ไทยตอ้ งปรับโครงสรา้ งอยา่ งจรงิ จงั เพ่ือรองรบั โลกทเี่ ปล่ยี นไปหลงั วกิ ฤตโควิด-19
ดร.วิรไท ชี้ไทยต้องปรับโครงสร้างอย่าง
จริงจัง เน้นปรับรูปแบบการทำงาน
ร่วมกัน ระหว่าง ภาครัฐ - เอกชน -
ภาคประชาสงั คม - สถาบันการศึกษา
เพื่อรองรับโลกที่เปลี่ยนไปหลังวิกฤต
โควิด-19
วันนี้ (13 ก.ย. 64) ดร.วิรไท ดร.วริ ไท สนั ตปิ ระภพ อดีตผูว้ า่ การธนาคารแห่งประเทศไทย
สันติประภพ อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่ง
ประเทศไทย และ กรรมการมูลนิธิปิด ใหญ่เป็นบริการแบบดั้งเดิม เช่น การ บริบทปัจจุบัน ทำให้ไม่สามารถ
ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ ท่องเทย่ี ว ให้บริการประชาชนได้อย่างคล่องตัว
กล่าวในการเสวนา "ฝ่าวิกฤตโควิด-19 แ ล ะ ไ ม ่ ส า ม า ร ถ ต อ บ โ จ ท ย์
พลิกฟื้นเศรษฐกิจและสังคมฐานราก นอกจากน้ี พบว่าแรงงานส่วนหนึ่งได้ ความต้องการท่ีแทจ้ ริงของประชาชนและ
ออกแบบอนาคตไทยที่ยั่งยืน" ที่จัดขึ้น เคลื่อนย้ายจากภาคอุตสาหกรรมไปสู่ ธรุ กจิ ได้
โดยกระทรวงมหาดไทย ภาคท่องเที่ยวและภาคบริการ ส่งผลให้
เพื่อร่วมสร้างเข็มทิศประเทศไทยใน แรงงานมีรายได้และผลิตภาพลดลง ด ร . ว ิ ร ไ ท อ ธ ิ บ า ย ต ่ อ ไ ป ว่ า
อนาคต ว่าประเทศไทยโดยเฉพาะ แม้ว่าตัวเลขอัตราการว่างงานใน ปรากฏการณ์เช่นน้ี เมอ่ื ถกู กระต้นุ ให้
ภาครัฐตอ้ งเรง่ ปรบั โครงสร้างเศรษฐกิจ ภาพรวมอย่ใู นระดบั ตำ่ รุนแรงขึ้นด้วยวิกฤติโควิด-19
และสังคมและปรับรูปแบบการทำงาน จึงทำให้เกิดการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไป
อย่างจริงจัง(transformation) เพื่อ นอกจากน้ี ยังมีปัญหาความเหลื่อมล้ำ ในรูปแบบตัว K กล่าวคือ ผู้ที่ร่ำรวย
รับมือกับความท้าทายหลายประการท่ี ในหลายมิติ รวมถงึ การเกดิ เทคโนโลยี และมีทรัพยากรมากกว่าจะยิ่งมีโอกาส
เกดิ ข้นึ จากวิกฤตโควิด-19 ดสิ รัปชนั่ (technology disruption) ได้ประโยชน์สูงขึ้น ในขณะคนยากจน
ซึ่งกระทบต่อวิธีการทำงาน โดยเฉพาะ หรือคนตัวเล็กตัวน้อย จะเสียเปรียบ
ดร.วิรไท อธิบายว่า ก่อนเกิดวิกฤตโค วิธีการทำงานของแรงงานทั่วไป เพราะมี แข่งขนั ไดย้ ากขน้ึ และจะยง่ิ ยากจนลง
วิด-19 ประเทศไทยประสบปัญหา การใชก้ ลไกหุน่ ยนต์แทนการทำงานมาก
โครงสร้างหลายอยา่ งทร่ี นุ แรงอยู่แล้ว ไม่ ขึ้น และที่สำคัญคือ ภาครัฐยังมี
ว่าจะเป็นด้านผลิตภาพ กฎเกณฑ์ ระเบียบการดำเนินงานท่ี
(productivity) ที่อยู่ในระดับต่ำและ ลา้ สมยั ไม่ทนั ต่อความท้าทายและ
เพิ่มขึ้นช้ากว่าประเทศอื่น โดยเฉพาะ
ภาคการเกษตร และภาคบริการท่ีสว่ น
1
ทมี่ า https://thestandard.co/thailand-k-shaped-recovery/ สั้นๆ เพียงอย่างเดียว เพื่อรองรับความ
ท้าทายใหม่ๆ ทจ่ี ะมมี ากข้ึน
ดร. วิรไท ชี้ให้เห็นการเปลี่ยนแปลงท่ี และสังคมชนบทได้ด้วย แก้ปัญหาผลิต
