The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 424ed000071, 2021-04-05 09:32:20

1.64

1.64

-ก-

ข้อมลู สารสนเทศ

ตาบลท่าข้าม ตาบลเขาดนิ ตาบลบางผึ้ง ปีงบประมาณ 2564

ระหว่างเดอื นตุลาคม 2563 - เดอื นมีนาคม 2564

จัดทาโดย
นางกุลธิดา ลยี วนิช

ครอู าสาสมคั รฯ
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางปะกง
สานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวัดฉะเชิงเทรา

-ข-

คานา

ศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชน ตาบลทา่ ขา้ ม ตาบลเขาดิน ตาบลบางผึ้ง ได้ตระหนักและเห็นความสาคัญของการ
จัดทาระบบสารสนเทศ เพื่อนามาใช้ในการ จัดการศึกษาของสถานศึกษา และได้ดาเนินการ จัดทาระบบ
สารสนเทศอยา่ งเป็นระบบ โดย วางแผนพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศครอบคลุมองค์ประกอบในการประกัน
คุณภาพและพันธกิจของสถานศกึ ษา มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ การใช้ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ การติดตาม
และประเมินผลการใช้ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ และการนาผลการติดตามและประเมินผลมาใช้ในการปรับปรุง
ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ ซึ่งระบบสารสนเทศของศูนย์การเรียนชุมชน ตาบลท่าข้าม ตาบลเขาดิน ตาบลบาง
ผึ้ง เป็นคูม่ อื และแนวทางการปฏบิ ัติงาน

ศูนย์การเรียนชุมชน ตาบลท่าข้าม ตาบลเขาดิน ตาบลบางผ้ึง หวังว่าระบบสารสนเทศของสถานศึกษา
จะเป็นแนวทางให้ผู้ บริหาร ครู และผู้เก่ียวข้องนาไปใช้ ในการจัดการศึกษานอกระบบและการจัดการศึกษาตาม
อัธยาศัยใหก้ ับกลุ่มเปา้ หมายได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

(นางกุลธิดา ลยี วนชิ )
ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน

2 เมษายน 2564

-ค-

สารบญั

เรื่อง หนา้

ระบบสารสนเทศ

ขอ้ มลู สารสนเทศ

การดาเนินการจดั ทาระบบสารสนเทศ

คุณลักษณะของข้อมูลสารสนเทศ

ระบบสารสนเทศของศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอบางปะกง

สารสนเทศ พื้นฐานของสถานศกึ ษา 1

สารสนเทศเก่ยี วกับผู้เรยี น 18

สารสนเทศเพ่ือการบรหิ ารวชิ าการ 19

-1-

ระบบสารสานเทศ

ระบบสารสนเทศ(Information System) หมายถึง กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล การ
ประมวลผลข้อมูลให้อยู่ในรูปสารสนเทศท่ีเป็นประโยชน์สูงสุดและการจัดเก็บรักษาอย่างเป็นระบบ จะสามารถ
นาไปสนับสนนุ การบรหิ ารและการตดั สินใจท้ังระดับบรหิ ารและระดับปฏิบัติซึ่งประกอบด้วยข้อมูลและสารสนเทศ
ดังน้ี

ข้อมูล(Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ซึ่งอาจแสดงเป็นตัวเลข ตัวหนังสือ หรือสัญลักษณ์
ข้อเท็จจรงิ เหล่าน้เี ป็นส่ิงท่เี กบ็ รวบรวมมาโดยยงั ไม่ผ่านการประมวลผลหรือการวิเคราะห์จัดกระทา จึงทาให้ข้อมูล
สว่ นใหญไ่ ม่มีความหมายสมบรู ณ์พอท่ีจะนาไปใช้ประกอบการตดั สินใจได้

