The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักเกณฑ์การพิจารณารางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปี พ.ศ.2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by psdg moj, 2020-03-24 23:58:27

หลักเกณฑ์การพิจารณารางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปี พ.ศ.2563

หลักเกณฑ์การพิจารณารางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปี พ.ศ.2563

Keywords: หลักเกณฑ์การพิจารณารางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปี พ.ศ.2563

หลกั เกณฑก์ ารพจิ ารณา

รางวลั คณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั

ประจาปี พ.ศ. 2563

หลักเกณฑร์ างวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจาปี พ.ศ. 2563

รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector
Management Quality Award) เป็นรางวัลท่ีมอบให้กับหน่วยงานของรัฐ
ทีด่ าเนนิ การพัฒนาองค์การอย่างต่อเน่ือง และมีผลดาเนินการปรับปรุงองค์การ
ตามเกณฑ์คณุ ภาพการบรหิ ารจัดการภาครัฐอย่างโดดเดน่

สานักงาน ก.พ.ร. ได้ส่งเสริมให้ส่วนราชการดาเนินการพัฒนา
อ ง ค์ ก า ร ต า ม เ ก ณ ฑ ์ค ุณ ภ า พ ก า ร บ ร ิห า ร จ ัด ก า ร ภ า ค ร ัฐ ร ะ ด ับ พื ้น ฐ า น
(Fundamental Level) ปีละ 2 หมวด จนครบถ้วนทั้ง 6 หมวดในปี
พ.ศ. 2554 โดยนาพ้ืนฐานแนวคิดมาจากสาระสาคัญของพระราชกฤษฎีกา
ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ท่ีกาหนด
แนวทางปฏิบัติราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนและนามาผนวกกับ
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับของการพัฒนา องค์การ
ข้ันต้น เพื่อให้ส่วนราชการนาไปใช้เป็นกรอบการประเมินท่ีสามารถบ่งชี้
ระดับความสาเรจ็ ของการพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจัดการของส่วนราชการได้
อยา่ งชัดเจนและเป็นรปู ธรรม

การส่งเสริมให้หน่วยงานของรัฐได้รับรางวัลคุณภาพการบริหาร
จดั การภาครฐั เปน็ การดาเนินการเพ่ือยกระดับมาตรฐานให้เทียบเท่าสากลตาม
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ และมุ่งเข้าสู่องค์การที่เป็นเลิศ โดยสานักงาน ก.พ.ร. ได้กาหนด
หลักเกณฑ์ แนวทาง และกลไกการบรหิ ารรางวัลคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการภาครัฐ เพ่ือเป็นการสร้างแรงจูงใจ
และส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการ โดยกาหนดให้มีรางวัลคุณภาพ
การบริหารจัดการภาครัฐ รายหมวด ซ่ึงการกาหนดรางวัลดังกล่าวเป็นไปตามแนวคิด “การปรับปรุงทีละข้ัน”
เมอ่ื หน่วยงานของรัฐใดผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level)
ครบทุกหมวดแล้ว จะได้รับการรับรองคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certified Fundamental
Level) และเม่ือส่วนราชการปรับปรุงองค์การอย่างต่อเน่ืองจนมีความโดดเด่นในหมวดใดหมวดหนึ่ง
จะสามารถขอรับ “รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ รายหมวด” ในหมวดนั้น ๆ และพัฒนาไปสู่
“รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับดีเด่น” และ “รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ระดบั ยอดเยีย่ ม” ตอ่ ไป (ภาพท่ี 1)

1

ภาพท่ี 1 เปา้ หมายการพฒั นาคุณภาพการบริหารจดั การภาครฐั
ในปี พ.ศ. 2562 สานักงาน ก.พ.ร. ได้ทบทวนและปรับปรุงเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
พ.ศ. 2562 ให้มีความทันสมัยและสอดคล้องกับบริบทความเปล่ียนแปลงในสภาพแวดล้อมปัจจุบัน นามาสู่
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ พ.ศ. 2562 (ภาพที่ 2) มาใช้ประกอบการพิจารณารางวัลคุณภาพ
การบรหิ ารจดั การภาครฐั

ภาพท่ี 2 เกณฑ์คณุ ภาพการบริหารจัดการภาครัฐ พ.ศ. 2562
ในปี พ.ศ. 2561 คณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันท่ี 1 พฤษภาคม 2561 มีมติให้หน่วยงานภาครัฐ
(ส่วนราชการ จังหวัด และองค์การมหาชน) พัฒนาองค์การสู่การเป็นระบบราชการ 4.0 โดยมอบหมายให้
สานักงาน ก.พ.ร. ทาหน้าที่ส่งเสริมและดาเนินการตรวจรับรองสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0

2

ดังนั้นเพื่อให้การดาเนินการเป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าว สานักงาน ก.พ.ร. จึงได้พัฒนาเกณฑ์
การประเมินสถานะของหน่วยงานภาครัฐในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ข้ึน (ภาพที่ 3) เพ่ือเป็น
กรอบในการพัฒนาองค์การสู่การเป็นระบบราชการ 4.0 และนาไปส่งเสริม เพ่ือการยกระดับหน่วยงานภาครัฐ
สูก่ ารเปน็ ระบบราชการ 4.0 และเพ่ือเป็นการเชิดชูเกยี รตแิ ละแรงจูงใจให้กบั หน่วยงานที่มุ่งมั่นพัฒนาสู่การเป็น
ระบบราชการ 4.0 คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบราชการ เก่ียวกับการส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ในการประชุม ครั้งท่ี 4/2561 เมื่อวันท่ี 7 พฤศจิกายน 2561 ได้มีมติให้นาเกณฑ์การประเมินสถานะของ
หน่วยงานภาครฐั ในการเปน็ ระบบราชการ 4.0 เปน็ เกณฑก์ ารพจิ ารณารางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครฐั 4.0

ภาพท่ี 3 เกณฑ์การประเมนิ สถานะของหนว่ ยงานภาครัฐในการเปน็ ระบบราชการ 4.0

1. ประเภทรางวลั ที่เปดิ รบั สมคั ร
รางวลั คุณภาพการบริหารจดั การภาครัฐ ประจาปี พ.ศ. 2563 เปดิ รบั สมคั ร 3 ประเภทรางวัลไดแ้ ก่
1) รางวัลคุณภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั ระดับดเี ด่น
2) รางวลั คุณภาพการบริหารจดั การภาครฐั 4.0
3) รางวลั คุณภาพการบริหารจัดการภาครฐั รายหมวด ประกอบดว้ ย 6 ประเภทรางวัล ไดแ้ ก่
 รางวัลหมวด 1 ด้านการนาองค์การและความรับผิดชอบตอ่ สงั คม
 รางวัลหมวด 2 ดา้ นการวางแผนยทุ ธศาสตร์และการสื่อสารเพื่อนาไปสู่การปฏิบตั ิ
 รางวลั หมวด 3 ดา้ นการมุ่งเนน้ ผู้รับบริการและผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสีย
 รางวลั หมวด 4 ดา้ นการวเิ คราะห์ผลการดาเนินงานขององคก์ ารและการจดั การความรู้
 รางวัลหมวด 5 ดา้ นการบรหิ ารทรัพยากรบุคคล
 รางวัลหมวด 6 ด้านกระบวนการคณุ ภาพและนวตั กรรม

3

2. เกณฑ์การพิจารณารางวัล

1) รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับดีเด่น พิจารณาโดยใช้เกณฑ์คุณภาพ
การบริหารจัดการภาครัฐ พ.ศ. 2562 (PMQA 2562)

2) รางวัลคณุ ภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 4.0 พิจารณาโดยใช้เกณฑ์การประเมินสถานะของ
หน่วยงานภาครฐั ในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0)

3) รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ รายหมวด พิจารณาโดยใช้เกณฑ์คุณภาพ
การบรหิ ารจัดการภาครฐั พ.ศ. 2562 (PMQA 2562)

3. เกณฑ์ในการพิจารณาให้รางวัล

1) รางวลั คณุ ภาพการบรหิ ารจัดการภาครฐั ระดับดีเดน่ (400 คะแนน)

1.1) ทุกหมวดจะต้องได้คะแนนมากกว่าร้อยละ 40 ของคะแนนประจำหมวด ตามเกณฑ์คุณภาพ
การบรหิ ารจัดการภาครฐั ปี พ.ศ. 2562 และตอ้ งมคี ะแนนรวม 400 คะแนนขึ้นไป ดงั ตารางท่ี 1

1.2) สว่ นราชการต้องเป็นต้นแบบให้หน่วยงานอื่นสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ได้
1.3) สว่ นราชการตอ้ งแสดงใหเ้ หน็ ถงึ การเตรยี มความพรอ้ มต่อการเปลีย่ นแปลงในอนาคต
1.4) ผลลัพธ์ของการดำเนินงานของส่วนราชการต้องสะท้อนให้เห็นถึงการพัฒนาที่สอดคล้อง
ตามมาตรฐานการดำเนินการทง้ั 6 หมวดอย่างตอ่ เนอื่ ง

ตารางท่ี 1 เกณฑ์การให้คะแนนรางวัลคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครัฐ ระดบั ดเี ดน่

หมวด/หวั ขอ้ คะแนนเต็ม รางวัลฯ
ระดบั ดเี ด่น (400)
1. การนำองค์การ 120
2. การวางแผนเชงิ ยทุ ธศาสตร์ 80 48
3. ผรู้ บั บริการและผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสีย 110 32
4. การวัด การวเิ คราะห์ และการจัดการความรู้ 100 44
5. บุคลากร 90 40
6. การปฏิบัติการ 100 36
7.1 ผลลัพธด์ า้ นประสิทธผิ ลและการบรรลพุ นั ธกจิ 60 40
7.2 ผลลพั ธด์ า้ นการให้ความสำคัญผรู้ บั บริการและผู้มสี ่วนได้ส่วนเสีย 70 24
7.3 ผลลพั ธด์ ้านการมุง่ เน้นบคุ ลากร 70 28
7.4 ผลลลัพธ์ด้านการนำองคก์ ารและการกำกับดูแล 70 28
7.5 ผลลพั ธ์ด้านงบประมาณ การเงนิ และการเตบิ โต 60 28
7.6 ผลลพั ธด์ า้ นประสทิ ธิผลของกระบวนการ และการจัดการเครือขา่ ยอุปทาน 70 24
1000 28
Total 400

4

2) รางวลั คุณภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั 4.0 (400 คะแนน)

พิจารณาโดยใช้เกณฑ์การประเมินสถานะของหน่วยงานภาครัฐในการเป็นระบบราชการ 4.0
โดยผลคะแนนรวมของทุกหมวดตั้งแต่ 400 คะแนน จึงจะได้รับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 4.0
และไดร้ บั การรับรองสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 ระดบั กา้ วหน้า

ท้ังน้ี หน่วยงานท่ีได้รับการตรวจประเมินสถานะหน่วยงานภาครัฐในการเป็นระบบราชการ 4.0
และมีผลการตรวจประเมิน ระหว่าง 300 - 399 คะแนนข้ึนไป จะได้รับการรับรองสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0
ระดับพ้นื ฐาน

3) รางวลั คณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครัฐ รายหมวด (300 คะแนน)

3.1) หมวดทีข่ อรบั รางวัลจะตอ้ งไดค้ ะแนนมากกวา่ ร้อยละ 50 ของคะแนนประจาหมวด ตามเกณฑ์
คุณภาพการบริหารจดั การภาครฐั ปี พ.ศ. 2562

3.2) ทกุ หมวดต้องได้คะแนนมากกว่าร้อยละ 25 ของเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
พ.ศ. 2558 และตอ้ งมคี ะแนนรวม 300 คะแนนขนึ้ ไป

3.3) คะแนนของหมวดผลลัพธ์ (หมวด 7) ท่ีเก่ียวข้องโดยตรงกับหมวดท่ีขอรับรางวัลต้องมี
คะแนนไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 30 และหมวดอนื่ ๆ ต้องไดค้ ะแนนมากกว่าร้อยละ 25 ดงั ตารางที่ 2

ตารางท่ี 2 เกณฑ์การใหค้ ะแนนรางวลั คณุ ภาพการบริหารจัดการภาครัฐ รายหมวด

หมวด เกณฑก์ าร รางวลั รางวลั รางวัล รางวลั รางวัล รางวัล
ให้คะแนน หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6

1 120 60 30 30 30 30 30

2 80 20 40 20 20 20 20

3 110 27.5 27.5 55 27.5 27.5 27.5

4 100 25 25 25 50 25 25

5 90 22.5 22.5 22.5 22.5 45 22.5

6 100 25 25 25 25 25 50

7.1 60 18 18 15 15 15 18

7.2 70 17.5 17.5 21 17.5 17.5 17.5

7.3 70 17.5 17.5 17.5 17.5 21 17.5

7.4 70 21 17.5 17.5 17.5 17.5 17.5

7.5 60 15 18 15 15 15 15

7.6 70 17.5 17.5 17.5 21 17.5 21

รวม 1000 300 300 300 300 300 300

5

4. เงอ่ื นไขการสมัครและพจิ ารณารางวลั

1) ประเภทของหนว่ ยงานทสี่ มคั ร

1.1) รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐรายหมวด และระดับดีเด่นที่ใช้เกณฑ์ PMQA 2562
ต้องเป็นส่วนราชการระดับกระทรวง กรม จังหวัด สถาบันอุดมศึกษา องค์การมหาชน และหน่วยงานของรัฐ
ประเภทอื่น เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ เป็นต้น ที่ผ่านการรับรองคุณภาพ
การบริหารจดั การภาครฐั ระดับพื้นฐาน ฉบับที่ 1

1.2) รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 4.0 ท่ีใช้เกณฑ์ PMQA 4.0 ต้องเป็นหน่วยงาน
ภาครัฐ ทีถ่ ูกกาหนดไวต้ ามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี 1 พฤษภาคม 2561 ไดแ้ ก่ กรม จังหวดั และองคก์ ารมหาชน

1.3) ตอ้ งเปน็ หน่วยงานที่มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ เปน็ ทย่ี อมรบั และไม่มีเรือ่ งเส่ือมเสียปรากฏ
เปน็ ข่าวในสังคม

2) เง่ือนไขการสมคั ร
2.1) กรณีสมัครรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ รายหมวด สามารถเสนอขอรับ

รางวลั ได้ไมเ่ กนิ 3 หมวดในปีเดียวกนั
2.2) กรณีสมัครรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับดีเด่น ตามเกณฑ์คุณภาพ

การบริหารจัดการภาครัฐ พ.ศ. 2562 ต้องเป็นหน่วยงานท่ีได้รับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ รายหมวด
มาแลว้ ไมน่ อ้ ยกว่า 2 หมวด

2.3) กรณีสมัครทั้งรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับดีเด่น และรางวัลฯ
รายหมวดในปีเดียวกัน หากผลการพิจารณาผ่านระดับดีเด่น ในขั้นตอนที่ 2 รายงานผลการดาเนินการพัฒนา
องค์การ จะไมพ่ จิ ารณารางวัลรายหมวดในปนี ้นั เน่อื งจากรางวัลระดับดีเด่นมีระดับคะแนนสูงที่สุด และครอบคลุม
การพจิ ารณาทง้ั 6 หมวด

2.4) กรณีหนว่ ยงานภาครฐั ที่มคี ะแนนการประเมนิ ในขั้นตอนท่ี 2 รายงานผลการดาเนินการพฒั นา
องค์การสู่ระบบราชการ 4.0 (Application Report) ตามเกณฑ์การประเมินสถานะของหน่วยงานภาครัฐ
ในการเปน็ ระบบราชการ 4.0 รวมต้งั แต่ 400 คะแนน จะไดร้ บั การตรวจรบั รองฯ ณ พ้ืนทปี่ ฏิบัติงาน

