The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติศาสตร์จังหวัดกำแพงเพชร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ประวัติศาสตร์จังหวัดกำแพงเพชร

ประวัติศาสตร์จังหวัดกำแพงเพชร



ประวตั ศิ าสตร์จงั หวดั กาแพงแพชร

สมยั ก่อนสุโขทยั

หลกั ฐานท่ีเก่าแก่ท่ีสุดที่พอจะตรวจสอบไดข้ องชุมชนโบราณแถบน้ี ไดแ้ ก่ ตานานสิงหนวติ
กมุ ารซ่ึงกล่าวถึง อาณาเขตของโยนกนคร ในสมยั พระยาอชุตราชาว่าทิศใต้จดชายแดนลวะรัฐ (ละโว)้ ท่ี
สบแม่ระมิง (ปากแม่นา้ ปิ ง) ความน้ีส่อให้เห็นวา่ ดินแดนเมืองกาแพงเพชรแต่โบราณน้นั เป็นส่วนหน่ึง
ของอาณาจกั รโยนกนครดว้ ยและจากตานานฉบบั เดียวกนั น้ีบนั ทึกวา่ พระองคช์ ยั ศิริ ไดล้ ะทิง้ เวยี งไชย
ปราการหนีขา้ ศึกลงมาต้งั เมืองใหมช่ ื่อวา่ เมืองกาแพงเพชร แมว้ า่ จะไม่มีหลกั ฐานทางโบราณคดีอื่นใดท่ีจะ
ระบุไดแ้ น่ชดั วา่ เมืองกาแพงเพชรของพระองคช์ ยั ศิริ จะเป็นเมืองเดียวกบั เมืองกาแพงเพชรในปัจจุบนั แต่
ก็มีผสู้ ันนิษฐานวา่ น่าจะเป็ นเมืองเดียวกบั เมืองไตรตรึงส์หรือเมืองแปป ซ่ึงเป็นเมืองเก่าอยทู่ างฝ่ังตะวนั ตก
ของลาน้าปิ ง หรือเทพนครซ่ึงอยบู่ นฝ่ังตะวนั ออกของลาน้าปิ ง ซ่ึงพบร่องรอยการเป็ นเมืองโบราณท้งั สอง
แห่ง

จากหลกั ฐานดงั กล่าวอาจสรุปไดว้ า่ ชุมชนด้งั เดิมแถบน้ีเป็นคนไทยที่มีสายสมั พนั ธ์กบั คนไทย
ในอาณาจกั รลานนาไทย (โยนกนคร)

หลกั ฐานสาคญั ก่อนสุโขทยั อีกฉบบั หน่ึง ไดแ้ ก่ตานานชินกาลมาลีปกรณ์ตอนท่ีวา่ ดว้ ยพระ
สีหลปฏิมาหรือพระพุทธสิหิงค์ ไดก้ ล่าวถึงบา้ นโค ซ่ึงตามทางสนั นิษฐานวา่ น่าจะหมายถึงบา้ นโคน หรือ
เมืองคนที วา่ เป็นบา้ นเดิมของโรจราช หรือพระร่วงแห่งกรุงสุโขทยั

สมยั สุโขทยั

เมืองและชุมชนโบราณในกลุ่มเมืองกาแพงเพชรสมยั สุโขทยั ที่ปรากฏช่ือในศิลาจารึก ไดแ้ ก่
เมืองนครชุม เมืองชากงั ราว เมืองคนที เมืองบางพาน เมืองเหล่าน้ีบางเมืองอาจเคยเป็นบา้ นเมืองมาแลว้
ก่อนสมยั สุโขทยั แต่ในสมยั สุโขทยั ตอนตน้ เมืองนครชุมเป็นเมืองหลกั ในบริเวณน้ี โดยมีเมืองชากงั ราว
เป็นเมืองเลก็ ๆ ร่วมสมยั อยฝู่ ่ังตะวนั ออกของแม่น้าปิ ง ตรงขา้ มเมืองนครชุม เม่ือแรกเริ่มเป็นเมืองลูกหลวง
ของกรุงสุโขทยั ไม่ปรากฏหลกั ฐานวา่ พอ่ ขนุ ศรีอินทราทิตยส์ ่งผใู้ ดมาปกครอง

ท่ีเมืองชากงั ราวฝ่ังตะวนั ออกของแมน่ ้าปิ ง ตรงขา้ มกบั เมืองนครชุมน้นั สมเดจ็ พระเจา้ บรม-
วงศเ์ ธอกรมพระยาดารงราชานุภาพ ทรงกล่าวไวใ้ นประชุมปาฐกถาตอนท่ีวา่ ดว้ ย "พงศาวดารกรุงสุโขทยั
คราวเสื่อม" วา่ น่าจะสร้างข้ึนเป็นเมืองลูกหลวงคู่กบั เมืองศรีสัชนาลยั ในรัชกาลพระเจา้ เลอไทย ซ่ึงหากจะ
เทียบกบั เร่ืองราวประวตั ิศาสตร์ตอนน้ีท่ีเมืองศรีสัชนาลยั น้นั พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (ลิไทย) เป็นอุปราช
ครองเมืองอยู่ ส่วนท่ีเมืองชากงั ราวน้นั พระยางวั่ นาทพั เรือจากเมืองชากงั ราวเสดจ็ ไปยดึ เมืองสุโขทยั เป็ น
เหตุใหพ้ ระมหาธรรมราชาท่ี ๑ (ลิไทย) อุปราชเมืองศรีสัชนาลยั ตอ้ งยกทพั ไปปราบปราม แลว้ จึงข้ึนเถลิง
ถวลั ยร์ าชสมบตั ิครองกรุงสุโขทยั



