The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักเกณฑ์การพิจารณารางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปี พ.ศ.2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by psdg moj, 2020-03-24 23:58:27

หลักเกณฑ์การพิจารณารางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปี พ.ศ.2563

หลักเกณฑ์การพิจารณารางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปี พ.ศ.2563

Keywords: หลักเกณฑ์การพิจารณารางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปี พ.ศ.2563

ส่วนท่ี 1 ลักษณะสาคญั ขององค์การ

คาอธบิ ายการตอบคาถาม
รายงานลกั ษณะสาคญั ขององคก์ าร
 ส่วนราชการในที่น้ี หมายถึง “หน่วยงาน” ท่ีดาเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหาร
จัดการภาครัฐ
 การจดั ทาลักษณะสาคัญขององค์การ ใหส้ ่วนราชการพิจารณาบทบาทหน้าที่ ผู้รับบริการ
หรือการบรหิ ารจัดการครอบคลมุ ทกุ หน่วยงานท่ีอยู่ในสงั กัดของส่วนราชการ
 การตอบคาถามจะต้องพิจารณาถึงการปฏิบัติงานที่มีความเช่ือมโยงและสอดคล้องกันท้ัง
องคก์ ารตามเกณฑ์คุณภาพการบรหิ ารจดั การภาครัฐ
 คาถามที่ส่วนราชการมีลักษณะงานไม่เก่ียวข้องกับเร่ืองนั้น ให้ตอบว่า “ส่วนราชการ
มลี กั ษณะงานไมเ่ กี่ยวข้องกบั คาถามในข้อน้ี”
 การตอบคาถาม ให้ส่วนราชการอธิบายบริบทท่ีสาคัญขององค์การท่ีเกี่ยวข้องในแต่ละ
คาถาม โดยใช้วธิ กี ารพรรณาความ ใช้แผนภาพประกอบ หรอื ใช้ตาราง ตามความเหมาะสมในแตล่ ะคาถาม

50

ลักษณะสาคัญขององค์การ

ลักษณะสาคัญขององค์การ คือ ภาพรวมของส่วนราชการ สิ่งสาคัญที่มีอิทธิพลต่อวิธีการดาเนินงาน
และความทา้ ทายสาคัญทสี่ ่วนราชการเผชญิ อยู่

กรุณาตอบคาถามดงั ต่อไปน้ี

1. ลกั ษณะองคก์ าร : คุณลกั ษณะสาคัญของส่วนราชการคืออะไร

ให้อธิบายถึงสภาพแวดล้อมการดาเนินงานของส่วนราชการและความสัมพันธ์ท่ีสาคัญกับผู้รับบริการ
และผ้มู ีสวนไดส้ ่วนเสยี ส่วนราชการอื่น และประชาชนโดยรวม

ให้ส่วนราชการตอบคาถามตอ่ ไปนี้

ก. สภาพแวดล้อมของสว่ นราชการ
(1) พันธกจิ หรือหนา้ ที่ตามกฎหมาย
- พนั ธกจิ หรือหนา้ ที่หลกั ตามกฎหมายของส่วนราชการคืออะไรบ้าง
- ความสาคัญเชงิ เปรียบเทียบของพนั ธกิจหรอื หนา้ ที่ต่อความสาเร็จของสว่ นราชการคืออะไร
- กลไก/วิธกี ารทส่ี ว่ นราชการใช้ในการสง่ มอบผลผลิตและบริการตามพันธกิจคืออะไร
(2) วสิ ยั ทัศน์ คา่ นิยม และวัฒนธรรมองค์การ
- เป้าประสงค์ วิสยั ทัศน์ และคา่ นยิ ม ของส่วนราชการที่ไดป้ ระกาศไว้คอื อะไร
- คุณลักษณะของวฒั นธรรมของสว่ นราชการคอื อะไร
- สมรรถนะหลกั ของส่วนราชการคืออะไร และมีความเกยี่ วข้องอยา่ งไรกับพนั ธกจิ ของส่วนราชการ
(3) ลักษณะโดยรวมของบุคลากร
- ลักษณะโดยรวมของบคุ ลากรในส่วนราชการเป็นอย่างไร
- มีการจาแนกบคุ ลากรออกเป็นกล่มุ และประเภทอะไรบ้าง
- อะไรคือขอ้ กาหนดพ้ืนฐานดา้ นการศึกษาสาหรับกลุม่ บุคลากรประเภทต่าง ๆ
- องค์ประกอบสาคัญท่ีทาให้บุคลากรเหล่านี้มีส่วนร่วมในการทางานเพ่ือบรรลุพันธกิจและ
วสิ ัยทศั น์ของส่วนราชการคืออะไร
- ในการทางานจาเป็นต้องมีข้อกาหนดด้านสุขภาพและความปลอดภัยท่ีเป็นเรื่องเฉพาะของ
ส่วนราชการอะไรบ้าง
(4) สนิ ทรพั ย์
- สว่ นราชการมีอาคารสถานที่ เทคโนโลยี และอุปกรณ์ที่สาคญั อะไรบ้าง
(5) กฎหมาย กฎระเบยี บ และขอ้ บงั คบั
- ส่วนราชการดาเนินการภายใต้สภาพแวดล้อมด้านกฎหมาย กฎระเบียบ และข้อบังคับที่สาคัญ
อะไรบา้ ง

51

ข. ความสัมพนั ธ์ระดบั องคก์ าร
(6) โครงสร้างองคก์ าร
- โครงสรา้ งและระบบการกากบั ดูแลของสว่ นราชการมีลกั ษณะอย่างไร
- ระบบการรายงานระหว่างคณะกรรมการกากับดูแลส่วนราชการ ผู้บริหารส่วนราชการ และ
สว่ นราชการทกี่ ากบั มลี ักษณะเช่นใด (*)
(7) ผรู้ ับบริการและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี
- กลุม่ ผู้รับบริการและกล่มุ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สาคญั ของส่วนราชการมอี ะไรบ้าง (*)
- กลุ่มดังกล่าวมีความต้องการและความคาดหวังที่สาคัญต่อผลผลิต ต่อการบริการที่มีให้ และ
ตอ่ การปฏบิ ัตกิ ารของส่วนราชการอย่างไร
- ความต้องการและความคาดหวังของแตล่ ะกลมุ่ มีความแตกต่างกันอย่างไร
(8) ส่วนราชการหรอื องค์การท่ีเก่ียวข้องกันในการให้บริการหรือสง่ มอบงานตอกนั
- ส่วนราชการหรือองค์การที่เกี่ยวข้องกันในการให้บริการหรือส่งมอบงานต่อกันท่ีสาคัญมี
หน่วยงานใดบ้าง และมีบทบาทอย่างไรในระบบงานของส่วนราชการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการ
ปฏิบตั ติ ามภาระหนา้ ท่ีของสว่ นราชการ และการยกระดบั ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
- หน่วยงานที่เก่ียวข้องดังกล่าวมีส่วนร่วมหรือบทบาทอะไรในการสร้างนวัตกรรมให้แก่
สว่ นราชการ (*)
- กลไกทีส่ าคัญในการสือ่ สาร และขอ้ กาหนดสาคัญในการปฏิบตั ิงานรว่ มกันมีอะไรบ้าง

2. สภาวการณข์ ององค์การ: สภาวการณเ์ ชิงยุทธศาสตร์ของสว่ นราชการเป็นเชน่ ใด

ใหอ้ ธบิ ายถึงสภาพแวดล้อมดา้ นการแขง่ ขนั ความท้าทาย ความได้เปรียบเชิงยุทธศาสตร์ที่สาคัญ และ
ระบบการปรบั ปรุงผลการดาเนินการของส่วนราชการ

ให้ส่วนราชการตอบคาถามต่อไปน้ี

ก. สภาพแวดลอ้ มด้านการแขง่ ขัน
(9) สภาพแวดล้อมด้านการแขง่ ขนั ทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ
- สภาพแวดล้อมด้านการแข่งขันท้ังภายในและภายนอกประเทศของส่วนราชการเป็นเช่นใด
ประเภทการแขง่ ขันและจานวนคู่แขง่ ขนั ในแตล่ ะประเภทเปน็ เช่นใด
- ประเด็นการแข่งขันคืออะไร และผลการดาเนินการปัจจุบันของส่วนราชการในประเด็น
ดังกลา่ วเม่ือเปรยี บเทียบกับคู่แขง่ เปน็ อยา่ งไร
(10) การเปล่ยี นแปลงดา้ นการแขง่ ขัน
- การเปลีย่ นแปลงทส่ี าคัญ (ถ้ามี) ซ่งึ มีผลต่อสถานการณ์แข่งขันของส่วนราชการ ร ว ม ถึ ง ก า ร
เปลีย่ นแปลงที่สร้างโอกาส สาหรับการสร้างนวตั กรรมและความร่วมมอื คืออะไร (*)

52

(11) แหล่งข้อมูลเชงิ เปรียบเทียบ
- แหล่งข้อมูลสาคัญสาหรับข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ และเชิงแข่งขันในลักษณะเดียวกันมี
อะไรบา้ ง
- แหลง่ ข้อมูลสาคญั สาหรับข้อมูลเชิงเปรียบเทยี บจากหน่วยงานอืน่ ๆ ทง้ั ในส่วนราชการ
นอกสว่ นราชการและจากตา่ งประเภทกนั มอี ะไรบา้ ง
- มีขอ้ จากดั อะไร (ถ้าม)ี ในการไดม้ าซึง่ ขอ้ มลู เหลา่ นี้

ข. บรบิ ทเชิงยทุ ธศาสตร์
(12) ความทา้ ทายเชิงยทุ ธศาสตร์และความได้เปรียบเชิงยทุ ธศาสตร์
- ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์และความได้เปรียบเชิงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการในด้านพันธกิจ
ด้านการปฏิบัตกิ าร ด้านความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม และด้านบุคลากร คอื อะไร

ค. ระบบการปรบั ปรงุ ผลการดาเนนิ การ
(13) ระบบการปรับปรงุ ผลการดาเนินการ
- องค์ประกอบสาคัญของระบบการปรับปรุงผลการดาเนินการ รวมท้ังกระบวนการประเมิน
การปรับปรุงโครงการและกระบวนการท่สี าคัญของส่วนราชการมีอะไรบา้ ง

53

สว่ นที่ 2 การดาเนนิ การพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจดั การภาครัฐ
สว่ นที่ 2-1 การพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั อยา่ งตอ่ เน่อื งตามเกณฑ์ระดบั พน้ื ฐาน

(เฉพาะกรณสี มคั รรางวัลคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั รายหมวด)

ให้อธบิ ายการดาเนนิ การตามเกณฑ์คุณภาพการบรหิ ารจัดการภาครัฐระดับพ้ืนฐาน ฉบับท่ี 2 ในหมวด
ที่ไม่ไดเ้ สนอขอรบั รางวลั โดยอธิบายใหเ้ หน็ วา่ หน่วยงานมีการรักษาระบบและพัฒนาการดาเนินการตามเกณฑ์
คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐได้เป็นอย่างดี ในแต่ละหมวดให้ครอบคลุมทุกรหัสโดยแสดงให้เห็นว่ามี
แนวโน้มของการดาเนนิ การทีต่ อ่ เนอื่ ง และย่ังยนื เขยี นอธิบายประมาณ 15 หน้า

เน้อื หาประกอบดว้ ย
 กลไกในการรักษาระบบและการพัฒนาการดาเนินการตามเกณฑ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อแสดงให้
เห็นว่าการดาเนินการมโี ครงสร้างการทางานและผ้รู ับผดิ ชอบอย่างชัดเจน เป็นระบบ
 การปรับปรุงคุณภาพการดาเนินการตามแนวทางการประเมิน ADLI เพ่ือแสดงให้เห็นว่าใน
การดาเนินการนั้นมีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement) โดยมีการ
ทบทวนผลการดาเนนิ การเพือ่ นาไปปรับปรุงใหด้ ีข้นึ
 การเชื่อมโยงระหว่างหมวดกระบวนการและผลลัพธ์การดาเนินการ โดยยกตัวอย่าง
ผลการดาเนินการและผลลัพธท์ สี่ าคญั

.................................................................................................................................................................. ............
....................................................................................................................... .......................................................
............................................................................................................................. .................................................
........................................................................................................................................................ ......................
............................................................................................................. .................................................................
............................................................................................................................. .................................................
.............................................................................................................................................. ................................
................................................................................................... ...........................................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................... ..........................................
......................................................................................... .....................................................................................
.............................................................................................................. ............................................................ ....

54

ส่วนที่ 2 - 2 การดาเนนิ การที่โดดเด่นรายหมวด

(เฉพาะกรณีสมคั รรางวลั คุณภาพการบริหารจัดการภาครฐั รายหมวด)

ให้อธิบายผลการดาเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐท่ีแสดงถึงความโดดเด่นในหมวด
ท่ียื่นสมัครรางวัล (ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ พ.ศ. 2562) เขียนอธิบายประมาณ 15 หน้า
ในลกั ษณะการพรรณาและวงเล็บหวั ขอ้ ประกอบท้ายข้อความ

แนวทางการเขยี น
 การแบ่งหวั ขอ้ การเขียน ใหค้ รอบคลมุ ถงึ ทกุ ประเด็นการพจิ ารณาในหมวดท่ีสมัครรางวลั (ระดบั ก. ข. ค.)
เช่น หมวด 1 หัวข้อ 1.1 การนาองค์การโดยผู้บริหารของส่วนราชการ จะอธิบายการดาเนินงานในเรื่อง
ก. วสิ ัยทัศน์ คา่ นยิ ม ข. การสื่อสาร ค.พนั ธกจิ และประสทิ ธิภาพขององค์กร เปน็ ต้น
 การอธบิ ายผลการดาเนินการจะต้องแสดงให้เห็นถึงการดาเนินการตามแนวทางการประเมิน ADLI
รวมท้ังต้องแสดงให้เห็นการดาเนินการอย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม โดยยกตัวอย่างประกอบการอธิบายและ
แสดงผลการดาเนินการ
 ควรแสดงให้เห็นถึงความเป็นระบบและความโดดเด่นในการดาเนินการ ซึ่งอาจนาเสนอในลักษณะ
รูปภาพประกอบ เชน่ รูปแบบการบริหารงานท่มี คี วามเชื่อมโยงกันทัง้ กระบวนการ เป็นต้น
 การเช่ือมโยงระหว่างหมวดท่ีสมัครรางวัล กับลักษณะสาคัญขององค์การ หมวดอ่ืน ๆ และผลลัพธ์
การดาเนนิ การ โดยยกตัวอย่างผลการดาเนนิ การและผลลพั ธ์ที่สาคญั

............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

55

สว่ นท่ี 2 - 3 การดาเนินการพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจดั การภาครัฐในหมวดทคี่ วรมุง่ เน้น

(เฉพาะกรณสี มัครรางวัลคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั ระดบั ดเี ด่น)

ให้อธิบายผลการดาเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหาร
จัดการภาครัฐ พ.ศ. 2562) ที่แสดงถึงความโดดเด่นของการดาเนินการในแต่ละหมวด เขียนอธิบายรวมทุกหมวด
(หมวด 1 - 6) ประมาณ 40 หน้า ในลักษณะการพรรณาและวงเล็บหัวขอ้ ประกอบท้ายข้อความ

แนวทางการเขยี น
 การแบง่ หัวขอ้ การเขียน ให้ครอบคลุมถงึ ทุกประเด็นการพิจารณาในหมวดท่ีสมัครรางวัล (ระดับ ก. ข. ค.)
เช่น หมวด 1 หัวข้อ 1.1 การนาองค์การโดยผู้บริหารของส่วนราชการ จะอธิบายการดาเนินงานในเร่ือง
ก. วสิ ัยทัศน์ ค่านยิ ม ข. การสื่อสาร ค.พนั ธกจิ และประสิทธิภาพขององคก์ ร เป็นตน้
 การอธบิ ายผลการดาเนินการจะต้องแสดงให้เห็นถึงการดาเนินการตามแนวทางการประเมิน ADLI
รวมท้ังต้องแสดงให้เห็นการดาเนินการอย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม โดยยกตัวอย่างประกอบการอธิบายและ
แสดงผลกาดาเนินการ
 ควรแสดงให้เห็นถึงความเป็นระบบและความโดดเด่นในการดาเนินการ ซ่ึงอาจนาเสนอในลักษณะ
รปู ภาพประกอบ เชน่ รูปแบบการบริหารงานทมี่ คี วามเชอื่ มโยงกนั ท้งั กระบวนการ เปน็ ต้น
 การดาเนินการท่ีเชื่อมโยงกับลักษณะสาคัญขององค์การ หมวดอื่น ๆ และผลลัพธ์การดาเนินการ
โดยยกตัวอยา่ งผลการดาเนนิ การและผลลพั ธ์ทส่ี าคัญ
................................................................................................................................................................. .............
...................................................................................................................... ........................................................
............................................................................................................................. .................................................
....................................................................................................................................................... .......................
............................................................................................................ ..................................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................................