สำค ั ญจากว ิ กฤตโคว ิ ด -19 คื อ ภาพต่ำในภาคการเกษตร แก้ปัญหา 2) ต้องเน้นการทำงานใน
มีคนวัยทำงานตกงาน ต้องออกจาก ครอบครัวโหว่กลาง และสังคมชนบทที่ ลักษณะล่างขึ้นบนให้มากขึ้น มากกว่า
เมืองใหญ่และเมืองอุตสาหกรรมกลับสู่ อ่อนแอลงเร่ือย ๆ ตลอดช่วงสอง การกำหนดสูตรสำเร็จจากส่วนกลาง
ชนบทหลายล้านคน และมีแนวโน้มว่า ทศวรรษที่ผ่านมา ในรอบนี้ คนวัย เ พ ร า ะ แ ต ่ ล ะ พ ื ้ น ท ี ่ ม ี ป ั ญ ห า ต ่ า ง กั น
คนเหล่านั้นจะไม่สามารถกลับมาทำงาน ทำงานท่ีกลับบ้านพอเขา้ ใจเรื่องการใช้ มีบริบทต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง
ในเมืองได้อีกเมื่อสถานการณ์โควิด-19 ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิตอล ทรัพยากร บุคคลากร สภาพพื้นที่ และ
คลี่คลายลง เพราะหลายอุตสาหกรรมมี ระดับหนึ่ง มีทักษะการทำงาน การบริหารจดั การ
กำลังการผลิตส่วนเกินอยู่สูง และ การติดต่อสื่อสาร การหาข้อมูลที่เป็น
รูปแบบการทำงานจะเปลี่ยนแปลงไปจาก ประโยชน์ต่อการพัฒนาท้องถิ่นได้ 3) ควรต้องเน้นการสร้างงาน
เดิม จะใช้หุ่นยนตร์และเทคโนโลยี ถ้าช่วยกันสร้างโอกาส และพัฒนา ในชนบทนับล้านตำแหน่ง ไปพร้อมๆ
สมยั ใหม่เขา้ มามากขึ้น ทักษะที่เหมาะสม เขาจะช่วยสร้างการ ก ั บ ก า ร พ ั ฒ น า ท ั ก ษ ะ ใ ห ม ่ ห รื อ
เปลี่ยนแปลง เป็น change agent ท่ี reskilling ให้ตอบโจทย์ของโลกใหม่
โจทย์สำคัญของประเทศไทยขณะนี้ คือ จะสรา้ งความเข้มแขง็ ใหก้ ับชนบทไทยได้
เราจะทำอย่างไรให้คนในวัยทำงานนับ โดยหน่วยงานภาครัฐไม่จำเป็นต้องลง
ล้านคนเหล่านี้สามารถมีอาชีพอยู่ใน ดร.วริ ไท ไดเ้ สนอแนวทางการปฏิบตั ิงาน มือทำเอง แต่ต้องทำงานร่วมกันระหว่าง
ชนบทไดอ้ ยา่ งยง่ั ยืน คนวัยทำงานที่ ของข้าราชการในพื้นที่เพื่อฝ่าวิกฤต ภ า ค ร ั ฐ ภ า ค ก า ร ศ ึ ก ษ า ธ ุ ร กิ จ
โควคิ -19 ไว้ดังน้ี ประชาสังคม และชุมชน โดยหน่วยงาน
กลับบ้านจะสามารถสร้างความเข้มแข็ง ภาครฐั ควรมบี ทบาทเป็นผูส้ นับสนุนให้
และสร้างการเปลี่ยนแปลงในเศรษฐกจิ 1) ภาครัฐควรให้ความสำคัญ เ ก ิ ด ค ว า ม ร ่ ว ม ม ื อ ไ ด ้ อ ย ่ า ง มี
กับการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและ ประสิทธิภาพ และติดตามประเมินผล
สังคมมากกว่าเพียงการเยียวยาในช่วง เมื่อมองไปข้างหน้าพบว่าประชาชนมี
ความเดือดร้อนอีกมากที่ต้องได้รับการ
แก้ไข ถ้าให้หน่วยงานภาครัฐเป็นผู้ลง
มือทำเองจะไม่สามารถตอบโจทย์ได้
อ ย ่ า ง เ ท ่ า ท ั น แล ะ อ า จ จ ะ ไ ม่ เ กิ ด
ประสิทธิผลเมื่อเทียบกับการทำงาน
ร่วมกับหน่วยงานอื่นที่มีประสบการณ์
และความชำนาญเฉพาะด้านสูงกว่า
หนว่ ยงานภาครัฐ
2
ดร.วิรไท ได้ยกตัวอย่างของการทำงาน สนบั สนนุ องคค์ วามรู้ และวัสดอุ ปุ กรณ์ ดร. วิรไท ได้ฝากสามคำถามสำคัญไว้
ของมูลนิธิปิดทองหลังพระ ในการซ่อมแซม และประสานงานกับ ให้กระทรวงมหาดไทยและหน่วยงาน
