The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chompoo Chompoo, 2023-09-22 11:32:44

ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก

ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก

แบบทดสอบ ระบบประสาท ชีชีว ชีชี วิวิท วิวิ ยาบทที่ 21 อวัย วั วะรับ รั ความรู้สึรู้ก สึ อวัย วั วะรับ รั ความรู้สึรู้ก สึ และ


1. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างและหน้าที่ของระบบ ประสาทพลานาเรีย ไส้เดือนดิน กุ้ง หอย แมลง และสัตว์มีกระดูกสันหลัง 6. อธิบาย และสรุปเกี่ยวกับโครงสร้างของระบบประสาทส่วนกลาง และระบบประสาทรอบนอก 7. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของส่วนต่างๆ ของสมอง และไขสันหลัง 8. สืบค้นข้อมูล อธิบายการทำ งานของระบบประสาทโซมาติก และระบบประสาทอัตโนวัติ 9. เปรียบเทียบและยกตัวอย่างการทำ งานของระบบประสาทโซ มาติกและระบบประสาทอัตโนวัติ 10. สืบค้นข้อมูลและอธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของตา 5. อธิบายเกี่ยวกับกลไกการเกิดกระแสประสาท และการถ่ายทอดกระแสประสาท 4. อธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของศักย์ไฟฟ้าที่เยื่อหุ้มเซลล์ ของเชลล์ประสาท 3. ระบุชนิดของเซลล์ประสาทที่จำ แนกตามจำ นวนเส้นใยประสาทและหน้าที่ 2. อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ประสาท จุดประสงค์


13. สืบค้นข้อมูลและอธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของจมูก 14. สืบค้นข้อมูลและอธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของลิ้น 15. สังเกตและอธิบายความไวในการรับสัมผัสของผิวหนังในแต่ละบริเวณ 11. สังเกตและอธิบายการหาตำ แหน่งของจุดบอดและโฟเวีย 16. สืบค้นข้อมูลและยกตัวอย่างโรคที่เกี่ยวข้องกับตา หู จมูก ลิ้น และ ผิวหนัง และนำ ความรู้มาใช้ในการดูแลรักษาและป้องกันอันตราย อวัยวะรับความรู้สึกต่างๆ 12. สืบค้นข้อมูลและอธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของหู จุดประสงค์


บางครั้งการตอบสนองของสัตว์จะอาศัยการทำ งาน ร่วมกันของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ • ระบบประสาท ควบคุมการตอบสนองที่เกิดขึ้นและ สิ้นสุดอย่างรวดเร็ว • ระบบต่อมไร้ท่อควบคุมการตอบสนองที่เกิดขึ้นช้า แต่มีผลต่อเนื่อง หน่วยรับ ความรู้สึก องค์ประกอบในการรับรู้ เพื่อตอบสนองของสิ่งมีชีวิต องค์ประกอบในการรับรู้ เพื่อตอบสนองของสิ่งมีชีวิต หน่วย ประมวลผล เซลล์ประสาท รับความรู้สึก เซลล์ประสาท สั่งการ หน่วย ปฎิบัติงาน


รูปที่ 1.1 ไฮดรา ไฮดรา (hydar) มีการประสานงานกันระหว่างเซลล์ โดยมีเซลล์ประสาท เชื่อมโยงกันเป็นร่างแหประสาท (Nerve net) ทั่วร่างกาย เวลามีสิ่งเร้ามากระตุ้นทุกส่วนของร่างกายจะหดตัว และ ไฮดราจะมีเส้นใยประสาทหนาแน่นบริเวณปากหรือ เทนทาเคิลทำ ให้ตอบสนองได้ดีกว่าบริเวณอื่น การตอบสนอง ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง การตอบสนอง ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง


พลานาเรียเป็นสัตว์จำ พวกแรกที่มีปมประสาท (nerve ganglion) 2 ปม ด้านล่างของปมประสาท จะมีเส้นประสาทขนาดใหญ่เรียกว่า เส้นประสาทขนาดใหญ่ (nerve cord) และเส้นประสาทตามขวาง (transverse nerve) ทำ ให้พลานาเรียมีลักษณะเป็น เเบบขั้นบันได (ladder type) พลานาเรีย (planaria) การตอบสนอง ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง การตอบสนอง ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง รูปที่ 1.2 พลานาเรีย


รูปที่ 1.3 ไขสันหลัง การตอบสนอง ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง การตอบสนอง ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง มนุษย์และสัตว์มีกระดูกสันหลัง มีโครงสร้างที่ซับซ้อนโดยมี สมองและไขสันหลังเป็นศูนย์กลางของระบบประสาท เรียกว่า ระบบประสาทส่วนกลาง และยังมีเส้นประสาทเป็นระบบประสาท รอบนอกทำ หน้าที่ในการควบคุมและประสานงานในระบบประสาท ส่วนต่างๆในร่างกาย


รูปที่ 1.4 เซลล์ชวันน์ โครงสร้ร้ ร้ า ร้ างของเซลล์ล์ ล์ปล์ ระสาท เซลล์เกลีย (glial cells) เซลล์เกลีย พบได้ทั้งระบบประสาทส่วนกลางและ ระบบประสาทรอบนอก ทำ หน้าที่ - ที่ค้ำ จุ้นโครงสร้างเซลล์ประสาท - ลำ เลียงของเสียออกจากเซลล์ประสาท - รักษาดุลยภาพของสารต่างๆของเซลล์ประสาทเซลล์เกลียที่พบบ่อย เช่น เซลล์ชวันน์คือเซลล์ที่สร้างเยื่อไมอีลินหุ้มเเอกซอนใน ระบบประสาทรอบนอก


โครงสร้ร้ ร้ า ร้ างของเซลล์ล์ ล์ปล์ ระสาท เซลล์เกลีย (glial cells) ส่วนในระบบประสาทส่วนกลางเซลล์ที่มีหน้าที่สร้าง เยื่อไมอีลินไม่ใช่เซลล์ชวันน์แต่เป็น เซลล์โอลิโกเดนโดรไซด์ (oligodendrocyte) รูปที่ 1.5 เซลล์ชวันน์