ในรัชกาลพระมหาธรรมราชาท่ี ๑ (ลิไทย) เมืองนครชุมและเมืองชากงั ราวมีความสาคญั มาก
ข้ึน ดงั มีหลกั ฐานในศิลาจารึกหลกั ท่ี ๓ วา่ "ศกั ราช ๑๒๗๙ ปี ระกา เดือน ๔ ออก ๕ ค่า วนั ศุกร์ หน
ไทย กดั เลา้ บูรพผลคุณี นกั ษตั รเม่ือยามอนั สถาปนาน้นั เป็น ๖ ค่า แลพระยาลือไทยราช ผเู้ ป็นลูกพระยา
เลอไทย เป็นหลานแก่พระยารามราช เม่ือไดเ้ สวยราชยใ์ นเมืองศรีสชั นาลยั สุโขทยั ไดร้ าชาภิเษก อนั ฝงู
ทา้ วพระยาท้งั หลายอนั เป็นมิตรสหายอนั มีในสี่ทิศน้ี แต่งกระยาดงวาย ของฝากหมากปลามาไหวอ้ นั ยดั ยญั
อภิเษกเป็นทา้ วเป็นพระยา จึงข้ึนช่ือศรีสุริยพงศม์ หาธรรมราชาธิราช หากเอาพระศรีรัตนมหาธาตุอนั น้ีมา
สถาปนาในเมืองนครชุมน้ี ปี น้นั "(๑)

ศิลาจารึกหลกั ท่ี ๓ หรือที่เรียกวา่ จารึกนครชุมน้ี ไดก้ ล่าวถึงเมืองบางพาน เมืองคนทีวา่ เป็น
เมืองท่ีข้ึนแก่กรุงสุโขทยั มีเจา้ ปกครอง

ที่เมืองบางพานน้ี ยงั โปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ระดิษฐานพระพุทธบาท ที่เขานางทองแห่งหน่ึง
ในปลายรัชกาลพระมหาธรรมราชาท่ี ๑ (ลิไทย) ปรากฏหลกั ฐานในชินกาลมาลีปกรณ์วา่
เม่ือพระมหาธรรมราชาท่ี ๑ (ลิไทย) เสด็จมาประทบั ที่เมืองชยั นาท (ศาสตราจารย์ ดร. ประเสริฐ ณ
นคร ตีความวา่ คือสองแควหรือพษิ ณุโลก(๒)) หลงั จากท่ีสมเด็จพระรามาธิบดีท่ี (๑) (พระเจา้ อ่ทู อง) ยก
กองทพั มายดึ ไปไดแ้ ละทรงคืนให้ พระมหาธรรมราชาท่ี ๑ (ลิไทย) ไดโ้ ปรดใหพ้ ระมหาเทวผี เู้ ป็ นพระ-
กนิษฐา ทรงครองเมืองสุโขทยั แทนใหอ้ ามาตยช์ ่ือติปัญญา (พระยาญาณดิส) มาครองเมืองกาแพงเพชร
(ผกู เป็นศพั ทภ์ าษาบาลี วชิรปราการ)
ในสมยั น้ีเอง ติปัญญาอามาตยไ์ ดอ้ ญั เชิญพระพทุ ธสิหิงคม์ าประดิษฐานในเมืองกาแพง-
เพชร และแมว้ า่ ชินกาลมาลีปกรณ์จะออกชื่อเสียงเมืองกาแพงเพชรสมยั น้นั แต่หลกั ฐานเอกสารพงศาว-ดาร
กรุงศรีอยธุ ยา โดยเฉพาะพงศาวดารกรุงเก่าฉบบั หลวงประเสริฐอกั ษรนิต์ิ ยงั คงเรียกชากงั ราว อยู่
ต่อมา

สมยั กรุงศรีอยธุ ยา

ในสมยั สมเดจ็ พระรามาธิบดีท่ี ๑ (พระเจา้ อทู่ อง) เมืองกาแพงเพชร ยงั คงเป็นเมืองหนา้ ด่าน
สาคญั ของกรุงสุโขทยั มีติปัญญาอามาตย์ หรือพระยาญาณดิสปกครองเมือง

ในสมยั พระมหาธรรมราชาท่ี ๒ แห่งกรุงสุโขทยั ปรากฏหลกั ฐานในประชุมพงศาวดารกรุง
เก่า ฉบบั หลวงประเสริฐอกั ษรนิต์ิวา่ ในปี พ.ศ. ๑๙๑๖ และปี พ.ศ. ๑๙๑๙ สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชที่
๑ (ขนุ หลวงพะงว่ั ) เสดจ็ ไปตีชากงั ราว พระยาคาแหงเจา้ เมืองชากงั ราว สามารถยกพลเขา้ ตอ่ สู้จนกองทพั
อยธุ ยาตอ้ งยกทพั กลบั ท้งั สองคราวจนกระทง่ั ในปี พ.ศ. ๑๙๒๑ กองทพั อยธุ ยาข้ึนไปตีเมืองชากงั ราวอีก

(๑) กรมศิลปากร, จารึกสมยั สุโขทยั (พิมพเ์ น่ืองในโอกาสฉลอง ๗๐๐ ปี ลายเสือไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๑) หนา้ ๒๙
(๒) ดูเรื่อง "พระมหาธรรมราชาที่สอง ออกถวายบงั คม" ในผลงานคน้ ควา้ ประวตั ิศาสตร์ไทยของ ดร. ประเสริฐ ณ นคร

ฉบบั พมิ พ์ พ.ศ. ๒๕๑๔



พระมหาธรรมราชาที่ ๒ ทรงยอมแพอ้ อกมาถวายบงั คม กรุงสุโขทยั ตกเป็นประเทศราชข้ึนต่อกรุงศรี

อยธุ ยา สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชท่ี ๑ ไดจ้ ดั แบง่ กรุงสุโขทยั ออกเป็น ๒ ภาค โดยให้พระมหาธรรมราชา-

ที่ ๒ ปกครองอาณาเขตทางลาน้ายมและน่าน โดยมีเมืองพษิ ณุโลกเป็นเมืองเอกภาคหน่ึง ส่วนดา้ นลาน้า

ปิ งใหพ้ ระยายทุ ิษฐิระราชบุตรบุญธรรมเป็ นผปู้ กครอง คือบริเวณตากและกาแพงเพชร โดยมีเมือง