56

สว่ นที่ 3 ผลลัพธก์ ารดาเนินการ

ให้แสดงผลลัพธ์และตัวช้ีวัดผลลัพธ์ของทุกหมวด (โดยแบ่งเป็น 7.1 ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลและ
การบรรลุพันธกิจ 7.2 ผลลัพธ์ด้านการให้ความสาคัญผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 7.3 ผลลัพธ์ด้าน
การมุ่งเน้นบุคลากร 7.4 ผลลัพธ์ด้านการนาองค์การและการกากับดูแล 7.5 ผลลัพธ์ด้านงบประมาณการเงิน
และการเตบิ โตและ 7.6 ผลลัพธ์ดา้ นประสิทธิผลของกระบวนการ และการจัดการเครอื ข่ายอุปทาน)

โดยผลลัพธ์ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับปัจจุบันและแนวโน้ม (อย่างน้อย 3 จุด ซึ่งเป็นผลลัพธ์ในแต่ละปี)
ของตัววัดหรือตัวชี้วัดที่สาคัญของผลการดาเนินการด้านต่าง ๆ รวมทั้งให้แสดงข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ
ท่ีเหมาะสม เขียนอธิบายประมาณ 5 หน้า
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................................

57

ภาคผนวก 3

แนวทางการจดั ทารายงานผลการดาเนนิ การพัฒนาองค์การ
ตามเกณฑค์ ุณภาพการบรหิ ารจัดการภาครฐั พ.ศ. 2562

58

แนวทางการจดั ทารายงานผลการดาเนินการพัฒนาองค์การ
ตามเกณฑค์ ณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั พ.ศ. 2562

รายงานผลการดาเนินการพัฒนาองค์การ (Application Report) เป็นเอกสารท่ีสะท้อนให้เห็น
ระบบบริหารจัดการและผลการดาเนินการขององค์การโดยรวม โดยใช้เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
พ.ศ. 2562 เป็นกรอบในการอธิบาย

รายงานผลการดาเนินการพัฒนาองค์การเป็นเอกสารที่ผู้ตรวจประเมินใช้ในการพิจารณาซึ่งนับว่ามี
ความสาคญั มาก เพราะในขั้นแรกของการตรวจประเมิน ผู้ตรวจประเมินจะรู้จักองค์การผ่านเอกสารรายงานผล
การดาเนินการพัฒนาองค์การเท่านั้น ซ่ึงมีเนื้อหาของระบบการบริหารจัดการในองค์การ ท่ีจัดทาข้ึนโดยตอบ
ข้อกาหนด (Requirement) ของหัวข้อ (Item) ประเด็นท่ีควรพิจารณา (Area to Address) ตลอดจนคาถามของ
เกณฑค์ ณุ ภาพการบริหารจดั การภาครัฐอย่างครบถ้วน

รายงานผลการดาเนินการพัฒนาองคก์ ารท่ีดี ควรมีลกั ษณะดังนี้
- ต้องสามารถอธิบายระบบบริหารจัดการขององค์การให้ผู้อ่านเข้าใจได้ เน่ืองจากเป็นเอกสารท่ีใช้

ส่ือสารระหว่างองค์การและผู้ตรวจประเมิน ตลอดจนองค์การอ่ืน ๆ ท่ีสนใจนาแนวทางที่ดีของ
องคก์ ารไปประยุกตใ์ ช้
- มีรูปแบบของการนาเสนอท่ีดี สามารถอธิบายระบบขององค์การภายในจานวนหน้ากระดาษ
ทก่ี าหนดไว้โดยอาจใชก้ ารบรรยาย ตาราง รูปประกอบ ตามความเหมาะสมของขอ้ มลู
- ท่ีสาคัญท่ีสุด รายงานผลการดาเนินการพัฒนาองค์การต้องถูกต้องและสะท้อนระบบจริงของ
องค์การ การเขียนรายงานผลการดาเนินการพัฒนาองค์การมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการปรับปรุง
องค์การ ไม่ใชม่ ุง่ เน้นการได้รางวลั
- ต้องเป็นหลักฐานของความมงุ่ ม่นั ความเป็นเจ้าของรว่ มกนั ของบคุ ลากรทวั่ ทงั้ องค์การ
ประโยชน์ของการจดั ทารายงานผลการดาเนินการพฒั นาองค์การ
รายงานผลการดาเนินการพัฒนาองค์การ สะท้อนถึงระบบการบริหารจัดการขององค์การการจัดทา
รายงานผลการดาเนินการพัฒนาองค์การเพ่ือใช้ภายในองค์การจะเป็นเครื่องมือสาหรับการตรวจประเมิน
องค์การด้วยตนเองเพื่อหาโอกาสในการปรับปรุงซึ่งส่งผลให้องค์การมีการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองรวมถึงจะเป็น
เครื่องมือท่ีทาให้องค์การได้รับข้อมูลป้อนกลับจากผู้ตรวจประเมินภายนอกองค์การ เพ่ือนามาจัดทา
แผนปรบั ปรุงองคก์ ารใหม้ ีระดับความสมบรู ณ์สงู ขึ้น
ความท้าทายในการจดั ทารายงานผลการดาเนินการพัฒนาองค์การ
ในการจัดทารายงานผลการดาเนินการพัฒนาองค์การ องค์การอาจต้องเผชิญและจัดการกับความท้าทาย
ต่าง ๆ ดงั น้ี

59

- ความเข้าใจเร่ืองเกณฑ์
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เป็นเกณฑ์ที่มุ่งเน้นการปรับปรุงองค์การเพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ
เป็นเคร่ืองมือหนึ่งที่สามารถนามาใช้ในการจัดการการดาเนินการขององค์การ เพ่ือช่วยในการปรับปรุงวิธีการ
ดาเนินการ ขีดความสามารถ และผลลัพธ์ขององค์การรวมท้ังใช้เป็นแนวทางในการวางแผนและเพิ่มโอกาส
ในการเรียนรู้
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐประกอบด้วยเกณฑ์ซ่ึงแสดงถึงระบบการบริหารจัดการ 7 หมวด
และประกอบดว้ ยคาถามต่าง ๆ ซ่งึ เปน็ เสมือนการช้ีนาให้องค์การดาเนินการในเรอื่ งต่าง ๆ
อยา่ งไรกต็ ามเกณฑ์ไมไ่ ดร้ ะบุวิธีการไม่ได้กาหนดเครือ่ งมือ และไม่ไดก้ าหนดว่าองค์การควรมีโครงสร้าง
อยา่ งไร แตก่ ารเลอื กใชเ้ คร่ืองมือ เทคนคิ ระบบ และโครงสร้างองค์การข้ึนอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่นประเภทและ
ขนาดขององค์การ ระดับการพัฒนาขององค์การ รวมทงั้ ขดี ความสามารถของบุคลากร
- ความสาคญั ของลักษณะสาคญั ขององค์การ
ลักษณะสาคัญขององค์การจะทาให้ผู้อ่าน ท้ังบุคลากรในองค์การ รวมถึงผู้ตรวจประเมิน เข้าใจถึงทิศทาง
การดาเนนิ งาน และปัจจัยแห่งความสาคัญในการดาเนินการขององค์การ
คาถามของลักษณะสาคัญขององคก์ าร เปน็ คาถามประเภท “อะไร” ให้องค์การกาหนดบริบทถึงส่ิงที่มี
ความสาคัญต่อองค์การ โดยจะเช่ือมโยงไปยังคาถามของเกณฑ์ในหมวดต่าง ๆ ซ่ึงเป็นคาถามประเภท
“อยา่ งไร” เพอ่ื ใหอ้ งคก์ ารอธิบายถึงวิธกี ารและกระบวนการต่อไป
- ความเชื่อมโยงระหวา่ งเกณฑ์
องค์การ บุคลากร โดยเฉพาะอย่างย่ิงคณะทางานต้องมีความเข้าใจเร่ืองความเชื่อมโยงระหว่างเกณฑ์
ซ่ึงระบลุ ักษณะของการปฏิบัตกิ ารและผลลัพธท์ ่อี งคก์ ารบรรลุ
- ความเขา้ ใจเร่ืองแนวทางการให้คะแนน
การตรวจประเมินตามแนวทางคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เป็นการวัดระดับขั้นในการพัฒนา
ขององค์การ (Maturity Level) โดยแบง่ ออกเปน็ 4 ระดบั ดงั นี้
ระดบั 1 ต้งั รบั ปัญหา
องคก์ ารในระดับนี้ มกี ารปฏิบตั ิที่มีลักษณะเปน็ กจิ กรรมมากกว่าเปน็ กระบวนการและตอบสนองความต้องการ
หรือปญั หาเฉพาะหนา้ สว่ นใหญ่
ระดบั 2 แนวทางเร่ิมเปน็ ระบบ
องค์การในระดับน้ี อยู่ในขั้นเริ่มต้นของการปฏิบัติการโดยกระบวนการท่ีสามารถทาซ้าได้ มีการประเมินผล
การปรับปรุงและเริม่ มกี ารประสานงานบ้างระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ภายในองค์การ มีการกาหนดกลยุทธ์และ
เปา้ ประสงคเ์ ชิงปรมิ าณ
ระดับ 3 แนวทางสอดคลอ้ งไปในแนวทางเดยี วกัน
องค์การในระดับนี้ มีการปฏิบัติการมีลักษณะเป็นกระบวนการท่ีสามารถทาซ้าได้และมีการประเมินผล
อย่างสม่าเสมอเพือ่ การปรบั ปรุง โดยมกี ารแบ่งปนั ความรแู้ ละการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ภายใน
องคก์ าร กระบวนการตอบสนองยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ และเป้าประสงคท์ ่ีสาคญั ขององค์การ

60

ระดับ 4 แนวทางที่มกี ารบรู ณาการกนั
องค์การในระดับนี้ มีการปฏิบัติการมีลักษณะเป็นกระบวนการที่สามารถทาซ้าได้ และมีการประเมินผล
อย่างสม่าเสมอเพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงและการปรับปรุงโดยความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นที่ได้รับ
ผลกระทบ การวิเคราะห์ นวตั กรรม และการแบ่งปันสารสนเทศและความรู้ ส่งผลให้การทางานข้ามหน่วยงาน
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้กระบวนการและตัววัดในการติดตามความก้าวหน้าของเป้าประสงค์
เชิงยทุ ธศาสตร์ และเป้าประสงค์ของการปฏบิ ตั ิการท่สี าคญั
การตอบคาถามในหมวดที่เป็นกระบวนการ (หมวด 1 ถึง หมวด 6) องค์การต้องแสดงให้เห็นถึง
แนวทางการถา่ ยทอดเพอ่ื นาไปปฏบิ ตั ิ การเรียนรู้ และการบรู ณาการในกระบวนการท่ใี ช้เพ่ือให้เกิดผลตามที่
เกณฑ์ต้ังคาถาม การตอบคาถามในหมวดที่เป็นผลลัพธ์ องค์การต้องสามารถแสดงถึงระดับของผลการดาเนินการ
แนวโน้ม ตัวเปรียบเทียบ และการแสดงผลลัพธ์ต้องสอดคล้องกับกระบวนการตามที่อธิบายไว้ในหมวดที่เป็น
กระบวนการดว้ ย

การจดั ทาลักษณะสาคัญขององค์การ

ลักษณะสาคัญขององค์การ เป็นจุดเร่ิมต้นที่เหมาะสมที่สุดในการตรวจประเมินองค์การด้วยตนเอง
และช่วยในการเขียนรายงานวิธีการและผลการดาเนินงาน ช่วยในการระบุข้อมูลสาคัญท่ีอาจขาดหายไป และ
มุ่งเนน้ ทค่ี วามตอ้ งการดา้ นผลการดาเนนิ การ รวมท้ังผลลัพธ์ด้วย

สาหรับทีมงานและบุคลากรในองค์การ ลักษณะสาคัญขององค์การจะทาให้ทุกคนในองค์การเข้าใจถึง
ทศิ ทางการดาเนินงาน และปจั จัยแหง่ ความสาคญั ในการดาเนินการขององค์การ

ทกุ คาถามในลกั ษณะสาคญั ขององคก์ ารจะเชอ่ื มโยงกับกระบวนการซ่ึงอยู่ในเกณฑ์หมวดต่าง ๆ ดังนั้น
องคก์ ารจงึ ตอ้ งชดั เจนในทกุ ประเดน็

คาถามในลักษณะสาคัญขององค์การ เปน็ คาถาม “อะไร” ซ่ึงต้องการเพียงข้อมูล องค์การไม่ต้องเขียน
อธบิ ายถึงกระบวนการในข้นั ตอนนี้

วิธีการอธิบายลักษณะสาคัญขององค์การ อาจใช้รูปแบบของการพรรณนาหรืออาจนาเสนอโดยใช้
รูปแบบของตาราง

การจดั ทารายงานหมวดกระบวนการ (หมวด 1-6)

การเขียนรายงานผลการดาเนินการพัฒนาองค์การเป็นการแสดงถึงระบบการบริหารจัดการของ
องคก์ าร ภายในเน้ือทีท่ ี่จากัด ดงั นนั้ สิ่งทีต่ ้องคานงึ ถึงมดี งั นี้

1. ตอบใหค้ รบทุกประเด็น
2. ตอบให้ครอบคลมุ
3. แสดงใหผ้ ู้อ่านเข้าใจถึงระบบการบรหิ ารจัดการขององค์การ ตอ้ งแสดงใหเ้ หน็ วา่ “ทาอยา่ งไร” ซง่ึ
รวมถงึ การแสดงตวั อยา่ งประกอบ ตามความเหมาะสมของคาถาม และการจัดสรรเนื้อที่จานวนหน้า
4. แสดงให้เหน็ วา่ การดาเนนิ การในเร่ืองตา่ ง ๆ มุ่งไปในทิศทางเดียวกนั กับองคก์ ารและบูรณาการกับ
ประเดน็ หลักขององค์การ

61

แนวทางการตอบคาถามหมวดกระบวนการ
ในหมวดที่เปน็ กระบวนการ ซงึ่ ได้แก่ หมวด 1 – 6 มีจุดประสงค์ท่ีจะวินิจฉัยกระบวนการที่สาคัญท่ีสุด

ขององค์การ
การตอบคาถามในหมวดที่เป็นกระบวนการ ต้องคานึงถึงความเช่ือมโยงจากลักษณะสาคัญของ

องค์การไปสกู่ ารดาเนนิ งานในแตล่ ะเกณฑ์ในหมวด 1 - 6 และตอ้ งคานึงถึงความเชือ่ มโยงระหว่างหมวด
คาถามในหมวดทเ่ี ปน็ กระบวนการมี 2 ลักษณะ และมแี นวทางการตอบ ดังนี้
1. การตอบคาถาม “อะไร”
คาถามในหมวด 1 - 6 ทีถ่ ามวา่ “อะไร” มี 2 แบบ คอื
แบบท่ี 1 เป็นคาถามเพียงเพื่อต้องการทราบว่า ผล แผนงาน วัตถุประสงค์ เป้าประสงค์ หรือตัวช้ีวัด

สาคัญของสว่ นราชการคืออะไร
เชน่ คาถามในหัวข้อ 2.2 (11) ตวั วัดหรอื ตัวชี้วัดผลการดาเนินการท่สี าคัญทีใ่ ชต้ ิดตามความสาเร็จและ

ประสิทธิผลของแผนปฏิบัติการมีอะไรบ้าง คาตอบ คือ ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ระยะเวลาในการ
ใหบ้ รกิ าร เปน็ ตน้

แบบท่ี 2 เป็นคาถามเก่ียวกับกระบวนการท่ีสาคัญและวิธีปฏิบัติงานของกระบวนการน้ัน ซึ่งคาถามนี้
ต้องการคาตอบทม่ี ขี อ้ มูลเพียงพอสาหรับการวนิ จิ ฉัยและสามารถให้ข้อมลู ป้อนกลบั ได้ หากคาตอบตอบเพียงว่า
“ใคร” ก็ไมเ่ พยี งพอ ควรจะตอ้ งตอบถงึ กระบวนการและวธิ ปี ฏิบตั ิงานด้วย

เช่น คาถามในหัวข้อ 6.1 ข. (5) กระบวนการสนับสนุนท่ีสาคัญของส่วนราชการมีอะไรบ้าง คาถามนี้
หากตอบเพียงแค่ชื่อกระบวนการ ไม่เพียงพอสาหรับการวินิจฉัย ควรให้ข้อมูลเพ่ิมเติมวิธีปฏิบัติงานของ
กระบวนการนน้ั พอสังเขป

