The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

e-book สุดยอดโครงการในระบบราง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pream_pata, 2021-12-31 11:55:25

e-book สุดยอดโครงการในระบบราง

e-book สุดยอดโครงการในระบบราง

กรมการขนส่งทางราง

Department of Rail Transport

กรมการขนสง่ ทางราง

Department of Rail Transport

รวมสดุ ยอดของการเดนิ หนา้ พัฒนาระบบ
การขนสง่ ทางรางของไทย

จากความมุ่งมั่นพัฒนาของหน่วยงานต่างๆ ในการสรรสร้างระบบรางให้สามารถอานวย
ความสะดวกในการเดนิ ทางและการขนส่งสนิ ค้าใหแ้ กป่ ระชาชนทัง้ ภาครฐั และภาคเอกชน

อโุ มงค์รถไฟยาว 5.2O กโิ ลเมตร ยาวทีส่ ุดในประเทศไทย (จังหวัดสระบรุ )ี

ทางรถไฟยกระดบั สงู ทสี่ ดุ ในประเทศไทย (จงั หวดั สระบุรี)

สะพานรถไฟคานขงึ แหง่ แรกและแหง่ เดยี วในประเทศไทย
(จังหวดั ราชบุร)ี

“สถานีหวั หนิ ใหม่” สถานีสไตลว์ ิกตอเรยี แหง่ เดียวในประเทศไทย (จังหวัดประจวบคีรขี ันธ)์

ทางคู่เลีย่ งเมอื ง (Chord Lines) ลดเวลาในการเดินทาง เพิ่มประสทิ ธภิ าพในการขนสง่

“อโุ มงคพ์ ระพุทธฉาย 2” อุโมงคร์ ถไฟยาวอนั ดับ 2 ของประเทศ

ทางรถไฟยกระดบั สงู ทสี่ ดุ ในประเทศไทย (จังหวัดสระบรุ ี)

กรมการขนสง่ ทางราง

Department of Rail Transport

สถานีอัจฉรยิ ะ (Smart Station) ณ สถานีกลางบางซอื่
ทีจ่ อดรถอตั โนมัติ หรอื Robot Parking
Monorail ทีย่ าวทีส่ ุดในประเทศไทย
Monorail ทีส่ งู ทสี่ ุดในประเทศไทย
เชือ่ มต่อทกุ ระบบการเดินทางด้วยสถานกี ลางบางซือ่

กรมการขนสง่ ทางราง หนิ ลับ

Department of Rail Transport Hin Lap Portal

อุโมงค์รถไฟ มาบกะเบา

ยาว 5.2O กโิ ลเมตร Mabkabao Portal
ความกา้ วหน้าถงึ วันที่ 31 ตุลาคม 2564 การกอ่ สรา้ งไปแลว้ 88.759 %
ยาวทสี่ ดุ

ในประเทศไทย

(จังหวดั สระบุร)ี

โครงการรถไฟทางคู่
ช่วงมาบกะเบา – ชุมทางถนนจริ ะ

ตงั้ อยรู่ ะหวา่ งสถานรี ถไฟมาบกะเบา
สถานรี ถไฟผาเสดจ็ และสถานีรถไฟหินลับ

อโุ มงคเ์ ป็นรปู แบบอโุ มงค์คู่ ทางเดีย่ ว
กวา้ งประมาณ 7.5O เมตร
สูงประมาณ 8.5O เมตร

ความยาวประมาณ 5.2O กโิ ลเมตร

กรมการขนสง่ ทางราง

Department of Rail Transport

ถอื เป็นไฮไลท์ของโครงการรถไฟทางคู่ ช่วงมาบกะเบา – ชุมทางถนนจริ ะ ซงึ่ เป็นงาน
อย่ใู นสญั ญา 3 งานอุโมงค์รถไฟ เป็นอโุ มงคท์ ี่ 1 จากทัง้ 3 อุโมงค์ โดยตงั้ อยูร่ ะหวา่ ง
สถานีมาบกะเบา สถานีผาเสดจ็ และสถานีหนิ ลับ เป็นอุโมงคค์ ู่ ทางเดีย่ ว มีความกวา้ ง
ประมาณ 7.5O เมตร สงู ประมาณ 8.5O เมตร ยาวประมาณ 5.2O กโิ ลเมตร