สารสนเทศ(Information) หมายถึง ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผลหรือการวิเคราะห์ด้วยวิธีการ
ต่าง ๆ จนเป็นรูปแบบที่มีความหมาย สามารถนาไปใช้ประกอบการตัดสินใจหรือนาไปใช้ในเรื่องต่าง ๆ ได้ตาม
วัตถุประสงค์

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางปะกง ได้จัดทาระบบ
สารสนเทศโดยมีการดาเนนิ การอยา่ งเปน็ ระบบ ดังนี้

1. วางแผนพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการครอบคลุมองค์ประกอบใน
การประกนั คุณภาพและพนั ธกจิ ของสถานศึกษา

2. จัดทาระบบฐานขอ้ มลู สารสนเทศเพ่ือการบรหิ ารจัดการ
3. การใชร้ ะบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจดั การ
4. การติดตามและประเมนิ ผลการใชร้ ะบบฐานข้อมลู สารสนเทศ
5. การนาผลการติดตามและประเมนิ ผลการใช้ไปปรบั ปรุงระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ
ในการจดั ทาระบบสารสนเทศได้กาหนดคุณลักษณะของข้อมูลสารสนเทศ ดังน้ี
คุณลกั ษณะของข้อมูลสารสนเทศ
1.ความครอบคลมุ
2.ความรวดเร็ว
3.ความถูกต้อง
4.ความทนั สมัย
5.ความเชอ่ื มโยง
6. ความนา่ เชื่อถือ
7.ความสามารถในการเข้าถงึ
8.ความสามารถในการตรวจสอบ
9. การมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการขอ้ มลู
10. ความปลอดภยั
11. การรักษาความลับ

-2-

ระบบสารสนเทศของศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางปะกง
ประกอบดว้ ย สารสนเทศ 6 ด้าน คอื

1. สารสนเทศ พื้นฐานของสถานศกึ ษา
2. สารสนเทศเกยี่ วกับผเู้ รยี น
3. สารสนเทศการบริหารวิชาการ
4. สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
5. สารสนเทศเพ่ือการรายงาน
6. สารสนเทศค่มู ือและแนวทางการปฏิบตั ิงาน

-3-

ระบบสารสนเทศ

1. สารสนเทศพน้ื ฐานของสถานศกึ ษา
ประวตั คิ วามเปน็ มาของตาบล

ตาบลทา่ ขา้ ม
ตาบลท่าข้ามต้ังอยู่ริมฝั่งแม่น้าบางปะกงตรงข้ามกับตาบลบางปะกง แต่ก่อนยังไม่มีสะพานเทพหัสดิน

ทีใ่ ช้ขา้ มแมน่ ้าบางปะกงไปชลบุรี จงึ ตอ้ งใชแ้ พขนานยนต์ใหร้ ถข้ามไปมา สถานท่ีข้ามแพ ขนานยนต์ตั้งอยู่ท่ี หมู่ที่
1 ตาบลบางปะกง รถทุกคันท่ีจะข้ามไปยังชลบุรีต้องมาข้ามท่ีน่ีแล้วไปขึ้นฝั่งตรงข้ามเรียกว่า หัวอู่บ้านท่าข้าม คง
จะเป็นที่แพขนานยนต์นารถไปข้ึนท่ีนี่จึงตั้งชื่อว่าบ้านท่าข้ามซ่ึงเดิมมีการปกครองขึ้นอยู่กับจังหวัดชลบุรีตาบลท่า
ข้าม เป็นพื้นท่ี ท่ีแบ่งแยกจากตาบลบางปะกง เมื่อปี พ.ศ.2529 โดยอยู่บนฝั่งของแม่น้าบางปะกง ห่างจาก ตัว
เมืองฉะเชิงเทรา ประมาณ 26 กิโลเมตรและห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 50 กิโลเมตร มีพื้นท่ีติดต่อ
กบั อาเภอเมอื งชลบรุ ี และอาเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี โดยมีชุมชน ที่สาคัญ 2 ชุมชน ได้แก่ชุมชนตลาดบาง
แสม ต้งั อย่บู ริเวณตลาดบางแสมหน้าโรงไฟฟ้าฝ่ายผลิตบางปะกง หมู่ท่ี 6 ตาบลท่าข้าม ชุมชนฝั่งโรงงานไทยวา
หรือท่าข้าม เป็นชุมชนเก่า ท่ีเกิดข้ึนริมแม่น้าบางปะกงขยายเข้ามาตามถนนสุขุมวิทสายเก่า พ้ืนท่ีเป็นที่ราบลุ่ม
แม่น้าพ้ืนท่สี ่วนใหญม่ ีปัญหา ดนิ เค็ม ดินเปรีย้ วและดินถูกชะลา้ ง