กาแพงเพชรเป็ นเมืองเอก จึงเขา้ ใจวา่ เมืองชากงั ราวเมืองนครชุม ตลอดจนเมืองอ่ืนๆ จะรวมกนั เป็ นเมือง

กาแพงเพชรต้งั แตน่ ้นั มา

หลงั จากสุโขทยั พา่ ยแพก้ รุงศรีอยธุ ยาในปี พ.ศ. ๑๙๒๑ แลว้ ต่อมาอีก ๑๐ ปี พระราช

พงศาวดารกรุงเก่าฉบบั หลวงประเสริฐฯ บนั ทึกไวอ้ ีกวา่ สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชที่ ๑ ตอ้ งเสด็จยกทพั

ไปชากงั ราวอีก แต่ทรงประชวรกลางทาง ตอ้ งเสดจ็ กลบั และเสดจ็ สวรรคตกลางทาง ต่อมาในปี พ.ศ.

๑๙๖๒ สมเด็จพระอินทราชาธิราชที่ ๑ เสดจ็ ข้ึนปราบจลาจลเมืองเหนือ แลว้ โปรดเกลา้ ฯ ใหพ้ ระยา

รามคาแหงครองเมืองสุโขทยั ใหพ้ ระยาบาลเมืองครองเมืองชากงั ราว

เมืองชากงั ราวข้ึนโดยตรงต่อกรุงศรีอยธุ ยา เม่ือปี พ.ศ. ๑๙๙๔ ในสมยั สมเด็จพระบรมไตร-

โลกนาถ ซ่ึงในขณะน้นั กรุงสุโขทยั ยงั แขง็ เมืองอยู่ จนกระทง่ั ปี พ.ศ. ๒๐๐๕ กรุงสุโขทยั จึงข้ึนกบั กรุงศรี-

อยธุ ยา

ประวตั ิศาสตร์ชาติไทยตอนน้ี เป็นช่วงที่น่าฉงนในเรื่องการรบทพั จบั ศึกและช่ือบุคคลใน

ราชวงศส์ ุโขทยั แตถ่ า้ จะทาความเขา้ ใจกบั ประวตั ิศาสตร์สุโขทยั สกั เล็กนอ้ ย ก็จะสามารถทาความเขา้ ใจกบั

ประวตั ิศาสตร์ตอนน้ีไม่ยากนกั โดยจะขอยกประวตั ิยอ่ ของอาณาจกั รสุโขทยั ท่ีศาสตราจารย์ หม่อมเจา้

สุภทั รดิศ ดิศกุล ทรงนิพนธ์ไวม้ าประกอบดงั น้ี

"อาณาจกั รสุโขทยั เป็นอาณาจกั รแรกของไทยที่อาจทราบเรื่องราว และศกั ราช ไดค้ อ่ นขา้ ง

แน่นอนจากศิลาจารึกและจดหมายเหตุ

จากการสอบสวนในช้นั หลงั สุด อาจกล่าวไดว้ า่ พระมหากษตั ริยแ์ ห่งอาณาจกั รสุโขทยั มี ๙

พระองคค์ ือ

๑. พอ่ ขนุ ศรีอินทราทิตย์ ราว พ.ศ. ๑๘๐๐ - พ.ศ. ๑๘๑๑

๒. พอ่ ขนุ บาลเมือง ราว พ.ศ. ๑๘๑๑ - พ.ศ. ๑๘๒๑

๓. พอ่ ขนุ รามคาแหงราว พ.ศ. ๑๘๒๑ - พ.ศ ๑๘๖๐

๔. พระเจา้ เลอไทย ราว พ.ศ. ๑๘๖๖ - พ.ศ. ๑๘๘๔

๕. พระเจา้ งวั่ นาถม ราว พ.ศ. ๑๘๙๐

๖. พระมหาธรรมราชาท่ี ๑ (ลิไทย) ราว พ.ศ. ๑๘๙๐ - ราว พ.ศ. ๑๙๑๑

๗. พระมหาธรรมราชาท่ี ๒ ราว พ.ศ.๑๙๑๑ - ราว พ.ศ. ๑๙๔๒

๘. พระมหาธรรมราชาที่ ๓ (ไสยลือไทย) ราว พ.ศ. ๑๙๔๒ -พ.ศ. ๑๙๖๒

๙. พระมหาธรรมราชาท่ี ๔ (บรมปาล) ราว พ.ศ. ๑๙๖๒ - ราว พ.ศ. ๑๙๘๑



ในรัชกาลพอ่ ขนุ รามคาแหง ถา้ เราเช่ือตามศิลาจารึกสมยั สุโขทยั หลกั ที่ ๑ จะเห็นไดว้ า่
อาณาจกั รสุโขทยั เจริญรุ่งเรืองมาก มีอาณาเขตกวา้ งใหญ่ คือ ทางทิศตะวนั ออกไปถึงเมืองสระหลวง (ติด
กบั พิษณุโลก) สองแคว (พิษณุโลก) ตลอดจนถึงฝั่งแม่น้าโขง ถึงเมืองเวยี งจนั ทร์ เวยี งคา ในประเทศลาว
ปัจจุบนั ทางทิศใตถ้ ึงเมืองพระบาง (นครสวรรค)์ แพรก (ชยั นาท) สุพรรณภูมิ (อู่ทอง) ราชบุรี เพชรบุรี
นครศรีธรรมราชจนจดฝ่ังทะเล ทางทิศตะวนั ตกถึงเมืองฉอด (สอด) และหงสาวดีในประเทศพมา่ แตท่ าง
ทิศเหนือถึงเพยี งเมืองแพร่ เมืองชะวา (หลวงพระบาง) ในประเทศลาว…