ตลอดอุโมงค์มีทางเดินเพื่อการอพยพฉกุ เฉินตลอดความยาว มีทางเชือ่ มหนีภัย (Cross
Passage) และหอ้ งควบคมุ (Equipment Room) ทกุ ๆ ระยะ 5OO เมตร มรี ะบบ
ความปลอดภยั ภายในอุโมงคอ์ ยา่ งสมบูรณ์ ไดแ้ ก่ ระบบระบายอากาศ ระบบแจ้งเตอื น
เมอื่ เกิดเพลงิ ไหม้ ระบบดบั เพลงิ ระบบไฟฟา้ แสงสวา่ ง ระบบตรวจจับก๊าซพิษ ระบบ
กล้องวงจรปิด ระบบควบคมุ การเขา้ ออก ระบบโทรศพั ทฉ์ กุ เฉนิ ระบบไฟฟา้ สารองฉุกเฉนิ
รวมถงึ ระบบตรวจสอบและวเิ คราะห์ขอ้ มลู แบบ Real-time สามารถตรวจสอบสถานะ
การทางานและสงั่ การควบคุมจากระยะไกลดว้ ยระบบ Supervisory Control and
Data Acquisition หรือ SCADA

กรมการขนสง่ ทางราง

Department of Rail Transport

ทางรถไฟยกระดับ

ทยี่ าวทสี่ ดุ

ในประเทศไทย

(จงั หวดั ลพบุร)ี

โครงการรถไฟทางคู่
ชว่ งลพบุร-ี ปากน้าโพ
(ช่วงบ้านกลบั -โคกกะเทยี ม)

การก่อสรา้ งทางรถไฟยกระดับระยะทาง 19 กิโลเมตร
เลยี่ งเมอื งลพบรุ ี และมีระยะทางรวม 29 กโิ ลเมตร

ทางยกระดบั ทใี่ ชเ้ ทคนคิ ค่อนข้างสงู
ในการกอ่ สรา้ ง เนือ่ งจากบางชว่ งตอ้ ง
ยกระดับข้ามแยก และข้ามแม่น้าลพบุรี

ความก้าวหน้าถงึ วนั ที่ 25 ตุลาคม 2564 การกอ่ สร้างไปแลว้ 61.61 %

กรมการขนสง่ ทางราง

Department of Rail Transport

โครงการรถไฟทางคู่ ชว่ งลพบรุ -ี ปากน้าโพ (ชว่ งบ้านกลบั -โคกกะเทียม) มีการก่อสร้าง
ทางรถไฟยกระดบั ระยะทาง 19 กิโลเมตร เลีย่ งเมืองลพบรุ ี และมีระยะทางรวม 29
กิโลเมตร

โดยจดุ เรมิ่ ตน้ อย่ทู ีส่ ถานีรถไฟบ้านกลบั ก่อสร้างเป็นทางรถไฟระดบั พื้นระยะทางประมาณ
5.7 กิโลเมตร และมีการปรับแนวกอ่ สรา้ งทางรถไฟใหม่ เพื่อหลกี เลยี่ งผลกระทบกบั
พระปรางคส์ ามยอด และโบราณสถานทีส่ าคัญของจงั หวัดลพบุรี โดยเป็นการยกระดบั
ทางรถไฟ ขนานกับทางหลวงหมายเลข 366 ระยะทาง 19 กโิ ลเมตร มคี วามสงู
ประมาณ 1O-2O เมตร ก่อนจะเรมิ่ ลดระดบั ลงเป็นทางรถไฟระดบั พื้นระยะทางประมาณ
4.3 กิโลเมตร และบรรจบกับทางรถไฟเดมิ บรเิ วณกอ่ นเข้าส่สู ถานีโคกกะเทยี ม ซงึ่ ถอื วา่
เป็นทางรถไฟยกระดับทีม่ ีระยะทางยาวที่สุดในประเทศไทย ณ ปัจจบุ ัน และทางยกระดับ
บางช่วงตอ้ งยกระดับขา้ มแยก และขา้ มแม่น้าลพบรุ ี ซึง่ ตอ้ งใชเ้ ทคนคิ คอ่ นขา้ งสูงในการ
ก่อสรา้ งทงั้ นี้ มีการกอ่ สรา้ งสถานีรถไฟบนทางยกระดบั 1 สถานี ได้แก่ สถานีรถไฟ
ลพบรุ ี 2