ตาบลเขาดนิ
สมัยก่อนตาบลเขาดินเป็นเกาะกลางแม่น้า โดยมีจุดเด่นคือเขาดินเพราะมีถ้าอยู่บนเขา ชาวบ้านเรียกกัน

ว่าถ้าเขาดิน มีเร่ืองเล่ากันว่าเม่ือก่อนเวลาชาวบ้านจะทาบุญก็ให้นาตะกร้าผูกด้วยเชือกแล้วหย่อนลงในถ้าก็จะมี
จานชามข้นึ มาเพ่ือใช้ทาบุญ เมอ่ื เสร็จงานก็จะนามาหย่อนคืนในถ้า ต่อมามีชาวบ้านบางคนคืนจานชามไม่ครบ ทา
ให้เกดิ หนิ มาปิดปากถ้าจนถึงทกุ วนั น้ี

ตาบลเขาดิน เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ต้ังอยู่ที่ หมู่ที่7 ตาบลเขาดิน อาเภอบางปะกง จังหวัด
ฉะเชิงเทรา อยหู่ ่างจากอาเภอบางปะกง 22 กโิ ลเมตร ห่างจากจงั หวดั ฉะเชิงเทรา ประมาณ 42 กิโลเมตร มีเนื้อท่ี
21.4 ตารางกโิ ลเมตร หรือประมาณ 13,375 ไร่

ตาบลบางผ้งึ
ตาบลบางผง้ึ เป็นเกาะกลางแมน่ ้าและมถี า้ อยใู่ ตน้ ้า เวลาชาวบ้านทาบุญก็นาตะกร้าผูกเชือกหย่อนลงไปใน

ถ้า ก็จะเกิดจานชามให้ชาวบ้านได้ใช้สาหรับทาบุญ หลังเสร็จงานก็นาใส่ตะกร้าคืนลงถ้า ต่อมามีชาวบ้านบางคน
ส่งคืนจานชามไม่ครบจานวน ถ้าจึงเกิดหินมาปิดปากถ้าจนถึงทุกวันนี้ และต่อมามีชาวบ้านมาบุกเบิกป่าเพ่ือทา
การเกษตรแตม่ อี ปุ สรรคท่ใี นปา่ นั้นมผี ้งึ อาศัยอยูเ่ ป็นจานวนมาก จึงได้ขนานนามว่า “บางผ้ึง” และกลายมาเป็นช่ือ
ของตาบลจนถงึ ทุกวนั นี้

-4-

 คาขวัญ

คาขวัญประจาตาบลท่าข้าม
-

คาขวญั ประจาตาบลเขาดนิ
-

คาขวญั ประจาตาบลบางผึ้ง

-

 อาณาเขต

ตาบลทา่ ขา้ ม

ตาบลท่าข้ามแบ่งเขตการปกครองท้องท่ีออกเป็น 8 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านหัวแหลม บ้านท่าข้าม บ้านท่า
ข้าม บา้ นปากคลอง พานทอง บ้านบางไทร บ้านคลองแสม บ้านคลองบางนาง บ้านคลองตาหรุ

ทิศเหนือ ติดกับ องค์การบริหารส่วนตาบลเขาดิน และเทศบาลตาบลบางผึ้ง อาเภอบางปะกง
. จงั หวดั ฉะเชิงเทรา