2. การตอบคาถาม “อย่างไร”
ในการตอบคาถามในหมวด 1 - 6 ที่มคี าถาม “อยา่ งไร” ควรให้ข้อมูลและสารสนเทศของกระบวนการ
ทส่ี าคญั ทแี่ สดงถงึ แนวทางการถา่ ยทอดเพื่อนาไปปฏิบัตกิ ารเรียนรู้และการบูรณาการ ดังนี้
- แนวทาง (Approach-A) ซึ่งหมายถึง วิธีการท่ีใช้เพ่ือให้กระบวนการบรรลุผล ซ่ึงแนวทางนั้นต้อง
สามารถนาไปใชซ้ า้ ได้ และอยู่บนพ้ืนฐานของข้อมูลสารสนเทศที่เช่ือถือได้ ซ่ึงหมายถึงการดาเนินการอย่างเป็น
ระบบ
- การถ่ายทอดเพื่อนาไปปฏิบัติ (Deployment-D) หมายความรวมถึงความครอบคลุมและท่ัวถึง
ของการนาแนวทางไปปฏบิ ตั ิในทุกหนว่ ยงานท่คี วรนาไปใช้
- การเรียนรู้ (Learning-L) หมายถึง การปรับปรุงแนวทางให้ดีข้ึน โดยการแบ่งปันความรู้เกี่ยวกับ
นวัตกรรมและการปรับปรงุ กระบวนการภายในสว่ นราชการและหนว่ ยงานอน่ื ทเี่ กย่ี วข้อง
- การบูรณาการ (Integration-I) หมายถึง ความสอดคล้องทั้งการใช้แนวทาง ตัวชี้วัด สารสนเทศ
การวิเคราะห์ ระบบการปรับปรุงท่ีสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน เพ่ือสนับสนุนเป้าประสงค์ขององค์การ
และช่วยเสรมิ กระบวนการทั่วท้งั องค์การ
คาตอบที่ขาดสารสนเทศดังกล่าว หรือคาตอบท่ีเพียงแต่ยกตัวอย่าง จะถูกประเมินว่า “มีสารสนเทศ
นอ้ ยและไมช่ ัดเจนในระบบการบรหิ ารจดั การ”
ดังน้ัน ในการจัดทารายงานผลการดาเนินการพัฒนาองค์การของหมวดที่เป็นกระบวนการ ต้องคานึงถึง
ประเดน็ ตอ่ ไปนี้

62

1. แสดงให้เหน็ ถึงแนวทางที่เปน็ ระบบคือ เป็นแนวทางท่ีทาซ้าได้ และใช้ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อให้
เกดิ การเรยี นรู้ ซ่งึ จะสง่ ผลให้แนวทางนั้นมรี ะดบั การพฒั นามากขน้ึ

2. แสดงให้เห็นถึงการถ่ายทอดเพื่อนาไปปฏิบัติโดยแสดงถึงการนาแนวทางไปปฏิบัติในหน่วยงานต่าง ๆ
ขององคก์ ารอย่างสม่าเสมอตามกรอบระยะเวลาทก่ี าหนดไว้ รวมท้งั ปฏิบตั ิในทกุ หนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้อง

3. แสดงให้เห็นถึงการเรียนรู้กระบวนการต่าง ๆ ควรรวมวงจรการประเมินและการปรับปรุง รวมท้ัง
โอกาสของการเปลี่ยนแปลงแบบก้าวกระโดด การปรับปรุงกระบวนการควรมีการแบ่งปันกับหน่วยงาน
ทเี่ หมาะสมขององคก์ ารเพ่ือใหเ้ กิดการเรียนร้ขู ององค์การ

4. แสดงให้เห็นถึงการบูรณาการความสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกันและความกลมกลืนระหว่าง
กระบวนการ แผนงาน ตัวชวี้ ดั และการปฏบิ ตั กิ าร ทท่ี าใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลตอ่ องคก์ าร

ประเด็น 4 ข้อแรกน้ี คือการอ้างอิงตามแนวทางการให้คะแนนนั่นเอง ซึ่งเป็นสิ่งที่สาคัญที่องค์การ
ควรคานงึ ถึงนอกเหนอื จากการมุง่ เนน้ การตอบคาถามตามเกณฑเ์ พยี งอย่างเดยี ว

5. แสดงให้เหน็ ถงึ การมงุ่ เนน้ และความคงเสน้ คงวาซ่งึ จะต้องคานึงถึงสิง่ สาคัญ 4 ประการ คอื

(1) ลักษณะสาคญั ขององคก์ าร ควรระบุให้ชัดเจนว่าอะไรบา้ งทีส่ าคัญ
(2) หมวดการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ รวมถึงวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์และ

แผนปฏิบัติการต่าง ๆ ควรแสดงให้เห็นอย่างเด่นชัดถึงประเด็นท่ีมุ่งเน้นมากที่สุด และ
อธิบายวา่ การถา่ ยทอดเพือ่ นาไปปฏิบตั ิสาเร็จได้อย่างไร
(3) ในการอธิบายการวิเคราะห์และการทบทวนในระดับองค์การ ควรแสดงวิธีการที่องค์การ
วเิ คราะห์และทบทวนสารสนเทศเก่ียวกบั ผลการดาเนนิ การเพ่อื กาหนดลาดบั ความสาคญั
(4) หมวด 6 การปฏิบัติการ ควรแสดงให้เห็นอย่างเด่นชัดถึงความสามารถพิเศษ และ
กระบวนการทางานท่มี ีความสาคัญตอ่ ผลการดาเนนิ การโดยรวมขององคก์ าร

การแสดงถึงความมุ่งเน้นและความคงเส้นคงวาในหัวข้อในหมวด 1 - 6 และการติดตามตัวช้ีวัด
ท่เี ก่ียวขอ้ งกนั ในหวั ข้อในหมวด 7 จะช่วยปรบั ปรุงผลลพั ธ์การดาเนนิ การ

6. ตอบข้อกาหนดของหัวข้อต่าง ๆ ให้สมบูรณ์และต้องตอบประเด็นพิจารณาทุกประเด็นการตอบ
คาถามแต่ละคาถามในประเด็นพจิ ารณาอาจตอบแยกกนั หรือรวมกันก็ได้

แม้ว่าคาตอบในแต่ละหัวข้อควรสมบูรณ์ในตัวเองมากที่สุดเท่าที่จะเป็นได้ อย่างไรก็ตามคาตอบของแต่ละ
หัวข้อควรเสริมซึง่ กันและกัน ดังนั้น จึงควรใช้การอ้างอิงคาตอบในหัวข้ออ่ืน ๆ ตามความเหมาะสมแทนที่จะให้
สารสนเทศซา้ เดมิ โดยใส่เนือ้ หาของกระบวนการทส่ี าคัญไวใ้ นหัวขอ้ ทเ่ี ปน็ หลัก

ตัวอย่างเช่น เร่ืองการเรียนรู้และการพัฒนาบุคลากรควรรายงานอย่างละเอียดในหัวข้อ 5.2 ค.
และหากต้องกล่าวถึงเรื่องการเรียนรู้และการพัฒนาอีกในหัวข้ออื่น ควรอ้างอิงหัวข้อ 5.2 ค. โดยไม่ต้องอธิบาย
รายละเอียดซา้ เดิม

สารสนเทศทข่ี าดหายไป จะถือวา่ เป็นความบกพร่องในระบบการจดั การผลการดาเนนิ งานขององค์การ
7. ใช้รูปแบบท่ีกระชับเน่ืองจากรายงานผลการดาเนินการพัฒนาองค์การมีการจากัดจานวนหน้าจึงควร
ใชห้ น้ากระดาษให้ได้ประโยชนม์ ากทส่ี ดุ และนาเสนอสารสนเทศให้กระชับ โดยใช้แผนภูมิแสดงการไหลของงาน
(Flowcharts) ตาราง (Tables) และหัวขอ้ สนั้ ๆ (Bullets)

63

องค์การสามารถเลือกใช้รูปแบบต่าง ๆ ในการจัดทารายงานได้โดยไม่มีข้อจากัดใด ๆ ทั้งในรูปแบบ
พรรณนา ตาราง และรปู ภาพ โดยมีข้อแนะนากวา้ ง ๆ ถงึ รปู แบบตา่ ง ๆ ดงั นี้

การตอบแบบพรรณนา เหมาะสาหรับคาถามท่ีต้องการให้รายละเอียดท่ีครบถ้วน วิธีการทางาน
ข้อดอ้ ยของการตอบแบบพรรณนา คอื ใชเ้ นอ้ื ที่บรรยายมาก และผู้เขยี นต้องมที กั ษะในการเขยี นบรรยาย

การตอบโดยใช้ตาราง นิยมใช้กับคาถามท่ีต้องการคาตอบในรูปของตัวเลข หรือต้องการอธิบาย
เหตุผลในแต่ละชอ่ งตอ่ เน่ืองกนั แต่การตอบในรูปแบบน้ีอาจไม่เหมาะสมกับคาถามประเภทที่มีรายละเอียดมาก
หรือตอ้ งการเห็นขอ้ มูลในภาพรวม

การตอบโดยใช้แผนภาพหรือแผนผัง (Flow หรือ Model) นิยมใช้กับคาถามที่ต้องการอธิบาย
ภาพรวม ความเชอ่ื มโยงของแตล่ ะขั้นตอน ข้อดอ้ ยของการตอบคาถามในรูปแบบนี้ คือ ผู้อ่านไม่เข้าใจแผนภาพ
หรือแผนผังท่ีแสดง จึงตอ้ งอธบิ ายแผนภาพประกอบด้วย

การใช้รูปแบบใด ๆ หรือใช้หลายรูปแบบผสมผสานกัน ขึ้นกับความเหมาะสมของแต่ละคาถามและ
ความถนัดของผู้จัดทารายงานผลการดาเนินการพัฒนาองค์การ ท้ังนี้ ผู้เขียนต้องมั่นใจว่ารูปแบบการตอบ
คาถามใด ๆ ที่ใช้สามารถให้ข้อมูลที่ตอบสนองต่อคาถามหรือข้อกาหนดของเกณฑ์ และเป็นสิ่งท่ีผู้อื่นสามารถ
อ่านและทาความเข้าใจไดง้ า่ ย

การจดั ทารายงานหมวดผลลัพธ์ (หมวด 7)

หมวด 7 ให้สารสนเทศ “ในขณะท่ีเกิดข้ึนจริง” (ตัวช้ีวัดความก้าวหน้า) เพ่ือประเมินและปรับปรุง
กระบวนการผลผลิตและบริการโดยมีความสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกันกับยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ
โดยรวม
แนวทางการตอบคาถามหมวดผลลพั ธ์สิง่ ทตี่ ้องคานึงถึงมดี งั น้ี

 เน้นปจั จัยท่สี าคัญสุด
 ใหข้ ้อมูลจากตวั ชว้ี ดั ท่ีระบไุ ว้ในหมวดท่เี ป็นกระบวนการ (หมวด 1 - 6)
 แผนภาพ แผนภูมิ ซ่ึงควรจะมีมากกว่า 90% ของเน้ือหาในหมวดน้ี เน่ืองจากส่วนใหญ่เป็นข้อมูล

เชิงปริมาณ ซง่ึ การพรรณนาไมส่ ามารถทาใหเ้ หน็ ภาพได้อย่างชดั เจน
การตอบคาถามในหมวด 7 ตอ้ งแสดงข้อมูลระดับของผลการดาเนินการ อัตราการปรับปรุง และข้อมูล
เชิงเปรียบเทียบของตัววัดหรือดัชนีช้ีวัดท่ีสาคัญของผลการดาเนินการขององค์การ รวมถึงข้อมูลที่แสดงความ
ครอบคลุมของการปรับปรุงผลการดาเนินการซ่งึ สมั พันธ์โดยตรงกบั การถ่ายทอดเพื่อนาไปปฏิบัติและการเรียนรู้
ขององคก์ าร
หากมีการแบ่งปันความรู้ในเร่ืองกระบวนการปรับปรุงและมีการถ่ายทอดเพ่ือนาไปป ฏิบัติอย่าง
กวา้ งขวาง ควรจะแสดงผลลพั ธท์ ส่ี อดคล้องกันด้วย
ดังน้ัน ในการจัดทารายงานผลการดาเนินการพัฒนาองค์การของหมวดท่ีเป็นผลลัพธ์การดาเนินการ
ตอ้ งคานงึ ถงึ ประเด็นตอ่ ไปนี้

64

1. ม่งุ เนน้ ผลลพั ธ์การดาเนนิ งานขององค์การท่สี าคัญ
การรายงานผลลัพธ์ควรครอบคลุมข้อกาหนดท่ีสาคัญที่สุดต่อความสาเร็จขององค์การ ตามที่แสดงให้

เห็นอย่างเด่นชัดแล้วในลักษณะสาคัญขององค์การ และหมวดการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ หมวดการให้
ความสาคัญกบั ผู้รับบรกิ ารและผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสีย รวมทง้ั หมวดการมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการ

2. ให้ความสาคัญกับข้อกาหนดท่ีสาคัญ 4 ประการ ของแนวทางการให้คะแนนเพ่ือการรายงาน
ผลลัพธท์ มี่ ปี ระสทิ ธิผล

 ระดับผลการดาเนินการในปัจจุบันโดยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย (Level - Le) ควรรายงานใน
มาตรวัดท่ีชัดเจน เช่น คะแนน จานวนความผิดพลาด จานวนความถูกต้อง ร้อยละความพึงพอใจ
ของผรู้ บั บริการ เปน็ ต้น

 แนวโน้มของผลการดาเนินการ (Trend - T) เพื่อแสดงทิศทางของผลลัพธ์และอัตราการ
เปล่ยี นแปลงของผลการดาเนินงานของสว่ นราชการ

 ผลการดาเนินการเปรียบเทียบ (Comparison- C) เพื่อแสดงผลลัพธ์เมื่อเปรียบเทียบกับ
สว่ นราชการหรอื องค์การอน่ื ทม่ี ีภารกจิ คลา้ ยคลงึ กัน หรือท่ีเลอื กมาอยา่ งเหมาะสม

 ความครอบคลมุ และความสาคัญของผลลัพธ์ (Linkage - Li) เพื่อแสดงว่ามีการรายงานผลลัพธ์
ท่ีสาคัญท้ังหมดและแยกตามกลุ่มท่ีจาแนกไว้ เช่น ตามความสาคัญของผู้รับบริการและ
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย บุคลากร กระบวนการ และกลุ่มการให้บริการ

3. แสดงขอ้ มลู แนวโน้มตลอดชว่ งเวลาท่ีมีการตดิ ตามแนวโนม้
แนวโนม้ ควรแสดงถงึ ผลการดาเนนิ งานในอดตี และปัจจบุ นั โดยไมเ่ ป็นการคาดการณ์ผลการดาเนนิ งานใน

อนาคต
ช่วงเวลาระหว่างข้อมูลควรมีความเหมาะสมสาหรับตัววัดแต่ละตัวสาหรับผลลัพธ์ที่สาคัญ ๆ ควรแสดง

ข้อมูลใหม่ด้วยแม้ว่าจะยังไมเ่ หน็ แนวโนม้ หรอื ผลเปรยี บเทยี บทีช่ ดั เจนกต็ าม
4. ใชร้ ปู แบบทกี่ ระชับ เช่น กราฟ และตาราง
ผลลพั ธ์สว่ นใหญเ่ ปน็ ขอ้ มลู เชงิ ปริมาณ และมีจานวนมาก จึงควรนาเสนอในรูปแบบท่ีกระชับโดยใช้

กราฟและตารางและเพอื่ ความสะดวกในการตีความควรแสดงขอ้ มูลรายละเอยี ดของกราฟและตารางดว้ ย
ในการแสดงกราฟ ควรคานึงถงึ ประเด็นดังตอ่ ไปนี้
 ระบุตัวเลขกากับกราฟสาหรับการอ้างอิงถึงกราฟในเน้ือหาโดยใช้ตัวเลขกากับให้สอดคล้องกับ
หวั ขอ้ เช่น รูปที่ 3 ในหวั ขอ้ 7.1 ควรใชต้ ัวเลขกากับรูปเปน็ 7.1–3
 ให้ข้อมูลรายละเอียดของแกนทั้งสองแกนของกราฟและหน่วยวัดอย่างชัดเจนเช่น ลูกศรช้ีข้ึน
แสดงให้เหน็ ว่าตวั วัดมีแนวโน้มดี
 แสดงผลลัพธห์ ลาย ๆ ปีและมเี สน้ แสดงแนวโน้มข้อมลู
 แสดงการเปรียบเทียบทีเ่ หมาะสมอยา่ งชัดเจน
ผลลัพธ์ที่เกิดในช่วงเวลาใดเวลาหน่ึง หรือเปรียบเทียบกับองค์การอ่ืน เช่น การนาเสนอในรูป

อตั ราส่วนสาหรบั ขอ้ มูลทีม่ ีความแตกต่างของขนาด “ควรปรบั ใหเ้ ปน็ ฐานเดียวกนั ”
ตวั อย่างเชน่ การรายงานแนวโนม้ ความปลอดภัยเปน็ จานวนวนั ทางานท่ีสูญเสียต่อจานวนพนักงาน

100 คน จะมีความหมายมากกว่าการรายงานจานวนวันทางานที่สูญเสียไปทั้งหมด โดยเฉพาะถ้าจานวน
พนักงานไม่คงท่ีในช่วงเวลาท่ีรายงานผล หรือในกรณีที่มีการเปรียบเทียบผลลัพธ์กับองค์การอ่ืนที่มีจานวน
พนกั งานต่างกัน

65

ระด ับความพึงพอใจ (%)5. อธิบายเนอื้ หาของผลลพั ธด์ ว้ ย
นอกเหนือจากกราฟและตาราง ควรมีคาอธิบายของผลลัพธ์น้ัน ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากมีการ

เปลี่ยนแปลงท่มี นี ยั สาคญั ไม่ว่าจะในด้านบวกหรอื ด้านลบก็ตาม องค์การควรมคี าชแ้ี จงประกอบ

ตวั อย่างการแสดงกราฟพร้อมกับคาอธบิ ายเนอ้ื หาของผลลัพธ์

100 กรม 1
95 กรม ก.