2.5) กรณีเป็นส่วนราชการระดับกระทรวง กรม จังหวัด สถาบันอุดมศึกษา หน่วยงานของรัฐ
ประเภทอื่น ที่เคยได้รับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
พ.ศ. 2550 และ พ.ศ. 2558 ในระหว่างปี พ.ศ. 2555 - 2562 สามารถสมัครขอรับรางวัลเลิศรัฐ สาขาคุณภาพ
การบรหิ ารจัดการภาครัฐ รายหมวด ในหมวด "เดิม" ที่ "เคย" ได้รับรางวัลแล้ว เพ่ือขอรับการตรวจประเมินยืนยัน
มาตรฐานและความโดดเด่นของการดาเนินการพัฒนาองค์การอย่างต่อเนื่อง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหาร
จัดการภาครัฐ พ.ศ. 2562 และในกรณีที่เคยได้รับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 4.0 ในปี พ.ศ. 2562
แล้ว สามารถสมคั รขอรับรางวัลฯ เพ่ือการรับรองสถานการณ์เป็นหน่วยงานภาครัฐสู่ระบบราชการ 4.0 ในระดับที่
สูงข้ึนได้

2.6) การเขียนรายงานผลการดาเนินการพัฒนาองค์การ (Application Report) ต้องไม่เกิน
45 หน้า ในกรณีสมัครรางวัลฯ รายหมวด และไม่เกิน 55 หน้า ในกรณีสมัครรางวัลฯ ระดับดีเด่น ตามเกณฑ์
PMQA 2562 และสาหรับกรณีสมัครรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 4.0 ต้องไม่เกิน 47 หน้า
(หากเขยี นเกนิ จะไม่พจิ ารณาในสว่ นของหนา้ ท่ีเกิน)

6

2.7) รูปแบบรายงาน ให้ใช้ Font “TH SarabunPSK” Size 16 ตั้งค่าหน้ากระดาษแบบ
“ขอบบน-ซา้ ย หา่ ง 3.0 cm (1.18 inch) ล่าง-ขวา ห่าง 2.5 cm (0.98 inch)”

2.8) การจัดส่งรายงานผลการดาเนินการพัฒนาองค์การให้จัดส่งข้อมูลในรูปแบบไฟล์ Word
และ PDF ผ่านระบบออนไลน์ ที่ https://awards.opdc.go.th/awardsregister/

5. ขนั้ ตอนและประเด็นการพิจารณาให้รางวัล

การตรวจพิจารณารางวัลประกอบดว้ ย 4 ขน้ั ตอน ดงั น้ี
ข้นั ตอนท่ี 1 : การตรวจพิจารณาเอกสารการสมัครเบ้อื งต้น
หน่วยงานภาครัฐสามารถสมัครขอรับรางวัลได้โดยการกรอกแบบฟอร์มการสมัครในระบบ
ออนไลน์ ที่เว็บไซต์สานักงาน ก.พ.ร. (https://awards.opdc.go.th/awardsregister/) โดยมีเอกสาร
ประกอบการสมัคร ดงั นี้
1) เอกสารการสมัครรางวลั ฯ (ข้อมูลท่ัวไปของหนว่ ยงาน และรายละเอียดการสมัคร)
2) ลักษณะสาคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า ตามเกณฑ์ PMQA 2562 /เกณฑ์ PMQA 4.0
(แบบฟอรม์ ท่ี 2)
3) แบบประเมินความพร้อมในการสมัครขอรับรางวัล ตามเกณฑ์ PMQA 2562 /แบบการประเมิน
สถานะของหนว่ ยงานภาครฐั ในการเป็นระบบราชการ 4.0 ดว้ ยตนเอง (แบบฟอรม์ ท่ี 3)
4) ตัวชีว้ ดั หมวด 7 ทค่ี รอบคลมุ ท้ัง 6 มิติ ตามเกณฑ์ PMQA 2562 /เกณฑ์ PMQA 4.0 (แบบฟอรม์ ที่ 4)

กรณสี มัครรางวลั ฯ ตามเกณฑ์ PMQA 2562

ประเด็นการพิจารณา ในขั้นตอนท่ี 1 จะพิจารณาจากแบบประเมินความพร้อมของส่วนราชการตามเกณฑ์
PMQA 2562 และการนาเสนอตวั ช้ีวดั และผลการดาเนนิ การของตวั ชี้วดั หมวด 7 (ผลลพั ธ์การดาเนนิ การ) ใน 6 มติ ิ ไดแ้ ก่

มิตทิ ี่ 1 ผลลพั ธด์ ้านประสิทธผิ ลและการบรรลุพนั ธกจิ
- ตวั ชว้ี ัดด้านผลผลิตและการบริการตามพันธกิจหลกั ของสว่ นราชการ
- ตัวชว้ี ัดดา้ นการนายุทธศาสตรไ์ ปปฏิบตั ิ

มติ ทิ ่ี 2 ผลลพั ธด์ ้านการใหค้ วามสาคัญกับผรู้ บั บริการและผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสีย
- ตัวชี้วัดด้านความพึงพอใจของผู้รับบรกิ ารและผูม้ สี ่วนไดส้ ่วนเสีย
- ตวั ช้ีวัดด้านการใหค้ วามสาคัญกบั ผรู้ บั บรกิ ารและผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย

มติ ิที่ 3 ผลลพั ธด์ ้านการมงุ่ เนน้ บุคลากร
- ตัวชว้ี ดั ด้านขีดความสามารถและอตั รากาลังบคุ ลากร
- ตัวชว้ี ัดดา้ นบรรยากาศการทางาน
- ตวั ช้ีวดั ดา้ นการทาให้บุคลากรมคี วามผูกพนั
- ตัวช้วี ดั ด้านการพัฒนาบุคลากรและการพฒั นาผนู้ าของส่วนราชการ

7

มิตทิ ี่ 4 ผลลัพธ์ดา้ นการนาองค์การและการกากับดูแล
- ตัวชว้ี ดั ด้านการนาองค์การ
- ตัวชี้วดั ดา้ นการกากบั ดแู ลองคก์ าร
- ตัวชว้ี ดั ด้านกฎหมายและกฎระเบยี บขอ้ บังคบั
- ตัวชวี้ ัดด้านการประพฤตปิ ฏิบตั ิตามหลักนิตธิ รรม ความโปร่งใส และจริยธรรม
- ตวั ช้ีวดั ด้านสังคมและชุมชน

มติ ทิ ่ี 5 ผลลพั ธ์ดา้ นงบประมาณ การเงิน และการเติบโต
- ตวั ชว้ี ดั ดา้ นผลการดาเนนิ การดา้ นงบประมาณ และการเงนิ
- ตัวชว้ี ดั ด้านการเตบิ โต

มิติท่ี 6 ผลลัพธ์ดา้ นประสิทธผิ ลของกระบวนการและการจดั การเครอื ข่ายอุปทาน
- ตัวชว้ี ัดดา้ นประสทิ ธิผลและประสทิ ธภิ าพของกระบวนการ
- ตัวชว้ี ดั ดา้ นการเตรียมพรอ้ มต่อภาวะฉกุ เฉิน
- ตัวชี้วัดด้านการจดั การเครือขา่ ยอปุ ทาน

ทัง้ น้ี ส่วนราชการจะต้องนาเสนอขอ้ มูลผลการดาเนนิ การของตวั ชี้วดั ท้ัง 6 มติ ิ เป็นข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี โดยในการประเมิน
จะพจิ ารณาจาก 4 ประเด็น ไดแ้ ก่

1) ระดบั ผลการดาเนนิ การในปัจจบุ นั โดยเปรยี บเทียบกบั คา่ เปา้ หมาย (Level-Le)
2) แนวโน้มของผลการดาเนินการ (Trend-T) แสดงทิศทางของผลลัพธ์และอัตราการเปล่ียนแปลงของผลการ
ดาเนินงานของสว่ นราชการ เปรียบเทยี บกับผลการดาเนินการยอ้ นหลงั 3 ปี
3) ผลการดาเนินการเปรียบเทียบ (Comparison-C) แสดงผลลัพธ์เมื่อเปรียบเทียบกับส่วนราชการหรือองค์การอ่ืนท่ีมี
ภารกิจคลา้ ยคลงึ กนั หรอื ทเี่ ลอื กมาอย่างเหมาะสม
4) ความครอบคลุมและความสาคัญของผลลัพธ์ (Linkage-Li) แสดงผลลัพธ์ท่ีสาคัญทั้งหมดและแยกตามกลุ่มที่
จาแนกไว้

8

กรณสี มคั รรางวลั ฯ ตามเกณฑ์ PMQA 4.0

ประเด็นการพิจารณา ในขั้นตอนที่ 1 จะพิจารณาจากผลการประเมินสถานะของหน่วยงานภาครัฐในการเป็นระบบราชการ 4.0
(หมวด 1 – 6 ) และการนาเสนอตวั ช้วี ดั และผลการดาเนินการของตวั ชว้ี ดั หมวด 7 (ผลลพั ธก์ ารดาเนินการ) ใน 6 มติ ิ ไดแ้ ก่

มติ ิที่ 1 ผลลพั ธด์ า้ นการบรรลุผลลพั ธ์ของตวั ชว้ี ัดตามพันธกิจ
- ตัววดั ตามภารกจิ หลกั *
- ตัววัดตามนโยบายและแผนรัฐบาล
- ตวั วดั การดาเนนิ การด้านกฎหมาย
- ตวั วดั ของการบรรลุตามแผนยทุ ธศาสตร์*
- ตัววัดการบรรลตุ ามยทุ ธศาสตรอ์ ืน่ ๆ

มติ ทิ ่ี 2 ผลลัพธ์ดา้ นการให้ความสาคญั กบั ผู้รบั บรกิ าร และผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสยี
- ตัววดั ดา้ นความพึงพอใจของผูร้ บั บรกิ ารและผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี *
- ตัววดั ดา้ นความผูกพนั และการใหค้ วามรว่ มมือ*
- ตัววัดผลการดาเนนิ การดา้ นโครงการประชารฐั
- ตวั วดั ผลจากการปรับเปล่ียนดา้ นการบรกิ ารทีเ่ กิดประโยชน์ต่อผรู้ ับบรกิ ารท่ีสามารถวัดผลได้
- ตัววัดด้านการแก้ไขเรือ่ งร้องเรยี น

มติ ทิ ี่ 3 ผลลพั ธ์ด้านการพัฒนาบุคลากร
- ตัววดั ด้านจานวนนวัตกรรมตอ่ บคุ ลากร*
- ตัววัดด้านการเรียนร้แู ละผลการพัฒนา*
- ตวั วดั ดา้ นความก้าวหน้าและการก้าวข้นึ ส่ตู าแหน่งตามแผน
- ตัววัดด้านบคุ ลากรท่ีไดร้ ับการแตง่ ต้ังให้ไปร่วมในภาคีเครือข่ายภายนอกท้ังระดับชาติและนานาชาติ
- ตัววดั ดา้ นบคุ ลากรที่อาสาสมัครในโครงการทตี่ อบสนองนโยบายหน่วยงาน

มติ ิที่ 4 ผลลัพธด์ า้ นการการเป็นต้นแบบ
- จานวนรางวลั ทไี่ ดร้ ับจากภายนอก*
- จานวน Best practice*
- จานวนรางวลั ที่ไดร้ ับจากหนว่ ยงานระดบั กรม/ระดับกระทรวง
- การจดั อนั ดับในระดบั นานาชาติ
- จานวนบคุ ลากรทีไ่ ด้รบั การยกย่องจากภายนอก

มิตทิ ่ี 5 ผลลพั ธ์ดา้ นผลกระทบต่อเศรษฐกจิ สังคม สาธารณสุข และสงิ่ แวดล้อม
- การบรรลุผลของตัววดั ร่วม*
- ตวั วัดผลกระทบจากการดาเนนิ การที่มตี อ่ ด้านเศรษฐกิจ
- ตัววัดผลกระทบจากการดาเนนิ การท่ีมีตอ่ ด้านสังคม
- ตัววดั ผลกระทบจากการดาเนินการท่มี ีตอ่ ดา้ นสาธารณสขุ
- ตวั วดั ผลกระทบจากการดาเนินการทีม่ ตี ่อด้านสิง่ แวดลอ้ ม

มติ ทิ ่ี 6 ผลลัพธด์ ้านการลดตน้ ทนุ การสร้างนวัตกรรม และการจัดการกระบวนการ
- การลดตน้ ทนุ *
- จานวนนวตั กรรมของการปรับปรุงกระบวนการ
- ผลการปรบั ปรุงจากการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล*
- ประสทิ ธผิ ลของการบรรเทาผลกระทบดา้ นภยั พบิ ัติตา่ ง ๆ
- นวัตกรรมการปรับปรุงด้านนโยบาย กฎระเบยี บ และกฎหมาย

9

ทั้งน้ี ส่วนราชการจะตอ้ งนาเสนอขอ้ มูลผลการดาเนนิ การของตวั ชีว้ ัดท้ัง 6 มิติ เป็นข้อมลู ย้อนหลงั 3 ปี โดยในการประเมินจะ
พจิ ารณาจาก 4 ประเดน็ ได้แก่

1) ตวั ชี้วัดดังกล่าวตอ้ งเป็นตัวชว้ี ดั ผลลพั ธท์ ชี่ ดั เจนสอดคลอ้ งตามทีก่ าหนดในแตล่ ะมติ ิ
2) ความครบถ้วนของตัววัดในมิติต่าง ๆ โดยในแต่ละหัวข้อให้นาเสนอตัวช้ีวัดมา 5 ตัว โดยเลือกจากกลุ่มตัววัดที่
กาหนดไว้กว้างๆ และต้องนาเสนอตัวชี้วัดในกลุ่มท่ีแนะนา (ตัววัดท่ีมีเคร่ืองหมายดอกจัน*) มาอย่างน้อย 1 ตัว โดยในแต่ละ
กลุม่ ตวั วัดอาจมตี วั ชี้วัดได้มากกว่า 1 ตัว แต่ไม่เกิน 3 ตัว และไม่ควรนาเสนอตัวช้ีวัดเดียวกันซ้าในหวั ข้ออื่น ๆ
3) ตวั ช้วี ดั ต้องมีความท้าทายโดยพิจารณาจากการตง้ั คา่ เป้าหมายทส่ี งู กวา่ ผลการดาเนินงานทผี่ ่านมา
4) ผลการดาเนินงานของตวั ชี้วัดเปรียบเทียบกับค่าเปา้ หมายทห่ี น่วยงานกาหนด

สานักงาน ก.พ.ร. พิจารณาผลลัพธ์การดาเนินการ และแจ้งผลการพิจารณาให้ส่วนราชการทราบ
ผ่านระบบออนไลน์

ขน้ั ตอนที่ 2 : การตรวจเอกสารรายงานผลการดาเนนิ การพัฒนาองคก์ าร (Application Report)
หน่วยงานภาครัฐทีผ่ า่ นการพจิ ารณาในขั้นตอนท่ี 1 จัดทาบทสรุปผู้บริหารที่แสดงความโดดเด่น
ของหมวดที่เสนอขอรับรางวัล/ความโดดเด่นของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ตามเกณฑ์
PMQA 2562/ ความโดดเด่นของการพัฒนาตามเกณฑ์ PMQA 4.0 และความสาเร็จของการดาเนินการ
(แบบฟอร์มที่ 5) และรายงานผลการดาเนินการพัฒนาองค์การ (Application Report) (แบบฟอร์มท่ี 6) และ
อัพโหลดไฟลใ์ นระบบออนไลน์

รายงานผลการดาเนินการพัฒนาองค์การ (Application Report) เป็นเอกสารที่สะท้อนให้เห็นระบบบริหารจัดการ
และผลการดาเนินการขององค์การโดยรวม โดยใช้เกณฑ์ PMQA 2562 /เกณฑ์ PMQA 4.0 เป็นกรอบในการอธิบาย
และในการประเมนิ จะใชแ้ นวทางการประเมนิ ใน 4 ประเด็น ไดแ้ ก่

1) แนวทาง (Approach-A) หมายถึง วธิ กี ารทใี่ ชเ้ พื่อให้กระบวนการบรรลผุ ล ซง่ึ แนวทางน้ันต้องสามารถนาไปใช้
ซา้ ได้ และอยู่บนพ้ืนฐานของข้อมลู สารสนเทศทเี่ ช่ือถอื ได้ ซ่ึงหมายถึงการดาเนนิ การอย่างเปน็ ระบบ