เซลล์ประสาท แบ่งเป็น 3 ชนิด โครงสร้ร้ ร้ า ร้ างของเซลล์ล์ ล์ปล์ ระสาท เซลล์ประสาทขั้วเดียว (unipolar neuron) มีเส้นใยประสาทแยกออกมาจากตัวเซลล์เพียง 1 เส้นใย คือ แอกซอน พบในเซลล์ประสาทที่หลั่งฮอร์โมนของสัตว์ ในกลุ่มนี้ยังมีเซลล์ประสาทขั้วเดียวเทียม (pseudounipolarneuron) มีแอกซอนออกจากตัวเซลล์ เส้นใยเดียวแล้วแตกออกเป็น 2 เส้น รูปที่ 1.6 เซลล์ประสาทขั้วเดียว รูปที่ 1.7 เซลล์ประสาทขั้วเดียวเทียม


1.8 เนื้อเยื่อประสาท เนื้อเยื่อประสาท 1.เซลล์ประสาท (nerve cell) หรือ นิวรอน (neuron) เซลล์ประสาท แยกออกเป็น 2 ชนิด 1 ตัวเซลล์ 2 เส้นใยประสาท - ตัวเซลล์มีไมโทคอนเดรีย กอลจิคอมเพล็กซ์และเอ็นโดพลาสมิกเรติคูลัม เป็นจำ นวนมาก - เส้นใยประสาทแยกได้ออกเป็น 2 ส่วนคือ เดนไดรต์และก็เเอกซอน - เดนไดรต์มีหน้าทีรับกระแสประสาท เซลล์ประสาทจะมี เดนไดรต์แยกออกเป็น 1 หรือหลายเส้นใย - เเอกซอนมีหน้าที่ส่งกระแสกลับเข้าไปมี 1 เส้นใย ตอนปลายมีการแตกแขนง โครงสร้ร้ ร้ า ร้ างของเซลล์ล์ ล์ปล์ ระสาท


เซลล์ประสาทแบ่งเป็น 3ชนิด เซลล์ประสาทสองขั้ว (bipolar neuron) เซลล์ประสาทมีแขนงแยกออกมาเป็น 2 แขนงโดยแขนงหนึ่ง เป็นแอกซอนและอีกแขนงเป็นเดนไดร์ต ความยาวของแขนง ทั้งสองนี้ใกล้เคียงกัน มักพบที่บริเวณเรตินาและเยื่อดมกลิ่นของจมูก ทำ หน้าที่เป็นเซลล์ประสาทรับความรู้สึก โครงสร้ร้ ร้ า ร้ างของเซลล์ล์ ล์ปล์ ระสาท 1.9 เซลล์ประสาทสองขั้ว


เซลล์ประสาทแบ่งเป็น 3ชนิด เซลล์ประสาทหลายขั้ว (multipolarneuron) เซลล์ประสาทจะมีหลายแขนง โดยเป็นแอกซอน 1 แขนง และ เป็นเดนไดรต์ 2 หรือมากกว่าเซลล์ประสาทส่วนใหญ่ขอร่างกาย เป็นเซลล์ประสาทหลายขั้วพบได้ในสมอง และไขสันหลัง มีแอกซอนยาว และเดนไดรต์สั้นทำ หน้าที่นำ คำ สั่ง ไปยังตอบสนอง โครงสร้ร้ ร้ า ร้ างของเซลล์ล์ ล์ปล์ ระสาท 1.10 เซลล์ประสาทหลายขั้ว


การเกิดกระแสประสาท ในภาวะที่เซลล์ประสาทยังไม่ถูกกระตุ้น ความต่างศักย์ของเยื่อเซลล์ด้านในและด้านนอก มีค่าประมาณ -70 มิลลิโวลต์ซึ่งเป็นศักย์ไฟฟ้า เยื่อเซลล์ระยะพัก เซลล์ประสาทจะรับความต่างศักย์ไฟฟ้านี้ ไว้ตลอด โดยการทำ งานของโซเดียมโพแทสเซียมปั๊มซึ่งใน ระหว่างนี้ช่องโซเดียมที่มีประตูและช่องโพแทสเซียมที่มีประตู ที่เยื่อหุ้มเซลล์ของแอกซอนยังคงปิดอยู่ การทำ งานของเซลล์ประสาท การนำ กระแสประสาท เข้าเยื่อหุ้มไมอีลิน การนำ กระแสประสาท เข้าเยื่อหุ้มไมอีลิน 1.11 ช่องโพแทสเซียมที่ไม่มีประตู และช่องโซเดียมที่ไม่มีประตู


ดีโพลาไรเชชัน (ช่วงแรก) ดีโพลาไรเชชัน (ช่วงหลัง) ระยะพัก รีโพลาไรเซชัน ไฮเพอร์โพลาไรเซชัน การเกิกิ กิ ด กิ ดแอกชัชั ชั น ชั นโพเทนเชีชี ชี ย ชี ยล 1.12 การเกิดแอกชันโพเทนเชียล


การนำ กระแสประสาทไปตามแอกซอนที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม การนำ กระแสประสาทไปตามแอกซอนที่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม การนำนำนำนำกระแสประสาท 1.13 การนำ กระแสประสาทไปตามแอกซอนที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม 1.14 การนำ กระแสประสาทไปตามแอกซอนที่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม


การถ่ายทอดกระแสประสาทระหว่างเซลล์ประสาท เช่น มือสัมผัส ความร้อนร่างกายดึงมือกลับ ผิวหนังถูกการกระตุ้นมีถ่ายทอด กระแสประสาทเป็นทอดๆเกิดกระแสประสาทบริเวณไซแนปส์ ระหว่าง เซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์(presynaptic neuron) เซลล์ประสาทหลังไซแนปส์(postsynaptic neuron) 2 เซลล์นี้ มีช่องไซแนปส์(synaptic cleft) กระแสไฟฟ้าไม่สามารถผ่าน ช่องนี้ได้ ไซแนปซ์แบ่งได้ 2 ชนิด การถ่ถ่ ถ่ า ถ่ ายทอดกระแสประสาท 1.15 เมื่อมือสัมผัสกับความร้อน


เมื่อดูดสารละลายจากแก้วที่ 1 มาใส่ลงในแก้วที่ 2 ซึ่ง มีหัวใจกบที่ตัดเอาเส้นประสาทสมองคู่ที่ 10 ออกไป พบว่าหัวใจกบในแก้วที่ 2 มีการเต้นของหัวใจที่ช้าลงเช่นเดียวกัน ทำ ให้เห็นว่าการกระตุ้น เส้นประสาทสมองคู่ที่10เรียกสารที่หลั่ง ออกมาจากเส้นใยประสาทว่า สารสื่อสาร (neurotransmitter) นักวิทยาศาสตร์ ออมโต ลอวิ(otto Loewi) ได้ทำ การ ทดลองนำ หัวใจกบที่ยังมีชีวิตและยังมีเส้นประสาทคู่ที่ 10 ติดอยู่ มาใส่ในแก้วที่มีน้ำ เกลือแล้วกระตุ้นเส้นประสาทด้วย กระแสไฟฟ้า พบว่าหัวใจกบเต้นช้าลง ไซแนปส์ส์ ส์ เ ส์ เคมีมี มีมี 1.16 รูปการทดลองออมโต ลอวิ(otto Loewi)


การถ่ายทอดกระแสประสาท ผ่านไซแนปส์เคมี การถ่ายทอดกระแสประสาท ผ่านไซแนปส์เคมี 1.17 ไซแนปส์เคมี 1.18 ไซแนปส์เคมี


- เกิดขึ้นที่บริเวณรอยอระหางเอมเซลของเซลประสาทอนไซแนและเซลล์ประสาทหลังไซแนป- เกิดจากการเชื่อมติดนของโปรนรวมนเนอง - ทำ ให้เกิดแอกชั่นโพแนลเยลจากเซลประสาทอนไซแนสามารถ ผ่านเข้าสู่ซ่องโปรตีนซึ่งจะเคอนเาไซแนปหงเซลประสาทไโดยตรงได้โดยตรง - พบไบเวณกามเอวใจหอขอบสมอง การเกิดไซแนปส์ไฟฟ้า - ไซแนปส์ส์ ส์ไส์ ฟฟ้ฟ้ฟ้ า ฟ้ า 1.19 ไซแนปส์ไฟฟ้า 1.20 ไซแนปส์ไฟฟ้า


สมองและไขสันหลัง ทำ หน้าที่เป็นศูนย์กลางการควบคุม ของระบบประสาท ซึ่งจะพัฒนามาจาก นิวรัลทิวบ์ (neural tube) ในระยะเอ็มบริโอ โดยนิวรัลทิวบ์ มีลักษณะเป็นหลอดยาวทอดไปตามแนวสันหลัง ของร่างกายและจะพัฒนาไปทำ หน้าที่ที่แตกต่างกันต่อไป ศูศู ศู น ศู นย์ย์ ย์ ค ย์ ควบคุคุ คุ ม คุ มระบบประสาทของมนุนุ นุ ษ นุ ษย์ย์ ย์ย์ 2.1 ศูนย์ควบคุมระบบประสาทของมนุษย์


3. เยื่อหุ้มชั้นใน(ple mater)จะมีเส้นเลือดมากมาย ทำ หน้าที่ ส่งอาหารและแก๊สออกซิเจนเลี้ยงสมอง ในระหว่างชั้นกลางกับชั้นในจะ มีการบรรจุของเหลวที่เรียกว่าน้ำ เลี้ยงสมองไขสันหลัง โดยจะทำ หน้าที่ ให้สมองและไขสันหลังเปียกชื้นอยู่เสมอ 1. เยื่อหุ้มสมองชั้นนอก(Dura mater) จะมีลักษณะ เหนียว แข็งแรงมากโดยมีหน้าที่ป้องกันการกระทบกระเทือนแก่ สมองและไขสันหลัง 2. เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง(Arachold mater)เป็น เยื่อหุ้มบางๆ อยู่ระหว่างเยื่อหุ้มชั้นนอกและเยื่อหุ้มชั้นใน เยื่อหุ้มสมองจะแบ่งออกเป็น 3 ชั้น เยื่ยื่ ยื่ อ ยื่ อหุ้หุ้หุ้มหุ้(Meninges)


สมองของสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง พบว่า ส่วนนอก เป็นเนื้อสีเทา (gray matter) ส่วนนี้มีตัวเซลล์ประสาท และแอกชอนที่ไม่มีเยื่อไมอิลินหุ้ม แต่ส่วนในของสมอง หลายแห่งมีเส้นใยประสาทที่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม จึงเห็นเป็น สีขาว (white matter) โครงสร้ร้ ร้ า ร้ างของสมอง 2.3 โครงสร้างของสมอง


เซรีบรัม (cerebrum) ทำ หน้าที่ เกี่ยวกับความทรงจำ และเป็น ศูนย์กลางควบคุมการทำ งานของส่วนต่างๆของร่างกาย เช่น การ ประมวลเกี่ยวกับกลิ่น รส และเสียง ทาลามัส (thalamus) เป็นศูนย์รวบรวมกระแสประสาทที่ผ่านเข้า ออกและแยกกระแสประสาทกับไปยังสมองที่เกี่ยวข้องกับกระแส ประสาท ไฮโพทาลามัส (hypothalamus) ทำ หน้าที่ ควบคุมดุลยภาพของ ร่างกายเช่นอุณหภูมิปริมาณน้ำ และสร้างฮอร์โมนบางชนิด สมองส่วนกลาง (midbrian) ทำ หน้าที่ ควบคุมการเคลื่อนไหวของ ตา ศีรษะ และลำ ตัวเพื่อตอบสนองต่อแสงและเสียง สมองส่วนหน้า สมองส่วนกลาง สมองส่วนหลัง โครงสร้ร้ ร้ า ร้ างสมองของมนุนุ นุ ษ นุ ษย์ย์ ย์ย์ 2.4 โครงสร้างสมองของมนุษย์