จากพระราชพงศาวดารฉบบั หลวงประเสริฐฯ ปรากฏวา่ ในปี พ.ศ. ๑๙๑๔ สมเด็จพระบรม
ราชาธิราชท่ี ๑ (ขนุ หลวงพะงว่ั ) แห่งพระนครศรีอยธุ ยา ไดเ้ สด็จไปตีเมืองเหนือไดท้ ้งั หมด ซ่ึงคง
หมายถึงอาณาจกั รสุโขทยั และต้งั แต่น้นั มาก็มีการรบพงุ่ ระหวา่ งอาณาจกั รสุโขทยั และอยธุ ยาอีกหลายคร้ัง
เช่น ในปี พ.ศ. ๑๙๑๖-๑๙๑๘ และ ๑๙๑๙ ปรากฏวา่ ในปี พ.ศ. ๑๙๒๑ สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชที่ ๑
ไดเ้ สด็จไปตีเมืองชากงั ราว (กาแพงเพชร) อีกและพระมหาธรรมราชาไดเ้ สด็จออกมาถวายบงั คม

พระมหาธรรมราชาองคน์ ้ี คงเป็นพระมหาธรรมราชาที่ ๒ ราชโอรสของพระเจา้ ลิไทยหรือ
พระมหาธรรมราชาท่ี ๑ นนั่ เอง…

ในปี พ.ศ. ๑๙๖๒ พระมหาธรรมราชาที่ ๓ สวรรคต และอาณาจกั รสุโขทยั เป็ นจลาจลอีก
สมเดจ็ พระนครินทราธิราช แห่งพระนครศรีอยธุ ยาจึงไดเ้ สด็จข้ึนมาระงบั การจลาจลถึงเมืองพระบาง
(นครสวรรค)์ ปรากฏวา่ พระยาบาลเมืองและพระยาราม ซ่ึงคงอยใู่ นราชวงศส์ ุโขทยั กาลงั แยง่ ราชสมบตั ิ
กนั อยใู่ นขณะน้นั ไดอ้ อกมาถวายบงั คม

พระยาบาลเมืองไดข้ ้ึนครองราชสมบตั ิเป็นพระมหาธรรมราชาท่ี ๔ (บรมปาล)
พระมหาธรรมราชาที่ ๔ คงสวรรคตในปี พ.ศ. ๑๙๘๑ เพราะปรากฏวา่ ในปี น้นั สมเด็จพระ-
บรมไตรโลกนาถ แห่งกรุงศรีอยธุ ยา ซ่ึงขณะน้นั กาลงั ดารงพระยศเป็ นพระราเมศวร ตาแหน่งรัชทายาท
ไดเ้ สดจ็ ข้ึนมาครองเมืองพิษณุโลก และนบั แต่น้นั มาอาณาจกั รสุโขทยั และอยธุ ยา กไ็ ดร้ วมกนั เป็ นอาณา-
จกั รเดียว"(๓)
เมืองชากงั ราว ซ่ึงต่อมากรุงศรีอยธุ ยาออกชื่อเรียกเป็นกาแพงเพชร ตอ้ งรับศึกหนกั จากกรุงศรี
อยธุ ยาหลายคร้ัง เพราะทุกคร้ังที่กองทพั กรุงศรีอยธุ ยายกไปตีกรุงสุโขทยั จะตอ้ งเขา้ ตีชากงั ราวก่อนเสมอ
ซ่ึงก็ไดร้ ับการต่อสู้อยา่ งเหนียวแน่น กองทพั กรุงศรีอยธุ ยาไมส่ ามารถเขา้ ตีเมืองไดเ้ ลย แมเ้ ม่ือกรุงสุโขทยั
จะตอ้ งยอมแพแ้ ก่กรุงศรีอยธุ ยาแลว้ เมืองกาแพงเพชรกย็ งั พยายามที่จะแขง็ เมืองเป็นอิสระอยเู่ สมอ แตใ่ น
ที่สุดก็ตกเป็นเมืองข้ึนแก่กรุงศรีอยธุ ยา ต้งั แต่ปี พ.ศ. ๑๙๙๔ เป็นตน้ มา
ตลอดระยะเวลาท่ีกรุงศรีอยธุ ยาเป็นราชธานี เมืองกาแพงเพชรไมเ่ คยร้างหรือลดความสาคญั ลง
เลย ยงั คงเป็นเมืองหนา้ ด่านใหก้ รุงศรีอยธุ ยาในการทาศึกสงครามกบั พม่า และบรรดาหวั เมืองทางเหนือมา

(๓) ศาสตราจารย์ หมอ่ มเจา้ สภุ ทั รดสิ ดศิ กุล, ศลิ ปสโุ ขทยั , (คณะกรรมการฝา่ ยวฒั นธรรม ของคณะกรรมการแหง่ ชาติ
ว่าดว้ ยการศกึ ษาวทิ ยาศาสตรแ์ ละวฒั นธรรมแหง่ ชาติ จดั พมิ พ์),หน้า ๗-๙



โดยตลอด และเมื่อกองทพั พมา่ จะยกเขา้ มาตีกรุงศรีอยธุ ยากม็ กั จะเขา้ มายดึ เมืองกาแพงเพชร ใหไ้ ด้ เพือ่ ใช้
เป็ นแหล่งสะสมเสบียงอาหารเช่นกนั

เมื่อกาแพงเพชรข้ึนตรงตอ่ กรุงศรีอยธุ ยา กไ็ มป่ รากฏหลกั ฐานราชวงศผ์ คู้ รองเมืองแน่ชดั แต่
เขา้ ใจวา่ คงจะส่งขา้ ราชการไปปกครอง และมีตาแหน่งพระยาวชิรปราการ ดงั ที่พระเจา้ ตากสินไดร้ ับพระ-
ราชทางตาแหน่งในตอนปลายกรุงศรีอยธุ ยา