90

85 กรม 2

80

75

70

ตัวอย่า2ง5ก4ร6าฟ2ใน54ห7ัวข้อ25748.2 (2ม5ติ 4ิด9า้ น2ค5ณุ 50ภาพกปาี รพใ.หศบ้ .ริการ)
แสดงระดบั ความพึงพอใจของผ้รู ับบรกิ าร

คาอธบิ ายเน้ือหาของผลลัพธ์
 กรม ก. มีระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการในปัจจุบันอยู่ที่ 94% มีแนวโน้มการปรับปรุงที่ดี
ข้นึ ทกุ ปี ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2546 - 2550
 ระดับเทียบเคียง กรม 1 มีระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการในปัจจุบันดีท่ีสุด อยู่ที่เกือบ
100% และรกั ษาระดบั ไวไ้ ดอ้ ยา่ งคงที่
 ระดับเทียบเคียง กรม 2 มีระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการในปัจจุบันอยู่ที่ 85% แม้จะมี
แนวโนม้ การปรับปรุงทดี่ ีขนึ้ ทุกปี แต่ยังตา่ กวา่ กรม ก.

ระดบั ชัน้ ของเกณฑค์ ุณภาพการบริหารจดั การภาครฐั

P. ลักษณะสาคญั ขององค์การ 2 ขอ้
7 หมวด
1. การนาองคก์ าร 18 หวั ขอ้
39 ประเด็น
1.1 การนาองคก์ ารโดยผูบ้ ริหารของ 1.2 การกากับดูแลองคก์ ารและ 89 ขอ้
สว่ นราชการ การสร้างคุณูประการต่อสังคม

ก. วสิ ยั ทัศน์ คา่ นิยม ข. การส่อื สาร ค. พันธกจิ และประสิทธภิ าพชององค์การ

(1) (2) (3)

66

ตัวอยา่ งเกณฑ์คณุ ภาพการบริหารจดั การภาครัฐ
67

ภาคผนวก 4
แบบฟอร์มการสมัคร
(เกณฑ์ PMQA 4.0)

ในการส่งแบบฟอร์มการสมัครรางวัล แบ่งเปน็ 2 รปู แบบ ดงั นี้
กรอกในแบบฟอร์มออนไลน์ ทางเวบ็ ไซต์ awards.opdc.go.th

(1) แบบฟอรม์ ท่ี 3 (ขั้นตอนที่ 1)
(2) แบบฟอรม์ ที่ 4 (ขั้นตอนท่ี 1)
ดาวนโ์ หลดไฟลแ์ บบฟอรม์ นามากรอกข้อมลู ใหส้ มบูรณ์ แล้วส่งโดย
อพั โหลดไฟล์ ทางเวบ็ ไซต์ awards.opdc.go.th/awardsregister/
(1) แบบฟอรม์ ท่ี 2 (ข้ันตอนท่ี 1)
(2) แบบฟอร์มที่ 5 (ข้นั ตอนท่ี 2)
(3) แบบฟอรม์ ที่ 6 (ขั้นตอนท่ี 2)

68

ผูส้ ง่ มอบ พันธมิตร และผู้ให้ความรว่ มมือ: แบบฟอร์มท่ี 2 ลกั ษณะสาคัญขององค์การ 1. ภารกจิ /บริการหลัก:
(ผู้ส่งมอบ หมายถงึ องค์การหรอื กล่มุ บคุ คลที่สง่ มอบทรพั ยากร (โดยสรปุ 1 - 2 หนา้ ) คณุ ลักษณะโดดเด่นของภารกจิ /บริการ
ในการดาเนนิ การของสว่ นราชการ
พันธมิตร หมายถงึ องคก์ ารหรอื กลมุ่ บคุ คลที่มีความร่วมมือใน พนั ธกจิ : ผรู้ ับบรกิ าร:
การดาเนนิ งานของส่วนราชการอย่างเปน็ ทางการ เพอ่ื วิสยั ทศั น์: ความตอ้ งการ:
เปา้ ประสงคท์ ช่ี ดั เจน
ผใู้ ห้ความรว่ มมือ หมายถึง องค์การหรือกล่มุ บคุ คลที่ใหค้ วาม ค่านิยม:
ร่วมมอื กับสว่ นราชการ ในการสนับสนนุ การปฏบิ ตั กิ ารหรือ วัฒนธรรมองค์การ: (การกระทา ค่านิยม ความเชื่อ เจตคติ
กจิ กรรมบางอยา่ ง หรือเปน็ ครั้งคราว โดยมเี ป้าหมายระยะส้นั ท่ี อดุ มการณข์ องสมาชิกในองค์การ รวมถึงพฤติกรรมท่ีมีการปฏิบัติกัน
สอดคลอ้ งกัน มกั ไมเ่ ป็นทางการ) อย่างสม่าเสมอ เป็นบรรทัดฐานของกลุ่มที่คาดหวังหรือสนับสนุนให้
สมาชิกปฏิบัติตามและเป็นส่ิงที่ทาให้องค์การหนึ่งแตกต่างจาก
ความต้องการ: องคก์ ารอนื่ ๆ)
ผ้มู สี ว่ นไดส้ ว่ นเสีย: งบประมาณ:
(กลุม่ ทกุ กล่มุ ทไ่ี ด้รับผลกระทบหรอื อาจจะได้รับผลกระทบจาก รายได:้
การปฏบิ ตั กิ ารและความสาเรจ็ ของส่วนราชการ) จานวนบคุ ลากร:
กฎหมาย ระเบยี บ ข้อบังคบั :
ความต้องการ: ระบบการปรบั ปรุงผลการดาเนนิ การ:

สมรรถนะหลกั ขององค์การ: สภาพแวดลอ้ มการแข่งขัน:
(เรอ่ื งที่ส่วนราชการมีความรู้ ความชานาญ ความเชยี่ วชาญมาก (ภาวะ หรอื สภาพแวดล้อมของการแขง่ ขันในขณะน้ัน
ท่ีสุด และสรา้ งความไดเ้ ปรียบใหก้ บั ส่วนราชการ) รวมถงึ แนวโน้มการแข่งขันในอนาคต ซึ่งจะชว่ ยในการ
ตัดสนิ ใจในการแข่งขนั และวางกลยุทธ์ทเ่ี หมาะสมของ
แหล่งขอ้ มลู เชงิ เปรยี บเทยี บ: ผบู้ รหิ ารองค์การ)

การเปลย่ี นแปลงความสามารถในการแขง่ ขนั : ความไดเ้ ปรียบเชิงยทุ ธศาสตร:์ (ดา้ นพนั ธกจิ ปฏบิ ตั ิการ บุคลากร สงั คม)

ความท้าทายเชิงยทุ ธศาสตร:์ (ดา้ นพันธกจิ ปฏบิ ตั กิ าร บคุ ลากร สงั คม)

69

แบบฟอร์มที่ 3
แบบประเมนิ สถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 ดว้ ยตนเอง

การประเมินสถานะของหน่วยงานภาครัฐในการเป็นระบบราชการ 4.0 เป็นการประเมินความเป็นระบบราชการ 4.0
ของหน่วยงาน ซ่ึงจะทาให้ทราบว่าตนเองอยู่ในระดับใด มีจุดเด่น หรือควรปรับปรุง พัฒนาในเรื่องใด ดังน้ัน หน่วยงาน
ควรประเมินสถานะของตนเองตามความเป็นจริง เพื่อให้ผลการประเมินสะท้อนการดาเนินงานที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งจะทาให้
หน่วยงานไดร้ ับข้อเสนอแนะที่เปน็ ประโยชน์ และตรงกับความต้องการทแ่ี ทจ้ รงิ ของหน่วยงานในการพฒั นาสูร่ ะบบราชการ 4.0

แบบฟอรม์ ท่ี 3 แบบประเมนิ สถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 ด้วยตนเอง ประกอบด้วย 6 หมวด หมวดละ 4 ข้อย่อย
แต่ละข้อให้หน่วยงานประเมินโดยเลือกข้อที่ตรงกับการดาเนินงานที่เกิดขึ้นจริง(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)และต้องตอบคาถาม
ในข้อน้ันๆ โดยยกตัวอย่างการดาเนินงานทส่ี าคัญ/เก่ียวข้องกับพันธกิจหลกั หรืออธิบายโดยสรปุ เฉพาะสงิ่ ทเี่ ปน็ สาระสาคัญ
สะทอ้ นคณุ ค่าทเ่ี กดิ ขึน้ จากการดาเนินงานของหนว่ ยงาน

หมวด 1 การนาองคก์ าร
1.1 ระบบการนาองค์การทสี่ ร้างความยั่งยนื
 1.1.1 ผูบ้ ริหารกาหนดทศิ ทางในการสร้างขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ

(ด้านเศรษฐกิจ/สังคม/สาธารณสขุ /ส่งิ แวดลอ้ ม) (ระบุอย่างนอ้ ย 2 ด้าน)
- ดา้ นเศรษฐกิจ เชน่ ....................................
- ด้านสงั คม เช่น..........................................
- ดา้ นสง่ิ แวดล้อม เช่น..........................................
- ด้านสาธารณสขุ เชน่ ..........................................
 1.1.2 ผ้บู รหิ ารกาหนดทศิ ทางองค์การทร่ี องรับพนั ธกิจปจั จบุ ัน โดยทศิ ทางขององค์การ
คอื …...................
 1.1.3 ผู้บรหิ ารกาหนดทศิ ทาง เพ่ือใหเ้ กิดการสรา้ งนวัตกรรมที่มุ่งเน้นผรู้ บั บริการและผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสยี
โดยทศิ ทางคือ.............
 1.1.4 ผบู้ รหิ ารได้คานึงถึงผลกระทบตอ่ สังคม ทั้งเชิงบวก เชงิ ลบ ทงั้ ทางตรงและทางอ้อม
เช่น…..................................
 1.1.5 ผู้บริหารกาหนดทิศทาง เพื่อให้เกิดการสร้างวัฒนธรรมที่มุ่งเนน้ ผูร้ ับบริการและผ้มู ีสว่ นได้ส่วนเสีย
โดยทิศทางคือ..............
 ยังไมม่ ีการดาเนินการในเรื่องดังกลา่ ว
 อยู่ในระหวา่ งดาเนนิ การ
1.2 การป้องกันการทจุ ริตและสรา้ งความโปร่งใส
 1.2.1 มีการกาหนดนโยบายและสรา้ งวฒั นธรรมดา้ นป้องกนั ทุจริตและสร้างความโปรง่ ใส
เช่น...................
 1.2.2 หนว่ ยงานมแี นวปฏบิ ัตทิ ีเ่ ปน็ เลิศ หรือมตี ้นแบบในดา้ นความโปรง่ ใสในการปฏบิ ตั งิ านทีส่ ามารถ
เป็นตัวอย่างทดี่ ีในการดาเนนิ การได้ เชน่ .......................
 1.2.3 มกี ารนาเทคโนโลยี ดิจทิ ัลมาใชใ้ นการตดิ ตามรายงานผลเก่ียวกับการป้องกนั การทจุ รติ
และสร้างความโปรง่ ใส ไดแ้ ก่............
 1.2.4 มมี าตรการเก่ียวกบั การป้องกันการทจุ ริตและสรา้ งความโปร่งใส คอื .................................

70

 1.2.5 การเปดิ เผยผลการดาเนินงาน การบริหารงบประมาณและอื่นๆ ส่สู าธารณะ
ผ่านชอ่ งทาง.................................................................................
(กรณีเปิดเผยผา่ นเว็บไซต์ กรุณาแนบลงิ้ ค์ทส่ี ามารถเขา้ ถึงข้อมูลไดโ้ ดยตรง)

 1.2.6 หนว่ ยงานไดร้ ับรางวลั ด้านความโปรง่ ใสจากองค์การภายนอกท้ังในและต่างประเทศ
ได้แก.่ ............................

 ยังไม่มีการดาเนินการในเรื่องดงั กลา่ ว
 อย่ใู นระหว่างดาเนินการ

1.3 การมุ่งเนน้ ผลสมั ฤทธ์ิผา่ นการสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มของบคุ ลากร และเครือขา่ ยท้ังภายในและภายนอก

1.3.1 มีกลไก/แนวทางในการส่งเสริมใหเ้ ครือขา่ ยภายนอก (ภาคเอกชน ประชาชน ท้องถนิ่ )
เข้ามารว่ มสร้างนวัตกรรม ได้แก่

 นวัตกรรมการทางานทที่ ารว่ มกบั เครือข่าย คือ................................................

 นวตั กรรมการใหบ้ ริการท่ีทางานรว่ มกับเครอื ขา่ ย คือ...................................
 1.3.2 มีกลไก/แนวทางทเ่ี อ้ือใหเ้ ครือขา่ ยทั้งภายในและภายนอก เขา้ มามสี ว่ นร่วมในการทางาน

โดยมีกลไก/แนวทาง คือ............เครือข่ายทเี่ ข้ามามสี ่วนรว่ มคือ..........................................
 1.3.3 มีการสรา้ งนวัตกรรมเชงิ นโยบายโดยมีเครอื ขา่ ยภายนอก คือ….................ร่วมดาเนนิ การ

โดยนโยบายน้นั คอื …........................................
สามารถแก้ปัญหาท่ซี บั ซอ้ นในระดับประเทศ เรื่อง….................................
 1.3.4 มีแนวทางสือ่ สาร/สร้างสภาพแวดล้อมท่ีกระตุ้นในบุคลากรมีส่วนร่วม มีความมุง่ ม่ัน
ต้งั ใจใหเ้ กิดการทางานอย่างสัมฤทธผิ์ ล เช่น...................................................................................
 ยังไมม่ ีการดาเนนิ การในเรื่องดงั กล่าว
 อยู่ในระหวา่ งดาเนินการ

1.4 การคานึงถงึ ผลกระทบต่อสงั คมทัง้ ในระยะสน้ั และระยะยาว
 1.4.1 มมี าตรการป้องกัน/แกไ้ ขผลกระทบเชิงลบตอ่ สังคม ท่ีอาจเกดิ ข้นึ จากการดาเนนิ งานของ

หน่วยงาน โดยมาตรการนัน้ คือ….........

1.4.2 มีการรายงานผลกระทบท่ีอาจเกิดขึ้นจากการดาเนนิ งานของหนว่ ยงานเพ่อื นาไปส่กู ารแก้ไข
ปญั หาอยา่ งทนั การณ์ โดย

 การใช้เทคโนโลยีและดิจิทลั ท่ที ันสมยั ได้แก่……....................................................

 การใช้เครือขา่ ย…..................................ในการเฝา้ ระวงั เรื่อง….............................
 1.4.3 มีการกาหนดตัวชว้ี ัดการดาเนินการดา้ นการจดั การผลกระทบเชิงลบต่อสงั คม เช่น..........

และมกี ารตดิ ตามผลดาเนนิ การอยา่ งต่อเน่อื งทุก..........เดือน/ปี/........
 1.4.4 มกี ารตดิ ตามผลการดาเนนิ การตามมาตรการจัดการผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคม สาธารณสขุ

สง่ิ แวดล้อม (ตอบอย่างนอ้ ย 2 ดา้ น)

- มาตรการจัดการด้านเศรษฐกจิ คอื ……................ผลการตดิ ตาม คือ….........….....

- มาตรการจดั การด้านสงั คม คือ……......................ผลการตดิ ตาม คือ….................

- มาตรการจดั การด้านสาธารณสขุ คอื ……............ผลการติดตาม คือ…….............