พอนส์ (pons) ทำ หน้าที่ ควบคุมการทำ งานกิจบางอย่าง เช่น การเคลื่อนไหวบริเวณหน้า เมดัลลาออบลองกาตา (medulla oblongata) ทำ หน้าที่ เป็นศูนย์กลางการควบคุมการทำ งานของระยะภายในที่สำ คัญ เช่นการเต้นของหัวใจ เซรีเบลลัม (cerebellum) ทำ หน้าที่ ควบคุมการทรงตัวของ ร่างกาย อับแฟกทอรีบัลบ์ (alfactory bulb) ทำ หน้าที่เกี่ยวกับ การรับกลิ่นโดยรับสัญญาณจากจมูกส่งไปยังเซรีเบลลัม โครงสร้ร้ ร้ า ร้ างสมองของมนุนุ นุ ษ นุ ษย์ย์ ย์ย์ 2.5 โครงสร้างสมองของมนุษย์ สมองส่วนหน้า สมองส่วนกลาง สมองส่วนหลัง


1.เส้นประสาทที่ทำ หน้าที่รับความรู้สึก (sensory nerve) 2.เส้นประสาทสมองที่ทำ หน้าที่สั่งการ (motor nerve) 3.เส้นประสาทสมองที่ทำ หน้าที่รับความรู้สึก เส้นประสาทสมองมี 12 คู่ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มคือ ได้แก่ เส้นประสาทที่ 1,2และ 8 ได้แก่ เส้นประสาทที่ 3,4,6,11และ 12 และสั่งการ (mxed nerve) ได้แก่ เส้นประสาทที่ 5,7,9และ 10 เส้ส้ ส้ น ส้ นประสาทของมนุนุ นุ ษ นุ ษย์ย์ ย์ย์ 2.6 เส้นประสาทของมนุษย์


ไขสันหลัง เป็นส่วนที่ต่อจากสมองอยู่ภายในกระดูกสันหลังบริเวณคอข้อแรกถึง กระดูกสันหลังบริเวณเอวข้อที่ 2 และมีเส้นประสาทแยกออกจากไขสันหลัง เรียกว่า เส้นประสาทไขสันหลัง จำ นวน 31 คู่ โดยส่วนปลายของไขสันหลังจะเรียวเล็ก จนเหลือแต่เพียงส่วนของเส้นประสาทไขสันหลังเท่านั้น ไขสันหลังและเส้นประสาทไขสันหลัง ทำ หน้าที่ ประมวลผลการตอบสนอง เช่น การเกิดรีเฟล็กซ์ และการเกิดถ่ายทอดกระแสประสาท โดยเส้นประสาทไขสันหลังทุกคู่ จะทำ หน้าที่รับความรู้สึกจากกล้ามเนื้อบริเวณแขนขาและลำ ตัวเข้าสู่ไขสันหลังและนำ คำ สั่ง ออกจากไขสันหลังไปยังกล้ามเนื้อแขน ขาและลำ ตัว ไขสัสั สั น สั นหลัลั ลั ง ลั งและเส้ส้ ส้ น ส้ นประสาทไขสัสั สั น สั นหลัลั ลั ง ลั ง 2.7 ไขสันหลังและเส้นประสาทไขสันหลัง


นอกจากนี้ยังมีเซลล์ประสาทประสานงาน ทำ หน้าที่ถ่ายทอดกระแส ประสาทจากเซลล์ประสาทรับความรู้สึกไปยังเซลล์ประสาทสั่งการ ถ้าเซลล์ประสาท ประสานงานทำ หน้าที่ถ่ายทอดกระแสประสาทไปยังสมองจะมีแอกชอนเข้าไปในสมอง โครงสร้างของไขสันหลังและเส้นประสาทไขสันหลังของมนุษย์ พบว่า ปมประสาทรากบน (dorsal root ganglion) มีตัวเซลล์ประสาทรับความรู้สึก ทำ หน้าที่รับกระแสประสาทจากหน่วยรับความรู้สึกส่งมาตามแอกซอนและยื่นเข้า ในรากบนเข้าสู่ไขสันหลัง ขณะที่รากล่างประกอบด้วยแอกชอนของเซลล์ประสาท สั่งการ ทำ หน้าที่ส่งกระแสประสาทไปยังหน่วยปฏิบัติงาน เส้นประสาทสมองและเส้นประสาทไขสันหลังที่กล่าวมานั้นจะเป็น เส้นประสาทที่แยกออกมาเป็นคู่ๆและมีปมประสาทอยู่ ทำ หน้าที่รับสัญญาณ ความรู้สึกจากหน่วยรับความรู้สึกและออกคำ สั่งควบคุมหน่วยปฏิบัติงาน จัดอยู่ในระบบประสาทรอบนอก ทิศทางการถ่ายทอดของกระแสประสาท เข้าและออกจากไขสันหลัง ทิศทางการถ่ายทอดของกระแสประสาท เข้าและออกจากไขสันหลัง 2.8 ทิศทางการถ่ายทอดของกระแสประสาทเข้าและออกจากไขสันหลัง