สมยั กรุงธนบุรี

หลงั จากกรุงศรีอยธุ ยาแตกยบั เยนิ และสมเดจ็ พระเจา้ ตากสินมหาราชทรงกอบกเู้ อกราชเม่ือปี
พ.ศ. ๒๓๑๐ แลว้ พระเจา้ กรุงธนบุรีมุง่ แต่การทานุบารุงเมืองใหเ้ ป็นปกติเรียบร้อย เมืองกาแพงเพชรซ่ึงอยู่
ห่างไกลจึงไม่มีบทบาทในสมยั กรุงธนบุรีมากนกั นอกจากการเป็นเมืองหนา้ ด่าน ในคราวรบทพั จบั
ศึกเท่าน้นั และเพราะเหตุที่กาแพงเพชรเป็ นเมืองหนา้ ด่าน ตอ้ งรับศึกหนกั ตลอดมา ประชาชนพลเมืองไม่
เป็นอนั ทามาหากิน ตอ้ งอพยพหลบภยั อยเู่ สมอ บา้ นเมืองวดั วาอาราม ตลอดจนโบราณสถาน โบราณวตั ถุ
ท้งั หลาย ก็ยอ่ ยยบั ไปเพราะผลแห่งสงคราม เมืองกาแพงเพชรปัจจุบนั จึงเหลือแต่เพียงซากเมืองเก่าใหเ้ ราได้
ชมเทา่ น้นั

สมยั กรุงรัตนโกสินทร์

ในรัฐสมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ มเด็จพระเจา้ บรม-วงศ์
เธอกรมพระยาดารงราชานุภาพ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ทรงจดั การปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาล
ใหเ้ ป็นที่เรียบร้อย ซ่ึงสมเดจ็ ฯ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ทรงดาเนินการจดั ต้งั มณฑลข้ึนในหวั เมือง
ช้นั ใน ๔ มณฑลเม่ือปี พ.ศ. ๒๔๒๕ คือ มณฑลกรุงเก่า มณฑลปราจีน มณฑลพิษณุโลก และมณฑล
นครสวรรค์ เมืองกาแพงเพชรถูกจดั ใหอ้ ยใู่ นมณฑลนครสวรรค์ รวมอยกู่ บั เมืองอ่ืนๆ ไดแ้ ก่ ชยั นาท สรรค์
บุรี มโนรมณ์ อุทยั ธานี พยหุ คีรี ตาก และนครสวรรค์ มณฑลนครสวรรคน์ ้ีกวา่ จะต้งั เป็นมณฑลอยา่ ง
สมบรู ณ์กใ็ นปี พ.ศ. ๒๔๓๘

ในปี พ.ศ. ๒๔๕๙ มีการเปลี่ยนคาวา่ เมืองเป็นจงั หวดั เมืองกาแพงเพชรจึงเปลี่ยนเป็น
จงั หวดั กาแพงเพชร ต้งั แต่คร้ังน้นั และยงั คงข้ึนอยกู่ บั มณฑลนครสวรรคเ์ ร่ือยมา จนกระทง่ั มีการยกเลิก
มณฑลเทศาภิบาลไปในปี พ.ศ. ๒๔๗๖ มีการจดั ระเบียบการปกครองแผน่ ดินใหม่ จนถึงปัจจุบนั

การจดั รูปการปกครองเมอื งตามระบบเทศาภิบาล

ในสมยั รัชกาลที่ ๕ พระองคไ์ ดท้ รงปรับปรุงระบบการปกครองประเทศใหท้ นั สมยั โดยมี
พระราชโองการยกเลิกระเบียบการปกครองแต่เดิม และประกาศต้งั กระทรวงแบบใหม่ข้ึน ๑๒ กระทรวง
เม่ือวนั ท่ี ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๓๕ โดยจดั สรรอานาจและหนา้ ที่ความรับผดิ ชอบของแต่ละกระทรวงให้
เป็นสัดส่วนอาทิ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงกลาโหม กระทรวงต่างประเทศ กระทรวงเกษตราธิการ



กระทรวงการคลงั กระทรวงยตุ ิธรรม เป็นตน้ บรรดาหวั เมืองที่แบง่ เป็ นฝ่ ายเหนือ ฝ่ ายใต้ ก็ใหอ้ ยใู่ นบงั คบั
บญั ชาตราราชสีห์ของกระทรวงมหาดไทยท้งั หมด ตามประกาศพระบรมราชโองการลงวนั ที่ ๒๒
ธนั วาคม ร.ศ. ๑๑๓ (พ.ศ. ๒๔๓๗)

เมื่องานปกครองหวั เมืองท่ีเคยแยกไปอยใู่ นอานาจของกระทรวงกลาโหมก็ดี กระทรวงการ
ตา่ งประเทศ หรือกรมเจา้ ทา่ ก็ดี ไดข้ ้ึนอยกู่ บั กระทรวงมหาดไทยเพียงกระทรวงเดียว กระทรวงมหาดไทย
จึงมีฐานะเป็ นศูนยก์ ลางบญั ชาการงานปฏิรูปการปกครองใหท้ นั สมยั โดยปริยาย เมื่อสมเด็จพระบรมวงศ์
เธอกรมพระยาดารงราชานุภาพเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยเสดจ็ ไปตรวจราชการหวั เมืองคร้ังแรกไดท้ รง
พบขอ้ ขดั ขอ้ งหลายประการในการปกครองหวั เมือง ประการแรก คือ มีหวั เมืองมากเกินไปแมแ้ ตห่ วั เมือง
ช้นั ในกม็ ีหลายสิบเมืองการคมนาคมกบั กรุงเทพฯ จะไปถึงก็ล่าชา้ เช่นจะไปเมืองพิษณุโลกตอ้ งเดินทางไป
กวา่ ๑๒ วนั จึงจะถึง หวั เมืองกอ็ ยหู่ ลายทิศทาง จะจดั การอนั ใดก็พน้ วสิ ัยที่เสนาบดีจะออกไปจดั หรือตรวจ
การไดเ้ อง มีแตต่ ราสงั่ ขอ้ บงั คบั และแบบแผนส่งออกไปในแผน่ กระดาษใหเ้ จา้ เมืองจดั การ เจา้ เมืองก็มี
หลายสิบคนจะเขา้ ใจคาส่ังต่างกนั อยา่ งไร และใครจะทาการซ่ึงสง่ั ไปน้นั อยา่ งไรกย็ ากท่ีจะรู้