2) การถ่ายทอดเพ่ือนาไปปฏิบัติ (Deployment-D) หมายถึง ความครอบคลุมและทั่วถึงของการนาแนวทาง
ไปปฏบิ ัตใิ นทกุ ส่วนราชการทคี่ วรนาไปใช้

3) การเรียนรู้ (Learning-L) หมายถึง การปรับปรุงแนวทางให้ดีข้ึน โดยการแบ่งปันความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรม
และการปรับปรงุ กระบวนการภายในส่วนราชการและหน่วยงานอื่นท่เี ก่ียวข้อง

4) การบูรณาการ (Integration-I) หมายถึง ความสอดคล้องท้ังการใช้แนวทาง ตัวชี้วัด สารสนเทศ การวิเคราะห์
ระบบการปรับปรุงท่ีสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน เพื่อสนับสนุนเป้าประสงค์ขององค์การ และช่วยเสริมกระบวนการ
ท่ัวทั้งองค์การ

ในการจดั ทารายงานผลการดาเนินการพัฒนาองค์การนั้น ส่วนราชการต้องสามารถอธิบายระบบบริหารจัดการของ
องค์การให้ผู้อ่านเข้าใจได้ รวมท้ังแสดงให้เห็นความโดดเด่นในการดาเนินการที่ชัดเจน โดยควรมีการอธิบายแนวคิดของ
การดาเนนิ การ ควรดาเนนิ การอย่างเปน็ ระบบอยา่ งตอ่ เนื่องจนบังเกิดผล รวมทั้งเชื่อมโยงให้เห็นผลสาเร็จของการดาเนินการ
ทีช่ ดั เจน และควรยกตัวอย่างประกอบการอธิบาย ท้ังน้ี เพ่ือเป็นการส่ือสารระหว่างองค์การและผู้ตรวจประเมิน ตลอดจน
องค์การอ่ืน ๆ ที่สนใจนาแนวทางที่ดีขององค์การไปประยุกต์ใช้ อีกทั้งยังต้องมีความถูกต้องและสะท้อนระบบจริงของ
องค์การ ตอ้ งเปน็ หลักฐานของความม่งุ มัน่ และความเป็นเจา้ ของร่วมกันของบคุ ลากรท่ัวท้งั องค์การ

10

สาหรับการอธิบายการดาเนินการตามเกณฑ์ PMQA 4.0 ควรอธิบายให้ครบทุกประเด็นตามที่ได้ประเมินตนเองตาม
เกณฑ์ PMQA 4.0 ในรอบท่ี 1 และอธบิ ายให้ครอบคลุมทั้ง 3 มิติ ของการเป็นระบบราชการ 4.0 (ระบบราชการที่เปิดกว้างและ
เชื่อมโยงกัน ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย โดยควรอธิบายว่าหน่วยงานมีการดาเนินการ
อย่างเป็นระบบอย่างไร พร้อมท้ัง เชื่อมโยงให้เห็นผลสาเร็จของการดาเนินการท่ีชัดเจน และควร “ยกตัวอย่าง
ประกอบ” การอธิบายดว้ ย

คณะกรรมการกลนั่ กรองเอกสารรางวัลคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการภาครัฐ ตรวจประเมินรายงานผลการ
ดาเนินการพัฒนาองค์การ (Application Report) และประชุมสรุปผลการตรวจรายงานผลการดาเนินการ
พัฒนาองค์การร่วมกับคณะทางานตรวจประเมินรางวัลฯ ในพื้นที่ และแจ้งผลการพิจารณา ผ่านระบบ
ออนไลน์ ภายในเดือนพฤษภาคม 2563

ข้นั ตอนที่ 3 : การตรวจประเมินในพ้ืนทปี่ ฏิบตั ิงาน
คณะทางานตรวจประเมินรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในพื้นท่ี ตรวจพิจารณารางวัล
ณ พื้นท่ีปฏิบัติงาน เพื่อยืนยันผลการตรวจรายงานผลการดาเนินการพัฒนาองค์การ (Application Report)
และค้นหาวธิ ีการปฏิบตั งิ านทโี่ ดดเด่น ของหนว่ ยงานท่ผี ่านการประเมนิ ในขนั้ ตอนท่ี 2 ตามเกณฑฯ์ ดังนี้
1) เกณฑค์ ณุ ภาพการบรหิ ารจัดการภาครัฐ พ.ศ. 2562

รางวัลฯ ระดับดีเด่น ส่วนราชการท่ีมีผลคะแนนการตรวจประเมินรายงานผลการดาเนินการ
พัฒนาองค์การ (Application Report) ในภาพรวมตั้งแต่ 400 คะแนน

รางวัลฯ รายหมวด ส่วนราชการท่ีมีผลคะแนนการตรวจประเมินรายงานผลการดาเนินการ
พัฒนาองค์การ (Application Report) ในภาพรวมตง้ั แต่ 300 คะแนน

2) เกณฑ์การประเมนิ สถานะของหน่วยงานภาครัฐในการเป็นระบบราชการ 4.0
รางวัลฯ กรณีหน่วยงานภาครัฐท่ีมีคะแนนการประเมินในขั้นตอนท่ี 2 รายงานผลการดาเนินการ
พัฒนาองคก์ ารส่รู ะบบราชการ 4.0 (Application Report) รวมต้งั แต่ 400 คะแนน

คณะทางานตรวจประเมินรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในพื้นที่ ประชุมเพื่อสรุปผล
การตรวจประเมิน ณ พื้นทีป่ ฏิบัตงิ าน ก่อนนาเสนอ อ.ก.พ.ร. เก่ียวกับการส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี
พจิ ารณาตดั สินผลรางวัลฯ ตอ่ ไป

11

ข้ันตอนที่ 4 : การพิจารณาตัดสินรางวัลของ อ.ก.พ.ร. เก่ียวกับการส่งเสริมการบริหารกิจการ
บา้ นเมืองท่ดี ี

สานักงาน ก.พ.ร. รายงานผลการตรวจประเมินต่อ อ.ก.พ.ร. เกี่ยวกับการส่งเสริมการบริหารกิจการ
บ้านเมืองทด่ี ี เพ่อื พิจารณาใหร้ างวัล

ท้ังน้ี มรี ายละเอียดข้ันตอนการตรวจประเมนิ รางวลั ดังภาพท่ี 4

รายละเอียดขนั้ ตอนการตรวจประเมินรางวลั

หน่วยงานภาครฐั สมัครขอรบั รางวลั พิจารณาผลลพั ธ์การดาเนนิ การ และแจง้ ผลฯ
ผ่านระบบออนไลน์
หนว่ ยงานภาครัฐท่ผี ่านการพิจารณาในขั้นตอนที่ 1
ประกอบดว้ ย จดั ทา Application Report (แบบฟอรม์ ท่ี 5-6)
1. เอกสารการสมคั รรางวลั ฯ
2. ลักษณะสาคัญองคก์ ารโดยสรปุ 1 หนา้ (แบบฟอรม์ ท่ี 2) และอพั โหลดไฟล์ในระบบออนไลน์
3. แบบประเมนิ ความพร้อมขอรับรางวลั ฯ/แบบประเมิน
สถานะการเปน็ ระบบราชการ 4.0 ดว้ ยตนเอง (แบบฟอร์มท่ี 3)
4. ตัวชวี้ ดั หมวด 7 (แบบฟอร์มที่ 4)

กล่ันกรองเอกสารรายงานฯ และแจง้ ผลการพจิ ารณา
ในข้นั ตอนท่ี 2 Application Report

หน่วยงานภาครัฐท่ีผา่ นการพจิ ารณาในขั้นตอนท่ี 2
ตรวจพิจารณารางวลั ณ พน้ื ทปี่ ฏบิ ตั ิงาน

อ.ก.พ.ร. เกีย่ วกับการส่งเสรมิ การบรหิ ารกิจการ
บา้ นเมอื งท่ดี ี พจิ ารณาตัดสนิ ผลรางวัลฯ
และประกาศผลฯ

ภาพท่ี 4 ขัน้ ตอนการพิจารณารางวลั คุณภาพการบริหารจัดการภาครฐั ประจาปี พ.ศ. 2563

12

6. ปฏทิ นิ การสมัครรางวัล

กจิ กรรม รางวลั คุณภาพการบรหิ าร รางวลั คณุ ภาพการบรหิ าร
จดั การภาครฐั 2562 จัดการภาครฐั 4.0
ชแี้ จงแนวทางการสมคั รรางวลั เลิศรัฐ ประจาปี
พ.ศ. 2563 3 ธนั วาคม 2562
หน่วยงานภาครฐั สมัครรางวลั ออนไลน์ (ข้ันตอนท่ี
1) พร้อมจัดส่งเอกสารประกอบการสมัคร ดังนี้ 4 ธนั วาคม 2562 16 ธนั วาคม 2562
– –
แบบฟอรม์ ที่ 1 เอกสารการสมัครรางวลั ฯ
แบบฟอร์มที่ 2 ลกั ษณะสาคญั ขององค์การ 3 มกราคม 2563 24 มกราคม 2563
แบบฟอรม์ ท่ี 3 แบบประเมินความพร้อมใน
การสมัครขอรับรางวัล /แบบประเมินสถานะการ 24 มกราคม 2563 24 กุมภาพันธ์ 2563
เปน็ ระบบราชการ 4.0 ดว้ ยตนเอง
แบบฟอรม์ ท่ี 4 ตัวช้ีวัดหมวด 7 ผลลัพธ์ 24 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 2 มีนาคม 2563
การดาเนินการ - -
สานกั งาน ก.พ.ร. แจ้งผลการพิจารณาข้นั ตอนที่ 1
ผา่ นระบบออนไลน์ 6 มนี าคม 2563 3 เมษายน 2563
หนว่ ยงานภาครัฐที่ผา่ นการพิจารณาข้นั ตอนท่ี 1
จัดสง่ เอกสารเพ่ิมเตมิ (ขัน้ ตอนที่ 2) ผา่ นระบบ ภายในเดอื นพฤษภาคม 2563
ออนไลน์ ประกอบด้วย ระหวา่ งเดอื นพฤษภาคม - กรกฏาคม 2563
แบบฟอรม์ ที่ 5 บทสรปุ ผบู้ ริหาร
แบบฟอรม์ ท่ี 6 รายงานผลการดาเนนิ การ ภายในเดือนสิงหาคม 2563
พฒั นาองค์การ (Application Report) ภายในเดือนกันยายน 2563
(การจัดส่งรายงานผลการดาเนนิ การให้จดั สง่
ข้อมลู ในรูปแบบ word และ PDF ผา่ นระบบ
ออนไลน์)
สานกั งาน ก.พ.ร. แจง้ ผลการพิจารณาขั้นตอนท่ี 2
ผา่ นระบบออนไลน์
ตรวจประเมินในพื้นท่ีปฏิบัติงาน (ข้ันตอนท่ี 3)
สาหรบั ผลงานทผี่ ่านการพิจารณาขนั้ ตอนท่ี 2
พจิ ารณาผลการตัดสนิ รางวัล และประกาศรายชอื่
หน่วยงานภาครัฐที่ได้รับรางวัลเลิศรัฐ สาขา
คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจาปี พ.ศ.
2563 ผา่ นระบบออนไลน์
งานพธิ มี อบรางวัลเลิศรัฐ ประจาปี พ.ศ. 2563

13

ภาคผนวก 1
แบบฟอร์มท่ี 1
เอกสารการสมคั ร
รางวลั คุณภาพการบรหิ ารจัดการภาครฐั

(ข้อมลู ท่ัวไปของหนว่ ยงาน และรายละเอยี ดการสมัคร)

14

แบบฟอรม์ ที่ 1
เอกสารการสมัครรางวัลคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั

1. ชื่อหน่วยงาน ................................................................................................................

2. ประเภทหน่วยงาน

 สว่ นราชการระดบั กระทรวง  ส่วนราชการระดบั กรม

 ส่วนราชการระดบั จังหวัด  สถาบันอดุ มศกึ ษา

 องค์การมหาชน  หน่วยงานของรฐั ประเภทอ่นื

3. ประเภทรางวัลทส่ี มคั ร

 รางวลั คุณภาพการบริหารจดั การภาครฐั ระดบั ดีเดน่

 รางวลั คุณภาพการบรหิ ารจดั การภาครัฐ 4.0 (PMQA 4.0)

 รางวลั คณุ ภาพการบรหิ ารจัดการภาครฐั รายหมวด (300 คะแนน) จานวน ..... หมวด

(ไมเ่ กิน 3 หมวด)

 หมวด 1 ดา้ นการนาองค์การและความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม

 หมวด 2 ดา้ นการวางแผนยทุ ธศาสตร์และการสอื่ สารเพื่อนาไปสู่การปฏิบตั ิ

 หมวด 3 ดา้ นการมุ่งเน้นผู้รบั บริการและผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสยี

 หมวด 4 ด้านการวิเคราะห์ผลการดาเนินงานขององค์การและการจัดการความรู้

 หมวด 5 ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล

 หมวด 6 ด้านกระบวนการคณุ ภาพและนวัตกรรม

4. ผู้รับผิดชอบ

ชอ่ื -สกุล .........................................................................................

ตาแหนง่ ........................................................................................

โทรศพั ท์ ................................................................... โทรสาร.......................................... ........................

Email ...........................................................................................

5. ผปู้ ระสานงาน
ชื่อ-สกลุ .........................................................................................
โทรศพั ท์ ...................................................................
Email ...........................................................................................

หมายเหตุ: แบบฟอรม์ อาจปรับเปล่ยี นตามรปู แบบของเวบ็ ไซต์

15

ภาคผนวก 2
แบบฟอร์มการสมัคร
(เกณฑ์ PMQA 2562)

ในการส่งแบบฟอร์มการสมัครรางวลั แบ่งเป็น 2 รูปแบบ ดังน้ี
กรอกในแบบฟอร์มออนไลน์
ทางเว็บไซต์ awards.opdc.go.th/awardsregister/

(1) แบบฟอรม์ ที่ 3 (ขน้ั ตอนที่ 1)
(2) แบบฟอรม์ ที่ 4 (ขั้นตอนท่ี 1)
ดาวนโ์ หลดไฟลแ์ บบฟอรม์ นามากรอกข้อมลู ใหส้ มบรู ณ์ แล้วส่งโดย
อพั โหลดไฟล์ ทางเว็บไซต์ awards.opdc.go.th/awardsregister/
(1) แบบฟอรม์ ที่ 2 (ขนั้ ตอนที่ 1)
(2) แบบฟอรม์ ที่ 5 (ขั้นตอนที่ 2)
(3) แบบฟอร์มท่ี 6 (ขั้นตอนที่ 2)

16

ผู้ส่งมอบ พันธมติ ร และผใู้ ห้ความรว่ มมือ: แบบฟอร์มท่ี 2 ลกั ษณะสาคัญขององคก์ าร 1. ภารกจิ /บริการหลัก:
(ผู้สง่ มอบ หมายถึง องคก์ ารหรอื กล่มุ บคุ คลที่สง่ มอบทรพั ยากร (โดยสรปุ 1 - 2 หนา้ ) คณุ ลักษณะโดดเด่นของภารกจิ /บริการ
ในการดาเนนิ การของสว่ นราชการ
พันธมิตร หมายถงึ องคก์ ารหรอื กลมุ่ บคุ คลที่มีความร่วมมือใน พันธกจิ : ผรู้ ับบรกิ าร:
การดาเนนิ งานของส่วนราชการอย่างเปน็ ทางการ เพอ่ื วสิ ัยทศั น์: ความตอ้ งการ:
เปา้ ประสงค์ทชี่ ดั เจน
ผ้ใู ห้ความร่วมมือ หมายถงึ องคก์ ารหรือกล่มุ บคุ คลที่ใหค้ วาม คา่ นยิ ม:
รว่ มมอื กับสว่ นราชการ ในการสนับสนนุ การปฏบิ ตั กิ ารหรือ วัฒนธรรมองค์การ: (การกระทา ค่านิยม ความเชื่อ เจตคติ
กิจกรรมบางอยา่ ง หรอื เป็นคร้ังคราว โดยมเี ป้าหมายระยะส้นั ท่ี อุดมการณ์ของสมาชิกในองค์การ รวมถึงพฤติกรรมท่ีมีการปฏิบัติกัน
สอดคลอ้ งกัน มกั ไมเ่ ป็นทางการ) อย่างสม่าเสมอ เป็นบรรทัดฐานของกลุ่มที่คาดหวังหรือสนับสนุนให้
สมาชิกปฏิบัติตามและเป็นสิ่งที่ทาให้องค์การหนึ่งแตกต่างจาก
ความต้องการ: องค์การอนื่ ๆ)
ผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสีย: งบประมาณ:
(กลมุ่ ทกุ กลมุ่ ท่ไี ดร้ ับผลกระทบหรอื อาจจะได้รับผลกระทบจาก รายได:้
การปฏบิ ัตกิ ารและความสาเรจ็ ของส่วนราชการ) จานวนบคุ ลากร:
กฎหมาย ระเบยี บ ข้อบังคบั :
ความต้องการ: ระบบการปรบั ปรุงผลการดาเนนิ การ:

สมรรถนะหลักขององค์การ: สภาพแวดลอ้ มการแข่งขนั :
(เร่ืองที่สว่ นราชการมคี วามรู้ ความชานาญ ความเชยี่ วชาญมาก (ภาวะ หรอื สภาพแวดล้อมของการแขง่ ขันในขณะน้ัน
ท่ีสุด และสรา้ งความไดเ้ ปรยี บให้กบั ส่วนราชการ) รวมถงึ แนวโน้มการแข่งขันในอนาคต ซึ่งจะชว่ ยในการ
ตัดสนิ ใจในการแข่งขนั และวางกลยุทธ์ทเ่ี หมาะสมของ
แหล่งขอ้ มลู เชิงเปรยี บเทยี บ: ผบู้ รหิ ารองค์การ)

การเปลย่ี นแปลงความสามารถในการแขง่ ขนั : ความไดเ้ ปรียบเชงิ ยทุ ธศาสตร:์ (ดา้ นพนั ธกจิ ปฏิบตั ิการ บุคลากร สงั คม)

ความท้าทายเชิงยทุ ธศาสตร:์ (ด้านพันธกจิ ปฏบิ ัตกิ าร บคุ ลากร สงั คม)

17

แบบฟอรม์ ที่ 3
แบบประเมนิ ความพรอ้ มในการสมัครขอรบั รางวลั

เกณฑก์ ารประเมินตนเอง
ระดับ 0 - •ไมม่ ีแนวทางอยา่ งเปน็ ระบบท่ีชดั เจน
ระดบั 1 A • เริ่มมแี นวทางอยา่ งเปน็ ระบบแตค่ รอบคลมุ ประเดน็ ต่าง ๆ น้อยมาก

D • มกี ารนาแนวทางไปถ่ายทอดเพือ่ นาไปปฏิบตั ิเพียงแค่ในขั้นเร่มิ ตน้ ในเกอื บทุกพืน้ ทหี่ รือ
หน่วยงาน

ระดบั 2 A • เรม่ิ มแี นวทางอยา่ งเป็นระบบและครอบคลุมประเด็นตา่ ง ๆ เป็นสว่ นใหญ่
D • มกี ารนาแนวทางไปถ่ายทอดเพ่อื นาไปปฏิบัติ ถึงแมว้ า่ บางพื้นทหี่ รือบางหน่วยงานเพิ่งอยใู่ น
ขัน้ เร่มิ ตน้
L • เริ่มมีการประเมนิ และปรับปรงุ กระบวนการทสี่ าคัญ

ระดับ 3 A • มแี นวทางอย่างเปน็ ระบบและครอบคลุมเกอื บครบถว้ นทุกประเด็นต่างๆ
D • มีการถ่ายทอดเพ่ือนาไปปฏิบตั ิ เป็นอย่างดี ถึงแมว้ า่ อาจแตกต่างกนั ในบางพื้นท่ี หรอื บาง
หนว่ ยงาน
L • มกี ระบวนการประเมินและปรับปรุงอย่างเปน็ ระบบโดยใชข้ ้อมลู จริง และเร่ิมใชผ้ ลการเรียนรู้
ในระดับองค์กรไปปรบั ปรุงประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลของกระบวนการทีส่ าคัญ
I • เร่มิ มคี วามสอดคล้องไปในแนวทางเดยี วกันกับความต้องการขององค์การตามท่รี ะบุไวใ้ น
เกณฑ์หมวดอน่ื ๆ

ระดบั 4 A • มีแนวทางอยา่ งเปน็ ระบบครอบคลุมทุกประเดน็ คาถามแต่ยงั ไม่ปรากฏประสทิ ธิผล
อยา่ งชัดเจน

D • มีการนาแนวทางไปถา่ ยทอดเพื่อนาไปปฏบิ ตั ิเปน็ อย่างดีโดยไม่มีความแตกตา่ งท่ีสาคัญ
L • มกี ระบวนการประเมนิ และปรับปรงุ อย่างเป็นระบบโดยใช้ขอ้ มูลจริง และมีการใชก้ ารเรยี นรู้

ในระดบั องค์การ และการแบ่งปนั ความรู้ในระดับองค์การสง่ ผลตอ่ การปรับปรงุ ให้ดีขึน้
I • มีแนวทางทบ่ี ูรณาการกบั ความต้องการขององค์การ ตามทร่ี ะบุไว้ในเกณฑห์ วั ขอ้ อืน่ ๆ
ระดบั 5 A • มแี นวทางอย่างเปน็ ระบบและมีประสิทธิผลอยา่ งสมบูรณ์ครอบคลุมทกุ ประเด็นคาถาม
D • มีการนาแนวทางไปถา่ ยทอดเพ่อื นาไปปฏบิ ัติอย่างสมบรู ณ์ โดยไมม่ จี ุดอ่อนหรือความแตกตา่ ง

ทส่ี าคัญในพ้ืนทหี่ รือหน่วยงานใด ๆ
L • มกี ระบวนการประเมนิ และปรบั ปรงุ อย่างเป็นระบบโดยใชข้ อ้ มูลจริง มกี ารวเิ คราะห์ และการ

ปรบั ปรงุ ใหด้ ีขน้ึ และการสรา้ งนวัตกรรม
I • มีแนวทางทบี่ รู ณาการกับความต้องการขององค์การเปน็ อย่างดี ตามทรี่ ะบุไว้ในเกณฑ์หวั ข้ออน่ื ๆ

18

หมายเหต:ุ ความเปน็ ระบบ หมายถึง แนวทาง/กระบวนการมีการระบุระยะเวลา ข้นั ตอน ผู้รับผดิ ชอบ
และระบบการตดิ ตามประเมินผลแนวทาง/กระบวนการอย่างชัดเจน
ประสิทธิผล หมายถงึ ระดับความสามารถที่กระบวนการสามารถตอบสนองจดุ ประสงค์และ
เปา้ หมายท่ีตงั้ ไว้ โดยกาหนดตวั ชวี้ ดั ทแ่ี สดงถงึ ผลการดาเนินการ
นวัตกรรม หมายถึง การเปลี่ยนแปลงทม่ี ีความสาคญั ต่อการปรบั ปรุงบรกิ าร กระบวนการ
และการปฏิบัติการขององค์การ รวมท้ังการสรา้ งคุณคา่ ใหม่ให้แก่ผูม้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี
สอดคล้อง หมายถงึ ความสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกันของระบบต่าง ๆ ในหน่วยงาน
(แผน กระบวนการ สารสนเทศ การตดั สนิ ใจด้านทรัพยากร การปฏิบัติการ ผลลพั ธ์
การวิเคราะห์ และการเรียนรู้) เพ่อื สนบั สนุนเป้าประสงคท์ ส่ี าคญั
บรู ณาการ หมายถึง การผสมกลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกันของ (แผน กระบวนการ ขอ้ มูลและ
สารสนเทศ การตัดสินใจเก่ียวกบั ทรัพยากร การปฏิบตั ิการ ผลลัพธ์ และการวิเคราะห์)
เพ่อื สนบั สนุนเป้าประสงคท์ ส่ี าคัญ

19

Category/Item No. Question Score
0123 4 5

หมวด 1 การนาองคก์ าร

1.1 การนา ก. วสิ ัยทัศน์ คา่ นิยม

องคก์ ารโดย 1 วสิ ยั ทัศน์และคา่ นิยม
ผูบ้ รหิ ารของ
- ผูบ้ ริหารของส่วนราชมสี ว่ นร่วมในการดาเนนิ การ

ส่วนราชการ กาหนดวิสยั ทศั นแ์ ละค่านยิ ม

- ผู้บรหิ ารของส่วนราชการมีการดาเนนิ การ

ถ่ายทอดวสิ ยั ทัศน์และคา่ นิยมไปสูก่ ารปฏิบตั ิ

โดยผ่านระบบการนาองค์การไปยงั บคุ ลากรใน

ส่วนราชการ สว่ นราชการหรอื องคก์ ารทีเ่ กี่ยวข้อง

กันท่สี าคญั และผรู้ บั บริการและผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสีย

- การปฏบิ ตั ติ นของผูบ้ รหิ ารของสว่ นราชการได้

แสดงให้เหน็ ถึงความมุ่งมนั่ ต่อค่านิยมของ

ส่วนราชการ

2 การส่งเสรมิ การประพฤตปิ ฏิบัตติ ามหลกั นิติธรรม

ความโปร่งใส และความมจี รยิ ธรรม

- การปฏิบัติตนของผู้บรหิ ารของสว่ นราชการได้

แสดงใหเ้ หน็ ถึงความมุ่งมนั่ ต่อการประพฤตติ าม

หลักนติ ิธรรมความโปรง่ ใส และความมีจรยิ ธรรม

- ผบู้ ริหารของส่วนราชการได้สร้างสภาพแวดล้อม

ในองค์การเพอื่ สนบั สนนุ สง่ เสริมการประพฤติ

ปฏบิ ตั ติ ามหลกั นิตธิ รรม ความโปรง่ ใส และความมี

จรยิ ธรรม

ข. การส่ือสาร

3 การส่อื สาร

- ผูบ้ ริหารของสว่ นราชการมีการสื่อสารและสร้าง

ความผูกพันกบั บคุ ลากรท่วั ทงั้ องค์การ พนั ธมิตร

และกบั ผู้รับบริการและ

ผ้มู สี ่วนได้ส่วนเสียที่สาคัญทุกกล่มุ

- ผบู้ รหิ ารของส่วนราชการมกี ารกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การ

ส่อื สารท่ตี รงไปตรงมาและเป็นไปในลักษณะ

สองทศิ ทาง รวมทง้ั ใชส้ ือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศใน

การส่ือสารใหท้ ราบถงึ การตัดสนิ ใจทส่ี าคัญอยา่ งมี

ประสิทธผิ ล

- ผู้บรหิ ารของสว่ นราชการให้ความสาคัญในการ

สรา้ งแรงจงู ใจต่อบุคลากรและผู้ที่เก่ียวข้อง เชน่

การมสี ่วนร่วมในการให้รางวลั และยกย่องชมเชย

20

Category/Item No. Question Score
0123 4 5

เพอ่ื กระตุ้นใหเ้ กิดผลลพั ธ์ของการดาเนินการทด่ี ี

และใหค้ วามสาคญั กับผู้รบั บรกิ ารและผมู้ ีส่วนได้

ส่วนเสยี

ค. พนั ธกิจและประสิทธภิ าพขององค์การ

4 การสรา้ งสภาพแวดลอ้ มเพอ่ื มุง่ ความสาเรจ็

- ผู้บริหารของสว่ นราชการมีการกาหนดทิศทาง

และสร้างสภาพแวดลอ้ มของสว่ นราชการที่มุ่งเน้นการ

ดาเนินการส่คู วามสาเร็จท้งั ในปจั จุบนั และอนาคต

- ผู้บรหิ ารของสว่ นราชการดาเนนิ การในเรอื่ ง

ดงั ตอ่ ไปน้ี

• สรา้ งสภาพแวดลอ้ มเพ่อื ให้เกิดการบรรลพุ ันธกจิ

การปรับปรงุ ผลการดาเนนิ การของส่วนราชการ

และการเรียนร้รู ะดบั องค์การและระดบั บคุ คล

• สรา้ งวฒั นธรรมการทางานของบุคลากรใหค้ านึงถึง

ผูร้ บั บรกิ าร เพ่ือส่งมอบประสบการณ์ทด่ี ใี ห้แก่

ผรู้ บั บรกิ ารและผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสียอยา่ งคงเส้นคงวา

• สรา้ งสภาพแวดล้อมเพือ่ การสรา้ งนวตั กรรม

การบรรลุวตั ถุประสงคเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์ ความคลอ่ งตวั

ขององคก์ าร และโอกาสคมุ้ เสี่ยง

• การมีส่วนรว่ มในการถา่ ยทอดการเรยี นร้รู ะดบั

องค์การ และการพฒั นาผนู้ าในอนาคตของ

ส่วนราชการ

5 การทาใหเ้ กิดการปฏบิ ตั ิอย่างจรงิ จงั

- ผู้บริหารของสว่ นราชการกาหนดแนวทางการ

กลไกในการทาให้เกิดการปฏิบตั อิ ย่างจรงิ จงั เพื่อให้

สว่ นราชการบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ วสิ ยั ทศั น์ และ

สง่ เสรมิ นวัตกรรม

- ในการกาหนดความคาดหวงั ต่อผลการดาเนินการ

ผ้บู รหิ ารของส่วนราชการพิจารณาถงึ การสรา้ ง

ความสมดุลของคุณคา่ ระหว่างผรู้ ับบริการ

และผูม้ ีสว่ นได้ส่วนเสยี กลุม่ ต่าง ๆ

- การสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ความรับผดิ ชอบของ

สว่ นราชการ ผบู้ รหิ าร และบุคลากร ต่อการ

ดาเนนิ การและผลลัพธท์ เี่ กิดขึ้นท้งั ดแี ละไม่ดี

ขององค์การ

Average

21

Category/Item No. Question Score
0123 4 5

1.2 การกากบั ก. การกากับดูแลองคก์ าร

ดแู ลองคก์ ารและ 6 ระบบการกากับดแู ลองค์การ
การสร้าง
- ส่วนราชการดาเนินการในการทบทวนและทาให้

คุณปู การต่อ ประสบความสาเรจ็ ในระบบการกากับท่ีสาคญั ต่อไปนี้

สงั คม • ความรบั ผดิ ชอบตอ่ การปฏบิ ตั งิ านของสว่ นราชการ

• ความรบั ผดิ ชอบดา้ นการเงนิ และการป้องกนั การ

ทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ

• การปกปอ้ งผลประโยชนข์ องประเทศและผู้มสี ว่ นได้

ส่วนเสยี

• ความรบั ผดิ ชอบตอ่ การนาองค์การของผบู้ ริหาร

• ความรับผิดชอบตอ่ การวางแผนยุทธศาสตร์

7 การประเมนิ ผลการดาเนนิ การ

- สว่ นราชการมีการประเมินผลการดาเนินการของ

ผบู้ ริหารส่วนราชการรวมทั้งระบบกากบั ดูแลองค์การ

- ผู้บริหารส่วนราชการและระบบกากับดูแลองค์การ

ใช้ผลการทบทวนผลการดาเนนิ การข้างต้นไปพฒั นา

ต่อและปรับปรุงประสทิ ธิผลของระบบการนาองค์การ

ข. การประพฤติปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย

และอยา่ งมีจริยธรรม

8 การประพฤติปฏบิ ัติตามกฎหมายและกฎระเบียบ

- ส่วนราชการดาเนนิ การในกรณีที่การบริการและ

การปฏบิ ัตงิ านมีผลกระทบในเชงิ ลบตอ่ สงั คม

สว่ นราชการได้คาดการณล์ ่วงหนา้ ถงึ ความกงั วล

ของสาธารณะท่ีมีต่อการบรกิ ารและการปฏิบตั ิงาน

ท้งั ในปจั จบุ นั และในอนาคต

- ส่วนราชการมีการเตรียมการเชงิ รกุ ถึงความกงั วล

และผลกระทบเหลา่ น้ี รวมถึงการอนรุ ักษ์

ทรพั ยากรธรรมชาติและใชก้ ระบวนการจัดการ

ห่วงโซอ่ ปุ ทานทม่ี ีประสทิ ธผิ ล

- สว่ นราชการมีกระบวนการ ตัววดั และ

เป้าประสงค์ที่สาคญั เพอ่ื ให้การดาเนนิ การเปน็ ไป

ตามระเบยี บ ข้อบังคับท่ีกาหนดหรอื ดกี ว่า

- ส่วนราชการได้มกี ารกาหนดกระบวนการ

ตัววดั และเปา้ ประสงคท์ ่สี าคัญเพื่อดาเนนิ การ

22

Category/Item No. Question Score
0123 4 5

เรอื่ งความเสีย่ งท่เี กยี่ วข้องกบั การบรกิ าร และการ

ปฏบิ ัติงานของตน

9 การประพฤตปิ ฏบิ ตั ิอย่างมีจรยิ ธรรม

- สว่ นราชการดาเนนิ การส่งเสรมิ และสรา้ งความม่นั ใจ

วา่ การปฏิบตั ิการทกุ ดา้ นของสว่ นราชการมีการ

ประพฤตปิ ฏบิ ตั อิ ยา่ งมจี รยิ ธรรม

- ส่วนราชการมกี ระบวนการ และตวั วดั หรอื ตัวชวี้ ดั

ทีส่ าคัญ ในการสง่ เสรมิ และกากบั ดแู ลให้มี การ

ประพฤติปฏิบตั อิ ย่างมจี ริยธรรมภายใตโ้ ครงสรา้ ง

การกากบั ดูแลทว่ั ทัง้ องคก์ าร รวมทั้งในการ

ปฏสิ มั พันธก์ บั ผ้มู ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ทกุ กลุ่ม