การเกิดรีเฟล็กซ์แอกชันเมื่อนิ้วมือสัมผัสกับความร้อน แล้วจะชักนิ้วมือออกทันที โดยสมองไม่ต้องคิดหรือสั่งการ และสมองยังไม่รู้ว่ามีอะไรเกิดขึ้น จนกระทั่งในเสี้ยววินาที ต่อมาจึงรู้สึกเจ็บและรับรู้ว่านิ้วมือสัมผัสกับความร้อน ซึ่งการรับรู้ว่าร้อนนั้นเกิดขึ้นได้เพราะมีการส่งกระแสประสาท ไปที่สมองทำ ให้รู้สึกร้อนกระแสประสาทจาก หน่วยรับความรู้สึกร้อนที่ผิวหนัง การเกิกิ กิ ด กิ ดรีรี รี เ รี เฟล็ล็ ล็ ก ล็ กซ์ซ์ ซ์ แ ซ์ แอกชัชั ชั น ชั น 2.9 การเกิดรีเฟล็กซ์แอกชัน


การเกิดรีเฟล็กซ์แอกชันเมื่อนิ้วมือสัมผัสกับความร้อนแล้ว จะชักนิ้วมือออกทันที โดยสมองไม่ต้องคิดหรือสั่งการและสมอง ยังไม่รู้ว่ามีอะไรเกิดขึ้น จนกระทั่งในเสี้ยววินาทีต่อมาจึงรู้สึกเจ็บ และรับรู้ว่านิ้วมือสัมผัสกับความร้อน ซึ่งการรับรู้ว่าร้อนเกิดขึ้นได้ เพราะมีการส่งกระแสประสาทไป ที่สมองทำ ให้รู้สึกร้อน กลไกการเกิดการเกิดรีเฟล็กซ์แอกชันมีการทำ งานที่เป็นวงจร เรียกว่า รีเฟล็กซ์อาร์ก (reflex arc) ซึ่งประกอบด้วยหน่วยย่อย การเกิกิ กิ ด กิ ดรีรี รี เ รี เฟล็ล็ ล็ ก ล็ กซ์ซ์ ซ์ แ ซ์ แอกชัชั ชั น ชั น 2.9 การเกิดรีเฟล็กซ์แอกชัน


1. ระบบประสาทอัตโนวัติ ประสาทสั่งการที่ออกจากไขสันหลังมาที่ปมประสาทอัตโนวัติเรียกว่า เซลล์ ประสาทก่อนปมประสาท (preganglionicneuron) มีตัวเซลล์อยู่ที่ ระบบประสาทส่วนกลางหรือไขสันหลังบริเวณเนื้อสีเทามีแอกซอนยื่นยาว ออกไปถึงบริเวณปมประสาทอัตโนวัติ และเรียกเซลล์ประสาทสั่งการอีกเซลล์ ที่ออกจากปมประสาทอัตโนวัติ เรียกว่า เซลล์ประสาทหลังปมประสาท (postgangionic neuron) ซึ่งมีตัวเซลล์อยู่ที่ปมประสาทอัตโนวัติและ มีแอกซอนยื่นยาวออกไปไซแนปส์ที่หน่วยปฏิบัติงาน ระบบประสาทอัตโนวัติ คือ ควบคุมการรักษาดุลยภาพต่างๆ ของร่างกาย เช่น การเต้น การหายใจ อุณหภูมิของร่างกาย การหรี่หรือขยายรูม่านตา ระบบประสาทอัตโนวัติแบ่งได้ เป็น 2 ระบบย่อย ระบบประสาทอัอั อั ต อั ตโนวัวั วั ติ วั ติ ติติ 2.10 ระบบประสาทอัตโนวัติ


ประสาทซิมพาเทติกและระบบประสาทพาราชิมพาเทติก ระบบประสาทอัตโนวัติประกอบด้วยหน่วยรับความรู้สึกชึ่งส่วนใหญ่อยู่ที่ อวัยวะภายใน และมีเชลล์ประสาทรับความรู้สึกรับกระแสประสาทผ่านรากบน ของเส้นประสาทไขสันหลังเข้าสู่ใขสันหลังจากไขสันหลังจะมีเชลล์ประสาสั่งการ ออกจากไขสันหลังไปไซแนปส์กับเซลล์ประสาทสั่งการอีกเซลล์ที่ปมประสาท อัตโนวัติ (autonomic gangion) ระบบประสาทอัอั อั ต อั ตโนวัวั วั ติ วั ติ ติติ 2.11 ระบบประสาทอัตโนวัติ เรียกว่าเซลล์สาทสั่งการที่ออกจากไขสันหลังมาที่ ปมประสาทอัตโนวัติว่า เซลล์ ประสาทก่อนปมประสาท (preganglionicneuron) มีตัวเซลล์อยู่ที่ระบบ ประสาทส่วนกลางหรือไขสันหลังบริเวณเนื้อสีเทา มีแอกซอนยื่นยาวออกไปถึง บริเวณปมประสาทอัตโนวัติ และเรียกเซลล์ประสาทสั่งการอีกเซลล์ที่ออกจากปม ประสาทอัตโนวัติว่า เซลล์ประสาทหลังปมประสาท (postgangionicneuron) ซึ่งมีตัวเซลล์อยู่ที่ปมประสาทอัตโนวัติและมีแอกซอนยื่นยาวออกไปไซแนปส์ที่ หน่วยปฏิบัติงาน


เมื่ออยู่ในเหตุการณ์ที่ทำ ให้เกิดอาการตกใจ หรือหวาดกลัว หัวใจจะเต้นเร็ว และแรงขึ้น แต่เมื่อระยะเวลาผ่านไปหัวใจจะเต้นช้าลงแล้วกลับเข้าสู่ภาวะปกติ การทำ งานดังกล่าวของหัวใจควบคุมด้วยระบบประสาทอัตโนวัติที่เกิดจากการ ทำ งานแบบสภาวะตรงกันข้ามของระบบประสาทชิมพาเทติกและระบบประสาท พาราชิมพาเทติก โดยระบบประสาทชิมพาเทติกกระตุ้นการเต้นของหัวใจ ส่วน ระบบประสาทพาราชิมพาเทติกจะยับยั้งการเต้นของหัวใจ ระบบประสาททั้งสอง ระบบควบคุมการทำ งานของอวัยวะภายในร่างกาย ระบบประสาทอัอั อั ต อั ตโนวัวั วั ติ วั ติ ติติ 2.12 ระบบประสาทอัตโนวัติ