ในที่สุดพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั จึงมีพระราชดาริพร้อมดว้ ยสมเด็จฯ กรม
พระยาดารงราชานุภาพ จดั ต้งั ระเบียบการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาลข้ึน

การจดั ระเบียบการปกครองเมืองแบบมณฑลเทศาภิบาล เป็นการจดั ต้งั หน่วยราชการบริหาร
ส่วนภูมิภาค ซ่ึงมีสภาพและฐานะตวั แทน หรือหน่วยงานประจาทอ้ งที่ของกระทรวงมหาดไทย เพื่่อความ
เขา้ ใจในเรื่องน้ี จึงขอนาคาจากดั ความของ "การเทศาภิบาล" ซ่ึงพระยาราชเสนา (สิริ เทพหสั ดิน ณ
อยธุ ยา) อดีตปลดั ทลู ฉลองกระทรวงมหาดไทยมากล่าวไว้ ณ ที่น้ี

"การเทศาภิบาล"

คือการปกครองโดยลกั ษณะที่จดั ใหม้ ีหน่วยบริหารราชการอนั ประกอบดว้ ยตาแหน่งขา้ ราช-
การตา่ งพระเนตรพระกรรณของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั และเป็นที่ไวว้ างใจของรัฐบาลของพระองค์
รับแบง่ ภาระของรัฐบาลกลาง ซ่ึงประจาแตเ่ ฉพาะในราชธานีน้นั ออกไปดาเนินการในส่วนภมู ิภาค เป็น
ส่ือกลางระหวา่ งประชากรของประเทศซ่ึงอยหู่ ่างไกลจากรัฐบาลซ่ึงอยใู่ นราชธานีใหไ้ ดใ้ กลช้ ิดกบั อาณา
ประชากรเพื่อใหเ้ ขาไดร้ ับความร่มเยน็ เป็ นสุขและเกิดความเจริญทวั่ ถึงกนั โดยมีระเบียบแบบแผนอนั เป็น
คุณประโยชน์แก่ประเทศชาติฯ ดว้ ย จึงแบง่ เขตการปกครองโดยขนาดลดหลนั่ กนั เป็ นช้นั อนั ดบั ดงั น้ี คือ
ส่วนใหญเ่ ป็ นมณฑล รองถดั ลงไปเป็นเมืองคือ จงั หวดั รองลงไปอีกเป็ นอาเภอ ตาบล และหมู่บา้ น
จดั แบง่ หนา้ ที่ราชการเป็นส่วนสัดแผนกงานใหส้ อดคลอ้ งกบั ทานองการของกระทรวงทบวงกรมในราช
ธานี และจดั สรรขา้ ราชการท่ีมีความรู้สติปัญญา ความประพฤติดีใหไ้ ปประจาทางานตามตาแหน่งหนา้ ที่มิ



ใหม้ ีการกา้ วก่ายสับสนกนั ดงั ที่เป็นมาแต่ก่อน เพอื่ นามาซ่ึงความเจริญเรียบร้อยและรวดเร็วแก่ราชการและ

ธุรกิจของประชาชน ซ่ึงตอ้ งอาศยั ทางราชการเป็นท่ีพ่ึงดว้ ย"(๔)

การปกครองหวั เมืองในสมยั ก่อนใชร้ ะบบเทศาภิบาลน้นั อานาจปกครองบงั คบั บญั ชามี

ความหมายแตกตา่ งกนั ออกไปตามความใกลไ้ กลของทอ้ งถิ่น หวั เมืองหรือประเทศราชยงิ่ ไกลจาก

กรุงเทพฯ เท่าใดกย็ ง่ิ มีอิสระมากข้ึนเท่าน้นั หวั เมืองท่ีรัฐบาลปกครองบงั คบั บญั ชาไดโ้ ดยตรงกม็ ีแต่ หวั

เมืองใกลฯ้ ส่วนหวั เมืองอื่นที่ไกลออกไปมกั จะมีเจา้ เมืองเป็นผปู้ กครองแบบกินเมือง และมีอานาจอยา่ ง

กวา้ งขวาง สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดารงราชานุภาพ จึงทรงพยายามท่ีจะจดั ใหม้ ีอานาจการปกครองเขา้ มา

รวมอยจู่ ุดเดียวกนั โดยจดั ต้งั ระบบเทศาภิบาล ซ่ึงเป็นระบบท่ีรัฐบาลกลางจดั ส่งขา้ ราชการไปบริหาร

ราชการในทอ้ งท่ีตา่ งๆ แทนที่ส่วนภูมิภาคจะจดั การปกครองกนั เองเช่นแต่ก่อนอนั เป็นระบบกินเมือง

ระบบการปกครองแบบเทศาภิบาล จึงเป็นระบบการปกครองที่รวมอานาจเขา้ มาไวใ้ นส่วนกลาง หรือ

ริดรอนอานาจเจา้ เมืองตามระบบเดิมลงอยา่ งสิ้นเชิง และเพือ่ เป็นการเพ่มิ ประสิทธิภาพในการควบคุมหวั

เมืองเขา้ เป็นแบบมณฑลๆ ละ ๕ เมือง หรือ ๖ เมือง ในขนาดทอ้ งท่ีที่ผบู้ ญั ชาการมณฑลอาจจะจดั การ

และตรวจตราไดเ้ องตลอดอาณาเขตเรียกวา่ "มณฑลเทศาภิบาล" ขา้ หลวงเทศาภิบาลเป็นผปู้ กครองบงั คบั

บญั ชาหวั เมืองท้งั ปวงในเขตมณฑลของตน

การจดั ต้งั มณฑลเทศาภิบาล รัฐบาลมิไดด้ าเนินการในทีเดียวท้งั ประเทศ แตไ่ ดจ้ ดั ต้งั เป็ น