- ส่วนราชการมวี ิธกี ารกากบั ดูแลและดาเนนิ การ

ในกรณีทีม่ กี ารกระทาท่ีขัดต่อหลกั จรยิ ธรรม

ค. การสรา้ งคณุ ูปการตอ่ สังคม

10 ความผาสกุ ของสงั คม

- ส่วนราชการคานงึ ถงึ ความผาสุกและประโยชนส์ ุข

ของสังคมเปน็ สว่ นหนึ่งในยุทธศาสตรแ์ ละการ

ปฏบิ ตั กิ ารประจาวนั รวมถงึ ได้มีสว่ นในการสร้าง

ความสมบรู ณ์ให้กบั ระบบสง่ิ แวดล้อม สงั คม และ

เศรษฐกจิ

11 การสนบั สนนุ ชุมชน

- ส่วนราชการมีการพิจารณาถงึ ประโยชน์สุขและ

ผลประโยชน์ต่อการสนบั สนนุ ชมุ ชนทส่ี าคัญ โดย

อาจจะกาหนดกจิ กรรมในยทุ ธศาสตรห์ รือแผนปฏิบตั ิ

งานขององค์การ

- สว่ นราชการมกี ารกาหนดชุมชนทสี่ าคญั ของส่วน

ราชการ และมกี ารกาหนดกิจกรรมท่สี ว่ นราชการเข้าไป

มีสว่ นรว่ ม เพอ่ื สนับสนนุ และสรา้ งความเข้มแขง็

ตอ่ ชมุ ชน ซึ่งรวมถึงกจิ กรรมท่ีใชป้ ระโยชนข์ อง

สมรรถนะหลกั ของส่วนราชการ

- ผู้บริหารของสว่ นราชการและบคุ ลากรมสี ่วนร่วม

ในการดาเนนิ การดงั กลา่ ว

Average

Average Category 1

23

Category/Item No. Question Score
0123 4 5

หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์

2.1 การจัดทา ก. กระบวนการจัดทายทุ ธศาสตร์

ยทุ ธศาสตร์และ 1 กระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์
กลยุทธ์ - สว่ นราชการมวี ธิ ีการวางแผนยุทธศาสตร์

มกี ารกาหนดขัน้ ตอนที่สาคัญของกระบวนการ

จัดทายทุ ธศาสตร์ และกาหนดผู้เกี่ยวขอ้ งท่ีสาคญั

- มกี รอบเวลาของการวางแผนระยะสั้นและ

ระยะยาว และมวี ิธกี ารในการทาใหก้ ระบวนการ

วางแผนเชิงยุทธศาสตรม์ คี วามสอดคล้องกบั

กรอบเวลาดงั กล่าว

- กระบวนการวางแผนเชงิ ยทุ ธศาสตร์ไดค้ านงึ ถงึ

ความต้องการของส่วนราชการในด้านความ

คลอ่ งตวั ความยดื หยนุ่ ในการปฏบิ ตั กิ าร การสร้าง

โอกาสในการเปลีย่ นแปลง และการจดั ลาดับ

ความสาคญั ของประเด็นในการรเิ ริม่ เปลี่ยนแปลง

2 นวัตกรรม

- ส่วนราชการมีวธิ ีการหรือยุทธศาสตร์ที่สร้าง

สภาพแวดล้อมในการกระตุน้ การสรา้ งนวตั กรรม

และมีการบูรณาการนวัตกรรม

- สว่ นราชการมีวิธีการในการกาหนดโอกาสเชงิ

ยทุ ธศาสตร์

- มีโอกาสเชิงยุทธศาสตรท์ ส่ี าคญั ของส่วนราชการ

3 การวเิ คราะหแ์ ละกาหนดยทุ ธศาสตร์

- สว่ นราชการมวี ิธีการในการรวบรวมและวเิ คราะห์

ข้อมลู และพัฒนาสารสนเทศทเ่ี กย่ี วกบั

องคป์ ระกอบสาคัญต่อไปน้ี

• ความทา้ ทายและความได้เปรยี บเชิงยทุ ธศาสตร์

• ความเสยี่ งที่คุกคามต่อความสาเร็จในอนาคต

• จดุ บอดท่ีอาจเกดิ ขนึ้ ในกระบวนการวางแผน

เชิงยทุ ธศาสตรแ์ ละในสารสนเทศ

• ความสามารถของส่วนราชการในการนาแผน

ยทุ ธศาสตรไ์ ปปฏิบัติ

• ความเปล่ียนแปลงที่อาจเกดิ ข้ึนใน

สภาพแวดลอ้ มทั้งภายในและภายนอกขององค์การ

24

Category/Item No. Question Score
0123 4 5

4 ระบบงานและสมรรถนะหลักของส่วนราชการ

- สว่ นราชการมวี ิธกี ารในการตดั สินใจเรอ่ื ง

ระบบงานท่สี าคญั

- ส่วนราชการมีวธิ กี ารในการตดั สินใจวา่

กระบวนการใด

จะดาเนินการโดยผู้ส่งมอบพนั ธมติ ร และเครือข่าย

ความรว่ มมอื การตัดสนิ ใจเหลา่ นีไ้ ดค้ านงึ ถึง

สมรรถนะหลกั ของสว่ นราชการ และสมรรถนะ

หลักของผสู้ ง่ มอบและพนั ธมติ รที่มศี กั ยภาพ

- สว่ นราชการมีวิธีการในการกาหนดสมรรถนะ

หลกั ในอนาคตของสว่ นราชการ

ข. วตั ถุประสงค์เชิงยทุ ธศาสตร์

5 วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ ยุทธศาสตรท์ สี่ าคัญ

- ส่วนราชการมกี ารกาหนดวัตถุประสงค์

เชิงยุทธศาสตร์ทสี่ าคญั มีการระบกุ รอบเวลา

ทจ่ี ะบรรลุวตั ถุประสงคด์ ังกล่าว และมีการกาหนด

เป้าประสงค์ที่สาคัญที่สุดของวัตถุประสงค์

เชงิ ยทุ ธศาสตร์เหล่าน้ัน

- ส่วนราชการมีการเปลีย่ นแปลงท่สี าคญั

ในดา้ นผลผลิตและบริการ ผรู้ ับบรกิ าร

และกลุม่ เป้าหมาย ผ้สู ่งมอบและพนั ธมติ ร

และไดว้ างแผนการปฏิบตั กิ ารไว้

6 การพจิ ารณาวัตถปุ ระสงค์เชิงยทุ ธศาสตร์

- วัตถปุ ระสงค์เชงิ ยุทธศาสตร์ของสว่ นราชการ

สามารถตอบประเด็นตอ่ ไปน้ี

• ตอบสนองความทา้ ทายเชิงยุทธศาสตร์

และใช้ประโยชน์จากความไดเ้ ปรียบเชิงยุทธศาสตร์

• ตอบสนองโอกาสในการสร้างนวตั กรรมใน

ผลผลติ และบรกิ าร

• การใช้ประโยชน์จากสมรรถนะหลกั ของ

สว่ นราชการ และโอกาสในการสร้างสมรรถนะใหม่

• สรา้ งสมดุลระหวา่ งโอกาสและความท้าทาย

ในระยะสน้ั และระยะยาว

• สรา้ งความสมดุลของความตอ้ งการของผูม้ ี

สว่ นได้สว่ นเสยี ท่ีสาคัญทง้ั หมด

Average

25

Category/Item No. Question Score
0123 4 5

2.2 การนา ก. การจัดทาแผนปฏบิ ตั กิ ารและการถ่ายทอด

ยทุ ธศาสตร์ไป สกู่ ารปฏิบัติ

ปฏิบตั ิ 7 การจดั ทาแผนปฏิบัติการ

- สว่ นราชการมีวิธีการในการจัดทาแผนปฏิบตั ิการ

แผนปฏบิ ตั ิการท่ีสาคัญท้งั ระยะสน้ั และระยะยาว

และแผนดังกล่าวมีความสมั พันธก์ ับวตั ถปุ ระสงค์

เชงิ ยทุ ธศาสตร์ของสว่ นราชการ

8 การนาแผนปฏบิ ตั ิการไปปฏบิ ัติ

- ส่วนราชการมีวธิ ีการในการถ่ายทอดแผนปฏิบัติ

การส่กู ารปฏิบตั ิทัว่ ทัง้ สว่ นราชการไปยังบุคลากร

ผสู้ ่งมอบ พนั ธมติ ร และเครือข่ายความร่วมมือ

ท่สี าคัญเพ่อื ให้มัน่ ใจวา่ ส่วนราชการบรรลุ

วัตถุประสงคเ์ ชงิ ยุทธศาสตรท์ ่ีสาคัญ

- สว่ นราชการมวี ธิ กี ารเพอ่ื ทาให้มัน่ ใจว่าผลการ

ดาเนินการท่สี าคญั ตามแผนปฏิบตั ิการ

จะประสบผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ทต่ี ั้งไว้

9 การจัดสรรทรัพยากร

- สว่ นราชการมีการดาเนินการเพื่อให้มน่ั ใจว่า

ทรัพยากรดา้ นงบประมาณและด้านอ่นื ๆ

มีพร้อมใช้ในการสนับสนุนแผนปฏิบัตกิ ารจนประสบ

ความสาเรจ็ และบรรลพุ ันธะผูกพนั ในปัจจบุ ัน

- ส่วนราชการมีวิธกี ารในการจัดสรรทรัพยากรเหล่านี้

เพ่ือสนบั สนุนแผนปฏิบัติการ

- ส่วนราชการจัดการความเสยี่ งด้านการเงนิ และดา้ น

อนื่ ที่เก่ียวข้องกับแผนดังกล่าวเพื่อทาให้เกิดความ

ม่ันใจถึงความสาเร็จของสว่ นราชการ

10 แผนกลยุทธ์ด้านบุคคลกรทท่ี าให้ยุทธศาสตร์

เปน็ ไปได้

- แผนกลยุทธ์ด้านบุคลากรที่สนับสนุนการบรรลุ

ความสาเร็จตามวตั ถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์และ

แผนปฏบิ ตั ิการระยะส้ันและระยะยาว

- แผนกลยุทธ์ดังกลา่ วได้คานงึ ถงึ ผลกระทบ

ต่อบุคลากร และความเปลี่ยนแปลงท่ีอาจเกิดข้ึน

เกี่ยวข้องกับความต้องการด้าน ขีดความสามารถและ

อตั รากาลังบุคลากร

26

Category/Item No. Question Score
0123 4 5

11 ตัววดั ผลการดาเนนิ การ

- ส่วนราชการกาหนดตวั วดั หรอื ตัวชวี้ ดั ผลการ

ดาเนินการท่ีใชต้ ิดตามความสาเร็จและประสิทธิผล

ของแผนปฏิบัติการ

- ส่วนราชการมวี ิธีการเพือ่ ทาให้มนั่ ใจวา่ ระบบ

การวัดผลโดยรวมของแผนปฏิบตั ิการเสรมิ ให้

ส่วนราชการม่งุ ไปในแนวทางเดยี วกนั

12 การคาดการณ์ผลการดาเนินการ

- สว่ นราชการได้คาดการณ์ผลการดาเนนิ การตาม

กรอบเวลาของการวางแผนทั้งระยะสั้นและระยะ

ยาวของส่วนราชการตามตวั วดั หรือตัวช้ีวัดผลการ

ดาเนนิ การทีส่ าคัญที่ระบุไว้ในข้อ 2.2 ก (11)

- สว่ นราชการมีการเปรยี บเทียบผลการดาเนินการ

ทคี่ าดการณไ์ ว้ของตวั วดั หรือตวั ชวี้ ดั เหล่านี้

กบั ผลท่ีคาดการณ์ของค่แู ข่ง/คเู่ ทียบของส่วน

ราชการ

- สว่ นราชการมีวิธีการดาเนินหากพบว่าผลการ

ดาเนินการมีความแตกต่างเม่ือเปรียบเทียบกบั

คูแ่ ข่ง/คเู่ ทยี บ หรอื กบั สว่ นราชการในระดับที่

เทียบเคยี งกนั ได้

ข. การปรับเปล่ียนแผนปฏิบตั กิ าร

13 การปรับเปลี่ยนแผนปฏิบตั ิการ

- ในกรณีท่ีสถานการณบ์ ังคับใหต้ ้องปรับแผน

ส่วนราชการ

มวี ิธกี ารปรับแผนและนาแผนปฏบิ ัติการใหม่

ไปปฏบิ ัติได้อย่างรวดเรว็

Average

Average Category 2

27

Category/Item No. Question Score
0123 4 5

หมวด 3 ผ้รู ับบรกิ ารและผู้มีสว่ นได้ส่วนเสีย

3.1 ความ ก. สารสนเทศผ้รู บั บรกิ ารและผู้มีส่วนได้สว่ นเสีย

คาดหวังของ 1 ผูร้ บั บรกิ ารและผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ในปัจจุบัน
ผู้รบั บริการและ
- สว่ นราชการมีวธิ ีการในการรบั ฟัง ปฏสิ ัมพันธ์

ผ้มู สี ่วนได้สว่ น และสงั เกตผู้รบั บริการและผู้มีสว่ นได้ส่วนเสยี

เสยี เพ่อื ให้ได้สารสนเทศทส่ี ามารถนาไปใช้ต่อได้

วธิ ีการดังกลา่ วมคี วามแตกตา่ งกนั ระหวา่ ง

ผรู้ บั บรกิ ารและผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสีย กลุ่มผูร้ ับบรกิ าร

กลุม่ ผูม้ ีส่วนไดส้ ่วนเสีย หรอื กลมุ่ เปา้ หมายอ่ืน

- วธิ กี ารดงั กลา่ วมคี วามแตกต่างกันในแต่ละช่วง

ของวงจรชีวติ ของการเปน็ ผูร้ ับบริการและผ้มู ีสว่ น

ไดส้ ว่ นเสยี

- สว่ นราชการมีวิธีการในการค้นหาข้อมลู ปอ้ นกลับ

และข้อเสนอแนะจากผรู้ บั บริการและผูม้ สี ว่ นได้

สว่ นเสยี อย่างทนั ทว่ งที และสามารถนาข้อมูล

ดังกลา่ วไปใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพของผลผลติ

บริการและการสนบั สนุนผรู้ ับบริการและผู้มสี ่วนได้

ส่วนเสีย

2 ผรู้ บั บริการและผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ในอนาคต

- ส่วนราชการมีวธิ กี ารรบั ฟงั และค้นหาสารสนเทศ

ผรู้ บั บริการและผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสียในอนาคต

เพอ่ื ให้ไดส้ ารสนเทศที่สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์

ตอ่ ได้

- ส่วนราชการมวี ธิ ีการในการคน้ หาสารสนเทศของ

คู่แขง่ /ค่เู ทียบในเร่ืองเก่ียวกบั ผลผลติ การบรกิ าร

และการสนบั สนนุ ผูร้ ับบริการและผู้มีสว่ นไดส้ ว่ น

เสยี เพอ่ื ให้ได้สารสนเทศทส่ี ามารถนาไปใช้ตอ่ ได้

28

Category/Item No. Question Score
0123 4 5

ข. การจาแนกผรู้ บั บรกิ ารและผูม้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสยี

และ ผลผลิตการบริการ

3 การจาแนกผ้รู บั บริการและผู้มีสว่ นได้ส่วนเสีย

- ส่วนราชการมวี ธิ ีการในการจาแนกกลุ่มผ้รู ับบริการ

ผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสีย หรือกลุ่มเป้าหมายอ่นื

- ส่วนราชการมวี ธิ ีการใช้สารสนเทศเกี่ยวกบั

ผรู้ บั บรกิ ารและผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ตลอดจนผลผลติ

และการบริการเพ่ือจาแนกกลุ่มผรู้ บั บริการ

และผู้มี ส่วนได้ส่วนเสยี ทั้งในปัจจบุ ันและในอนาคต

- ส่วนราชการมีวิธีการนาผรู้ ับบริการและผู้มีสว่ น

ไดส้ ่วนเสียท่ีพงึ มใี นอนาคตประกอบการพจิ ารณา

และมีวิธีการกาหนดวา่ กลมุ่ ผรู้ ับบริการและผมู้ สี ว่ น

ได้ส่วนเสยี และกลุ่มเป้าหมายใดจะได้รบั ความสาคญั

และมุ่งเน้นเพื่อให้เกดิ ผลการดาเนนิ การท่ีดีข้ึน

โดยรวม

4 ผลผลติ และการบรกิ าร

- สว่ นราชการมวี ธิ กี ารในการกาหนดความต้องการ

ผลผลติ และการบรกิ ารของผู้รับบริการและผู้มี

สว่ นได้ส่วนเสีย

- ส่วนราชการมีวธิ ีการกาหนดและปรับผลผลิตและ

การบรกิ ารเพื่อตอบสนองความต้องการและทาให้

เหนือกวา่ ความคาดหวังของกลุม่ ผ้รู ับบรกิ ารและ

ผมู้ สี ่วนได้สว่ นเสยี (ตามที่ระบไุ ว้ในลักษณะสาคญั

ขององค์การ)

- ส่วนราชการมวี ิธีการค้นหาและปรบั ผลผลิตและ

การบริการเพ่อื เขา้ สูก่ ลุม่ เป้าหมายใหม่ เพ่ือดึงดดู

ผู้รบั บริการและผูม้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี กลุ่มใหม่

รวมท้ังสร้างโอกาสในการขยายความสัมพันธ์

กบั ผู้รบั บรกิ ารและผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสยี ในปัจจุบนั

Average

29

Category/Item No. Question Score
0123 4 5

3.2 การสร้าง ก. ความสัมพันธ์และการสนบั สนนุ ผรู้ บั บริการ

ความผูกพนั และผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี

5 การจัดการความสมั พนั ธ์

- สว่ นราชการมวี ิธกี ารสอ่ื สาร สร้าง และจดั การ

ความสมั พันธ์กับผู้รับบรกิ ารและผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเสีย

เพอ่ื

• ให้ไดผ้ ้รู บั บรกิ ารและผู้มีสว่ นได้สว่ นเสียใหม่

และเพ่ิมกลมุ่ ผู้รับบริการ

• จดั การและสรา้ งภาพลักษณ์ที่ดีของส่วน

ราชการ

• รกั ษาสมั พันธก์ ับผรู้ บั บริการและผมู้ สี ่วนได้

ส่วนเสยี ตอบสนองความต้องการ และทาให้

เหนอื กว่าความคาดหวงั ในแต่ละช่วงของวงจรชวี ิต

ของการเป็นผู้รับบรกิ ารและผู้มสี ่วนได้สว่ นเสยี

• เพิม่ ความผูกพันกับผู้รับบรกิ ารและผู้มีสว่ นได้

สว่ นเสยี กบั สว่ นราชการ

- สว่ นราชการมวี ิธกี ารใชป้ ระโยชนจ์ ากสื่อ

เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือเสรมิ สร้างความสมั พนั ธ์

ของผ้รู บั บรกิ ารและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี กับ

ส่วนราชการ

6 การเข้าถงึ และการสนบั สนนุ ผู้รับบริการ

และผูม้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี

- ส่วนราชการมีวธิ กี ารทาใหผ้ ู้รบั บริการและผู้มี

ส่วนไดส้ ว่ นเสียสามารถเข้าถึงสารสนเทศ

การบรกิ าร และการสนับสนนุ จากส่วนราชการ

- ส่วนราชการมรี ปู แบบและกลไกการสื่อสารท่ี

สนบั สนุนในแต่ละกล่มุ ผรู้ ับบริการและผ้มู ีสว่ นได้

สว่ นเสยี รปู แบบและกลไกเหล่าน้มี คี วามแตกต่าง

กนั ระหว่างกลุ่มผ้รู บั บรกิ ารและผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี

- ส่วนราชการมวี ธิ กี ารระบขุ ้อกาหนดที่สาคัญ

ในการสนับสนุนผ้รู บั บรกิ ารและผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสยี

และมั่นใจได้ว่าข้อกาหนดดงั กล่าวได้ถ่ายทอดสู่การ

ปฏบิ ตั ไิ ปยังทุกคนและทุกกระบวนการท่ีเกยี่ วข้อง

ในการสนับสนุนผรู้ บั บริการและผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย

30

Category/Item No. Question Score
0123 4 5

7 การจดั การกบั ขอ้ รอ้ งเรียน

- สว่ นราชการมีวธิ ีการจดั การกบั ข้อรอ้ งเรยี นของ

ผรู้ บั บรกิ ารและผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสียและทาให้มนั่ ใจ

ว่าขอ้ รอ้ งเรยี นไดร้ ับการแก้ไขอยา่ งทันทว่ งทีและ

มปี ระสิทธผิ ล

- การจดั การข้อร้องเรยี นของส่วนราชการสามารถ

เรยี กความเช่ือม่นั ของผู้รบั บริการและผ้มู สี ว่ นได้

ส่วนเสยี กลบั คืนมา และสร้างเสรมิ ความพึงพอใจ

และการให้ความสาคัญกบั ผู้รับบรกิ ารและผูม้ สี ว่ น

ได้สว่ นเสีย

ข. การสรา้ งความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ

และผู้มสี ่วนได้ส่วนเสีย

8 ความพงึ พอใจ ความไม่พึงพอใจและความผกู พนั

- ส่วนราชการมวี ิธกี ารในการประเมินความพงึ

พอใจ ความไม่พงึ พอใจ และความผกู พันของ

ผูร้ ับบริการและผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ท่ีแตกต่างกนั

ในแตล่ ะกลมุ่

- ส่วนราชการมีวิธีการท่ีทาให้มน่ั ใจว่าการประเมนิ

ดงั กลา่ วนามาสู่สารสนเทศท่ีสามารถนาไปใช้

ประโยชน์เพ่ือตอบสนองใหเ้ หนือความคาดหวัง

ของผรู้ บั บรกิ ารและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

9 ความพงึ พอใจเปรียบเทียบกับหน่วยงานอืน่

- ส่วนราชการมวี ธิ กี ารค้นหาสารสนเทศด้านความ

พงึ พอใจของผรู้ ับบริการและผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสียที่มี

ตอ่ สว่ นราชการเปรยี บเทียบกับความพึงพอใจ

ของผู้รบั บรกิ ารและผ้มู สี ว่ นได้ส่วนเสียของคู่แขง่

หรอื คเู่ ทียบ

- สว่ นราชการมวี ิธีการคน้ หาสารสนเทศด้านความ

พงึ พอใจของผูร้ ับบริการและผู้มีสว่ นได้สว่ นเสีย

ทีม่ ีต่อส่วนราชการเปรียบเทยี บกับระดับความพึง

พอใจของสว่ นราชการอ่นื ท่ีมีต่อผลผลิตหรอื การ

บรกิ ารท่คี ล้ายคลึงกัน หรอื กับระดบั เทยี บเคยี ง

ของลกั ษณะงานประเภทอ่นื

31

Category/Item No. Question Score
0123 4 5

ค. การใชข้ ้อมูลความคดิ เหน็ ของผ้รู ับบริการ

และผมู้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสยี และข้อมูลอืน่ ทีเ่ กี่ยวข้อง

10 การใช้ข้อมูลและสารสนเทศของผู้รับบริการ

และผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสียและข้อมลู อืน่ ทเ่ี ก่ียวข้อง

- ส่วนราชการมกี ารใชข้ ้อมูลความคิดเหน็ ของ

ผ้รู ับบรกิ ารและผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสยี รวมถึงข้อมลู

และสารสนเทศอนื่ ทเ่ี กยี่ วข้อง เพอ่ื สรา้ งวฒั นธรรม

ที่มงุ่ เนน้ ผรู้ บั บริการและผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสียและเพ่ือ

สนับสนนุ การตดั สนิ ใจในการดาเนนิ งาน

Average
Average Category 3

Category/Item No. Question Score
0123 4 5

หมวด 4 การวดั การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

4.1 การวัด การ ก. การวดั ผลการดาเนินการ

วิเคราะห์ และ 1 ตัววดั ผลการดาเนนิ การ
การปรับปรุงผล
- สว่ นราชการมีวิธกี ารเลอื ก รวบรวม ปรับให้
การดาเนนิ การ
สอดคลอ้ งไปในแนวทางเดียวกัน และบูรณาการ

ของส่วนราชการ ขอ้ มลู และสารสนเทศเพื่อติดตามผลการปฏบิ ตั ิการ

ประจาวนั และผลการดาเนนิ การโดยรวมของส่วน

ราชการ ซึง่ รวมถึงการติดตามความกา้ วหน้าในการ

บรรลุวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ

- สว่ นราชการมีตวั วดั ผลการดาเนนิ การทส่ี าคญั ท้ัง

ระยะสน้ั และระยะยาว รวมท้ังมกี ารติดตามตัววดั

- ส่วนราชการมวี ิธีการใชข้ ้อมูลและสารสนเทศ

เหล่านีเ้ พือ่ สนับสนนุ การตดั สินใจในระดบั สว่ น

ราชการการปรบั ปรงุ อย่างต่อเน่อื ง และการสรา้ ง

นวัตกรรม

32

Category/Item No. Question Score
0123 4 5

2 ข้อมูลเชงิ เปรียบเทียบ

- ส่วนราชการมีวิธีการเลอื กและสรา้ งความม่นั ใจว่า

ไดใ้ ชข้ ้อมลู และสารสนเทศเชิงเปรียบเทียบที่สาคัญ

อยา่ งมีประสิทธิผล และอยบู่ นพ้นื ฐานขอ้ มลู ที่

แทจ้ ริง เพื่อสนับสนนุ การตดั สนิ ใจในระดบั

ปฏบิ ัตกิ ารและระดับยทุ ธศาสตร์ รวมทง้ั การสรา้ ง

นวัตกรรม

3 ความคลอ่ งตัวของการวัดผล

- ส่วนราชการมีวธิ ีการดาเนนิ การเพ่ือให้ม่ันใจวา่

ระบบการวดั ผลการดาเนิ นการสามารถตอบสนอง

ต่อการเปลย่ี นแปลงทีเ่ กิดขึน้ อยา่ งรวดเร็ว หรอื ที่

ไม่ได้คาดถึงท้ังภายในหรือภายนอกสว่ นราชการ

และสามารถเตรยี มข้อมูลได้อยา่ งทนั กาล

ข. การวิเคราะห์ และทบทวนผลการดาเนินการ

4 การวเิ คราะห์ และทบทวนผลการดาเนินการ

- ส่วนราชการมีวิธีการทบทวนผลการดาเนนิ การ

และขดี ความสามารถของส่วนราชการ และมีการใช้

ตัววดั ผลการดาเนนิ การทีส่ าคัญของส่วนราชการใน

การทบทวน

- สว่ นราชการมกี ารวิเคราะห์เพอ่ื สนับสนนุ การ

ทบทวน และทาใหม้ ่ันใจวา่ ผลสรุปนน้ั ใช้ได้

- ส่วนราชการและผ้บู ริหารของส่วนราชการใช้ผล

การทบทวนในการประเมนิ ผลสาเรจ็ ของสว่ น

ราชการในเชิงแขง่ ขัน และความกา้ วหนา้ ในการ

บรรลุวัตถุประสงคเ์ ชงิ ยุทธศาสตร์ และแผนปฏบิ ตั ิ

การ

- สว่ นราชการและผบู้ รหิ ารของส่วนราชการใชผ้ ล

การทบทวนในการประเมนิ ความสามารถในการ

ตอบสนองอย่างรวดเร็วต่อความเปล่ียนแปลงใน

ดา้ นความต้องการและความท้าทายใน

สภาพแวดล้อมท่ีส่วนราชการดาเนินงานอยู่

- คณะกรรมการกากบั ดูแลส่วนราชการมวี ธิ ีการใน

การทบทวนผลการดาเนินการของสว่ นราชการและ

ความกา้ วหน้าเมื่อเทียบกบั วตั ถุประสงค์เชิง

ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ

33

Category/Item No. Question Score
0123 4 5

ค. การปรับปรงุ ผลการดาเนินการ

5 ผลการดาเนินการในอนาคต

- ส่วนราชการมวี ธิ กี ารใช้ผลการทบทวนผลการ

ดาเนินการ (ท่ีได้จากเรื่อง การวเิ คราะห์ และ

ทบทวนผลการดาเนนิ การ) และขอ้ มลู เชิง

เปรยี บเทียบ/แข่งขันทสี่ าคญั เพ่อื คาดการณ์

ผลการดาเนนิ การในอนาคต

- หากมีความแตกต่างระหวา่ งการคาดการณ์

ผลการดาเนนิ การในอนาคตกับการคาดการณผ์ ล

การดาเนนิ การของแผนปฏบิ ัติการทส่ี าคัญ

(ตามทีด่ าเนินการในหมวด 2 เรอ่ื งการคาดการณ์

ผลการดาเนินการ) ส่วนราชการมีวิธกี ารในการ

ปรับแก้ความแตกต่างและลดผลกระทบที่อาจ

เกิดข้นึ

6 การปรับปรงุ อย่างต่อเนือ่ งและสร้างนวัตกรรม

- ส่วนราชการมีวธิ กี ารใชผ้ ลการทบทวนผลการ

ดาเนนิ การ

(ทีไ่ ด้จากเร่อื ง การวเิ คราะห์ และทบทวนผลการ

ดาเนนิ การ) ไปใชจ้ ดั ลาดบั ความสาคัญของเร่ืองที่

ต้องปรบั ปรงุ อย่างต่อเน่ือง และนาไปเป็นโอกาสใน

การสร้างนวัตกรรม

- สว่ นราชการมวี ธิ กี ารถา่ ยทอดลาดบั ความสาคัญ

และโอกาสดังกล่าว เพ่ือใหค้ ณะทางานหรือกลมุ่

งานและระดับปฏิบตั ิการนาไปปฏิบัตทิ ัว่ ทงั้ ส่วน

ราชการ

- ส่วนราชการมวี ิธีการถ่ายทอดลาดบั ความสาคญั

และโอกาสดังกล่าวไปยังหนว่ ยงานภายนอกท่ี

เกี่ยวขอ้ งของสว่ นราชการ เพื่อทาให้มัน่ ใจว่ามี

ความสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกนั กบั

สว่ นราชการ

Average

34

Category/Item No. Question Score
0123 4 5

4.2 การจดั การ ก. ข้อมูล และสารสนเทศ

สารสนเทศ และ 7 คณุ ภาพของขอ้ มูลและสารสนเทศ
การจัดการ
- สว่ นราชการมีวธิ ีการทาใหม้ ั่นใจว่าข้อมูล

ความรู้ สารสนเทศของสว่ นราชการมีความแมน่ ยา ถูกต้อง

และเชื่อถือได้ ทนั กาล (ขอ้ มูลมีคุณภาพ)