ระบบประสาทพารามพาเทกวนใหจะ หาลดการกระนการงาน ของหน่วยปฏิบัติงานใางกายกบเาสภาวะปกหอใางกายเดภาวะ พัก (resting) ระบบประสาทพาราชิมพาเทติก ทำ หน้าที่ ตรงกันข้ามกับ ระบบประสาทชิมพาเทติก ตัวเชลล์ของเซลล์ประสาทก่อนปมประสาทอยู่ที่ก้าน สมองและไขสันหลังบริเวณกระเบนเหน็บแอกซอนยื่นยาวไปไซแนปส์กับเซลล์ ประสาทหลังปมประสาทที่อยู่ใกล้หรือในอวัยวะภายในแอกซอนของ เซลล์ประสาทหลังปมประสาทจะค่อนข้างสั้นเซลล์ประสาทก่อนปมประสาท 1 เซลล์จะไซแนปส์กับประสาทหลังปมประสาทได้จำ นวนน้อยและเกิดการตอบ สนองได้เพียงหน่วยเดียว ระบบประสาทพาราชิชิ ชิ ม ชิ มพาเทติติ ติ ก ติ ก 2.13 ระบบประสาทซิมพาเทติก


การทำ งานของระบบประสาทชิมพาเทติกมีความเกี่ยวข้องกับการตอบสนองที่ เรียกว่า สู้หรือหนี (fght-or-fight) เกิดขึ้นในสถานการณ์ที่มีความกดดัน ความเครียด (stress) การตอบสนองดังกล่าวจะทำ ให้ร่างกายมีความพร้อมต่อ สถานการณ์นั้น เช่น เหตุการณ์ไฟไหม้แล้วสามารถยกสิ่งของที่มีน้ำ หนักมากและ ไม่เคยยกได้มาก่อน ระบบประสาทชิมพาเทติก ทำ หน้าที่ กระตุ้นหน่วยปฏิบัติงานอยู่ที่บริเวณ ไขสันหลังส่วนอกและเอว มีแอกชอนค่อนข้างสั้นและยื่นออกไปไซแนปส์กับเซลล์ ประสาทหลังปมประสาท แอกชอนของเชลล์ประสาทหลังปมประสาทจะยื่นยาวไป ไซแนปส์ที่หน่วยปฏิบัติงาน เซลล์ประสาทก่อนปมประสาท 1 เซลล์จะไซแนปส์กับ เซลล์ประสาทหลังปมประสาททำ ให้เกิดการตอบสนองของหน่วยปฏิบัติงาน ระบบประสา บบประสาทซิซิ ซิ ม ซิ มพาเทติติ ติ ก ติ ก 2.14 ระบบประสาทซิมพาเทติก


- เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (sensory neurcn) คือ เซลล์ประสาทที่รับกระแสประสาทจากหน่วยรับความรู้สึกแล้วถ่ายทอด กระแสประสาทไปยังเซลส์ประสาทสั่งการ ตัวเซลล์ประสาทรับความรู้สึกอยู่ ที่ปมประสาทรากบนของใขสันหลัง - เซลล์ประสาทสั่งการ (motor neuron) กใยประสาทแอกซอน ยาวกว่าเดนไดรต์ อาจยาวง 1 เมตร เพราะเซลประสาทงการอในไขสันหลังต้องส่งกระแสประสาทออกจากไขนหงเอกระแสประสาทไปยังหวยปงาน - เซลล์ประสาทประสานงาน (associationneuron) เซลล์ประสาท ชนิดนี้อยู่ในสมองและไขสันหลัง จะเชื่อมต่อระหว่างเซลล์ประสาทรับ ความรู้สึกกับเซลล์ประเภทสั่งการ ใยประสาทของเซลล์ประสาทประสานงาน เซลล์ล์ ล์ปล์ ระสาทตามชนินิ นิ ด นิ ด 2.13 เซลล์ประสาทตามชนิด


อวัยวะรับความรู้สึกมีหน่วยความรู้สึกเมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้น จะส่งกระแสประสาทเป็นสัญญาณเคมีไฟฟ้าไปยังเซลล์ประสาท รับความรู้สึกแล้วส่งผ้านเส้นประสาทไปสมอง ตากับการมองเห็นตามนุษย์มีรูปร่างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5 เซนติเมตร ผนังตาจากด้านนอกเข้าไปด้านใน คือ สเคลอรา (sclera) โครอยด์ (choroid) และเรติน่า (retina ) อวัวั วั ย วั ยวะรัรั รั บ รั บความรู้รู้รู้สึรู้สึ สึ ก สึ ก 3.1 ตา


ด้านหลังจะเห็นเป็นสีขาว สเคอรา เป็นชั้นที่เหนียวไม่ยืดหยุ่น บริเวณหน้าสุดชั้นนี้โปร่งใสและ นูนออกมา เรียกว่ากระจกตา (cornea) บริเวณนอกของกระจกตา โครอย เป็นชั้นที่มีหลอดเลือดมาเลี้ยงมีสารสีแผ่กระจายจำ นวน มาก ป้องกันไม่ให้แสงสะท้อนทะลุผ่านชั้นเรติน่าไปด้านหลังตา โดยตรงด้านหน้าของเลนส์ตามีม่านตา (iris) ยื่นจากผนังโครอยด์เป็น ผนังกันบางส่วนของเลนส์ ช่องตรงกลางมีแสงผ่านเข้าไป เรียกว่า รูม่านตามองเห็นเป็นสีดำ ตรงกลางตา ขนาดของจะรูม่านตาแคบหรือ กว้างขึ้นอยู่กับม่านตามม่านตา เมื่อคลายตัวจะทำ ให้รูม่านตาแคบ เมื่อหดตัวจะทำ ให้รู้ม่านตากว้าง ม่านตาจึงควบคุมปริมาณแสงที่เข้าสู่ตา อวัวั วั ย วั ยวะรัรั รั บ รั บความรู้รู้รู้สึรู้สึ สึ ก สึ ก 3.2 โครงสร้างและตำ แหน่งของเซลล์ในชั้นเรตินา