ระยะๆ ไปต้งั แต่ก่อนการปฏิรูปราชการบริหารส่วนกลาง ในปี พ.ศ. ๒๔๓๕ ท้งั น้ีถือลาน้าซ่ึงเป็นทาง

คมนาคมในสมยั น้นั เป็นเครื่องกาหนดเขตมณฑล (มณฑลเทศาภิบาลท่ีจดั ต้งั ข้ึนในปี พ.ศ. ๒๔๓๗ คือ

มณฑลพษิ ณุโลก มณฑลปราจีนและมณฑลนครราชสีมา ต่อมาเมื่อมีการโอนหวั เมืองท้งั หมดซ่ึงเคยข้ึนอยู่

ในกระทรวงกลาโหมมาอยใู่ นกระทรวงมหาดไทยกระทรวงเดียวแลว้ จึงไดร้ วมหวั เมืองฝ่ ายใตจ้ ดั เป็ น

มณฑลราชบุรีข้ึนอีกมณฑลหน่ึง) จากน้นั มา ต้งั แต่ปี พ.ศ. ๒๔๓๘ ถึงปี พ.ศ. ๒๔๕๘ ก็ไดม้ ีการจดั ต้งั

ยบุ เลิก แต่เปล่ียนเขตของการปกครองมณฑลเทศาภิบาลอยตู่ ลอดเวลา ตามความเหมาะสม

ในมณฑลเทศาภิบาลแต่ละมณฑลมีขา้ ราชการคณะหน่ึงประกอบดว้ ยขา้ หลวงเทศาภิบาล

สาเร็จราชการมณฑล ขา้ หลวงมหาดไทย ขา้ หลวงยตุ ิธรรม ขา้ หลวงคลงั เลขานุการขา้ หลวงเทศาภิบาล

และแพทยป์ ระจามณฑลขา้ ราชการบริหารมณฑลจานวนน้ีเรียกวา่ "กองมณฑล" เจา้ หนา้ ที่ ๖ ตาแหน่ง

ดงั กล่าวน้ีเป็นเจา้ หนา้ ที่ท่ีกระทรวงมหาดไทยไดจ้ ดั ใหม้ ีข้ึนสาหรับบริหารงานมณฑล ละ ๑ กอง เป็นขา้ -

ราชการที่สงั กดั กระทรวงมหาดไทยท้งั สิ้น

ขา้ หลวงเทศาภิบาลสาเร็จราชการมณฑลเป็นผรู้ ับผดิ ชอบปกครองมณฑล มีอานาจสูงสุดใน

มณฑลเหนือขา้ ราชการพนกั งานท้งั ปวง มีฐานะเป็นขา้ ราชการต่างพระเนตรพระกรรณของพระเจา้ อยหู่ วั

ซ่ึงไดท้ รงมอบความไวว้ างพระราชหฤทยั โดยคดั เลือกจากขนุ นางผใู้ หญท่ ้งั ฝ่ ายทหารและพลเรือน ออกไป

(๔) สมเดจ็ กรมพระยาดารงราชานุภาพและพระยาราชเสนา,เทศาภบิ าล (พมิ พเ์ ป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทางเพลงิ ศพ
พระยาอรรถกระวสี วุ ดาร ลงวนั ท่ี ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๓). หน้า ๖๕-๖๖



ปฏิบตั ิราชการมณฑลละ ๑ คน หน่วยการปกครองมณฑลเทศาภิบาลน้ีทาหนา้ ที่เหมือนสื่อกลางเช่ือมโยง

รัฐบาลกลาง กบั หน่วยราชการส่วนภมู ิภาคหน่วยอื่นๆ เขา้ ดว้ ยกนั ขา้ หลวงเทศาภิบาลสาเร็จราชการมณฑล

มีอานาจที่ใชด้ ุลพินิจวนิ ิจฉยั สง่ั การไดเ้ อง ยกเวน้ เรื่องสาคญั ซ่ึงจะตอ้ งขอความเห็นมายงั

กระทรวงมหาดไทยเท่าน้นั เป็นการแบง่ เบาภาระของเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยเป็นอนั มาก มณฑล

เทศาภิบาลนบั วา่ เป็ นวธิ ีการปกครองที่ทาใหร้ ัฐบาลสามารถดึงเอาหวั เมืองๆ เขา้ มาอยภู่ ายใตอ้ านาจพระ

เจา้ อยหู่ วั ไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริงผวู้ า่ ราชการเมืองของแต่ละเมืองในมณฑลตอ้ งอยภู่ ายในบงั คบั บญั ชาขา้ หลวง

เทศาภิบาลอีกช้นั หน่ึง โดยมิไดข้ ้ึนตรงต่อเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยโดยตรง ตอ่ มากระทรวงมหาดไทย

ยงั ไดเ้ พิ่มตาแหน่งขา้ ราชการมณฑลข้ึนอีก เพอื่ แบ่งเบาภาระขา้ หลวงเทศาภิบาล เช่น ตาแหน่งปลดั

เทศาภิบาลอานาจหนา้ ท่ีรองจากขา้ หลวงเทศาภิบาล เสมียนตรามณฑลเป็ นเจา้ พนกั งานการเงินรักษาพสั ดุ

ดูแลรักษาการปฏิบตั ิราชการมณฑลและมหาดเลก็ รายงานมีหนา้ ท่ีออกตรวจราชการตามเมืองและอาเภอ

ต่างๆ ตลอดมณฑลเป็นตน้

จงั หวดั กาแพงเพชรน้นั ถูกจดั อยใู่ นมณฑลนครสวรรค์ ซ่ึงจดั ต้งั ข้ึนในปี พ.ศ. ๒๔๓๘

โดยรวมอยกู่ บั เมืองอื่น ไดแ้ ก่ ชยั นาท สรรคบ์ ุรี นโนรมย์ อุทยั ธานี พยหุ คีรี ตาก และนครสวรรค์