กรมการขนสง่ ทางราง สะพานรถไฟข้ามแมน่ ้าแมก่ ลอง

Department of Rail Transport

สะพานรถไฟคานขงึ

แหง่ แรกและแห่งเดียว

ในประเทศไทย

(จงั หวดั ราชบรุ )ี

โครงการก่อสร้างรถไฟทางคสู่ ายใต้
ช่วงนครปฐม – ชุมพร

(ช่วงนครปฐม – หนองปลาไหล)

สะพานรถไฟชนดิ คานแหง่ แรกทมี่ ีความยาวมากทีส่ ดุ
ในประเทศไทย ไมม่ ีเสากลางแม่น้า เป็นทางเดีย่ ว

ความยาวสะพานรวม 34O เมตร

ช่วงสะพานขึงทีข่ า้ มแม่น้าแม่กลอง
ยาว 16O เมตร สงู 16 เมตร

กรมการขนสง่ ทางราง

Department of Rail Transport

โครงการกอ่ สร้างรถไฟทางคูส่ ายใต้ ช่วง นครปฐม – ชมุ พร (ชว่ งนครปฐม – หนองปลาไหล)
มีจุดไฮไลต์สาคญั แห่งหนงึ่ คือสะพานรถไฟข้ามแม่น้าแมก่ ลอง โดยเป็นสะพานรถไฟชนดิ
คานขงึ (Extradosed Railway Bridge) แหง่ แรกทมี่ ีความยาวมากทีส่ ุดในประเทศไทย
ไมม่ เี สากลางแม่น้า เป็นทางเดีย่ ว ความยาวสะพานรวม 34O เมตร ช่วงสะพานขงึ ทีข่ า้ ม
แม่น้าแม่กลองมีความยาว 16O เมตร สงู 16 เมตร นบั จากสนั รางถงึ ยอดเสารงั้
สายเคเบลิ ซึง่ สะพานดังกลา่ วตั้งอยู่บริเวณ อ.เมือง จ.ราชบรุ ี คู่ขนานกับสะพานจฬุ าลงกรณ์ และ
เนอื่ งจากมรี ะเบดิ ในสมยั สงครามโลกครงั้ ที่ 2 จมอยู่ในลาน้า ทาใหไ้ มส่ ามารถกอ่ สร้างสะพาน
แบบเดมิ ได้ เหตเุ พราะจะตอ้ งมีการเคลือ่ นย้ายระเบิดออกทัง้ หมด ซงึ่ มคี วามเสีย่ งสูง การสร้าง
สะพานรูปแบบใหมจ่ ะสามารถลดความเสี่ยงจากการเกบ็ กู้วัตถุระเบิด ทาให้ไม่เป็นอุปสรรค
ในการดาเนินงาน อกี ทงั้ ยังเป็นแหล่งท่องเทยี่ วแห่งใหม่ของ จ.ราชบุรี ด้วย

กรมการขนสง่ ทางราง

Department of Rail Transport

สถานีหัวหินใหม่

สถานีสไตล์
วิกตอเรียแหง่ เดยี ว

ในประเทศไทย

(จังหวดั ประจวบคีรีขนั ธ์)

โครงการกอ่ สร้างรถไฟทางคสู่ ายใต้
ชว่ งนครปฐม – ชุมพร

(ช่วงหนองปลาไหล – หวั หนิ )

สถานีรถไฟหวั หนิ แห่งใหม่
เป็นโครงสรา้ งยกระดบั มีทีท่ าการและ
ทีพ่ ักคอยอยู่ชัน้ ล่าง ชานชาลาอยูช่ ัน้ บน
ออกแบบตามสถาปัตยกรรมวิกตอเรยี
ทยี่ ังคงความเป็นเอกลกั ษณ์ของสถานีเดิม