ทศิ ตะวันออก ตดิ กับ เทศบาลตาบลบางผึง้ อาเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา และ ตาบลบางนาง .
. อาเภอพานทอง และตาบลคลองตาหรุ อาเภอเมืองชลบุรี จงั หวัดชลบรุ ี

ทิศตะวันตก ตดิ กับ ปากอา่ วไทย แมน่ า้ บางปะกง อาเภอบางปะกง จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
. ทศิ ใต้ ตดิ กบั เทศบาลตาบลคลองตาหรุ อาเภอเมอื งชลบุรี จังหวัดชลบุรี
ตาบลเขาินิ
อยูห่ า่ งจากอาเภอบางปะกง 16 กโิ ลเมตร หา่ งจากจงั หวัดฉะเชงิ เทรา ประมาณ 25 กิโลเมตร

ทิศเหนือ ติดต่อกับ องค์การบริหารส่วนตาบลบางซ่อน อ.บ้านโพธ์ิ จ.ฉะเชิงเทรา

ทิศใต้ ติดต่อกับ องค์การบริหารส่วนตาบลบางผ้ึง อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา

ทิศตะวันออก ติดต่อกับองค์การบริหารส่วนตาบลบางหัก อ.พานทอง จ . ช ล บุ รี

ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กับ เทศบาลตาบลท่าขา้ ม อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา

ตาบลบางผึง้
กศน.อาเภอบางปะกง ถึง กศน.ตาบลบางผึ้ง มีระยะทางประมาณ 14 กิโลเมตร ตาบลบางผ้ึง มีอาณา

เขตติดต่อ ดงั นี้
ทิศเหนือ ติดกับ อาเภอบา้ นโพธ์ิ จังหวัดฉะเชงิ เทรา
ทิศใต้ ตดิ กบั ตาบลท่าขา้ ม จังหวดั ฉะเชิงเทรา
ทิศตะวันออก ติดกับ อาเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี
ทิศตะวันตก ตดิ กับ ตาบลเขาดิน จงั หวัดฉะเชิงเทรา

-5-

 ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ

ตาบลท่าข้าม
ตาบลทา่ ข้าม มีพ้ืนที่ในเขตการปกครองท้งั ส้ิน 21.50 ตารางกิโลเมตร ตาบลท่าข้ามมีลักษณะภูมิประเทศ

เป็นท่ีราบลุ่มแม่น้า สูงกว่าระดับน้าทะเล 1 – 2 เมตร มีสภาพเป็นป่าชายเลน สภาพน้าในแม่น้าบางปะกง น้าจืด
อยู่ประมาณ 6 เดือน และมีน้าเค็ม ประมาณ 6 เดือน พ้ืนท่ีส่วนใหญ่ใช้ประกอบการเกษตร เช่น เลี้ยงปลากะพง
มีชุมชน แบง่ เปน็ 2 ฝงั่ โดยมถี นนสายบางนาตราดผา่ กลาง

1. หมู่ 1, 2, 3, และ 8 ชาวบ้านเรียกว่า ฝ่ังท่าข้าม เป็นชุมชนด้ังเดิม ริมฝั่งแม่น้าบางปะกง ส่วนใหญ่ ยึด
หลกั อาชีพประมง แตก่ ็มโี รงงานอตุ สาหกรรมบา้ งเล็กน้อย

2. หมู่ 4, 5, 6 และ 7 ชาวบ้านเรียกว่า ฝ่ังบางแสม เป็นชุมชนท่ีหนาแน่นด้วยประชากร มี โรงงาน
อุตสาหกรรมจานวนมาก

ตาบลเขาดิน
สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป เป็นแบบร้อนชื้น เป็นพื้นที่ราบลุ่มแม่น้าบางปะกง ไหลขนานตาบล