- ส่วนราชการมวี ธิ กี ารในการจัดการข้อมูลทาง

อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ข้อมูลและสารสนเทศอืน่ ๆ

เพอ่ื ใหม้ ัน่ ใจวา่ ข้อมลู เหลา่ นัน้ มีความแมน่ ยา

ถูกต้อง สมบูรณ์ เช่ือถือไดแ้ ละแพรห่ ลาย

8 ความพร้อมใช้งานของข้อมูลและสารสนเทศ

- สว่ นราชการมวี ธิ กี ารดาเนินการเพ่ือใหข้ ้อมลู และ

สารสนเทศท่จี าเป็นมีความพร้อมใชง้ านด้วย

รูปแบบทใ่ี ชง้ านงา่ ยสาหรับบุคลากร เครือขา่ ย

ผู้ส่งมอบ พันธมติ ร ผใู้ ห้ความรว่ มมือ รวมทั้ง

ผู้รบั บรกิ ารและผูม้ ีส่วนได้สว่ นเสีย

- สว่ นราชการมีวธิ ใี นการประเมิน/ตรวจสอบ

เพอื่ ให้มัน่ ใจวา่ ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศของ

ส่วนราชการ มีความนา่ เชือ่ ถือ และใช้งานงา่ ย

ข. ความรูข้ องส่วนราชการ

9 การจัดการความรู้

- สว่ นราชการมวี ธิ ีการในการ

• รวบรวมและถ่ายทอดความรขู้ องบคุ ลากร

• ผสานและหาความสัมพันธร์ ะหวา่ งขอ้ มลู

จากแหลง่ ต่าง ๆ เพื่อสร้างองคค์ วามร้ใู หม่

• ถ่ายทอดความรทู้ ี่เกี่ยวข้องระหว่างส่วน

ราชการกบั ผรู้ บั บริการและผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสีย

เครือข่าย ผู้ส่งมอบพนั ธมิตร และผใู้ ห้ความร่วมมือ

• แบ่งปนั และนาวิธปี ฏบิ ัติท่เี ป็นเลศิ ไป

ดาเนินการ

• รวบรวมและถา่ ยทอดความรทู้ ีเ่ กยี่ วข้องเพอื่ ใช้

ในการสรา้ งนวตั กรรมและกระบวนการวางแผน

เชงิ ยุทธศาสตร์

35

Category/Item No. Question Score
0123 4 5

10 วธิ ีปฏิบตั ิที่ดีเยี่ยม

- ส่วนราชการมวี ิธกี ารค้นหาวธิ ปี ฏิบตั ิทดี่ เี ยยี่ มจาก

หน่วยงานทงั้ ภายในและภายนอกหรือหน่วย

ปฏบิ ัติการทมี่ ผี ลการดาเนนิ การที่ดี

- ส่วนราชการมวี ิธีการในการแลกเปล่ยี นและนาวิธี

ปฏิบตั ิทดี่ เี ยีย่ มไปสู่การปฏบิ ัติจรงิ ในทุกๆ

หนว่ ยงานท่วั ทัง้ องคก์ าร

11 การเรียนรู้ระดับองค์การ

- ส่วนราชการมีวิธีการใชอ้ งค์ความรูแ้ ละทรัพยากร

ต่าง ๆ เพ่ือให้การเรียนรฝู้ ังลึกลงไปในวิถีการ

ปฏิบัตงิ านของส่วนราชการ

Average

Average Category 4

Category/Item No. Question Score
0123 4 5

หมวด 5 บคุ ลากร

5.1 ก. ขีดความสามารถและอตั รากาลงั ดา้ นบุคลากร

สภาพแวดล้อม 1 ขดี ความสามารถและอัตรากาลัง

ด้านบคุ ลากร - สว่ นราชการมีวิธกี ารประเมินความต้องการ

ด้านขีดความสามารถและอัตรากาลงั ดา้ นบุคลากร

รวมท้ังทกั ษะ สมรรถนะ คุณวฒุ ิ และกาลงั คนที่

ส่วนราชการจาเปน็ ต้องมีในแตล่ ะระดบั

2 บคุ ลากรใหม่

- ส่วนราชการมีวธิ กี ารสรรหา ว่าจ้าง บรรจุ และ

พิจารณาความพร้อมในการปฏบิ ัติงานของบุคลากร

ใหม่

- ส่วนราชการมั่นใจได้ว่าบคุ ลากรเปน็ ตวั แทนท่ี

สะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงความหลากหลายทางมุมมอง

วฒั นธรรม และความคดิ ของบุคลากรที่สว่ น

ราชการจ้างและของชมุ ชนของผูร้ ับบรกิ ารและ

ผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสีย

- สว่ นราชการมั่นใจได้วา่ บุคลากรใหมม่ ีความ

เหมาะสมกับวฒั นธรรมขององค์การ

36

Category/Item No. Question Score
0123 4 5

3 การทางานให้บรรลุผล

- สว่ นราชการมีวธิ ีการจัดโครงสรา้ งและบรหิ าร

บคุ ลากรเพื่อให้

• งานของส่วนราชการบรรลผุ ลสาเรจ็

• ใชป้ ระโยชนอ์ ย่างเตม็ ที่จากสมรรถนะหลกั ของ

ส่วนราชการ

• สง่ เสรมิ สนับสนุนการมุ่งเน้นผรู้ บั บริการและ

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี และการบรรลพุ ันธกจิ

• มีผลการดาเนินการที่เหนือกว่าความคาดหมาย

4 การจดั การการเปล่ียนแปลงดา้ นบคุ ลากร

- สว่ นราชการมีวธิ กี ารเตรียมบุคลากรให้พร้อมรบั ต่อ

การเปล่ยี นแปลงความต้องการดา้ นขีดความสามารถ

และอตั รากาลังท่ีกาลังจะเกิดข้ึน ความต้องการ

เหลา่ นี้มีการเปล่ียนแปลงในช่วงเวลาที่ผา่ นมา

- สว่ นราชการมวี ิธกี ารในการบรหิ ารจัดการ

• การบริหารอัตรากาลัง ความต้องการของ

บุคลากรและความจาเป็นของส่วนราชการ เพื่อให้

ม่นั ใจวา่ สามารถดาเนินการตามภารกิจได้อย่าง

ต่อเนื่อง

• การบรหิ ารจดั การ และเตรียมความพร้อม

เกี่ยวกับการเติบโตของบุคลากรในทุกช่วงเวลา

• การเตรียมความพร้อมของบคุ ลากรให้พร้อมต่อ

การเปลยี่ นแปลงของสว่ นราชการท้ังเรื่องของการ

ปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์การ และระบบงาน

ในกรณจี าเป็น

ข. บรรยากาศการทางานของบุคลากร

5 สภาพแวดลอ้ มการทางาน

- สว่ นราชการดาเนินการดแู ลปัจจยั สภาพแวดลอ้ ม

ในการทางานในด้านสุขภาพและสวัสดิภาพและ

ความสะดวกในการเขา้ ถึงสถานทที่ างานของ

บุคลากรรวมทัง้ ปรบั ปรุงใหด้ ีข้ึน

- มีการกาหนดตวั วัดและเป้าประสงคส์ าหรบั

สภาพแวดล้อมของสถานที่ทางานของบุคลากร และ

เปา้ หมายในการปรบั ปรุงปจั จัยดงั กล่าวแตล่ ะเรื่อง

37

Category/Item No. Question Score 5
0123 4

6 นโยบายและสวัสดกิ าร
- สว่ นราชการมีวิธกี ารกาหนดใหม้ กี ารบริการ
สวสั ดิการและนโยบายเพ่ือสนับสนุนบุคลากร
ส่วนราชการไดอ้ อกแบบสง่ิ ดังกลา่ วใหเ้ หมาะสม
ตามความต้องการทีห่ ลากหลายของบุคลากรตาม
ประเภทและส่วนงาน รวมทง้ั มกี ารจัดสทิ ธิ
ประโยชนท์ ส่ี าคัญให้บคุ ลากร

Average

5.2 ความผูกพนั ก. การประเมินความผูกพันของบคุ ลากร
ของบคุ ลากร 7 องค์ประกอบของความผูกพัน

- ส่วนราชการมวี ิธีการกาหนดองค์ประกอบสาคัญ
ทส่ี ง่ ผลตอ่ ความผูกพนั โดยมีวิธกี ารทแ่ี ตกต่างกนั
ตามประเภทและสว่ นงานของบุคลากร

8 การประเมนิ ความผูกพนั
- สว่ นราชการประเมินความผูกพนั ของบุคลากร
มีวิธกี ารและตัววัดทงั้ ทีเ่ ปน็ ทางการและไม่เปน็
ทางการที่ใชใ้ นการประเมนิ ความผกู พันและความ
พงึ พอใจของบุคลากร โดยวิธีการและตวั วัดเหล่าน้ี
มีความแตกตา่ งกันในแตล่ ะประเภทและส่วนงาน
ของบุคลากร
- สว่ นราชการใช้ตัวชว้ี ัดอ่ืน ๆ เชน่ การรกั ษาให้
บุคลากรอยู่กับสว่ นราชการ การขาดงาน การร้อง
ทุกข์ ความปลอดภยั และผลิตภาพ เพื่อประเมนิ
และปรับปรงุ ความผกู พันของบคุ ลากร

9 ความเช่อื มโยงกับผลลัพธข์ องส่วนราชการ
- สว่ นราชการมวี ิธีการนาผลการประเมินความ
ผกู พันของบุคลากรมาเชื่อมโยงกับผลลัพธ์สาคญั
ของส่วนราชการ เพื่อระบุโอกาสในการปรับปรุง
ท้ังความผูกพันของบุคลากรและผลลัพธ์ของ
ส่วนราชการ

38

Category/Item No. Question Score
0123 4 5

ข. วฒั นธรรมส่วนราชการ

10 การสรา้ งวฒั นธรรมองคก์ าร

- ส่วนราชการมวี ธิ ีการเสริมสร้างวัฒนธรรมให้เกดิ

การส่อื สารทเ่ี ปิดกวา้ ง การทางานทใ่ี ห้ผลการ

ดาเนนิ การท่ีดี และความรว่ มมอื ของบุคลากร

- ส่วนราชการมวี ธิ กี ารสร้างวฒั นธรรมการทางาน

ทไี่ ด้ใชป้ ระโยชนจ์ ากความหลากหลายทางความคดิ

วัฒนธรรม และมุมมองของบุคลากร

ค. การบรหิ ารจดั การและการพัฒนาบคุ ลากร

และผบู้ ริหาร

11 การประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ าน

- ระบบการประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านของบุคลากร

สนับสนุนใหม้ ีการทางานท่ีให้ผลการดาเนินการท่ีดี

และสร้างความรว่ มมือของบุคลากร

- ระบบการประเมินผลการปฏิบัตงิ านของบุคลากร

พิจารณาถึงการบรหิ ารค่าตอบแทน การให้รางวลั

การยกย่องชมเชยและการสร้างแรงจูงใจ

- ระบบการประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานของบุคลากร

สง่ เสริมให้เกิดการสร้างนวัตกรรม การมุ่งเนน้

ผรู้ บั บริการและผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย และบรรลุผล

สาเร็จของแผนปฏบิ ัติการของส่วนราชการ

12 ระบบการเรียนรูแ้ ละการพัฒนา

- ระบบการเรียนรูแ้ ละการพัฒนาสนับสนุนความ

ตอ้ งการของส่วนราชการและการพฒั นาตนเองของ

บคุ ลากร หัวหน้างาน และผบู้ ริหาร

- ระบบการเรยี นรูแ้ ละการพัฒนาของสว่ นราชการ

ดาเนินการเร่อื งตอ่ ไปน้ี

• พิจารณาถงึ สมรรถนะหลักของส่วนราชการ

ความท้าทายเชงิ ยุทธศาสตร์ และการบรรลุผล

สาเรจ็ ของแผนปฏบิ ัติการของสว่ นราชการทัง้ ใน

ระยะสน้ั และระยะยาว

• สนับสนุนการปรบั ปรุงผลการดาเนนิ การของ

ส่วนราชการและการสร้างนวัตกรรม

• สนบั สนนุ ใหเ้ กดิ จริยธรรม และการดาเนินการ

อยา่ งมจี รยิ ธรรม

• ปรับปรงุ การมุ่งเน้นผ้รู ับบริการและผมู้ ีส่วนได้

39

Category/Item No. Question Score
0123 4 5

ส่วนเสีย
• ทาใหม้ นั่ ใจวา่ มีการถ่ายทอดความรจู้ าก

บคุ ลากรที่กาลงั จะลาออกหรือเกษยี ณอายุ
• ทาใหม้ นั่ ใจว่ามีการผลกั ดันใหใ้ ช้ความรู้

และทกั ษะใหมใ่ นการปฏบิ ัตงิ าน

13 ประสทิ ธผิ ลของการเรียนรแู้ ละการพฒั นา
- สว่ นราชการมีวิธีการประเมินประสทิ ธิผลและ
ประสทิ ธิภาพของระบบการเรียนรู้และการพฒั นา
รวมถึงผลลพั ธข์ องการเรยี นรู้และพัฒนาทม่ี ี
ความเชื่อมโยงกับปจั จยั ความผูกพนั ของบุคลากร
และความสาเร็จของส่วนราชการ
- สว่ นราชการมีวธิ กี ารในการนาความเช่ือมโยง
ดงั กล่าวมาสกู่ ารกาหนดโอกาสการพฒั นาทั้งด้าน
ความผูกพนั บของบุคลากร และระบบการเรยี น
และการพัฒนา

14 ความกา้ วหนา้ ในหน้าที่การงาน
- ส่วนราชการมีวธิ ีการจัดการความกา้ วหนา้ ใน
หนา้ ท่กี ารงานของบคุ ลากรทั่วทั้งสว่ นราชการ
อย่างมปี ระสทิ ธผิ ล
- ส่วนราชการมวี ิธกี ารวางแผนการสบื ทอด
ตาแหน่งของหวั หน้างาน และผู้บรหิ าร
อยา่ งมปี ระสิทธผิ ล

Average

Average Category 5

Category/Item No. Question Score
0123 4 5

หมวด 6 การปฏิบตั กิ าร

6.1 กระบวนการ ก. การออกแบบผลผลติ การบริการ และกระบวนการ
ทางาน 1 ประสิทธิผลของผลผลิต การบริการ

และกระบวนการ
- ส่วนราชการมีวิธีการในการวัด และประเมินผล
ข้อกาหนดท่ีสาคัญของผลผลิต การบริการ
และกระบวนการทางาน