- มาตรการจดั การด้านสง่ิ แวดลอ้ ม คือ……............ผลการตดิ ตาม คอื …................
 ยังไมม่ ีการดาเนินการในเรื่องดังกลา่ ว
 อยู่ในระหวา่ งดาเนนิ การ

71

หมวด 2 การวางแผนเชงิ ยุทธศาสตร์
2.1 แผนยุทธศาสตร์ทต่ี อบสนองความทา้ ทาย สรา้ งนวัตกรรม การเปลี่ยนแปลง และมงุ่ เน้นประโยชน์สขุ

ประชาชน
2.1.1 หนว่ ยงานของท่านมแี ผนยุทธศาสตรท์ ี่สามารถตอบสนองต่อ

 ความท้าทาย คือ…….......โดยมยี ุทธศาสตรท์ ต่ี อบสนองความท้าทายไดแ้ ก่……....
 การเปล่ียนแปลงในอนาคต คอื ……............โดยมียุทธศาสตรท์ ่ตี อบสนองการเปลี่ยนแปลง
ในอนาคต ไดแ้ ก่…….............…
 ความรับผิดชอบตอ่ สงั คม คือ……..โดยมียทุ ธศาสตร์ที่ตอบสนองความรับผดิ ชอบต่อสังคม
ไดแ้ ก่…….....
2.1.2 มแี ผนยุทธศาสตรแ์ ละแผนงานที่
 สร้างขดี ความสามารถในการแข่งขนั เชน่ ……………………………………………………
 สร้างโอกาสเชงิ กลยทุ ธ์ใหมๆ่ เชน่ ……………………………………………………………..
2.1.3 กระบวนการสร้างยุทธศาสตร์ มีการคานึงถงึ
 การมสี ่วนร่วมของบุคลากร เครือขา่ ย โดย…..........
 ประโยชน์/ความตอ้ งการของผรู้ ับบริการและผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสีย โดย….........................
 สภาพแวดล้อมทง้ั ภายในและภายนอก เชน่ .......................................................
 ยงั ไมม่ ีการดาเนินการในเรื่องดังกลา่ ว
 อย่ใู นระหวา่ งดาเนนิ การ
2.2 เปา้ หมายเชิงยทุ ธศาสตร์ทง้ั ระยะส้นั และระยะยาวสอดคลอ้ งพันธกจิ และยทุ ธศาสตรช์ าติ
2.2.1 มีการวิเคราะหผ์ ลกระทบของเปา้ หมายและตวั ช้วี ดั ของหนว่ ยงานต่อการบรรลุยทุ ธศาสตร์ชาติ
ท้ังในระยะสน้ั และระยะยาว เชน่
 เปา้ หมายเชิงยุทธศาสตร์ของหนว่ ยงาน คือ.........ผลกระทบ คือ…....................
กระทบตอ่ ยุทธศาสตร์ ดา้ น…...........................
 ตัวช้ีวดั คอื ……........ผลกระทบ คือ…..........กระทบต่อยุทธศาสตร์ ดา้ น…............
2.2.2 มกี ารกาหนดเปา้ หมายยุทธศาตรแ์ ละตัวช้ีวดั ระยะสั้นและระยะยาว โดย
 เป้าหมายระยะสั้น คือ….......… มตี ัวชว้ี ัดเชิงยุทธศาสตรท์ ่ตี อบเป้าหมาย ได้แก.่ ..............
 เป้าหมายระยะยาว คอื .........…. มีตวั ช้ีวัดเชิงยทุ ธศาสตร์ทต่ี อบเป้าหมาย ได้แก.่ ...............
2.2.3 มกี ารวิเคราะห์ความเสีย่ ง/ผลกระทบ และมีแผน/แนวทางที่รองรบั ความเสย่ี ง/ผลกระทบ
 ความเสย่ี งที่อาจเกดิ ขน้ึ และส่งผลตอ่ แผนงานและเป้าประสงค์ต่อหน่วยงานโดยหน่วยงาน
มคี วามเสยี่ งท่สี าคัญ เชน่ …………แผนงาน/แนวทางทรี่ องรับความเสี่ยงคือ…......
 ผลกระทบที่อาจเกดิ ขึ้นและสง่ ผลตอ่ ประเทศด้านเศรษฐกจิ /สงั คม/สาธารณสขุ /สง่ิ แวดล้อม
โดยหน่วยงานมคี วามเสีย่ งท่ีสาคญั เช่น…………....……แผนงาน/แนวทางทร่ี องรบั ผลกระทบ
คือ….......................
 ยงั ไม่มีการดาเนินการในเร่ืองดังกลา่ ว
 อยู่ในระหว่างดาเนนิ การ

72

2.3 แผนขบั เคล่อื นในทุกระดบั และทกุ ภาคส่วน
 2.3.1 แผนการดาเนินงาน/แผนปฏิบตั กิ าร มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ทกุ ด้าน และมีการกาหนด

ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน ระยะเวลา และผ้รู ับผิดชอบท่ชี ดั เจน

 2.3.2 แผนการดาเนนิ งาน/แผนปฏบิ ตั ิการ มกี ารคานึงถงึ ประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล (ทานอ้ ยได้มาก)
การลดต้นทนุ เพ่ิมความรวดเรว็ และสรา้ งคุณค่าต่อประชาชน โดยใช้วธิ กี าร เช่น
- ใช้ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยดี ิจิทลั มาปรับปรุงกระบวนการ/การบรกิ าร ได้แก่..........................
- การปรบั ปรุงกระบวนการ ลดการทาซา้ และความผิดพลาด ได้แก่ .........................................
- การใชน้ วัตกรรมในการปฏบิ ัติงาน ไดแ้ ก่ ........................................................

2.3.3 แผนดาเนินงาน/แผนปฏบิ ตั ิการ สนบั สนนุ ความสาเร็จของยุทธศาสตร์
 แผนฯ มกี ารบรู ณาการร่วมกับแผนการพฒั นาขดี ความสามารถและอตั รากาลัง
โดย.............................................................
 แผนฯ รองรับการเปลีย่ นแปลงด้านเทคโนโลยี โดย..............................................................
 แผนการใชท้ รัพยากรและการใช้ขอ้ มลู ผ่านเครือขา่ ยท้ังภายในและภายนอก
โดย..............................................................

 ยงั ไมม่ ีการดาเนนิ การในเร่ืองดังกล่าว
 อย่ใู นระหว่างดาเนินการ
2.4 การตดิ ตามผลการบรรลุเป้าหมาย การแกไ้ ขปัญหา และการรายงานผล
 2.4.1 หนว่ ยงานมีแผนในการเตรียมความพร้อมต่อการปรับเปลย่ี นแผนในเชิงรกุ เพื่อให้เกิดผลลพั ธ์

ทดี่ ีในการแก้ไขปญั หาทซ่ี ับซ้อนและเกดิ ผลกระทบในวงกว้าง (Big Impact) ไดแ้ ก่
- สถานการณท์ ่ีอาจส่งผลกระทบตอ่ แผน คือ…......................................................
- การเตรียมความพรอ้ ม ไดแ้ ก.่ ................................................................................
- แผนการจัดการเชงิ รุก ได้แก่…...............................................................................
2.4.2 มรี ะบบในการตดิ ตามผลการดาเนินการตามแผนการดาเนินงาน/แผนปฏิบตั ิการ
 หน่วยงานมรี ะบบในการตดิ ตามผลการดาเนนิ การตามแผนยุทธศาสตร์ ท้ังระยะสนั้
และระยะยาว ไดแ้ ก่…...................................
 หน่วยงานมีระบบรายงานผลการดาเนินงานต่อสาธารณะ ไดแ้ ก่…....................................
 2.4.3 หนว่ ยงานมกี ารคาดการณ์ผลการดาเนินงานตามแผน และทบทวนแผน เพ่ือใหท้ นั
ต่อการเปลย่ี นแปลง ไดแ้ ก่.......................................
- การคาดการณ์ ได้แก่…...........................................................................................
- การปรับแผนใหส้ อดคล้องกับการคาดการณ์ ได้แก่…........................................
 ยงั ไม่มีการดาเนินการในเร่ืองดงั กลา่ ว
 อยใู่ นระหว่างดาเนินการ

73

หมวด 3 การใหค้ วามสาคญั กับผ้รู บั บริการและผู้มีส่วนได้สว่ นเสีย
3.1 ระบบข้อมลู และสารสนเทศทที่ ันสมัยเพ่ือนามาใชป้ ระโยชน์ในการพฒั นาการใหบ้ ริการและการเข้าถึง
 3.1.1 มกี ารใช้ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศมาวิเคราะหแ์ นวโนม้ การเปล่ยี นแปลงทจ่ี ะเกดิ ขึ้น

โดยแนวโนม้ การเปลี่ยนแปลงน้ัน คอื .....................เพื่อนาไปสู่การวางนโยบายเชิงรกุ
คือ…………………………………………… และผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลของผรู้ ับบริการและผู้มีส่วนได้
สว่ นเสีย เพ่ือวางนโยบายเชิงรุกท่มี ุ่งเน้นตอบสนองความต้องการของผ้รู ับบรกิ าร
และผู้มีส่วนได้สว่ นเสยี ทง้ั ในปัจจบุ นั และอนาคต
 3.1.2 มกี ารค้นหาและรวบรวมข้อมูลความต้องการและความคาดหวงั ของผรู้ ับบรกิ ารและผู้มีส่วนได้
ส่วนเสยี โดยใชข้ อ้ มลู และสารสนเทศ ได้แก่….......................นามาตอบสนองความต้องการ
ของผรู้ ับบริการและผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสยี คือ..........................
 3.1.3 มีการใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยี ดิจิทลั คือ...............................มาใชใ้ นการคน้ หา รวบรวมข้อมลู
และนามาวเิ คราะหค์ วามต้องการและความคาดหวงั ผูร้ บั บริการและผู้มีสว่ นได้ส่วนเสีย
คอื ………………………………………
 ยังไมม่ ีการดาเนนิ การในเร่ืองดังกลา่ ว
 อยู่ในระหวา่ งดาเนนิ การ
3.2 การประเมนิ ความพึงพอใจและความผกู พนั ของผรู้ ับบรกิ ารและผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียเพื่อนามาใช้ประโยชน์
3.2.1 มีการนาผลการประเมินความพงึ พอใจและความผูกพันและมีการรวบรวมข้อมูลความต้องการของ
กล่มุ ผู้รบั บริการและผู้มีสว่ นได้สว่ นเสียจากฐานขอ้ มูลแหลง่ อ่นื ๆ
 ฐานขอ้ มูลนน้ั ได้แก่…..............
 มาใช้เพือ่ วางแผนยทุ ธศาสตร์การให้บรกิ าร หรือ สรา้ งนวตั กรรมการให้บริการคือ................
3.2.2 มีการนาผลประเมินความพงึ พอใจและความผกู พันของผู้รบั บริการและผมู้ ีสว่ นได้ส่วนเสีย
มาวเิ คราะห์ เพอื่
 หาแนวทางมาวเิ คราะห์เพ่ือแก้ไขปัญหาเชิงรุก โดยปัญหาคือ……….....………
วธิ กี ารแก้ไขเชิงรุกคือ…...................…
 หาความต้องการของผ้รู ับบริการและผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสีย
โดยผู้รับบรกิ ารที่มคี วามสาคัญ 2 ลาดับแรก คือ........... มคี วามตอ้ งการ คือ.................
และผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสียทีม่ คี วามสาคญั 2 ลาดับแรก คอื ...........มคี วามตอ้ งการ คือ.................
 หาแนวทางการปรบั ปรุงกระบวนการทางาน คือ....................................................
 ยังไม่มีการดาเนนิ การในเร่ืองดงั กลา่ ว
 อยใู่ นระหวา่ งดาเนินการ

74

3.3 การสรา้ งนวตั กรรมการบริการท่สี ร้างความแตกต่าง และสามารถตอบสนองความตอ้ งการเฉพาะ
 3.3.1 มกี ารสร้างนวตั กรรมทสี่ ามารถตอบสนองความตอ้ งการของผูร้ บั บริการและผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสียได้

เฉพาะกล่มุ คือ..............................
 3.3.2 มีการสรา้ งนวัตกรรมท่สี ามารถตอบสนองความต้องการของผู้รบั บริการและผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสียได้

ภาพรวม คอื ..................................
 3.3.3 มีการสร้างนวัตกรรมทใ่ี ห้ผ้รู บั บริการและผ้มู สี ่วนได้สว่ นเสยี สามารถออกแบบการรับบริการได้

เฉพาะบุคคล คือ.........................
 ยงั ไม่มีการดาเนินการในเร่ืองดงั กล่าว
 อยู่ในระหวา่ งดาเนนิ การ
3.4 กระบวนการแกไ้ ขข้อร้องเรียนทีร่ วดเร็ว และสร้างสรรค์
 3.4.1 มกี ารตอบสนองกลับและแกป้ ัญหาเบื้องตน้ อยา่ งรวดเรว็ ทันกาล โดย…...................

เพอื่ สรา้ งความมนั่ ใจในการแก้ไขข้อรอ้ งเรยี น
3.4.2 มีมาตรฐานการจัดการข้อรอ้ งเรียน

 กาหนดผ้รู บั ผดิ ชอบชัดเจน
 ระบขุ น้ั ตอนการรับเรื่องร้องเรียน
 กาหนดระยะเวลาการจดั การข้อร้องเรียน
 การติดตาม และประเมินผลการจดั การข้อร้องเรียน
 3.4.3 มกี ารรวบรวมข้อมลู สถิตขิ ้อร้องเรยี นมาเรียนรู้ และวิเคราะห์หาทางแก้ไขเพื่อลดอตั รา
ข้อร้องเรยี นท่ีพบบ่อย/ร้องเรียนซ้า โดยข้อร้องเรยี นท่ีพบบ่อย/ร้องเรียนซา้ คือ…..............
และมแี นวทางในการแก้ไข คือ…................
 3.4.4 มกี ารตอบสนองกลับต่อขอ้ ร้องเรยี นภายในระยะเวลาทีก่ าหนด โดยวธิ .ี ..................

 3.4.5 มกี ารใชเ้ ทคโนโลยใี นการสนับสนนุ ระบบการจัดการข้อร้องเรียนท่สี รา้ งความพึงพอใจ
ให้แก่ผู้รบั บริการ คือ ….......................

 ยงั ไม่มีการดาเนนิ การในเร่ืองดังกลา่ ว
 อยู่ในระหว่างดาเนนิ การ

หมวด 4 การวัด วเิ คราะห์ และจัดการความรู้
4.1 การใช้ข้อมูลในการกาหนดตวั วัดเพ่อื ติดตามงาน และการเปดิ เผยข้อมูลต่อสาธารณะ

4.1.1 มีการกาหนดสารสนเทศทีส่ าคัญเพื่อ
 ประกอบการตัดสนิ ใจของผู้บริหาร โดยสารสนเทศนั้น คือ…................
 การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ โดยสารสนเทศนั้น คือ…................
 การใช้ประโยชน์/สรา้ งการรบั รู้ต่อประชาชน โดยสารสนเทศนั้น คือ…................

75

4.1.2 การจัดการข้อมลู และสารสนเทศเปน็ ดังน้ี
 มคี วามน่าเชื่อถือ
 มคี วามพร้อมใชง้ านและขอ้ มูลทันสมัย
 สะดวกตอ่ ผ้ใู ช้งาน

 4.1.3 ข้อมูลสารสนเทศถูกนามาวิเคราะห์ ประมวลผลและสามารถนาไปเผยแพรใ่ นรูปแบบท่ีเข้าใจง่าย
เพอ่ื การใช้ประโยชนข์ องสาธารณะ โดยขอ้ มูลสารสนเทศ
ไดแ้ ก่...............................................................

 ยังไม่มีการดาเนินการในเรื่องดังกลา่ ว
 อยู่ในระหวา่ งดาเนนิ การ
4.2 การวเิ คราะหผ์ ลจากข้อมูล และตัววัด เพ่ือนาไปสกู่ ารพัฒนาและแก้ไขปัญหา
 4.2.1 หนว่ ยงานมีการรวบรวมและจัดทาข้อมลู ขนาดใหญ่ (big data) เพอ่ื นามาใชใ้ นการปรบั ปรงุ /

พฒั นาการทางาน โดยข้อมลู คอื ……......
 4.2.2 หนว่ ยงานมกี ารวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ เพ่ือนาไปใชค้ ้นหาสาเหตุของปัญหา คือ…..........และ

แก้ปญั หาเชงิ นโยบายโดย…........
 4.2.3 หนว่ ยงานมกี ารนาเทคโนโลยี มาใชใ้ นการจัดการข้อมลู ขนาดใหญ่ เพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์

และคาดการณผ์ ลลัพธ์ โดยเทคโนโลยีทน่ี ามาใช้ คอื …........... สามารถตอบสนองตอ่ สถานการณ์
และคาดการณผ์ ลลพั ธ์ได้ โดยยกตัวอย่างสถานการณแ์ ละผลลพั ธ์…..................
 4.2.4 มกี ารวเิ คราะหข์ ้อมูลผลการดาเนนิ งานโดยเปรียบเทยี บกับคูเ่ ทยี บที่สาคญั เชน่ การเปรยี บเทียบ
ขอ้ มูล............................ กบั คู่เทียบ คือ........................
 ยงั ไม่มีการดาเนินการในเร่ืองดงั กล่าว
 อยูใ่ นระหวา่ งดาเนนิ การ
4.3 การจัดการความรู้ และใช้องค์ความรู้เพอื่ เรยี นรู้ พัฒนา แกป้ ญั หา และสรา้ งนวัตกรรม
 4.3.1 หน่วยงานมีการถา่ ยทอดความรอู้ ยา่ งเป็นระบบ โดยวธิ .ี ................................................
 4.3.2 หน่วยงานมีการเช่อื มโยงองค์ความรกู้ ับองค์กรภายนอก เชน่ ..........................
เพื่อนาไปใช้สร้าง/พฒั นานวตั กรรม/แก้ปัญหา คือ...............................
 4.3.3 หน่วยงานมกี ระบวนการจดั การความรู้ (รวบรวม วเิ คราะห์) คือ................................
 4.3.4 หน่วยงานมกี ารนาองค์ความรู้ ด้าน....................ไปใช้ในการปรับปรุงการทางาน/แกป้ ัญหา
จนเกดิ เปน็ แนวปฏิบัตทิ ดี่ ี (Best Practices)/มาตรฐานใหม่ คอื .......................
 ยงั ไม่มีการดาเนินการในเรื่องดงั กลา่ ว
 อยใู่ นระหวา่ งดาเนินการ
4.4 การบรหิ ารจดั การข้อมลู สารสนเทศ และปรบั ระบบการทางานให้เป็นดจิ ทิ ลั
 4.4.1 มีการวิเคราะห์ความเส่ียงของระบบเทคโนโลยดี ิจทิ ลั โดยความเสย่ี งนน้ั
คอื ...................................
 4.4.2 หนว่ ยงานมีแผนงานรองรับการเปลย่ี นรูปแบบการทางานเพ่ือรองรบั ระบบเทคโนโลยดี ิจทิ ัล
โดยสาระสาคัญของแผน คือ.................................