มคี ลองไหลผ่านตาบล จานวน 4 สาย

ตาบลบางผ้ึง
มีลักษณะภูมิประเทศเป็นท่ีราบลุ่มแม่น้า มีสภาพเป็นดิน พื้นท่ีส่วนใหญ่ทาการเกษตร เช่น

เลยี้ งกงุ้ เล้ยี งปลา เปน็ ต้น สภาพภูมอิ ากาศโดยทั่วไป เปน็ แบบรอ้ นชน้ื

 ลกั ษณะภูมอิ ากาศ

ตาบลท่าข้าม
สภาพอากาศโดยท่วั ไป แบ่งเปน็ ๓ ฤดู คอื
ฤดูร้อน ระหวา่ งเดือนกมุ ภาพนั ธ์ – เดอื นพฤษภาคม
ฤดฝู น ระหวา่ งเดือนมิถนุ ายน – เดอื นตุลาคม
ฤดูหนาว ระหว่างเดือนพฤศจิกายน – เดอื นมกราคม

ตาบลเขาดิน
สภาพอากาศโดยทว่ั ไป แบ่งเปน็ ๓ ฤดู คือ
ฤดูรอ้ น ระหวา่ งเดือนกมุ ภาพนั ธ์ – เดอื นพฤษภาคม
ฤดฝู น ระหวา่ งเดือนมิถนุ ายน – เดอื นตุลาคม
ฤดหู นาว ระหว่างเดอื นพฤศจกิ ายน – เดือนมกราคม

-6-

ตาบลบางผง้ึ
โดยท่วั ไปสว่ นใหญ่เป็นอากาศร้อนชื้อ แบบมรสุมมี ๓ ฤดู คือ
ฤดรู อ้ น ระหวา่ งเดือนกุมภาพันธ์ – เดอื นพฤษภาคม
ฤดูฝน ระหวา่ งเดือนมถิ ุนายน – เดอื นตลุ าคม
ฤดหู นาว ระหวา่ งเดอื นพฤศจิกายน – เดือนมกราคม

 แผนที่ ตาบล

ตาบลท่าข้าม

-7-

ตาบลเขาดิน

ตาบลบางผ้ึง

-8-

 การคมนาคม

ตาบลท่าข้าม
- ถนนสายหลัก จานวน 4 สาย และถนนสายรอง 6 สาย
- จานวนโทรศัพท์ส่วนบุคคล จานวน 5,580 เครื่อง โทรศัพท์สาธารณะ 8 แห่ง ท่ีทาการไปรษณีย์โทรเลข

จานวน 1 แหง่ และหอกระจายขา่ ว จานวน 8 แหง่

ตาบลเขาดิน
- ทางรถยนต์เข้าถนนบางนา – ตราด เส้นทางเข้าโรงไฟฟ้าบางปะกง ระยะทางประมาณ 10 ก.ม.

1.7.2 ทางน้าโดยลงเรือข้ามฝั่งแม่น้าบางปะกงได้ที่บริเวณข้างท่ีว่าการอาเภอบางปะกง ระยะทางประมาณ
500 เมตร และต่อมอเตอรไ์ ซค์รับจ้างอกี ประมาณ 4 ก.ม.
การขนสง่ สาธารณะ

1. รถยนต์โดยสารประจาทางสายโรงไฟฟา้ บางปะกง – เขาดิน
2. รถยนตแ์ ละสามล้อเคร่อื งรับจ้าง

ตาบลบางผง้ึ
การเดนิ ทางจากจังหวัดฉะเชิงเทราเข้าสู่ ตาบลบางผึง้ ใชเ้ ส้นทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 314 (บางปะกง