สืบสานแนวพระราชดำริ ทเี่ ขา้ ไปเตมิ เตม็ หน่วยงานภาครัฐที่เป็นผู้ดูแลแหล่งน้ำ ภาครัฐพิจารณาก่อนที่จะเริ่มทำ
ช่องว่างในการประสานงานระหว่าง เหลา่ น้ีเพ่อื ใหช้ าวบ้านเขา้ ซอ่ มแซมได้ โครงการใดๆ ต้องถามตัวเองว่า
หน่วยงานภาครัฐต่างๆ และระหว่าง
หน่วยงานภาครัฐกับชุมชน โดยหนึ่งปี ดร. วริ ไท กลา่ วท้ิงทา้ ยวา่ เน่อื งจากโลก (1) โครงการต่างๆ ที่จะทำจะมี
ที่ผ่านมาตั้งแต่เกิดวิกฤติโควิด-19 ได้ ใ น อ น า ค ต จ ะ ม ี ล ั ก ษ ณ ะ VUCA ผลช่วยปรับโครงสร้างและสร้างความ
จัดทำโครงการพิเศษเพื่อซ่อมแซมแหล่ง (Volatile - ผ ั น ผ ว น , Uncertain - ยั่งยืนในระยะยาวหรือไม่ จะตอบโจทย์
น้ำขนาดเล็กกว่า 650 โครงการใน ไม ่ แน ่ นอน, Complex - ซ ั บซ ้ อน, ความทา้ ทายในอนาคตอยา่ งไร
9 จังหวัดใช้เงินลงทุนประมาณ 250 Ambiguous – คลุมเครือ) โดยเฉพาะ
ล้านบาท หรือตกโครงการละประมาณ อย่างยิ่งจากภาวะโลกร้อนและการ ( 2 ) ห น ่ ว ย ง า น ภ า ค รั ฐ
4 แสนบาท สามารถจ้างแรงงานที่ตก เปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศ ซึ่งประเทศ จำเป็นต้องเป็นคนลงมือทำโครงการ
งานกลับบ้านได้ประมาณ 1,000 คน ไ ท ย เ ป ็ น ห น ึ ่ ง ใ น ป ร ะ เ ท ศ ท ี ่ จ ะ ไ ด ้ รั บ เหล่านี้เอง หรือควรมีบทบาทสนับสนุน
แหล่งน้ำขนาดเล็กเหล่านี้สามารถ ผลกระทบอย่างรุนแรง และผลกระทบใน ใหภ้ าคเอกชน ประชาสงั คม ชุมชน หรอื
ก ล ั บ ม า เ ก ็ บ ก ั ก น ้ ำ ไ ด ้ ม า ก ก ว่ า แต่ละพื้นที่จะต่างกัน ดังนั้น หน่วยงาน ท้องถิ่นที่เก่งกว่า มีความชำนาญเฉพาะ
120 ล้านลูกบาศก์เมตร หรือรวมกัน ภาครัฐจึงต้องทำงานในลักษณะล่างข้ึน ดา้ นมากกวา่ เปน็ คนลงมอื ทำ และ
แล้วมีขนาดใกล้เคียงกับความจุของ บนมากขึ้น ไปในทิศทางของ
เขื่อนกิ่วลม ส่งผลให้ประชาชนมีรายได้ decentralization และตอ้ งทบทวนการ (3) ใช้เทคโนโลยี โดยเฉพาะ
เพิ่มขึ้นมากกว่า 1,400 ล้านบาท แ บ ่ ง บ ท บ า ท ร ะ ห ว ่ า ง ส ่ ว น ก ล า ง กั บ เทคโนโลยีดิจิตอลเป็นกลไกในการ
หลักการทำงานที่สำคัญคือ การให้ ท้องถิ่นเพื่อให้สอดคล้องกับความท้า ดำเนินการหลักหรือไม่ ในโลกปัจจุบัน
ชาวบา้ นแสดงความต้องการที่จะร่วมกัน ทายของอนาคต ทุกเรื่องที่หน่วยงานภาครัฐคิดจะทำ
ซ่อมแซมแหล่งน้ำเหล่านี้โดยต้องอาสา ควรต้องให้ความสำคัญกับการใช้
ลงแรงร่วมกัน ไม่มีการจ้างเหมา ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิตอลก่อน
ผู้รับเหมามาดำเนินโครงการ การที่เร่ิม (digital first) เสมอ
จากให้ชาวบ้านอาสาลงแรงร่วมกัน เป็น
วิธีหนึ่งที่จะแสดงว่าโครงการเหล่านี้เป็น
โครงการที่ชาวบ้านเห็นว่าจะมีประโยชน์
อยา่ งแท้จริง เปน็ โครงการท่มี าจากความ
ตอ้ งการของชมุ ชน เป็นการกำหนดจาก
ล่างขึ้นบน โดยมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ
3