76

 4.4.3 หน่วยงานมีการนาเทคโนโลยีดิจทิ ัล มาใช้เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพของกระบวนการทางาน
(อย่างน้อย 2 ข้อ) เชน่
- การลดตน้ ทุน ระบุ เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลที่นามาใช้ ได้แก่ ..................................................
- ตดิ ตามการทางานอย่างรวดเร็ว ระบุ เทคโนโลยดี ิจิทัลท่นี ามาใช้ ไดแ้ ก่ ....................
- สรา้ งนวัตกรรมการใหบ้ รกิ าร ระบุ เทคโนโลยีดิจิทลั ท่ีนามาใช้ ได้แก่ ...........................
- การเชอ่ื มโยงเครือขา่ ยและข้อมลู ระบุ เทคโนโลยีดิจิทัลท่ีนามาใช้ ได้แก่ .....................

 4.4.4 แผนป้องกนั ระบบฐานข้อมูล และปฏบิ ตั กิ ารบนไซเบอร์ ให้สรปุ สาระสาคัญของแผนป้องกนั
ระบบฐานข้อมลู และปฏบิ ัติการบนไซเบอร์ พอสังเขป.................................

 4.4.5 หนว่ ยงานมตี ัววดั เพื่อใช้ติดตามแผนงานรองรับการเปลีย่ นรูปแบบการทางานเพอื่ รองรบั ระบบ
เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล เชน่ ............................

 4.4.6 แผนรองรับต่อภยั พบิ ัต/ิ ภาวะฉกุ เฉนิ ใหย้ กตวั อยา่ งแนวทางปฏิบตั เิ ม่อื เกิดภยั พิบตั /ิ ภาวะฉุกเฉนิ
พอสังเขป.................................

 ยังไม่มีการดาเนินการในเรื่องดังกล่าว
 อยู่ในระหว่างดาเนินการ

หมวด 5 การมงุ่ เนน้ บคุ ลากร
5.1 ระบบการจัดการบคุ ลากรที่ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์และสรา้ งแรงจูงใจ
 5.1.1 มกี ารประเมินขีดความสามารถและอตั รากาลังดา้ นบุคลากร โดย (ระบอุ ย่างน้อย 2 ภารกิจ)

ภารกิจท่ี 1 คือ ................. และขีดความสามารถของบุคลากรท่ีตอบสนองภารกิจ คือ................
ภารกจิ ท่ี 2 คอื ................. และขดี ความสามารถของบุคลากรทตี่ อบสนองภารกจิ คอื ...............
ภารกจิ ท่ี 3 คอื ................. และขดี ความสามารถของบคุ ลากรที่ตอบสนองภารกิจ คอื ................
ภารกิจท่ี 4 คอื ................. และขีดความสามารถของบคุ ลากรทีต่ อบสนองภารกจิ คอื ................

5.1.2 มรี ะบบการบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล โดยมนี โยบายการส่งเสรมิ ดา้ นต่างๆ ดังนี้:
 แนวทางที่เสรมิ สร้างความคลอ่ งตัวในการทางานและตัดสนิ ใจ โดยแนวทางน้ัน คือ….............
 ส่งเสรมิ ใหบ้ ุคลากรริเรมิ่ สร้างสรรค์ เพื่อใหเ้ กดิ การสรา้ งนวตั กรรมการทางาน
โดยวิธกี าร.......................................

 5.1.3 เปิดโอกาสใหบ้ ุคลากรมสี ว่ นร่วมในการวางแผนการพฒั นา โดย................................................
 5.1.4 มกี ารกระต้นุ ให้บุคลากรเกดิ แรงจูงใจ เพื่อการทางานที่มปี ระสทิ ธภิ าพสูง

โดย....................................
 5.1.5 มกี ารวางแผนกาลังคน และมีการเตรยี มพรอ้ มรองรบั การเปลย่ี นแปลงในอนาคต

โดยการเปล่ียนแปลงในอนาคตทส่ี ่งผลกระทบตอ่ องค์การ คือ.........................
มกี ารวางแผนกาลังคน โดย...................
 ยงั ไม่มีการดาเนินการในเรื่องดงั กลา่ ว
 อยใู่ นระหว่างดาเนนิ การ

77

5.2 ระบบการทางานท่ีมีประสิทธภิ าพ คลอ่ งตัว มุ่งผลสัมฤทธิ์
 5.2.1 มกี ารทางานเปน็ ทีมที่ขา้ มกลุ่ม/กอง/สานกั เพ่ือผลสาเรจ็ ของงานร่วมกนั โดย.....................

(ระบรุ ูปแบบของทีมงาน/องค์ประกอบของทีม) และมีผลสาเรจ็ ของงาน คือ ............................
 5.2.2 มกี ารสรา้ งสภาพแวดล้อมท้ังทางกายภาพและบรรยากาศที่สนบั สนุนให้เกดิ การทางาน

ทีค่ ลอ่ งตัว สามารถทางานได้สะดวกและเกดิ ประสทิ ธิภาพสงู ระดับองคก์ าร
โดยวิธกี าร.......................................
 5.2.3 มีการสรา้ งความร่วมมอื กับเครือข่ายและหนว่ ยงานภายนอก คือ.....................................
เพือ่ ร่วมกนั แก้ปัญหาทีซ่ บั ซอ้ นได้อยา่ งมีประสทิ ธิผล คือ........................
5.2.4 มีการสร้างสภาพแวดล้อม ท่ีเอื้อให้บุคลากร
 มคี วามรบั ผิดชอบ/กลา้ ตัดสนิ ใจ โดย....................................
 การเขา้ ถงึ ข้อมูล เพื่อใชส้ นับสนนุ การทางานและการแกป้ ัญหา โดย...................................
 ยงั ไม่มีการดาเนินการในเร่ืองดังกล่าว
 อย่ใู นระหวา่ งดาเนนิ การ
5.3 การสร้างวัฒนธรรมการทางานท่ีเป็นมอื อาชีพ การสร้างความผกู พนั และความเปน็ เจา้ ของให้แกบ่ ุคลากร
 5.3.1 มีการคน้ หาปจั จัยที่ส่งผลตอ่ ความผูกพันของบุคลากร โดยปัจจัยทสี่ ่งผลตอ่ ความผูกพัน
ได้แก่............................................
 5.3.2 ปลูกฝังค่านิยมในการทางานที่เป็นมืออาชีพ โดยวิธกี าร…....................
 5.3.3 มกี ารปรบั กระบวนการทางความคิด (mindset) ของข้าราชการในทุกระดับ เพื่อใหม้ ุง่ เนน้ การ
ทางานในเชิงรกุ และสรา้ งมลู ค่าเพ่อื ประโยชนส์ ขุ ของประชาชน หนว่ ยงาน และสว่ นรวม
โดย.....................................
 5.3.4 มกี ารเปิดโอกาสใหบ้ ุคลากรนาเสนอความคิดรเิ ร่มิ โดย.........................และมีการสนบั สนนุ
ความคดิ ริเร่มิ ดังกลา่ ว โดย.............
 5.3.5 มีการนาปจั จยั ทีส่ ่งผลต่อความผกู พนั ของบุคลากร มาสร้างให้เกดิ แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน
โดย........................
 ยงั ไม่มีการดาเนนิ การในเร่ืองดงั กลา่ ว
 อยูใ่ นระหว่างดาเนินการ
5.4 ระบบการพัฒนาบุคลากร
 5.4.1 มีการพัฒนาบคุ ลากรใหม้ ที ักษะ และสามารถปฏิบัติงานได้หลากหลาย
โดย......................................
5.4.2 มแี ผนการพัฒนาบุคลากรท่ีตอบสนองยุทธศาสตร์ และสมรรถนะหลักขององค์การ
 ยุทธศาสตร์ ได้แก.่ .................... แผนพัฒนาบคุ ลากรท่ตี อบสนองยุทธศาสตร์
คอื .......................
 สมรรถนะหลัก ได้แก่................ แผนพฒั นาบคุ ลากรท่ตี อบสนองสมรรถนะหลัก
คอื ..................
5.4.3 มกี ารพัฒนาของบุคลากร ในด้านตา่ งๆ ทคี่ รอบคลุมเร่อื ง
 ความรู้ ความสามารถในการแก้ไขปญั หา ไดแ้ ก่…................................................
 ความรู้และทักษะดจิ ิทลั ได้แก.่ ..............................................................................

78

 5.4.4 มกี ารพฒั นาบุคลากร และผนู้ าใหม้ ีความรอบรู้ เป็นนักคิด มคี วามสามารถในการตัดสินใจ
มีความคิดเชิงวิกฤตทจ่ี ะพรอ้ มรบั กับปญั หาท่ีมีความซบั ซ้อน โดย.................................

 ยงั ไมม่ ีการดาเนนิ การในเรื่องดงั กลา่ ว
 อยใู่ นระหวา่ งดาเนนิ การ

หมวด 6 การม่งุ เนน้ ระบบการปฏบิ ัติการ
6.1 กระบวนการทางานท่เี ชื่อมโยงต้งั แตต่ น้ จนจบสผู่ ลลัพธท์ ต่ี อ้ งการ
 6.1.1 หน่วยงานมีการออกแบบ/ปรับปรงุ กระบวนการทางานทม่ี ุง่ สู่ความเปน็ เลิศ

โดยกระบวนการนั้น คือ….................................. ม่งุ สู่ความเปน็ เลิศในเรือ่ ง…..........................
6.1.2 หน่วยงานมีการตดิ ตามควบคุมกระบวนการ โดย

 ใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ัล เช่น................................................
 ใช้ตัวชวี้ ัด เช่น................................................................
 ใชข้ อ้ มลู คือ....................................... รว่ มกบั เครือข่าย คือ......................................
 6.1.3 หน่วยงานออกแบบกระบวนการโดยคานงึ ถงึ ความเชอ่ื มโยงต้ังแต่ตน้ จนจบกระบวนการ แบบ
end to end Process คดิ เป็นรอ้ ยละ.........................ของกระบวนการท้ังหมด ท่ีตอ้ งเชื่อมโยง
กบั หลายหนว่ ยงาน ระบุ (รายช่อื กระบวนการท่ีมีความเช่ือมโยงและหนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง)
1) กระบวนการ……............………… หนว่ ยงานที่เกย่ี วขอ้ ง ได้แก่……................………..
2) กระบวนการ……............………… หน่วยงานทีเ่ กยี่ วข้อง ไดแ้ ก่……................………..
3) กระบวนการ……............………… หนว่ ยงานท่เี กยี่ วขอ้ ง ไดแ้ ก่……................………..
 6.1.4 หนว่ ยงานมีผลงานทโี่ ดดเดน่ ท่ีเกดิ จากการบรู ณาการการทางานร่วมกบั หน่วยงานตา่ งๆ
โดยมีการนาระบบเทคโนโลยดี ิจทิ ลั เข้ามาใชใ้ นการยกระดับประสิทธิภาพกระบวนการ ได้แก่
- เทคโนโลยีทีน่ ามาใช้ คือ…...............................
- กระบวนการที่ถกู ยกระดบั คือ…...............................
- ผลงานทีโ่ ดดเดน่ คอื …...............................
 ยงั ไมม่ ีการดาเนนิ การในเร่ืองดังกลา่ ว
 อยใู่ นระหวา่ งดาเนินการ
6.2 การสร้างนวตั กรรมในการปรับปรงุ ผลผลิต กระบวนการ และบริการ
6.2.1 ในรอบปที ี่ผา่ นมาหนว่ ยงานไดพ้ ัฒนานวตั กรรม/นาดจิ ิทลั เข้ามาใช้ เพื่อยกระดับประสิทธิภาพ
ในการปฏิบตั งิ าน/การให้บริการ
 กระบวนการหลกั คือ.....................................นวตั กรรม/ดจิ ทิ ัลทนี่ ามาใช้
คอื ......................................
 กระบวนการสนับสนุน คือ..............................นวัตกรรม/ดจิ ทิ ัลท่นี ามาใช้
คอื .....................................
 6.2.2 ในรอบปีที่ผ่านมาหน่วยงานมีการปรับปรุงกระบวนหลกั และกระบวนการสนบั สนุน
โดย................................

79

6.2.3 ในรอบปีทผ่ี ่านมาหนว่ ยงานมีผลงานนวตั กรรมทีโ่ ดดเดน่ ท่ีสามารถแก้ไขปัญหาท่ีซับซอ้ น
หรือสง่ ผลกระทบสูงตอ่ ผ้รู ับบริการและผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสยี
 นวตั กรรม คอื ....................................................................................
 ปัญหาท่ีซบั ซ้อน หรือสง่ ผลกระทบสงู คือ.......................................

 ยงั ไมม่ ีการดาเนินการในเร่ืองดงั กลา่ ว
 อยใู่ นระหวา่ งดาเนินการ
6.3 การลดต้นทนุ และการใช้ทรัพยากรเพื่อเพ่ิมประสิทธภิ าพและขีดความสามารถในการแขง่ ขนั

6.3.1 ในรอบปที ่ีผ่านมาหนว่ ยงานไดม้ กี ารวิเคราะห์ต้นทนุ ของกระบวนการ ดงั น้ี
 กระบวนการหลกั ที่สาคญั 2 ลาดบั แรก
- กระบวนการหลกั ทส่ี าคัญลาดบั แรก คือ............................................
ต้นทนุ คอื ................................................
เป้าหมายในการลดต้นทนุ ระยะสน้ั ไดแ้ ก่ …...................... ระยะยาว ได้แก่..................................
- กระบวนการหลกั ทสี่ าคญั ลาดบั ทีส่ อง คือ...................................
ต้นทุน คือ...................................
เป้าหมายในการลดตน้ ทุนระยะสน้ั ไดแ้ ก่ …....................... ระยะยาว ได้แก่ ................................
 กระบวนการสนับสนุนทส่ี าคัญ 2 ลาดับแรก
- กระบวนการสนบั สนุนทีส่ าคัญลาดบั แรก คือ...................................
ตน้ ทุน คอื ...................................
เป้าหมายในการลดตน้ ทุนระยะส้ัน ได้แก่ …....................... ระยะยาว ได้แก่ ................................
- กระบวนการสนับสนนุ ท่สี าคัญลาดับที่สอง คือ...................................
ต้นทนุ คอื ...................................
เปา้ หมายในการลดต้นทุนระยะสน้ั ไดแ้ ก่ …....................... ระยะยาว ได้แก่ ................................

6.3.2 หน่วยงานมกี ารใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพือ่ สรา้ งนวัตกรรมในการลดตน้ ทนุ
โดยนวัตกรรมนั้น คือ....................โดยสามารถลดตน้ ทุน ได้อยา่ งไรระบุ..................................

6.3.3 นาผลการวเิ คราะห์ไปใช้ในการลดตน้ ทนุ และเพิ่มประสทิ ธิภาพในการทางาน โดย (ระบุ)
 การกาหนดนโยบาย/มาตรการ คอื ........................
 การใชเ้ ทคโนโลยี คือ...............................................
 แบ่งปนั ทรัพยากร คือ.................................................

 6.3.4 หนว่ ยงานมีการใชข้ ้อมลู เทยี บเคียง (Benchmarks) เพ่อื เพ่ิมขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน
โดยข้อมลู เทียบเคยี งที่นามาใช้คือ..................
และสามารถเพิม่ ขีดความสามารถในการแขง่ ขัน อยา่ งไรระบุ….................

 ยงั ไม่มีการดาเนินการในเร่ืองดงั กลา่ ว
 อยูใ่ นระหว่างดาเนินการ

80

6.4 การมุ่งเนน้ ประสิทธผิ ลท่ัวทง้ั องค์การ และผลกระทบต่อยทุ ธศาสตรช์ าติ
6.4.1 หน่วยงานมีการกาหนดตัวชว้ี ัดในการตดิ ตาม ควบคุมกระบวนการ (Leading Indicator)
ซึง่ เป็นตวั ชี้วัดท่ีส่งสัญญาณเพื่อการคาดการณค์ วามสาเรจ็ ของกระบวนการ ระบุ
 กระบวนการ คือ.................................................
 ตัวชีว้ ัด คอื .........................................................

 6.4.2 หนว่ ยงานกาหนดตัวชว้ี ัดท่แี สดงถึงความสาเรจ็ ของการจดั การกระบวนการที่มีประสิทธิภาพ
และประสิทธผิ ล และสง่ ผลกระทบต่อยทุ ธศาสตร์ประเทศในดา้ นต่างๆ เชน่
- ตัวชี้วัดดา้ นเศรษฐกจิ คอื ....................................
- ตัวชว้ี ัดด้านสังคม คอื ..........................................
- ตัวชวี้ ดั ดา้ นสิ่งแวดล้อม คือ.................................
- ตวั ชว้ี ัดดา้ นสาธารณสุข คอื .................................