– ฉะเชิงเทรา) ถึงอาเภอบางประกง ระยะทางประมาณ 25 กิโลเมตร และเดินทางจากที่ว่าการอาเภอบางปะกง
ถึง ตาบลบางผึ้ง โดยใช้ถนนบางนา – ตราด ไปทางชลบุรี โดยเข้าทาง โรงไฟฟ้าบางปะกง ใช้ระยะทางประมาณ
10 กโิ ลเมตร และเขา้ มาจากปากทางโรงไฟฟ้าบางปะกง ถึง ตาบลบางผ้ึง ประมาณ 5 กิโลเมตร ถนนในตาบลบาง
ผึ้งเป็นถนนลาดยาง สามารถเดนิ ทางได้สะดวก ตลอดปี

การคมนาคม ถนนลาดยาง 8 สาย
1. สายบา้ นท่าแค หมทู่ ี่ 3 – บ้านแม่น้า หม่ทู ี่ 1
2. สายบา้ นแม่นา้ หมทู่ ่ี 1– บา้ นนอก หมู่ที่ 6
3 สายบา้ นนอก หมู่ที่ 6 – บา้ นหวั สวน หมู่ท่ี 5
4. สายบ้านหวั สวน หม่ทู ี่ 5 – บ้านสายออ้ ม หมทู่ ่ี 7
5. สายบ้านสายอ้อม หมูท่ ่ี 7 – บา้ นศรีเสม็ด หมู่ท่ี 4
6. สายบ้านหวั สวน หม่ทู ี่ 5 – ต.ทา่ ข้าม
7. สายบา้ นหวั สวน หมทู่ ่ี 5 – ต.เกาะลอย
8. สายบา้ นสายออ้ ม
9. สายบ้านท่าแค
10. สายบ้านหวั สวนหม่ทู ่ี 5 – ต.บางนาง

-9-

การคมนาคม ตาบลบางผึ้งมีเส้นทางคมนาคม ถนนมีทั้งลาดยางและถนนลูกรัง สภาพถนนลาดยาง
อยู่ในสภาพท่ีดี ถนนลูกรัง มีสภาพเป็นหลุมเป็นบ่อบ้าง การเดินทางประชาชน ส่วนใหญ่ใช้รถจักรยานยนต์
รถยนต์ส่วนบคุ คล

 การปกครอง

ตาบลท่าขา้ ม
- เขตการปกครองออกเป็น 8 หมบู่ ้าน ได้แก่

หมู่ท่ี ช่อื หม่บู ้าน
1 บา้ นหัวแหลม
2 บา้ นลา่ ง
3 บ้านทา่ ข้าม
4 บ้านคลองพานทอง
5 บ้านบางไทร
6 บ้านบางแสม
7 บ้านคลองบางนาง
8 บา้ นคลองตารุ

ตาบลเขาดิน
- เขตการปกครองส่วนภูมภิ าค เขตพ้นื ที่บรกิ ารในตาบล 7 หม่บู า้ น ได้แก่

หมู่ท่ี ช่ือหมบู่ ้าน

1 บา้ นทา่ ขา้ ม
2 บ้านสามขนั ธ์
3 บา้ นท่าตาเถร
4 บา้ นเกาะกลาง
5 บา้ นต้นกรอก
6 บา้ นปากคลองอ้อมใหญ่
7 บ้านหลังเขาดนิ

-10-

ตาบลบางผ้งึ

ปจั จุบันตาบลบางผ้ึง ประกอบดว้ ย 7 หมูบ่ า้ น การปกครองส่วนภมู ภิ าค เขตพ้นื ท่ีบรกิ ารในตาบล 7

หมู่บ้าน ได้แก่

หมทู่ ี่ 1 บ้านแมน่ ้า

หมู่ที่ 2 บ้านทางเกวียน
หมู่ท่ี 3 บา้ นท่าแค
หมทู่ ี่ 4 บ้านศรีเสม็ด
หมู่ที่ 5 บ้านหัวสวน
หมู่ที่ 6 บา้ นนอก
หมทู่ ี่ 7 บ้านสายอ้อ,