ความกา้ วหน้าถงึ วนั ที่ 25 ต.ค. 64 การกอ่ สรา้ งไปแล้ว 89.622 %

กรมการขนสง่ ทางราง

Department of Rail Transport

“สถานีรถไฟหัวหินแห่งใหม่ สถานียกระดับที่มีทางเดินใต้สถานีแห่งแรกในประเทศไทย”
เป็นหนึ่งในงานก่อสร้างรถไฟทางคู่สายใต้ ช่วง นครปฐม – ชมุ พร (ช่วงหนองปลาไหล – หัวหิน)
โดยสถานีรถไฟหัวหินแห่งใหม่นี้ เป็นโครงสร้างยกระดับ มีที่ทาการและที่พักคอยอยู่
ชนั้ ล่าง ชานชาลาอยู่ชัน้ บน การออกแบบยังคงความเป็นเอกลักษณ์ของสถานีเดิมทีอ่ อกแบบ
ตามสถาปัตยกรรมวิกตอเรยี ซงึ่ มีคุณค่าความสาคัญทางประวัติศาสตร์ โครงสร้างสถานีใหม่
ประกอบด้วยเหล็กและคอนกรีต ทาสีครีมตัดแดงอย่างสวยงาม ตั้งอยู่ถัดจากสถานีหัวหินเดิม
ไปทางทิศใต้ สาหรับทางรถไฟเดิมยังคงมีอยู่สาหรับขบวนรถสินค้าและขบวนรถพิเศษ
ในโอกาสสาคัญ อาคารสถานเี ดมิ ยังคงอนรุ กั ษไ์ ว้ โดยมแี ผนจะพัฒนาให้เป็นพิพิธภัณฑต์ ่อไป

กรมการขนสง่ ทางราง ชมุ ทางฉะเชงิ เทรา
ชมุ ทางแกง่ คอย
Department of Rail Transport ชุมทางบา้ นภาชี

ทางคเู่ ลีย่ งเมือง
(Chord Lines)

ลดเวลาในการเดินทาง
เพิ่มประสทิ ธภิ าพในการขนส่ง

โครงการกอ่ สร้างรถไฟทางคู่ ระยะที่ 1

ชว่ งฉะเชิงเทรา – คลองสบิ เกา้ – แกง่ คอย

เชือ่ มโยงการขนสง่ และโลจิสติกส์
ในภาคอีสานและชายฝ่ ังทะเลตะวันออก
โดยมกี ารกอ่ สร้างทางคู่เลี่ยงเมือง 3 แหง่ ไดแ้ ก่
ทางคเู่ ลยี่ งเมอื งฉะเชิงเทรา ทางคเู่ ลีย่ งเมอื งแก่งคอย

และทางคู่เลยี่ งเมืองบา้ นภาชี

กรมการขนสง่ ทางราง

Department of Rail Transport

โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ ระยะที่ 1 ชว่ ง ฉะเชงิ เทรา – คลองสบิ เก้า – แก่งคอย
เชอื่ มโยงการขนส่งและโลจสิ ติกสใ์ นภาคอสี านและชายฝ่ ังทะเลตะวนั ออก โดยมกี าร
กอ่ สร้างทางคู่เลีย่ งเมือง 3 แห่ง ได้แก่ ทางคเู่ ลยี่ งเมอื งฉะเชงิ เทรา ทางคู่เลยี่ ง
เมืองแก่งคอย และทางคเู่ ลีย่ งเมืองบ้านภาชี ซงึ่ จะช่วยเพิ่มประสทิ ธิภาพใหแ้ กก่ ารขนส่ง
ทางรางและระบบโลจิสติกส์ สนับสนนุ การขนสง่ สินค้า เช่น น้ามนั ก๊าซแอลพีจี
ปูนซเี มนต์ สนิ ค้าบรรจคุ อนเทนเนอร์ ระหวา่ งพื้นทชี่ ายฝ่ ังทะเลตะวนั ออกและทา่ เรอื
แหลมฉบงั กบั พื้นทีภ่ าคเหนอื และภาคอสี าน รวมทัง้ ช่วยสนบั สนุนใหเ้ กดิ การปรับเปลยี่ น
รูปแบบการขนส่งจากถนนมาสู่ระบบราง ลดเวลาการเดนิ ทาง ลดปริมาณการใช้
เชอื้ เพลิง และลดปัญหามลพิษต่อสงิ่ แวดล้อม

กรมการขนสง่ ทางราง

Department of Rail Transport

อุโมงคร์ ถไฟ
ทีก่ อ่ สร้างแลว้ เสรจ็

ลา่ สุดของไทย

(อุโมงคพ์ ระพุทธฉาย 2)