การเกิดภาพแสงจากวัตถุผ่านเข้าสู่กระจกตาโดยมีเลนส์ตาทำ หน้าที่ รวมแสงทำ ให้แสงตกลงบนเรตินา ดังนั้นการหักเหของแสงจึงขึ้นอยู่กับ ความโค้งของกระจกตาและเลนส์ตา โดยทั่วไปความโค้งของกระจกตา คงที่เสมอ ส่วนความโค้งของเลนส์ตาอาจเปลี่ยนแปลงได้ เลนส์ตา ถูกยึดด้วยเอ็นยึดเลนส์ (suspensory ligament) โดยเอ็นดังกล่าว จะอยู่ติดกับกล้ามเนื้อยึดเลนส์ (ciliary muscle) ที่มีลักษณะ เป็นวงแหวน ดังนั้นการหดตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อยึดเลนส์ จึงมีผลทำ ให้เอ็นยึดเลนส์หย่อนหรือตึงได้ การเปลี่ลี่ ลี่ ย ลี่ ยนแปลงเลนส์ส์ ส์ ต ส์ ตา 3.4 การเปลี่ยนแปลงเลนส์ตา


เรตินา ในตาแต่ละข้างจะมีเซลล์รูปแห่งประมาณ 125 ล้านเซลล์และ เซลล์รูปกรวยประมาณ 6 ล้านเซลล์ นอกจากในชั้นเรตินาจะมีเซลล์ไวต่อแสง แล้วยังมีเชลล์ประสาทอีกที่รับกระแสประสาทของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 2 ที่อยู่รวมกันเป็นมัด ดังนั้นเมื่อมีแสงมากระตุ้นเซลล์รับแสงจะเกิดกระแส ประสาทและถ่ายทอดสัญญาณดังกล่าวไปยังเส้นประสาทสมองคู่ที่ 2 แล้วส่ง ไปยังสมองส่วนเซรีบรัมเพื่อแปลเป็นภาพตามที่ตามองเห็น เลนส์ตา เป็นเลนส์นูนอยู่ด้านหน้าของตา ถัดจากกระจกตาเป็นเลนส์ตา ลักษณะใสและกั้นตาเป็น 2 ส่วนคือช่องหน้าเลนส์และช่องหลังเลนส์ช่องหน้า เลนส์มีน้ำ เลี้ยงลูกตาทำ ให้ความดันตาเป็นปกติหน้าที่ลำ เลียงสารอาหารและ แก๊สออกซิเจนแก่กระจกตาน้ำ วุ้นตาอยู่ช่องหลังเลนส์ช่วยให้ลูกตาคงที่ อวัวั วั ย วั ยวะรัรั รั บ รั บความรู้รู้รู้สึรู้สึ สึ ก สึ ก 3.3 โครงสร้างของตา


การแก้ไขปัญหาเรื่องสายตาสั้น และสายตายาว การแก้ปัญหาสายตาเอียง การแก้ก้ ก้ไก้ ขสายตา 3.5 การแก้ไขสายตายาวโดยการใช้เลนส์นูน 3.6 การแก้ไขสายตาเอียงโดยใช้เลนส์กระบอก 3.5 การแก้ไขสายตาสั้นโดยการใช้เลนส์เว้า


เมื่อมีแสงมากระนเซลปแง โมเลลของเรนอลจะเปยนแปลง รูปร่างไปจนเกาะกับโมลลของออพนไไใเดการเปยนแปลง ของศักย์ไฟฟ้าเยื่อเซลจนไปการเดกระแสประสาทเคอนไปตาม เส้นประสาทสมอง2 เองไปงสมองใแปลเนภาพ จากนจะเอนไซม์มีเปลี่ยนโมเลลของเรนอลใปางเหอนเม เอไแสงเร ตินอลจะรวมตัวกับโรดอพนใหเยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์รูปแท่งจะมีสารสีม่วงแดงที่เรียกว่า โรดอพซิน (rhodopsin) ฝังตัวอยู่สารชนิดนี้ประกอบด้วยโปรตีนออพซิน (opsin) รวมกับเรตินอล (retinol) ซึ่งไวต่อแสงและจะมีการเปลี่ยนแปลง การกลไกการมองเห็ห็ ห็ น ห็ น 3.7 การเปลี่ยนแปลง


เซลล์รูปกรวยแบ่งตามความไวต่อช่วงความยาวคลื่นแสงได้ 3 ชนิด คือ เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีน้ำ เงิน เซลล์รูปกรวยที่ไว ต่อแสงสีแดง และเซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีเขียว การที่สมองสามารถแยกสีต่างๆได้มากกว่า 3 สี เพราะมีการกระตุ้น เซลล์รูปกรวยแต่ละชนิดพร้อมๆกันด้วยความเข้มของแสงสีต่างกัน จึงเกิดการผสมของแสงสีต่าง ๆ ขึ้น เช่น ขณะมองวัตถุสีเหลือง เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีแดงและเซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีเขียว จะถูกกระตุ้นพร้อมกันทำ ให้เห็นวัตถุนั้นเป็นสีเหลือง การกลไกการมองเห็ห็ ห็ น ห็ น 3.8 การกลไกการมองเห็น


