวัสดุอุปกรณ์เครื่องใช้สำหรับคุณหนูโครงการวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย โครงการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย โครงการปรับปรุงห้องเรียนปฐมวัยน่าอยู่น่าเรียน โครงการส่งเสริมนิสัยรักการ อ่าน และการใฝ่เรียนรู้สมวัย โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพอนามัยวัยใส โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมวัย อนุบาล โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต และสุนทรียภาพเด็กปฐมวัย มีกิจกรรมดังนี้ - กิจกรรมในชั้นเรียนตามแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ - กิจกรรมบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย - กิจกรรมการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย - กิจกรรมการปรับปรุงห้องเรียน - กิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกโรงเรียน - กิจกรรมรักการอ่าน - กิจกรรมอนามัยวัยอนุบาล - กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของเด็กปฐมวัย - กิจกรรมตามโครงงานในชั้นเรียนปฐมวัย
๔๔ ๑.๒.ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิญประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง ได้แก่ รายงานโครงการ ดังต่อไปนี้ รายงานโครงการวัสดุอุปกรณ์เครื่องใช้สำหรับคุณหนู - การจัดกิจกรรมในชั้นเรียนตามแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทุกระดับชั้น รายงานโครงการวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย - กิจกรรมวิทยาศาสตร์ ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รายงานโครงการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย - กิจกรรมการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยที่จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และเลื่อนชั้น รายงานโครงการปรับปรุงห้องเรียนปฐมวัยน่าอยู่น่าเรียน - กิจกรรมการจัดสภาพแวดล้อมในชั้นเรียน รายงานโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน และการใฝ่เรียนรู้สมวัย - กิจกรรมรักการอ่านในระดับปฐมวัย - กิจกรรมการศึกษาแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน และนอกโรงเรียน รายงานโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพอนามัยวัยใส - กิจกรรมการตรวจผม เล็บ ฟัน และเครื่องแต่งกาย - กิจกรรมการทำความสะอาด - กิจกรรมวันต่อต้านยาเสพติด - กิจกรรมกีฬาปฐมวัย รายงานโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมวัยอนุบาล - กิจกรรมวันสำคัญทางศาสนา รายงานโครงการส่งเสริมสุขภาพจิต และสุนทรียภาพเด็กปฐมวัย - กิจกรรมโครงงานในชั้นเรียนปฐมวัย กระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อคุณภาพกระบวนการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ มีการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่าง สมดุลเต็มศักยภาพ จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ครอบคลุมพัฒนาการในทุกๆ ด้าน ให้เหมาะสมกับวัยของเด็กทุกๆ ด้าน ด้านร่างกาย พัฒนาการเคลื่อนไหวทางร่างกาย เด็กเคลื่อนไหวอย่างเหมาะสมตามจินตนาการ เพื่อส่งเสริม พัฒนาการด้านร่างกาย ทั้งกล้ามเนื้อมัดใหญ่ และมัดเล็ก ให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ด้านอารมณ์ จิตใจ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์สามารถแสดงความรู้สึกได้อย่างเหมาะสมกับวัย รู้จักยับยั้งชั่ง ใจ รู้จักการรอคอย กล้าแสดงออก ช่วยเหลือแบ่งปัน มีความรับผิดชอบ ด้านสังคม เด็กสามารถช่วยเหลือตนเอง ในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ มีวินัยในตนเอง สามารถเล่น และ ทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้ มีสัมมาคารวะต่อผู้ใหญ่
๔๕ ด้านสติปัญญา มีความคิดร่วมยอด รู้จักการแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง สามารถสื่อสาร และมีทักษะความคิด พื้นฐาน สามารถแสวงหาความรู้ได้อย่างเหมาะสมตามวัย จากการส่งเสริมศักยภาพทักษะพื้นฐานผู้เรียนระดับปฐมวัยสู่มาตรฐานการศึกษา กิจกรรมส่งเสริมวิชาการ ส่งผลให้โรงเรียนวัดจำปา มีการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกๆ ด้านอย่างสมดุล และเหมาะสมตาม ศักยภาพของเด็ก สร้างโอกาสให้เด็กได้มีประสบการณ์ตรง สามารถเล่น และปฏิบัติกิจกรรมได้อย่างมีความสุข โรงเรียนวัดจำปา ได้จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้เด็กได้ประสบการณ์โดยตรง จากการเรียนรู้ผ่านการเล่น การทำกิจกรรมต่างๆ โดยการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง และการเรียนรู้รายกลุ่ม เพื่อก่อให้เกิดความมีน้ำใจ สร้าง ความสามัคคี เรียนรู้การแบ่งปัน และรู้จักการรอคอย เพื่อส่งผลให้เด็กเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีความสุข โรงเรียนวัดจำปา ได้จัดบรรยากาศในชั้นเรียนที่ส่งเสริมความสนใจให้แก่ผู้เรียน ชั้นเรียนที่มีบรรยากาศเต็มไป ด้วยความสนุก อบอุ่น ปลอดภัย ส่งเสริมให้เด็กมีความเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน มีความเอื้อเผื่อแผ่ต่อกัน ซึ่งเป็น แรงจูงใจภายนอกที่ช่วยกระตุ้นให้เด็กเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกันในชั้นเรียน และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ให้กับเด็ก มีมุม ส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ มีการตกแต่งห้องเรียนให้สดใส สะอาด และปลอดภัย มีสื่อการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ มีกิจกรรมการประเมินผลพัฒนาการความสามารถเด็ก ส่งผลให้โรงเรียนวัดจำปา ได้มีการ ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง จากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน ด้วย เครื่องมือ และวิธีการที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสอบถาม การสำรวจ และการวิเคราะห์ผลพัฒนาการของเด็ก นำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็กในทุกๆ ด้าน โดยให้ผู้ปกครองมีส่วน ร่วม จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันระหว่างครู และผู้ปกครอง ผ่านแอปพลิเคชั้นไลน์กลุ่มห้องเรียน เป็นการสร้าง โอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และมีความภาคภูมิใจในความสำเร็จของตน ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 1.ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน 2.พัฒนาสื่อการเรียนเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย การจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อ และ เทคโนโลยีที่เหมาะสม พัฒนาครูให้มีรู้ความความเข้าใจ เรื่องการนำผลการประเมินไปพัฒนาเด็กเป็นรายบุคคล สรุปมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย มาตรฐาน ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเด็ก ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ดีเลิศ มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ยอดเยี่ยม สรุปมาตรฐานระดับปฐมวัย ระดับ ยอดเยี่ยม