โครงการก่อสรา้ งรถไฟทางคู่ ระยะที่ 1
ชว่ งฉะเชงิ เทรา – คลองสบิ เกา้ – แกง่ คอย

ตงั้ อยู่อยูร่ ะหว่างสถานีรถไฟบุใหญ่
และสถานีรถไฟวหิ ารแดง

ตัวอุโมงคย์ าว 1,222 เมตร

เจาะผา่ นภเู ขาหิน
ภายในเป็นผนงั คอนกรตี
รูปแบบกอ่ สรา้ งเป็นรปู เกอื กมา้

ภาพ : https://www.prachachat.net/property/news-349511

เปิดใชง้ านในปี พ.ศ. 2562

กรมการขนสง่ ทางราง

Department of Rail Transport

อุโมงคพ์ ระพุทธฉาย 2 ในโครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ ระยะที่ 1 ช่วง ฉะเชงิ เทรา –
คลองสิบเก้า – แกง่ คอย ตงั้ อยู่ระหว่างสถานรี ถไฟบุใหญ่ และสถานรี ถไฟวหิ ารแดง
มคี วามยาวเป็นอันดับ 2 ของประเทศ รองจากอุโมงค์ขนุ ตาน มีความสงู 6.5 เมตร
กวา้ ง 5.O เมตร และยาวทงั้ สิน้ 1,222 เมตร การกอ่ สร้างจะแบ่งเป็น 2 ส่วน คอื
1.อุโมงคเ์ ทยี มทีเ่ รียกว่า Artificial มีความยาว 271 เมตร และ 2. อุโมงคท์ ีข่ ดุ โดยวิธี
Drill & Blast มีความยาว 951 เมตร โดยแนวกอ่ สรา้ งอุโมงค์ จะขนานกับแนวอุโมงค์เดมิ
เจาะผ่านภูเขาหิน ดาเนนิ การเจาะดว้ ยวิธี New Austrian Tunneling Method (NATM)
ซึง่ เป็นหนึง่ ในเทคนิคการขุดเจาะอุโมงค์ทีม่ คี วามทันสมัยและปลอดภยั ภายในเป็นผนังคอนกรตี
กอ่ สรา้ งเป็นรูปเกือกม้า ซงึ่ บรเิ วณโดยรอบมีทิวทศั น์สวยงามจึงเป็นจุดทีน่ ักทอ่ งเที่ยวนิยมแวะมา
ถา่ ยภาพ และปัจจบุ ันมเี ฉพาะรถสินคา้ วิง่ ผา่ น

กรมการขนสง่ ทางราง

Department of Rail Transport

ทางรถไฟยกระดบั

สงู ทีส่ ดุ

ในประเทศไทย

(จงั หวัดสระบุร)ี

โครงสร้างทางรถไฟทางคู่
ช่วงมาบกะเบา – คลองขนานจิตร

ระยะทาง 4.8 กโิ ลเมตร

จดุ สงู สุด 48 – 5O เมตร

บริเวณคลองมวกเหลก็

เนอื่ งจากพื้นทเี่ ป็นแอ่งกระทะ
มีขอบภูเขาสองฝ่ ัง จงึ จาเป็นต้องกอ่ สรา้ ง
สะพานรถไฟข้ามในช่วงแอ่งกระทะดังกล่าว

เพื่อแก้ปัญหาในเชงิ วศิ วกรรม

ภาพ : https://board.postjung.com/1355283

ความก้าวหนา้ ถงึ วนั ที่ 22 ตลุ าคม 2564 การกอ่ สร้างไปแลว้ 91.9O %

กรมการขนสง่ ทางราง

Department of Rail Transport

โครงสร้างทางรถไฟทางค่ชู ว่ งมาบกะเบา – คลองขนานจติ ร

จะมที างรถไฟยกระดับที่มีความสูงที่สุดในประเทศไทยมีจุดสูงสุด 48–5O เมตร ระยะทาง
4.8 กิโลเมตร ตั้งอยู่บริเวณคลองมวกเหล็ก เป็นอีกหนึ่งไฮไลต์ของโครงการนี้ เหตุผล
ที่ต้องสร้างทางยกระดับเนื่องจากพื้นที่เป็นแอ่งกระทะ มีขอบภูเขาสองฝ่ ัง ส่วนที่ลึกที่สุด
ของแอ่งกระทะคือคลองมวกเหล็ก การแก้ปัญหาในเชิงวิศวกรรมจึงจาเป็นต้องก่อสร้าง
เป็นสะพานรถไฟขา้ มในชว่ งแอ่งกระทะดังกล่าว

กรมการขนสง่ ทางราง

Department of Rail Transport

สถานีอจั ฉรยิ ะ

Smart Station

(สถานีกลางบางซือ่ )