 6.4.3 ในปีท่ผี า่ นมาหน่วยงานมีผลงานท่โี ดดเด่น ทส่ี ่งผลต่อความสาเร็จในการบรรลุยุทธศาสตร์ชาติ
ท่สี าคญั โดยผลงานทโี่ ดดเดน่ น้นั คอื ...........................
ส่งผลอยา่ งไรต่อยทุ ธศาสตร์ชาติ อธบิ ายโดยสรุป.......................................

6.4.4 หนว่ ยงานมีการเตรยี มการเชิงรุกเพ่ือลดผลกระทบที่อาจเกิดขึน้ ต่อประสิทธผิ ลของการดาเนนิ งาน
โดย
 มีการจัดการความเส่ยี ง โดยความเสี่ยงนน้ั คือ...............................
และจัดการโดยวิธีการ...................
 เตรยี มความพร้อมเพ่อื รบั มอื กบั ภยั พบิ ัติและภาวะฉุกเฉิน โดยภยั พิบตั /ิ ภาวะฉกุ เฉนิ
คือ....................มกี ารเตรียมความพร้อม คือ............................

 ยังไม่มีการดาเนนิ การในเร่ืองดังกล่าว
 อยู่ในระหวา่ งดาเนนิ การ

81

แบบฟอร์มที่ 4
ตัวชว้ี ัดหมวด 7

แบบฟอร์มท่ี 4 ตัวช้ีวัดหมวด 7 ประกอบด้วย กลุ่มตวั วดั ผลลัพธท์ ่ีแสดงถึงการพัฒนา
สู่ระบบราชการ 4.0 ท้ังหมด 6 มิติ

- ในแตล่ ะมิติ ใหน้ าเสนอตวั ช้วี ัดมา 5 ตวั
- ตอ้ งนาเสนอตวั ชีว้ ัดในกลุ่มตวั วัดสาคญั (กลุ่มตัววดั ทีม่ ีเครอ่ื งหมายดอกจนั *)

อยา่ งน้อย 1 ตัว
- ในแต่ละกลมุ่ ตวั วดั สามารถนาเสนอตัวชีว้ ัดไดม้ ากกวา่ 1 ตวั แต่ไม่เกิน 3 ตวั
- ไม่ควรนาเสนอตวั ช้วี ัดเดยี วกนั ซา้ ในหัวข้ออ่ืนๆ

7.1 การบรรลผุ ลลัพธ์ของตัวช้วี ัดตามพนั ธกิจ
เป็นการวัดความสาเร็จของการดาเนินการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการ

ซ่ึงตัวช้ีวัดดังกล่าวต้องมีความสัมพันธ์กับพันธกิจหลักและยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ รวมทั้งตัววัดท่ี
ดาเนินการตามนโยบายและแผนของรัฐบาลที่กาหนดไว้ประจาปี และตัววัดร่วม ตัววัดด้านการ
ดาเนนิ การตามกฎหมาย และการบรรลตุ ามแผนยุทธศาสตรข์ องสว่ นราชการ

1. ตวั วดั ตามภารกจิ หลกั *

ตวั ชว้ี ดั ของการบรรลุผลลพั ธข์ องตามพันธกจิ หรอื ภารกจิ ของส่วนราชการตามทีร่ ะบุไว้

(Function base, Area base)

ตวั ชีว้ ัด ค่าเปา้ หมาย ผลการดาเนนิ งาน %
ปลี า่ สดุ
2560 2561 2562 ความสาเร็จ คะแนน
(ตัวเลข)

2. ตวั วดั ตามนโยบายและแผนรัฐบาล
ตัวช้วี ัดของการบรรลผุ ลลพั ธ์ของตามนโยบายและแผนรฐั บาล (Agenda base)

ตวั ชว้ี ดั คา่ เปา้ หมาย ผลการดาเนนิ งาน %
ปลี า่ สดุ 2560 2561 2562 ความสาเร็จ
คะแนน
(ตวั เลข)

82

3. การดาเนนิ การดา้ นกฎหมาย
ตัวช้วี ดั ของการบรรลุผลการดาเนนิ การดา้ นกฎหมาย

ตวั ช้วี ัด ค่าเป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน %
ปลี ่าสดุ 2560 2561 2562 ความสาเรจ็
คะแนน
(ตวั เลข)

4. ตวั วัดของการบรรลตุ ามแผนยุทธศาสตร์*

ตัวช้วี ัดของการบรรลผุ ลตามแผนยทุ ธศาสตร์

ตัวชีว้ ดั คา่ เปา้ หมาย ผลการดาเนนิ งาน %
ปีล่าสดุ ความสาเรจ็
คะแนน

(ตัวเลข) 2560 2561 2562

5. การบรรลตุ ามยุทธศาสตร์อน่ื ๆ เชน่ การบรรลุตวั วดั รว่ ม การจัดอันดบั เปน็ ต้น
ตัวชีว้ ดั ของการบรรลุตามยุทธศาสตร์อนื่ ๆ ตามนโยบายของส่วนราชการหรอื ของรัฐบาล เช่น ตัววัดรว่ ม ตัววดั ท่ี
แสดงถงึ การปรับปรงุ ระดับในการจดั อนั ดับโดยองคก์ รภายนอกประเทศในดา้ นตา่ ง ๆ เป็นต้น

ตัวชี้วัด ค่าเปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน %
ปีล่าสุด 2560 2561 2562 ความสาเร็จ
คะแนน
(ตวั เลข)

7.2 การบรรลุผลลพั ธ์ตามตัวช้วี ัดดา้ นผูร้ ับบรกิ าร และประชาชน
เป็นการวัดผลด้านการให้ความสาคญั กบั ผ้รู ับการบริการ ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย และประชาชนจากการบริการ

ส่วนราชการในด้านต่าง ๆ ได้แก่ ความพึงพอใจ ความไม่พึงพอใจ ความผูกพัน การเติบโตของโครงการที่
มุ่งเนน้ ประโยชนแ์ กก่ ลุ่มผรู้ ับบริการ การสรา้ งสัมพันธ์และความรว่ มมือ

1. ความพงึ พอใจของผรู้ บั บรกิ ารและผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสีย*

ตัวช้วี ัดของการบรรลผุ ลลพั ธข์ องความพงึ พอใจของผรู้ บั บริการและผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสียจากการใชบ้ รกิ ารของสว่ นราชการ

ตัวช้วี ดั คา่ เปา้ หมายปี ผลการดาเนินงาน %
ล่าสุด 2560 2561 2562 ความสาเรจ็
คะแนน
(ตวั เลข)

83

2. ผลของความผกู พนั และการใหค้ วามรว่ มมือ*

ตวั ชี้วดั ทแ่ี สดงออกถงึ ความผกู พันและการใหค้ วามรว่ มมอื จากประชาชนและผเู้ ข้ามารบั การบริการจากสว่ นราชการ

ตวั ช้วี ดั คา่ เปา้ หมาย ผลการดาเนนิ งาน %
ปีลา่ สดุ 2560 2561 2562 ความสาเร็จ
คะแนน
(ตวั เลข)

3. ผลการดาเนินการด้านโครงการประชารัฐ
ตัวชว้ี ัดทแี่ สดงการบรรลุผลหรอื ความสาเรจ็ ของการดาเนินการดา้ นโครงการประชารัฐ เช่น ยอดการจาหน่ายสินคา้ ภายใต้
โครงการประชารฐั

ตวั ชีว้ ดั คา่ เปา้ หมาย ผลการดาเนนิ งาน %
ปลี า่ สดุ 2560 2561 2562 ความสาเรจ็
คะแนน
(ตัวเลข)

4. ผลจากการปรบั เปล่ยี นด้านการบรกิ ารที่เกดิ ประโยชน์ตอ่ ผู้รับบริการท่ีสามารถวดั ผลได้
ตัวชว้ี ัดที่สะท้อนถึงผลจากการปรบั เปล่ียนด้านการบรกิ าร และนวัตกรรมการบริการทเี่ กดิ ประโยชน์ตอ่ ผรู้ บั บริการที่สามารถ
วดั ผลได้

ตวั ชว้ี ัด คา่ เป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน %
ปีลา่ สดุ 2560 2561 2562 ความสาเร็จ
คะแนน
(ตัวเลข)

5. การแก้ไขเรื่องรอ้ งเรียน
ตวั ชวี้ ัดทส่ี ะทอ้ นถึงการจัดการขอ้ ร้องเรียนทไี่ ด้รับการแกไ้ ขอย่างรวดเรว็ และเกดิ ผล

ตัวชีว้ ดั ค่าเปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน %
ปีลา่ สดุ 2560 2561 2562 ความสาเร็จ
คะแนน
(ตวั เลข)

84

7. 3 การบรรลุผลลัพธ์ตามตัวชว้ี ดั ด้านการพัฒนาบคุ ลากร
เปน็ การวดั ความสาเร็จของการดาเนนิ การดา้ นการบริหารบุคคล การพัฒนา และการสรา้ งการ

มสี ว่ นร่วมของบคุ ลากรของสว่ นราชการ เพอ่ื ให้มีสมรรถนะสูง

1. จานวนนวัตกรรมตอ่ บคุ ลากร*

ตัวชว้ี ัดของการพัฒนานวตั กรรมที่เกดิ จากบุคลากรของส่วนราชการ

ตวั ชวี้ ดั คา่ เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน %
ปีล่าสดุ ความสาเรจ็
คะแนน

(ตัวเลข) 2560 2561 2562

2. การเรยี นรแู้ ละผลการพัฒนา*

ตวั ชว้ี ดั ของการเรยี นรแู้ ละผลการพฒั นาบุคลากรของส่วนราชการ

ตวั ชวี้ ัด ค่าเป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน %
ปีลา่ สดุ ความสาเรจ็
คะแนน

(ตัวเลข) 2560 2561 2562

3. ความกา้ วหน้าและการกา้ วขน้ึ สตู่ าแหนง่ ตามแผน
ตวั ช้ีวัดทแ่ี สดงถงึ ความกา้ วหน้าของบคุ ลากรและความก้าวขน้ึ ส่ตู าแหนง่ ตามแผน

ตัวช้วี ัด คา่ เปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน %
ปีลา่ สุด 2560 2561 2562 ความสาเรจ็
คะแนน
(ตวั เลข)

4. จานวนบุคลากรท่ไี ด้รับการแต่งตง้ั ให้ไปร่วมในภาคีเครือขา่ ยภายนอกทัง้ ระดบั ชาติและนานาชาติ
ตวั ช้วี ดั ท่แี สดงถงึ บุคลากรของส่วนราชการท่ไี ดร้ ับการแต่งต้ังให้ไปรว่ มในภาคเี ครอื ขา่ ยภายนอกทั้งระดับชาติ
และนานาชาติ

ตัวชี้วัด ค่าเปา้ หมาย ผลการดาเนนิ งาน %
ปีล่าสุด 2560 2561 2562 ความสาเร็จ
คะแนน
(ตัวเลข)

85

5. จานวนบคุ ลากรทีอ่ าสาสมัครในโครงการทต่ี อบสนองนโยบายหน่วยงาน
ตัวชีว้ ัดที่แสดงถึงบุคลากรของสว่ นราชการไปเปน็ อาสาสมัครในโครงการทีต่ อบสนองนโยบายหนว่ ยงาน

ตวั ชี้วดั คา่ เปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน %
ปีล่าสดุ 2560 2561 2562 ความสาเรจ็
(ตัวเลข) คะแนน

7.4 การบรรลผุ ลลพั ธ์ตามตัวชว้ี ดั ด้านการเปน็ ตน้ แบบ
เปน็ การวดั ความสาเรจ็ ของการดาเนินการบรรลุเปา้ หมายด้านการเป็นแบบอยา่ งทีด่ ีหรือการเปน็

ต้นแบบของผูบ้ รหิ ารและบุคลากรของสว่ นราชการ

1. จานวนรางวลั ทีไ่ ด้รบั จากภายนอก*

ตวั ชีว้ ดั ทีแ่ สดงถงึ สาเรจ็ ของการเปน็ ตน้ แบบของส่วนราชการทไี่ ดร้ บั รางวลั จากหน่วยงานภายนอกที่แสดงถงึ
ความสาเรจ็ ในการปรับปรุงกระบวนการ

ตวั ชี้วดั ค่าเปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน %
ปีลา่ สดุ 2560 2561 2562 ความสาเรจ็
คะแนน
(ตัวเลข)

2. จานวน Best practice*

ตัวช้ีวัดท่แี สดงถึงสาเรจ็ ของการเปน็ ต้นแบบของส่วนราชการทเ่ี ปน็ Best practice

ตวั ช้วี ดั คา่ เปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน %
ปีล่าสดุ
2560 2561 2562 ความสาเร็จ คะแนน
(ตัวเลข)

86

3. จานวนรางวัลทไี่ ดร้ ับจากหนว่ ยงานระดับกรม/ระดบั กระทรวง
ตัวชว้ี ัดที่แสดงถึงสาเรจ็ ของการเปน็ ต้นแบบของสว่ นราชการ ได้แก่
- รางวัลระดบั กรม เปน็ รางวลั ทสี่ ่วนราชการระดับกรมมอบใหห้ น่วยงานย่อยในสงั กดั
- รางวัลระดบั กระทรวง เป็นรางวลั ท่มี อบให้กบั สว่ นราชการระดับกรมในสังกดั

ตัวช้วี ดั ค่าเปา้ หมาย ผลการดาเนนิ งาน % คะแนน
ปลี ่าสดุ 2560 2561 2562 ความสาเร็จ

(ตวั เลข)

4. การจดั อนั ดบั ในระดบั นานาชาติ
ตวั ช้วี ดั ที่แสดงถงึ สาเรจ็ ของการแขง่ ขนั โดยไดร้ ับการจดั อันดับในระดบั นานาชาติ

ตัวชว้ี ัด ค่าเป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน %
ปลี า่ สดุ 2560 2561 2562 ความสาเร็จ
คะแนน
(ตัวเลข)

5. จานวนบุคลากรที่ไดร้ ับการยกยอ่ งจากภายนอก
ตวั ชว้ี ัดทแ่ี สดงถงึ สาเร็จของการเปน็ ตน้ แบบของสว่ นราชการ โดยมบี คุ ลากรของตนเองได้รับการยกยอ่ ง
จากภายนอก

ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน %
ปีลา่ สุด ความสาเรจ็
(ตัวเลข) คะแนน

2560 2561 2562

7.5 การบรรลผุ ลลพั ธ์ตามตัวช้ีวัดด้านผลกระทบต่อเศรษฐกจิ สงั คม สาธารณสขุ และส่งิ แวดล้อม
เป็นการวดั ความสาเรจ็ ของการดาเนนิ การในด้านต่าง ๆ ทน่ี อกจากจะบรรลเุ ป้าหมายของการ

ดาเนนิ การแล้วยังส่งผลกระทบตอ่ การพฒั นาดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม สาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม ของพน้ื ที่
และประเทศ

1. การบรรลผุ ลของตัววัดร่วม* (กระบวนการทดี่ าเนนิ การข้ามหลายหน่วยงาน)

ตวั ชว้ี ัดของการบรรลผุ ลลพั ธก์ ารบรรลผุ ลของตัววดั รว่ ม ในการมกี ระบวนการท่ดี าเนนิ การขา้ มหลาย
หนว่ ยงานของส่วนราชการ (Area base)

ตวั ช้วี ัด ค่าเป้าหมาย ผลการดาเนินงาน %
ปลี ่าสดุ 2560 2561 2562 ความสาเรจ็
คะแนน
(ตวั เลข)

87

2. ตัววดั ผลกระทบจากการดาเนินการทีม่ ตี ่อดา้ นเศรษฐกิจ
ตัวชี้วดั ที่สะท้อนถงึ ผลกระทบจากการดาเนินการทมี่ ีต่อด้านเศรษฐกจิ

ตวั ช้ีวัด คา่ เปา้ หมาย ผลการดาเนนิ งาน %
ปลี ่าสุด 2560 2561 2562 ความสาเรจ็
คะแนน
(ตวั เลข)

3. ตวั วัดผลกระทบจากการดาเนินการทีม่ ตี อ่ ด้านสังคม
ตวั ชว้ี ัดทส่ี ะทอ้ นถึงผลกระทบจากการดาเนนิ การทีม่ ตี อ่ ด้านสงั คม

ตัวช้ีวดั ค่าเป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน %
ปีลา่ สดุ 2560 2561 2562 ความสาเรจ็
คะแนน
(ตวั เลข)

4. ตวั วดั ผลกระทบจากการดาเนินการท่ีมตี อ่ ดา้ นสาธารณสุข
ตวั ชี้วัดทส่ี ะท้อนถึงผลกระทบจากการดาเนนิ การที่มตี ่อดา้ นสาธารณสุข

ตวั ชว้ี ดั ค่าเป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน %
ปลี า่ สุด 2560 2561 2562 ความสาเร็จ
คะแนน
(ตวั เลข)

5. ตวั วัดผลกระทบจากการดาเนินการท่มี ีต่อดา้ นสง่ิ แวดล้อม
ตวั ชว้ี ดั ทส่ี ะท้อนถงึ ผลกระทบจากการดาเนินการทมี่ ีตอ่ ด้านสิ่งแวดลอ้ ม