40

Category/Item No. Question Score
0123 4 5

2 แนวคิดในการออกแบบ

- สว่ นราชการมวี ิธีการออกแบบผลผลติ การบริการ

และกระบวนการทางานเพ่ือให้เปน็ ไปตาม

ข้อกาหนดที่สาคัญทัง้ หมด

- ส่วนราชการมวี ิธีการนาเทคโนโลยีใหม่ ความรู้

ของสว่ นราชการ ความเปน็ เลศิ ด้านผลผลติ และ

การบรกิ าร คุณคา่ ในสายตาของผรู้ บั บรกิ ารและ

ผ้มู ีส่วนได้สว่ นเสีย การวเิ คราะห์ความเสย่ี ง

และความคล่องตวั ที่อาจจาเป็นมาพจิ ารณา

ในผลผลติ การบรกิ าร และกระบวนการเหลา่ น้ี

3 ขอ้ กาหนดของผลผลิต การบรกิ าร

และกระบวนการทางาน

- ส่วนราชการมีวธิ ีการกาหนดข้อกาหนดทสี่ าคัญ

ของผลผลิตและการบรกิ าร

- สว่ นราชการมีวธิ กี ารกาหนดข้อกาหนดท่ีสาคัญ

ของกระบวนการทางาน

- มกี ารกาหนดกระบวนการทางานทีส่ าคญั ของ

ส่วนราชการ รวมระบขุ ้อกาหนดที่สาคัญของ

กระบวนการ

ข. การจัดการกระบวนการ

4 การนากระบวนการไปปฏิบัติ

- สว่ นราชการมน่ั ใจไดว้ ่าการปฏิบตั ิงานประจาวนั

ของกระบวนการจะเปน็ ไปตามข้อกาหนดท่สี าคญั

- มตี ัววดั หรือตวั ช้ีวดั ผลการดาเนนิ การทส่ี าคัญ

และตัววดั ในกระบวนการท่ีสว่ นราชการใชใ้ นการ

ควบคมุ และปรบั ปรงุ กระบวนการทางาน

- ตัววดั เหลา่ นเ้ี ช่อื มโยงกับผลการดาเนนิ การและ

คุณภาพของผลผลิตและการบรกิ ารทส่ี ่งมอบ

5 กระบวนการสนบั สนุน

- ส่วนราชการมวี ธิ ีการกาหนดกระบวนการ

สนับสนุนทสี่ าคัญ

- ส่วนราชการม่นั ใจได้ว่าการปฏบิ ตั ิงานประจาวนั

ของกระบวนการจะเป็นไปตามขอ้ กาหนดที่สาคญั

ในการสนบั สนุนการปฏิบตั กิ ารของสว่ นราชการ

41

Category/Item No. Question Score
0123 4 5

6 การปรับปรุงผลผลติ การบริการ

และกระบวนการ

- ส่วนราชการมวี ิธกี ารปรบั ปรงุ กระบวนการทางาน

เพือ่ ปรับปรุงผลผลติ การบริการ และผลการ

ดาเนนิ การ และลดความผิดพลาด การทางานซ้า

และความสญู เสยี ของกระบวนการ

ค. การจัดการเครอื ข่ายอุปทาน

7 การจดั การเครือข่ายอุปทาน

- ส่วนราชการมวี ิธีการในการจัดการเครือข่าย

อุปทาน ทงั้ เร่ืองของการคัดลอื กผสู้ ง่ มอบทด่ี ี

เพอ่ื ให้มนั่ ใจว่าจะสามารถสนับสนุนและยกระดบั

ผลการดาเนนิ การของส่วนราชการ และความพงึ

พอใจของผูร้ ับบริการและผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสยี

- ส่วนราชการมวี ิธีการในการวดั และประเมินผล

การให้ข้อมลู ป้อนกลับแก่ผ้สู ง่ มอบ

เพอ่ื ชว่ ยให้เกดิ การปรับปรุง

- ส่วนราชการมีวธิ ีการในการดาเนินการกบั

ผูส้ ่งมอบทม่ี ีผลการดาเนนิ การท่ไี ม่ดี

ง. การจดั การนวัตกรรม

8 การจดั การนวัตกรรม

- ส่วนราชการมวี ธิ กี ารจัดการนวตั กรรม

- สว่ นราชการมีวธิ ีการพจิ ารณาโอกาสในการสร้าง

นวัตกรรมในการวางแผนยุทธศาสตร์

- ส่วนราชการมวี ิธกี ารจดั การทรัพยากรดา้ น

การเงินและด้านอืน่ ๆ พร้อมใชใ้ นการดาเนินการ

สนับสนุนโอกาสในการสร้างนวัตกรรม

- ส่วนราชการมวี ธิ กี ารติดตามผลของโครงการ

และพิจารณาปรับในเวลาท่เี หมาะสม

เพ่อื ลดความเสียหายและนาทรัพยากรไปสนับสนนุ

โครงการอน่ื ท่ีมลี าดบั ความสาคญั เหนือกวา่

Average

42

Category/Item No. Question Score
0123 4 5

6.2 ประสทิ ธิผล ก. การควบคมุ ต้นทุน

การปฏบิ ตั กิ าร 9 การควบคุมตน้ ทุน

- สว่ นราชการมวี ิธีการควบคุมต้นทุนโดยรวมของการ

ปฏบิ ัติการ สว่ นราชการนาเรื่องของรอบเวลา ผลติ

ภาพ รวมทั้งปจั จัยด้านประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล

อื่น ๆ มาพิจารณาในการควบคุมต้นทุนกระบวนการ

ทางานต่าง ๆ

- ส่วนราชการมีวธิ กี ารป้องกันไม่ให้เกิดของเสีย ความ

ผดิ พลาดของการใหบ้ ริการ และการทางานซ้า รวมท้ัง

การลดต้นทุน การประกันความเสียหาย หรือการ

สญู เสยี ผลิตภาพของผ้รู ับบริการและ

ผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสียใหน้ ้อยท่สี ุด

- ส่วนราชการมีวธิ กี ารลดต้นทุนโดยรวมทเ่ี กี่ยวข้อง

กบั การตรวจสอบ การทดสอบ และการตรวจประเมิน

กระบวนการหรือผลการดาเนินการ

- สว่ นราชการมีวธิ ีการสร้างความสมดลุ ระหว่างความ

จาเป็นในการควบคุมต้นทนุ กบั ความต้องการของ

ผู้รบั บริการและผู้มสี ่วนได้สว่ นเสยี

ข. การจัดการความมนั่ คงทางขอ้ มูลและสารสนเทศ

10 การจัดการความม่ันคงทางข้อมูลและสารสนเทศ

- ส่วนราชการมวี ิธกี ารในการบริหารจัดการข้อมลู

สารสนเทศ สนิ ทรัพย์ และระบบเทคโนโลยี

สารสนเทศ รวมไปถึงระบบปฏิบตั ิการของ

ส่วนราชการ ท้ังด้านความถูกต้อง แม่นยา ปลอดภยั

และเปน็ ความลับ รวมไปถึงการกาหนดการเข้าถึง

ข้อมลู ทั้งทางกายภาพและทางอเิ ล็กทรอนิกส์

- สว่ นราชการมีวิธีการดาเนินการเรื่องความปลอดภยั

และความมั่นคงทางข้อมูลและสารสนเทศ ดังนี้

• การกระตนุ้ ให้ตระหนักรู้ถึงภยั คุกคาม

และไม่ม่นั คงด้านข้อมูล และสินทรัพย์ รวมไปถึงภยั

โจมตีทางไซเบอร์

• ทาให้ม่ันใจว่าบุคลากร ผ้รู ับบริการ พันธมิตร และ

ผสู้ ่งมอบเขา้ ใจในบทบาท และหน้าท่ีความรบั ผิดชอบ

ตอ่ ความม่ันคงและปลอดภัยของข้อมูล และสินทรัพย์

ที่สาคัญ

43

Category/Item No. Question Score
0123 4 5

รวมไปถึงภยั โจมตีทางไซเบอร์

• การกาหนด และลาดบั ความสาคญั ในการ

ปอ้ งกัน ระวงั ภยั ต่อระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ

และระบบปฏบิ ตั ิการ

• การปอ้ งกันระบบดังกลา่ วจากเหตุการณโ์ จมตี

ทางไซเบอรท์ ี่อาจเกิดข้ึน เหตุการณ์โจมตีทางไซ

เบอรท์ ่ตี รวจพบ รวมไปถึงการตอบสนองและกู้คนื

จากเหตุการณ์โจมตีทางไซเบอร์

11 ความปลอดภยั

- ส่วนราชการมีวธิ ีการทาให้สภาพแวดล้อมการ

ปฏิบตั ิการมีความปลอดภยั

- ระบบความปลอดภัยของสว่ นราชการไดค้ านึงถงึ การ

ป้องกันอบุ ตั ิเหตุ การตรวจสอบ การวเิ คราะห์ตน้ เหตุ

ของความล้มเหลว และการทาใหค้ นื ส่สู ภาพเดมิ

12 การเตรยี มพรอ้ มต่อภาวะฉุกเฉิน

- ส่วนราชการมวี ิธกี ารดาเนินการเพื่อใหม้ ัน่ ใจวา่

มีการเตรยี มพร้อมต่อภัยพิบัติหรือภาวะฉกุ เฉิน

โดยระบบการเตรยี มพร้อมต่อภยั พิบัติและภาวะ

ฉกุ เฉินดังกล่าวได้คานงึ ถึงการป้องกัน

ความต่อเน่ืองของการปฏบิ ัตกิ ารและการทาให้คนื

สสู่ ภาพเดมิ

Average

Average Category 6

44

แบบฟอรม์ ท่ี 4
ตวั ชวี้ ัดหมวด 7

ข้อมูลย้อนหลัง

Category/Item No. ช่อื ตวั ชวี้ ัด เปา้ หมาย อย่างนอ้ ย 3 จุด**

พ.ศ. .... พ.ศ. .... พ.ศ. ....

หมวด 7 ผลลัพธ์การดาเนินการ (ระบตุ ัวช้วี ัดในแต่ละมิติไดไ้ ม่เกิน 15 ตวั ชี้วดั )

7.1 ผลลัพธด์ า้ น 1 ตวั ชว้ี ัดด้านผลผลติ และการ

ประสิทธผิ ลและ บริการตามพนั ธกจิ หลักของส่วน

การบรรลพุ นั ธกจิ ราชการ

1.1 - ชื่อตวั ช้วี ดั

… -…

2 ตวั ชี้วดั ดา้ นการนายุทธศาสตร์

ไปปฏบิ ตั ิ

2.1 - ช่อื ตวั ชว้ี ัด

… -…

7.2 ผลลัพธด์ ้าน 3 ตัวชวี้ ดั ด้านความพงึ พอใจของ

ผู้รบั บริการและ ผู้รบั บรกิ ารและผู้มสี ว่ นได้

ผู้มสี ่วนได้สว่ นเสีย สว่ นเสีย

3.1 ช่อื ตวั ชว้ี ดั

… -…

4 ตัวช้ีวัดด้านการให้ความสาคัญ

กบั ผรู้ บั บรกิ ารและผมู้ ีสว่ นได้

ส่วนเสีย

4.1 ชอ่ื ตวั ช้ีวดั

… -…

7.3 ผลลพั ธด์ ้าน 5 ตวั ช้วี ดั ด้านขดี ความสามารถ

บคุ ลากร และอตั รากาลังบุคลากร

5.1 ชื่อตวั ชว้ี ัด

… -…

6 ตัวชี้วดั ดา้ นบรรยากาศการ

ทางาน

6.1 ชอื่ ตัวช้ีวดั

… -…

7 ตัวชวี้ ัดดา้ นการทาให้บุคลากร

มคี วามผกู พนั

7.1 ช่อื ตัวชี้วัด

45

ขอ้ มูลย้อนหลัง

Category/Item No. ชือ่ ตวั ชี้วดั เป้าหมาย อยา่ งนอ้ ย 3 จดุ **

พ.ศ. .... พ.ศ. .... พ.ศ. ....

8 ตัวช้ีวัดดา้ นการพัฒนาบุคลากร

และการพัฒนาผนู้ าของส่วน

ราชการ

8.1 ชอ่ื ตัวช้ีวัด

… -…

7.4 ผลลพั ธ์ดา้ น 9 ตัวชี้วดั ด้านการนาองค์การ

การนาองค์การ 9.1 ช่ือตวั ชว้ี ดั

และการกากบั ดแู ล … - …

10 ตวั ชว้ี ดั ดา้ นการกากับดูแล

องค์การ

10.1 ชื่อตัวชี้วัด

… -…

11 ตัวชว้ี ดั ดา้ นกฎหมายและ

กฎระเบยี บข้อบงั คับ

11.1 ช่ือตวั ชี้วดั

… -…

12 ตวั ชว้ี ดั ด้านการประพฤติปฏบิ ัติ

ตามหลกั นติ ิธรรม ความโปรง่ ใส

และจริยธรรม

12.1 ชื่อตัวชี้วดั

… -…

13 ตัวชวี้ ดั ดา้ นสงั คมและชมุ ชน

13.1 ช่อื ตัวชี้วัด

… -…

7.5 ผลลพั ธ์ด้าน 14 ตัวชว้ี ดั ด้านผลการดาเนนิ การ

งบประมาณ ด้านงบประมาณ และการเงนิ
การเงนิ และการ 14.1 - ชอื่ ตวั ช้ีวัด
เตบิ โต … -…
15 ตัวชว้ี ดั ด้านการเตบิ โต

15.1 - ชื่อตัวชี้วัด

46

ข้อมูลย้อนหลงั

Category/Item No. ชือ่ ตวั ชว้ี ัด เปา้ หมาย อยา่ งน้อย 3 จดุ **

พ.ศ. .... พ.ศ. .... พ.ศ. ....

7.6 ผลลัพธด์ ้าน 16 ตวั ช้วี ดั ด้านประสทิ ธิผลและ

ประสิทธผิ ลของ ประสทิ ธิภาพของกระบวนการ

กระบวนการและ 16.1 ช่ือตวั ช้ีวดั

การจัดการ … -…

เครอื ข่ายอปุ ทาน 17 ตัวช้ีวดั ดา้ นการเตรยี มพร้อมต่อ

ภาวะฉกุ เฉิน

17.1 ช่อื ตวั ชว้ี ัด

… -…

18 ตัวชี้วดั ด้านการจดั การเครือข่าย

อุปทาน

18.1 ช่ือตวั ชีว้ ดั

… -…

หมายเหตุ : *เปา้ หมาย หมายถงึ เปา้ หมายของตวั ช้วี ดั ผลลัพธ์ ณ ปีท่ีรายงานล่าสุด

**ขอ้ มูลย้อนหลงั อนุโลมใหเ้ ป็นราย 6 เดือนได้ หากมีการเก็บข้อมลู ไมถ่ ึง 3 ปี

47

แบบฟอรม์ ที่ 5
บทสรุปผบู้ ริหาร

ให้อธิบายโดยสรุป ตามประเด็นต่าง ๆ ดังนี้ (ความยาว 3 – 5 หน้า A4 สามารถแทรกภาพประกอบได้)
โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้บริหารของหน่วยงานของท่านและผู้ตรวจประเมินรางวัลได้เห็นภาพรวมในการ
ดาเนนิ การในหมวดทขี่ อรบั สมคั ร กรณสี มคั รรางวลั ระดับดเี ด่น ใหส้ รปุ จากทุกหมวด
1. แนะนาหน่วยงานในภาพรวม
.........................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................... .....................................
......................................................................................................................................................................

2. การดาเนินการพัฒนาองค์การที่หน่วยงานเห็นว่ามีความโดดเด่น ของหมวดที่สมัครขอรับรางวัล กรณีสมัคร
รางวัลระดับดเี ดน่ ให้สรปุ จากทกุ หมวด
.........................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................... ....
......................................................................................................................................................................

3. ปัจจยั แหง่ ความสาเร็จ
.........................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................. .............................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

48

แบบฟอรม์ ที่ 6
รายงานผลการดาเนินการพฒั นาองคก์ าร (Application Report)

โครงสรา้ งของรายงานผลการดาเนนิ การพัฒนาองค์การ
กรณีสมคั รรางวัลคุณภาพการบรหิ ารจัดการภาครฐั รายหมวด
ส่วนที่ 1 ลกั ษณะสาคญั ขององค์การ ไมเ่ กิน 10 หนา้ (ไม่มคี ะแนน)
ส่วนที่ 2 การดาเนนิ การพัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั

สว่ นที่ 2 – 1 การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครฐั อยา่ งต่อเนอ่ื งตามเกณฑ์
ระดบั พน้ื ฐาน รวมทกุ หมวดประมาณ 15 หนา้
(ยกเว้นหมวดที่สมัครรางวัลฯ)

สว่ นที่ 2 – 2 การดาเนินการท่โี ดดเดน่ รายหมวดประมาณ 15 หนา้
(เฉพาะหมวดทส่ี มคั รรางวัลฯ)

ส่วนท่ี 3 ผลลพั ธก์ ารดาเนนิ การ : ประมาณ 5 หน้า
* รวมทัง้ หมด กรณสี มัครฯ 1 หมวด ไม่เกนิ 45 หน้า *

โครงสรา้ งของรายงานผลการดาเนนิ การพัฒนาองคก์ าร
กรณีสมัครรางวัลคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการภาครัฐ ระดบั ดเี ดน่
สว่ นท่ี 1 ลักษณะสาคญั ขององค์การ ไม่เกิน 10 หนา้ (ไมม่ ีคะแนน)
สว่ นท่ี 2 การดาเนนิ การพัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการภาครัฐ

ส่วนท่ี 2 – 3 การดาเนนิ การพัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั
รวมทกุ หมวด (หมวด 1 - 6) ประมาณ 40 หนา้

ส่วนท่ี 3 ผลลพั ธก์ ารดาเนินการ : ประมาณ 5 หนา้
* รวมทง้ั หมด ไมเ่ กนิ 55 หน้า *

49


Click to View FlipBook Version