ต้นแบบสถานอี ัจฉริยะด้วยเทคโนโลยี 5G
แหง่ แรกของประเทศไทย

และแห่งแรกของเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้

ยกระดบั การใหบ้ รกิ ารด้วยหนุ่ ยนต์
ปัญญาประดิษฐ์ และเทคโนโลยี
อานวยความสะดวก

และชว่ ยเหลือนักเดนิ ทางทุกกลมุ่

กรมการขนสง่ ทางราง

Department of Rail Transport

สถานอี ัจฉรยิ ะ (Smart Station) ณ สถานกี ลางบางซือ่

โครงการนารอ่ งสถานอี ัจฉรยิ ะ (Smart Station) ต้นแบบสถานีอจั ฉรยิ ะด้วยเทคโนโลยี 5G แห่งแรกของ
ประเทศไทย และแห่งแรกของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการ
5G ผ่านประสบการณ์จริง ซึ่งพื้นที่มีความคุ้มค่าในการดาเนินการ 5G เป็นศูนย์กลางการเดินทางเชือ่ มต่อ
การโดยสารทางบกในทุกรูปแบบโดยการนาเทคโนโลยีหุ่นยนต์ ปัญญาประดิษฐ์ และอื่นๆ ในการช่วยเหลือ
นักเดนิ ทาง (รวมถึง เด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ) การรักษาความปลอดภัยพื้นที่ การให้บริการข้อมูล
การเดินทาง นาทางในสถานี ตารางเวลาการเดินทาง แนะนาสถานที่และเส้นทางการท่องเที่ยว บริการตรวจวัด
อุณหภูมิผู้โดยสารด้วยระบบภาพ บริการตรวจวัดคุณภาพอากาศและเสียง บริการแจ้งเตือนและ
ช่วยเหลือในสถานการณ์ฉุกเฉิน บริการโต้ตอบด้วยภาษาไทย อังกฤษ และภาษาอื่นๆ ที่สาคัญเป็นการเปิด
ประสบการณใ์ หมใ่ นการสือ่ สารกบั หนุ่ ยนต์ได้จรงิ

กรมการขนสง่ ทางราง

Department of Rail Transport

ทีจ่ อดรถอัตโนมัติ

Robot Parking

(ลานจอดรถ รฟม.)

นาเครอื่ งกลทที่ าหนา้ ทเี่ สมอื นหุ่นยนต์มารับรถ
ขนึ้ ไปจอดในลักษณะซ้อนกนั ในแนวดิง่
เพิ่มพื้นทจี่ อดรถทีม่ ีอยู่อย่างจากดั

ใหเ้ พียงพอต่อความตอ้ งการของผ้ใู ชบ้ รกิ าร

เฉลยี่ ในการรบั – สง่ รถ

เขา้ และออกจากทจี่ อดรถ

9Oเพียงคนั ละ วินาที

โครงการรถไฟฟา้ สายสนี ้าเงนิ

กรมการขนสง่ ทางราง

Department of Rail Transport

ทีจ่ อดรถอตั โนมัติ หรอื Robot Parking

ระบบทีจ่ อดรถอัตโนมตั ิ หรอื Robot Parking เป็นการพัฒนาพื้นทีใ่ นแนวดิง่ ใหเ้ กิดประโยชน์
อยา่ งคุม้ คา่ เพิ่มพื้นทจี่ อดรถทีม่ อี ยู่อย่างจากดั ให้เพียงพอต่อความต้องการของผู้ใช้บรกิ าร ช่วยให้
ผใู้ ช้บริการสามารถนารถยนตม์ าจอดและเดินทางต่อด้วยรถไฟฟา้ ได้โดยสะดวก โดยเมอื่ ผใู้ ชบ้ ริการ
นารถเขา้ มาจอด จะมเี ครือ่ งกลทาหนา้ ทีเ่ สมอื นหนุ่ ยนต์รบั รถขนึ้ ไปจอดในลกั ษณะซ้อนกนั ในแนวดงิ่
ทาให้จอดรถไดม้ ากขนึ้ Robot Parking มขี นาดยาว 6.37 เมตร กว้าง 4.85 เมตร สูง 17.2
เมตร ใช้เวลาเฉลยี่ ในการรับ – สง่ รถ เข้าและออกจากทจี่ อดรถเพียงคนั ละ 9O วนิ าที และหากรถ
จอดชัน้ ไกลทสี่ ุดจะใชเ้ วลาเพียง 3 นาทเี ทา่ นนั้ นอกจากนีร้ ะบบจอดรถดังกล่าวยงั มีความปลอดภยั
ตามมาตรฐานทีก่ าหนด โดยโครงสรา้ งสามารถรบั แรงลมและรับแรงสัน่ สะเทอื นจากแผน่ ดินไหวได้
รวมถึงมปี ระกนั ภยั คมุ้ ครองความสูญเสียหรือเสยี หายต่อทรัพย์สินของผู้ใชง้ านเครอื่ งอาทิ เหตุจาก
ไฟไหม้ ฟา้ ผ่า น้าทว่ ม แผ่นดินไหว ลมพายุ เป็นตน้ และประกนั ภัยคมุ้ ครองความสูญเสียหรือ
เสยี หายต่อชวี ิต เพื่อสร้างความมนั่ ใจใหก้ บั ผ้ใู ช้บริการ ทัง้ นี้ Robot Parking มีใหบ้ รกิ าร
ณ สถานีสามย่าน และลานจอดรถสถานหี ้วยขวาง และจะเปิดใหบ้ รกิ ารทุกวันตัง้ แต่เวลา O5.OO –
O1.OO น.