ตัวชี้วัด คา่ เปา้ หมายปี ผลการดาเนินงาน %
ล่าสุด ความสาเร็จ
คะแนน

(ตวั เลข) 2560 2561 2562

88

7. 6 การบรรลผุ ลลัพธ์ตามตัวชี้วดั ดา้ นการลดตน้ ทุน การสรา้ งนวัตกรรม และการจัดการกระบวนการ
เป็นการวัดความสาเร็จของการดาเนินการบรรลุเป้าหมายด้านการบริหารจัดการเพ่ือการลดต้นทุน การ

สร้างนวัตกรรม และการจดั การกระบวนการ

1. การลดต้นทนุ *(ท้ังในระดบั กระบวนการท่เี กดิ จากการปรับปรุงงาน และการนาเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาใช)้

ตวั ชีว้ ดั ของการลดต้นทุนทง้ั ในระดบั กระบวนการอันเกิดจากการปรบั ปรงุ งาน และการนาเทคโนโลยดี จิ ิทลั มา
ใชเ้ พ่ือลดต้นทุนในการทางาน

ตัวชวี้ ัด คา่ เป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน %
ปีล่าสดุ 2560 2561 2562 ความสาเรจ็
คะแนน
(ตัวเลข)

2. จานวนนวตั กรรมของการปรบั ปรงุ กระบวนการ
ตวั ชี้วัดของนวตั กรรมการปรับปรงุ กระบวนการ

ตัวชี้วดั ค่าเป้าหมาย ผลการดาเนินงาน %
ปีลา่ สดุ 2560 2561 2562 ความสาเร็จ
คะแนน
(ตวั เลข)

3. ผลการปรับปรงุ จากการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทัล*

ตวั ชวี้ ัดผลลัพธ์ของการปรบั ปรงุ กระบวนการ และการบรกิ ารจากการใชด้ ิจทิ ัลเทคโนโลยี ท้ังทางตรง
และทางออ้ ม

ตัวชีว้ ดั ค่าเปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน %
ปีลา่ สุด 2560 2561 2562 ความสาเร็จ
คะแนน
(ตวั เลข)

89

4. ประสิทธิผลของการบรรเทาผลกระทบดา้ นภัยพิบัตติ า่ ง ๆ
ตัวชี้วัดทแ่ี สดงถงึ ประสทิ ธิผลของการบรรเทาผลกระทบด้านภยั พบิ ตั ติ ่าง ๆ

ตัวชว้ี ดั คา่ เป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน %
ปลี ่าสดุ 2560 2561 2562 ความสาเรจ็
คะแนน
(ตัวเลข)

5. นวัตกรรมการปรับปรุงด้านนโยบาย กฎระเบียบ และกฎหมาย
ตัวชี้วดั ของนวตั กรรมการปรับปรุงด้านนโยบาย กฎระเบยี บ และกฎหมาย

ตวั ชีว้ ดั คา่ เปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน %
ปลี า่ สดุ 2560 2561 2562 ความสาเรจ็
คะแนน
(ตัวเลข)

90

แบบฟอร์มท่ี 5
บทสรปุ ผบู้ ริหาร

ให้อธิบายโดยสรุป ตามประเด็นต่าง ๆ ดังน้ี (ความยาว 5 - 8 หน้า A4 สามารถแทรกภาพประกอบได้)
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้บริหารของหน่วยงานของท่าน และผู้ตรวจประเมินรางวัลได้เห็นภาพรวม
ในการดาเนนิ การ โดยใหส้ รปุ เปน็ ระบบราชการ 4.0 ใน 3 มติ ิ ดังนี้
วิสัยทัศน์ :
กรอบแนวคิด/ Concept ของการกา้ วส่กู ารเปน็ ระบบราชการ 4.0 (ไมเ่ กินครึ่งหนา้ กระดาษ A4)
อธบิ ายกรอบแนวคิด/ Concept ของการก้าวสู่การเปน็ ระบบราชการ 4.0 ของสว่ นราชการ จนนามาส่ผู ลงานทโ่ี ดดเด่น
ตามทจ่ี ะนาเสนอด้านล่าง ............................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................................

ผลการดาเนินงานทสี่ อดคลอ้ งสู่ระบบราชการ 4.0
มติ ริ ะบบราชการทีเ่ ปิดกวา้ งและเช่อื มโยงกัน (Open & Connected Government)
สรุปแนวทางดาเนินงานในการเป็นระบบราชการที่เปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน พร้อมยกตัวอย่างผลงานที่
เก่ยี วข้อง (ใส่เฉพาะช่ือผลงานโดยไมต่ อ้ งอธบิ ายรายละเอยี ดผลงาน)..................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................... .......................................................

มติ ริ ะบบราชการท่ียดึ ประชาชนเป็นศนู ยก์ ลาง (Citizen- Centric Government)
สรุปแนวทางดาเนินงานในการเป็นระบบราชการท่ียึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง พร้อมยกตัวอย่างผลงานท่ี
เกยี่ วข้อง (ใส่เฉพาะช่ือผลงานโดยไม่ต้องอธิบายรายละเอียดผลงาน)..................................................................
..........................................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................................

91

มติ ริ ะบบราชการที่มีขีดสมรรถนะสงู และทนั สมัย (Smart & High Performance Government)
สรุปแนวทางดาเนินงานในการเป็นระบบราชการท่ีมีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย พร้อมยกตัวอย่างผลงานที่
เก่ียวขอ้ ง (ใสเ่ ฉพาะชื่อผลงานโดยไม่ต้องอธิบายรายละเอยี ดผลงาน)..................................................................
............................................................................................................................. ................................................
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................................
นาเสนอรายละเอียดผลงาน โดยคัดเลือกจากผลงานข้างตน้ ที่มีความโดดเด่น โดยนาเสนอ 3 – 5 ผลงาน
ผลงานเร่ืองที่ 1 :……………………………………………………………………………………….. (ไม่เกนิ 1 หน้ากระดาษ A4)

□ เปดิ กว้างและเช่ือมโยงกัน □ ยดึ ประชาชนเปน็ ศนู ย์กลาง □ มขี ีดสมรรถนะสงู ทันสมัย

รูปแบบ/ลกั ษณะ/ Concept ของผลงาน
............................................................................................................................. ................................................
............................................................................................................................. ................................................
.................................................................................. ...........................................................................................
............................................................................................................................. ................................................
............................................................................................................................. ................................................

รูปภาพ รูปภาพ รูปภาพ

คณุ คา่ ต่อประชาชน/ส่วนราชการ/ประเทศ (ผลกระทบทางบวกในวงกว้าง (Impact) ทเ่ี กิดขึน้ จากผลงาน)
............................................................................................................................. ................................................
.......................................................................................................................................................... ...................
............................................................................................................... ..............................................................
............................................................................................................................. ................................................

92

ผลงานเรื่องท่ี 2 :…………………………………………………………………………………….. (ไม่เกิน 1 หนา้ กระดาษ A4)

□ เปดิ กว้างและเช่ือมโยงกัน □ ยึดประชาชนเปน็ ศูนย์กลาง □ มขี ีดสมรรถนะสูง ทันสมัย

รูปแบบ/ลกั ษณะ/ Concept ของผลงาน
............................................................................................................................. ................................................
.................................................................................. ...........................................................................................
............................................................................................................................. ................................................
............................................................................................................................. ................................................
.............................................................................................................................................................................

รปู ภาพ รปู ภาพ รปู ภาพ

คณุ ค่าต่อประชาชน/ส่วนราชการ/ประเทศ (ผลกระทบทางบวกในวงกวา้ ง (Impact) ท่ีเกดิ ข้นึ จากผลงาน)
............................................................................................................................. ................................................
.................................................................................. ...........................................................................................
............................................................................................................................. ................................................
............................................................................................................................. ................................................
.............................................................................................................................................................................

93

ผลงานเร่ืองท่ี 3 :………………………………………………………………………………………… (ไม่เกิน 1 หน้ากระดาษ A4)

□ เปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน □ ยึดประชาชนเป็นศนู ย์กลาง □ มีขีดสมรรถนะสูง ทันสมัย

รปู แบบ/ลักษณะ/ Concept ของผลงาน
............................................................................................................................. ................................................
............................................................................................................................. ................................................
.................................................................................. ...........................................................................................
............................................................................................................................. ................................................
............................................................................................................................. ................................................

รปู ภาพ รปู ภาพ รปู ภาพ

คุณคา่ ต่อประชาชน/สว่ นราชการ/ประเทศ (ผลกระทบทางบวกในวงกวา้ ง (Impact) ทเ่ี กดิ ขน้ึ จากผลงาน)
............................................................................................................................. ................................................
............................................................................................................................. ................................................
.................................................................................. ...........................................................................................
............................................................................................................................. ................................................
............................................................................................................................. ................................................

94

เปา้ หมายต่อไปในอนาคต
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................................
............................................................................................................................. ................................................
หมายเหต*ุ *

- รายละเอียดผลงาน นาเสนอไม่เกิน 5 ผลงาน
- หากเป็นผลงานท่ีเคยนาเสนอแลว้ ให้เพม่ิ เติมส่วนทม่ี ีการพัฒนาต่อยอด

95

แบบฟอร์มที่ 6
รายงานผลการดาเนนิ การพัฒนาองค์การส่รู ะบบราชการ 4.0 (Application Report)

สว่ นที่ 1.1 ลกั ษณะสาคญั ขององคก์ าร (ไมเ่ กิน 10 หน้า)
สว่ นที่ 1.2 แผนงานการปรับปรุงเพื่อยกระดบั การพฒั นาสู่ระบบราชการ 4.0 (ไมเ่ กนิ 2 หนา้ )
ส่วนท่ี 2 การดาเนินการพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจัดการภาครฐั สูร่ ะบบราชการ 4.0

รวม 6 หมวด (ไมเ่ กนิ 30 หน้า)
สว่ นที่ 3 ผลลัพธ์การดาเนนิ การ (ไม่เกนิ 5 หน้า)

* รวมท้งั หมด ไม่เกิน 47 หน้า *

96

สว่ นท่ี 1.1
ลกั ษณะสาคัญขององค์การ

ลักษณะขององค์การ คือภาพรวมของส่วนราชการที่มีอิทธิพลต่อวิธีการดาเนินงานและความท้าทาย
ทีส่ าคญั ท่ีส่วนราชการเผชิญอยู่ และการตอบสนองการบรหิ ารจดั การเพ่ือนาไปสกู่ ารเปน็ ระบบราชการ 4.0

กรุณาตอบคาถามดงั น้ี
1. ลกั ษณะองคก์ าร
ก. สภาพแวดลอ้ มของสว่ นราชการ

(1) พนั ธกิจหรือหนา้ ที่ตามกฎหมาย
- พันธกจิ หรือหน้าที่หลกั ตามกฎหมายของส่วนราชการคืออะไรบ้าง?......................................................

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
- ความสาคัญเชิงเปรียบเทียบของพันธกิจหรือหน้าที่ต่อความสาเร็จของส่วนราชการและการเพ่ิมขีด
ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศคืออะไร?..................................................................................
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
- กลไกทีส่ ว่ นราชการใช้ในการส่งมอบผลผลิตและบริการตามพันธกิจคืออะไร?.......................................
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

(2) วสิ ัยทศั นแ์ ละคา่ นิยม
- เปา้ ประสงค์ วสิ ยั ทัศน์ และค่านิยม ของส่วนราชการทีไ่ ด้ประกาศไว้คืออะไร?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
- สมรรถนะหลักของส่วนราชการคืออะไร และมีความเกี่ยวข้องอย่างไรกับพันธกิจของส่วนราชการ?
ความสาคัญของสมรรถนะหลักของส่วนราชการท่ีมีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม สาธารณสุขและ
สิง่ แวดลอ้ มของประเทศคืออะไรท้ังทางตรงและทางอ้อม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
(3) ลกั ษณะโดยรวมของบุคลากร
- ลกั ษณะโดยรวมของบุคลากรในสว่ นราชการเป็นอยา่ งไร?
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
- มีการจาแนกบุคลากรหรือพนักงานออกเปน็ กลมุ่ และประเภทอะไรบ้าง?
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

97

- อะไรคือข้อกาหนดพื้นฐานด้านการศึกษาสาหรับกลุ่มบุคลากรและพนักงานประเภทต่างๆ?
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

- องคป์ ระกอบสาคัญทท่ี าให้บคุ ลากรเหล่านม้ี สี ว่ นรว่ มในการทางานเพื่อบรรลุพันธกิจและวิสัยทัศน์ของ
สว่ นราชการคืออะไร?
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

- ในการทางานจาเป็นต้องมีข้อกาหนดด้านสุขภาพ ความปลอดภัยและความเสี่ยงภัยของส่วนราชการ
อะไรบ้าง?...............................................................................................................................................
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

- ประเด็นการเปล่ียนแปลงด้านบุคลากรที่สาคัญคืออะไร? พื้นฐานของบุคลากรท่ีมีผลต่อการวาง
แผนการพฒั นาและการสร้างขดี ความสามารถในการเปน็ องค์การสมรรถนะสูงมีอะไรบา้ ง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

(4) สินทรพั ย์
- สว่ นราชการมีอาคารสถานท่ี เทคโนโลยี และอุปกรณ์ ที่สาคัญอะไรบ้าง รวมท้ังเทคโนโลยีการสื่อสาร

และการให้บริการ?
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

(5) กฎหมาย กฎระเบียบและข้อบังคับ
- ส่วนราชการดาเนินการภายใต้สภาพแวดล้อมด้านกฎหมาย กฎระเบียบ และข้อบังคับท่ีสาคัญ

อะไรบ้าง? ………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
- กฏหมายและกฏระเบียบอะไรที่มีอยู่และเอื้อให้ส่วนราชการทางานอย่างมีความคล่องตัวและ
ตอบสนองการเปล่ียนแปลงอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ข. ความสมั พนั ธร์ ะดับองค์การ

(6) โครงสร้างองค์การ
- โครงสร้างและระบบการกากับดแู ลของส่วนราชการมีลักษณะอย่างไร?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
- ระบบการรายงานระหว่างคณะกรรมการกากับดูแลส่วนราชการ ผู้บริหารส่วนราชการ และส่วน
ราชการทกี่ ากับมลี กั ษณะเช่นใด (*)?
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

98

(7) ผ้รู ับบรกิ ารและผูม้ ีสว่ นได้ส่วนเสยี
- ระดับของกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้รับบริการ และกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่ีสาคัญของส่วนราชการมี

อะไรบ้าง (*)? …………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
- กลุ่มดังกล่าวมีความต้องการและความคาดหวังที่สาคัญต่อผลผลิต ต่อการบริการที่มีให้ และต่อการ
ปฏบิ ัตกิ ารของส่วนราชการอย่างไร?
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
- ความต้องการและความคาดหวงั ของแตล่ ะกลุม่ มคี วามแตกต่างกนั อย่างไร?
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
(8) ส่วนราชการหรือองคก์ ารที่เก่ียวข้องกันในการใหบ้ รกิ ารหรือส่งมอบงานตอ่ กัน
- ส่วนราชการหรือองค์การที่เก่ียวข้องกันในการให้บริการหรือส่งมอบงานต่อกัน ที่สาคัญมีหน่วยงาน
ใดบ้าง? และมีบทบาทอย่างไรในระบบงานของส่วนราชการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการปฏิบัติตาม
ภาระหน้าที่ของ สว่ นราชการ และการยกระดบั ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ?
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
- กล่มุ เหล่าน้ีมีส่วนรว่ มอะไรในการสร้างนวัตกรรมให้แก่ส่วนราชการ (*)?
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
- กลไกทีส่ าคญั ในการสอ่ื สาร และขอ้ กาหนดสาคญั ในการปฏบิ ตั ิงานร่วมกันมีอะไรบา้ ง?
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. สภาวการณข์ ององคก์ าร: สภาวการณ์เชิงยุทธศาสตรข์ องสว่ นราชการเป็นเช่นใด?
ใหอ้ ธิบายถงึ สภาพแวดล้อมด้านการแข่งขัน ความท้าทาย ความได้เปรียบเชิงยุทธศาสตร์ท่ีสาคัญ และ
ระบบการปรับปรงุ ผลการดาเนินการของสว่ นราชการ

ก. สภาพแวดลอ้ มด้านการแขง่ ขัน
(9) สภาพแวดล้อมด้านการแขง่ ขนั ท้ังภายในและภายนอกประเทศ
- สภาพแวดล้อมด้านการแข่งขันท้ังภายในและภายนอกประเทศของส่วนราชการเป็นเช่นใด? ประเด็น
การแขง่ ขนั คืออะไร และผลต่อการดาเนนิ การของสว่ นราชการ?
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
(10) การเปลี่ยนแปลงความสามารถในการแขง่ ขัน
- การเปล่ียนแปลงท่ีสาคัญ(ถ้ามี) ซ่ึงมีผลต่อสถานะการแข่งขันของส่วนราชการ และของประเทศ
รวมถงึ การเปลย่ี นแปลงท่สี ร้างโอกาส สาหรับการสรา้ งนวตั กรรมและความรว่ มมือคอื อะไร (*)?
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

99


Click to View FlipBook Version