1. หูส่วนนอก ประกอบด้วยใบหู และรูหู โดยรูหูอยู่ลึกเข้าไปในกระโหลก ศีรษะ ไปสิ้นสุดที่เยื่อแก้วหูภายในช่องหูมีต่อมสร้างไขมันมาเคลือบไว้ทำ ให้ผนัง ช่องหูไม่แห้งและป้องกันอันตราย และ ต้านการติดเชื้อแบคทีเรียได้เมื่อมีมาก จะสะสมเป็นขี้หู 2. หูส่วนกลาง เริ่มจากเยื่อแก้วหู ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อแผ่นบางๆ ปิดช่องหู และเป็นส่วนแบ่งระหว่างหูส่วนนอกกับหู ส่วนกลางถัดจากเยื่อแก้วหูเข้าไป มีลักษณะเป็นโพรง ภายในโพรงมีกระดูก 3 ชิ้น เรียงชิดติดกันคือ กระดูกค้อน กระดูกทั่ง และกระดูกโกลน ภายในหูส่วนกลางมีช่องเล็กๆที่ติดต่อกับ หลอดลมทำ หน้าที่ปรับความดันอากาศทั้ง 2 ด้านของแก้วหูให้เท่ากันตลอด เวลา ถ้าความดันทั้ง 2 ด้านของแก้วหูไม่เท่ากัน จะทำ ให้เกิดอาการหูอื้อ หรือ ปวดหู เมื่อขึ้นไปบนที่สูงมากๆ เช่นภูเขา หรือนั่งเครื่องบิน อวัวั วั ย วั ยวะรัรั รั บ รั บความรู้รู้รู้สึรู้สึ สึ ก สึ ก 3.9 หูกับการได้ยิน


3. หูส่วนใน ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนรับเสียง และ ส่วนรับรู้การทรงตัว อวัวั วั ย วั ยวะรัรั รั บ รั บความรู้รู้รู้สึรู้สึ สึ ก สึ ก 3.10 คลอเคลีย ส่วนรับเสียงมีลักษณะเป็นท่อกลวงขดเป็นรูปคล้ายหอยโข่ง เรียกว่า คอเคลีย ภายในท่อนี้มีเซลล์ขนอยู่เป็นจำ นวนมาก ทำ หน้าที่รับรู้การสั่นของ คลื่นเสียงที่ ผ่านมาจากหูส่วนกลางพร้อมกับส่งสัญญาณการรับรู้ผ่านโสตประสาทไปยังสมอง สมองจะทำ หน้าที่แปลสัญญาณที่ได้รับทำ ให้เรารับรู้เกี่ยวกับเสียงที่ได้ยิน ส่วนรับรู้การทรงตัว อยู่ด้านหลังของหูส่วนในทำ หน้าที่ รับรู้เกี่ยวกับการเอียงและ การหมุนของศีรษะตลอดการทรงตัวของร่างกาย มีลักษณะเป็นหลอดครึ่งวงกลม 3 หลอดวางตั้งฉากกัน เรียกว่า เซมิเซอร์คิวลาร์แคแนล (semicircular canal) ภายในหลอดมีของเหลวบรรจุอยู่ที่โคนหลอดมีส่วนโป้งพองออกมาเรียกว่า แอมพูลลา (ampulla) ภายในมีเซลล์ขน (hair cell ) ทำ หน้าที่รับความรู้สึกซึ่งไวต่อการ ไหลของของเหลวภายในหลอดที่เปลี่ยนแปลงตามตำ แหน่งของศรีษะและทิศทาง การทรงตัวของร่างกาย


จมูก เป็นอวัยวะใในการหายใจสามารถบกน ได้ภายในโพรงจมูกเอจก (olfactorymembrane) ที่มีเซลล์ประสาทรับกน (olfactory neuron) หารับกลิ่นโดยเฉพาะ เอกนในปของสารเคานเาไป ทางช่องจมูกหรือระเหยานคอหอยนมา เซลล์ประสาทรับกลิ่นจะถูกกระตุ้นและส่งกระแสประสาทไป ตามเส้นประสาทรับกลิ่น (olfactory nerve) ซึ่งเทียบเท่ากับ เส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 ไปยังสมองส่วนอัลแฟกทอรีบัลบ์ เพื่อส่งต่อไปยังสมองส่วนเซรีบรัมที่เกี่ยวกับการดมกลิ่นทำ ให้ สามารถบอกได้ว่าเป็นกลิ่นใด อวัวั วั ย วั ยวะรัรั รั บ รั บความรู้รู้รู้สึรู้สึ สึ ก สึ ก 3.11 จมูกกับการดมกลิ่น


แรงกดความร้อน ความเจ็บปวดหน่วยรับสัมผัสบางหน่วย พันรอบเส้นขน เมื่อลูบเส้นขนจะรับรู้การสัมผัสบางหน่วยมี ปลายประสาทเดนไดต์อยู่ตรงกลางและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันหุ้ม ผิวหนังเป็นอวัยวะที่ห่อหุ้มร่างกาย และรับความรู้สึกที่รับ ความรู้สึกได้หลากหลายผิวหนังมีหน่วยรับความรู้สึกที่ปลายประสาท เดนไดรต์ที่แทรกอยู่ในชั้นหนังกำ พร้า (epidermis) และหน่วย รับความรู้สึกบางชนิดฝังลึกอยู่ในผิวหนังขั้นหนังแท้ (dermis) หน่วยรับความรู้สึกนี้จะไวต่อการกระตุ้นและไวต่อการสัมผัส อวัวั วั ย วั ยวะรัรั รั บ รั บความรู้รู้รู้สึรู้สึ สึ ก สึ ก 3.12 ผิวหนังกับการรับความรู้สึก


นางสาวสุพรรษา โพธิ์ถนอม เลขที่ 5 นายภาณุ อุ่นทวง เลขที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 นางสาวชมพูนุช ม่วงคลองใหม่ เลขที่ 6 นางสาวแพนีดา โพธิ์งาม เลขที่ 17. นายอลงกรณ์ จันทร์บำ รุง เลขที่ 22. นางสาวชนัญญา พลายกำ เหนิด เลขที่ 27 นางสาวทิพย์เกศร ศิริโต เลขที 28 นายปิยวัฒน์ พรหมศาสตร์ เลขที่16 เสนอ นายธัชนนท์ พุ่มโภคัย


Click to View FlipBook Version