กรมการขนสง่ ทางราง

Department of Rail Transport

Monorail

ทยี่ าวทีส่ ุด

ในประเทศไทย

โครงการรถไฟฟา้ สายสีชมพู
(ช่วงแคราย-มีนบรุ )ี

จดุ เริม่ ต้นบริเวณดา้ นหนา้ ศนู ย์ราชการ
จังหวดั นนทบุรี จดุ สนิ้ สดุ โครงการ

ทที่ างแยกร่มเกล้าบรเิ วณซอยรามคาแหง 192

รวมมีสถานีรับสง่ ผโู้ ดยสาร 3O สถานี

ระยะทางประมาณ 34.5 กิโลเมตร

โครงการรถไฟฟา้ สายสีชมพู (ช่วงแคราย-มีนบรุ )ี

กรมการขนสง่ ทางราง

Department of Rail Transport

Monorail ทยี่ าวทสี่ ุดในประเทศไทย

โครงการรถไฟฟา้ สายสชี มพู (ช่วงแคราย-มีนบุร)ี เป็นระบบขนสง่ รอง (Feeder) ระยะทางประมาณ
34.5 กิโลเมตร โดยมีจุดเริ่มต้นบนถนนรัตนาธิเบศร์บริเวณด้านหน้าศูนย์ราชการจังหวัดนนทบุรี
จากนั้นแนวเส้นทางจะเลี้ยวซ้ายบริเวณแยกแครายวิ่งตามถนนติวานนท์ จนถึงบริเวณ 5 แยก
ปากเกร็ด จากนั้นเลี้ยวขวาเข้าสู่ถนนแจ้งวัฒนะ ผ่านแยกหลักสี่ ลอดใต้ทางยกระดับอุตราภิมุข
(ดอนเมืองโทลเวย์) ข้ามแยกหลักสี่และผ่านวงเวียนอนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ วิ่งตามถนนราม
อินทราไปจนถึงแยกมีนบุรี จากนั้นวิง่ เข้าเมืองมีนบุรีตามถนนสีหบุรานุกิจ ข้ามคลองสามวาและเลีย้ ว
ขวาข้ามคลองแสนแสบผ่านพื้นที่ว่างและเข้าสู่ถนนรามคาแหง (สุขาภิบาล 3) โดยมีจุดสิ้นสุด
โครงการที่ทางแยกร่มเกล้าบริเวณซอยรามคาแหง 192 รวมมีสถานีรับส่งผู้โดยสาร 3O สถานี
เชื่อมต่อการเดินทางเข้าสู่รถไฟฟา้ สายอื่นๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมี 5 สถานี ที่สามารถ
เชื่อมต่อกับรถไฟฟา้ สายอื่นๆ ดังนี้ 1.สายสีม่วงและสายสีน้าตาล ที่สถานีศูนย์ราชการนนทบุรี
2.สายสีแดง ที่สถานีหลักสี่ 3.สายสีเขียว ที่สถานีวัดพระศรีมหาธาตุ 4.สายสีเทา ที่สถานีวัชรพล
5.สายสีสม้ ทสี่ ถานีมนี บุรี รวมทงั้ มศี ูนย์ซอ่ มบารงุ และอาคารจอดแลว้ จร 1 แหง่

กรมการขนสง่ ทางราง สถานศี รีกรฑี า

Department of Rail Transport คานทางวิง่

Monorail

ทีส่ งู ทีส่ ดุ

ในประเทศไทย

โครงการรถไฟฟา้ สายสีเหลอื ง
(ช่วงลาดพร้าว - สาโรง)