การจดั รูปการปกครองในสมยั ปัจจุบัน

การปรับปรุงระเบียบการปกครอง เมื่อมีการเปล่ียนแปลงการปกครองประเทศมาเป็ นระบอบ
ประชาธิปไตย เม่ือปี พ.ศ. ๒๔๗๕ น้นั ไดม้ ีการเปลี่ยนแปลงการจดั ระเบียบการปกครองหรือการบริหาร
ราชการส่วนภมู ิภาค โดยมีการตราพระราชบญั ญตั ิวา่ ดว้ ยระเบียบบริหารแห่งราชอาณาจกั รสยาม พ.ศ.
๒๔๗๖ ซ่ึงแบ่งหน่วยการปกครองส่วนภมู ิภาคเป็นจงั หวดั และอาเภอ โดยมิไดบ้ ญั ญตั ิใหม้ ีมณฑลตามนยั
ดงั กล่าวจึงเท่ากบั เป็นการยกเลิกมณฑลไปโดยปริยาย แตไ่ ดจ้ ดั แบง่ "ภาค" ข้ึนใหม่ และใหม้ ีขา้ หลวง
ตรวจการสาหรับทาหนา้ ที่ตรวจควบคุม แนะนา ช้ีแจงขอ้ ราชการต่อหน่วยราชการส่วนภูมิภาคเทา่ น้นั โดย
มิไดม้ ีหนา้ ที่บริหารราชการทวั่ ไปเหมือนอยา่ งมณฑลเทศาภิบาล ดงั น้นั จงั หวดั กบั ส่วนกลางจึงสามารถ
ติดต่อกนั ไดโ้ ดยตรงมิตอ้ งผา่ นภาคแต่อยา่ งใด

ในปี พ.ศ. ๒๔๙๕ รัฐบาลไดป้ ระกาศพระราชบญั ญตั ิบริหารราชการแผน่ ดิน พ.ศ. ๒๔๙๕
ยกเลิกพระราชบญั ญตั ิเดิม พ.ศ. ๒๔๗๖ เสีย และจดั ระเบียบการปกครองส่วนภมู ิภาคเป็นภาค จงั หวดั
และอาเภอโดยมีผวู้ า่ ราชการภาคคนหน่ึงเป็นหวั หนา้ ปกครองบงั คบั บญั ชาขา้ ราชการส่วนภูมิภาคภายในเขต
ต่อมาก็ไดม้ ีการยกเลิกภาคอีกโดยสิ้นเชิง ตามพระราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารราชการแผน่ ดิน พ.ศ. ๒๔๙๙
เหลือแต่เพยี งหน่วยการปกครองจงั หวดั และอาเภอตามเดิม

พระราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารราชการแผน่ ดิน พ.ศ. ๒๔๙๕ และฉบบั แกไ้ ขเพม่ิ เติม พ.ศ.
๒๔๙๙ ไดใ้ ชม้ าอีกเป็นเวลานาน จนกระทง่ั ถูกยกเลิกโดยประกาศคณะปฏิวตั ิฉบบั ที่ ๒๑๘ ลงวนั ที่ ๒๙
กนั ยายน ๒๕๑๕ ซ่ึงเริ่มใชบ้ งั คบั ต้งั แตว่ นั ที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ เป็นตน้ ไป โดยจดั ระเบียบบริหาร
ราชการส่วนภมู ิภาคเป็น

๑๐

๑. จงั หวดั
๒. อาเภอ
จงั หวดั ต้งั โดยพระราชบญั ญตั ิซ่ึงเป็นกฎหมายที่ตอ้ งผา่ นความเห็นชอบของรัฐบาล ในการ
บริหารราชการของจงั หวดั หน่ึงๆ น้นั มีผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ซ่ึงเป็นขา้ ราชการสังกดั กระทรวงมหาดไทยคน
หน่ึง เป็นผรู้ ับนโยบายและคาสัง่ จากนายกรัฐมนตรีในฐานะหวั หนา้ รัฐบาล คณะรัฐมนตรี กระทรวง
ทบวง กรม มาปฏิบตั ิใหเ้ หมาะสมกบั ทอ้ งที่และประชาชน และเป็นหวั หนา้ บงั คบั บญั ชาบรรดาขา้ ราชการ
ส่วน ภมู ิภาคในเขตจงั หวดั ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั มีรองผวู้ า่ ราชการจงั หวดั และปลดั จงั หวดั เป็ นผชู้ ่วยปฏิบตั ิ
ราช-การ และมีคณะกรมการจงั หวดั ซ่ึงประกอบดว้ ยหวั หนา้ ส่วนราชการประจาจงั หวดั จากกระทรวง
ทบวง กรม ต่างๆ ทาหนา้ ท่ีเป็นที่ปรึกษาของผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ในการบริหารราชการแผน่ ดินในจงั หวดั
น้นั
อาเภอจดั ต้งั โดยพระราชกฤษฎีกา ในอาเภอหน่ึงมี นายอาเภอเป็ นหวั หนา้ ปกครองบงั คบั
บญั ชา มีปลดั อาเภอและหวั หนา้ ส่วนราชการ ซ่ึงกระทรวง ทบวง กรม ตา่ งๆ ส่งมาประจา ทาหนา้ ท่ีเป็นผู้
ช่วยเหลือนายอาเภอในการปฏิบตั ิราชการแผน่ ดิน
จงั หวดั กาแพงเพชรปัจจุบนั น้ีแบ่งการปกครองเป็น ๗ อาเภอ คือ
๑. อาเภอเมืองกาแพงเพชร
๒. อาเภอขานุวรลกั ษบุรี
๓. อาเภอคลองขลุง
๔. อาเภอพรานกระต่าย
๕. อาเภอไทรงาม
๖. อาเภอลานกระบือ
๗. อาเภอคลองลาน

ท่ีมา : ประวตั มิ หาดไทยส่วนภูมภิ าคจังหวดั กาแพงเพชร. กรุงเทพฯ : บริษทั บพิธการพิมพ์ จากดั ,
๒๕๒๙.


Click to View FlipBook Version