“สถานศี รีกรฑี า” เป็นสถานีทมี่ คี วามสูงทีส่ ุด
ของโครงการเนือ่ งจากต้องยกระดบั
ขา้ มทางต่างระดบั กรงุ เทพกรีฑา

สูง 23.O7 เมตร นับจากพื้น

ถงึ ชานชาลา และมีคานทางวงิ่
ทีส่ ูงทีส่ ุด สูงถึง 25.42 เมตร

โครงการรถไฟฟา้ สายสีเหลอื ง (ช่วงลาดพร้าว - สาโรง)

กรมการขนสง่ ทางราง

Department of Rail Transport

Monorail ทีส่ งู ทีส่ ุดในประเทศไทย

โครงการรถไฟฟา้ สายสีเหลือง (ช่วงลาดพร้าว – สาโรง) เป็นระบบขนส่งมวลชนประเภทรถไฟฟา้ ราง
เดีย่ ว (Straddle Monorail) มีลักษณะเป็นโครงสร้างยกระดับตลอดแนวเส้นทาง มีระยะทางทั้งสิ้น
3O.4 กิโลเมตรรวม 23 สถานี โดยมีจุดสาคัญอยู่ที่ “สถานีศรีกรีฑา” ซึ่งตั้งอยู่บนถนนศรีนครินทร์
บริเวณแยกกรุงเทพกรีฑา เป็นสถานีที่มีความสูงที่สุดของโครงการฯ เนื่องจากต้องยกระดับข้ามทาง
ต่างระดับกรุงเทพกรีฑา จึงมีความสูงถึง 23.O7 เมตร นับจากพื้นถึงชานชาลา (Platform)
และยังเป็นตาแหน่งของคานทางวิ่ง (Guideway Beam) ที่สูงที่สุด มีความสูงถึง 25.42 เมตร เป็นคาน
ทางวิง่ รถไฟฟา้ จากสถานีแยกลาสาลี เข้าสสู่ ถานศี รกี รฑี า

กรมการขนสง่ ทางราง

Department of Rail Transport

เชอื่ มต่อทกุ ระบบการเดินทาง

สถานกี ลางบางซอื่

ศนู ยก์ ลางการคมนาคมขนสง่ ทางราง

ทใี่ หญท่ ีส่ ดุ ของไทยและอาเซยี น

เชอื่ มตอ่ ทกุ ระบบราง
รองรบั การเดินทางทุกรูปแบบ

พลกิ โฉมการเดนิ ทาง
ดว้ ยรถไฟยคุ ใหม่

ทีเ่ ชือ่ มต่อทัง้ ทางราง
บก น้า และอากาศ

กรมการขนสง่ ทางราง

Department of Rail Transport

เชือ่ มต่อทุกระบบการเดินทางด้วยสถานกี ลางบางซือ่

สถานีกลางบางซื่อ (Bang Sue Grand Station) ถือเป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่งทางรางที่ใหญ่
ที่สุดของไทยและอาเซียน มีพื้นที่ใช้สอยรวม 298,2OO ตร.ม. โดยเชื่อมต่อทุกระบบรางรองรับการ
เดนิ ทางทุกรูปแบบ ทัง้ ทางราง ทางบก ทางน้า และทางอากาศ
ทางราง รถไฟฟา้ สายสีน้าเงิน เชื่อมต่อการเดินทางด้วยระบบรางในกรุงเทพฯ รถไฟชานเมือง
สายสีแดงเชื่อมต่อกรุงเทพฯ และปริมณฑล รถไฟทางโกลและรถไฟความเร็วสูง เชื่อมต่อทั่วทุกภูมิภาค
ของไทย
ทางบก เชือ่ มทางพิเศษศรีรชั -องแหวนรอบนอก และทางยกระดับอุตราภิมุข
ทางน้า เชือ่ มตอ่ กับรถไฟทางกล รถไฟฟา้ สายสีน้าเงนิ เชือ่ มต่อเรอื โดยสารไฟฟา้ คลองผดงุ กรงุ เกษม
สามารถต่อเรอื ด่วนเจ้าพระยาและเรอื คลองแสนแสบ
ทางอากาศ รถไฟชือ่ มท่าอากาศยาน (Airport Rail Link) เชือ่ มต่อสนามบนิ สุวรรณภูมิ
สนามบนิ ดอนเมอื งและสนามบนิ อู่ตะเภาในอนาคต


Click to View FlipBook Version