 ประชากร

ตาบลท่าขา้ ม

จานวนประชากรทง้ั หมดในเทศบาลตาบลทา่ ข้าม จานวน 7,796 คน แบง่ เป็น

ชาย 3,855 คน

หญงิ 3,941 คน

จานวนครวั เรอื น 4,314 ครวั เรือน

ตาบลเขาดิน

จานวนประชากรทั้งหมดในตาบลเขาดิน จานวน 1,989 คน แบ่งเป็น

ชาย 962 คน

หญิง 1,027 คน

จานวนครัวเรอื น 494 ครัวเรอื น

ตาบลบางผง้ึ

จานวนประชากรทงั้ หมดในตาบลทา่ ข้าม จานวน 2,188 คน แบง่ เปน็

ชาย 1,074 คน

หญงิ 1,114 คน

จานวนครัวเรือน 531 ครวั เรือน

-11-

การศกึ ษา ชาย หญงิ รวม
0 00
ตาบลทา่ ขา้ ม 432 441 873
541 731 1,272
ลาดับที่ ระดบั การศกึ ษา 813 707 1,520
1 ผ้ไู มร่ หู้ นังสอื 855 898 1,753
2 ตา่ กว่าระดบั ประถมศึกษา 548 546 1,094
3 ระดบั ประถมศึกษา 665 617 1,282
4 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ 1 12
5 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. 0 00
6 อนุปรญิ ญา (ปวช./ปกศ.สงู /พม.) 3,855 3,941 7,796
7 ปริญญาตรี
8 ปรญิ ญาโท หญงิ รวม
9 ปรญิ ญาเอก --
116 214
ตาบลเขาดิน ชาย 217 543
- 219 446
ลาดบั ที่ ระดับการศึกษา 98 334 691
1 ผไู้ ม่รูห้ นงั สือ 326 1 17
2 ตา่ กวา่ ระดับประถมศึกษา 227 36 83
3 ระดบั ประถมศึกษา 357 11
4 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 16 -1
5 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. 47
6 อนปุ รญิ ญา (ปวช./ปกศ.สูง/พม.) -
7 ปริญญาตรี 1
8 ปริญญาโท
9 ปรญิ ญาเอก

-12-

ตาบลบางผึ้ง

ลาดับท่ี ระดับการศึกษา ชาย หญงิ รวม

1 ผ้ไู มร่ ้หู นงั สือ 9 12 21
2 ตา่ กวา่ ระดับประถมศึกษา 239 246 485

3 ระดบั ประถมศึกษา 311 336 647

4 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 297 283 580

5 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. 202 218 420

6 อนปุ ริญญา (ปวช./ปกศ.สูง/พม.) 8 14 22

7 ปริญญาตรี 7 5 12

8 ปรญิ ญาโท 1 -1

9 ปริญญาเอก 1 --

 สภาพเศรษฐกิจ

ตาบลท่าขา้ ม
1. โครงสรา้ งฐานอาชพี ชุมชน

- อาชพี หลัก ได้แก่ การเลี้ยงปลากะพง
- อาชีพเสริม ได้แก่ การเลีย้ งปแู สม และเลี้ยงหอยแครง

ขอ้ มลู ทพี่ กั
1. รตะธารา รีสอร์ท (บ้านปลาโลมา รีสอร์ท) ท่ีต้ัง 6 หมู่ 8 ตาบลท่าข้าม อาเภอบางปะกง จังหวัด
ฉะเชงิ เทรา
ของฝาก ท่ีระลึก และสินค้า OTOP
1. ขนมเปีย๊ ะชาววงั ของกลมุ่ แม่บา้ น ม.7 ตาบลท่าข้าม
2. การทาน้าพริกจากปลาทะเล

3. รายไดเ้ ฉล่ียของประชากร
- 89,000 บาท /คน / ปี
ตาบลเขาดิน
โครงสรา้ งอาชพี ชุมชน

อาชีพหลัก ได้แก่ อาชีพรับจ้างท่ัวไป และรับจ้างตามโรงงานอุตสาหกรรม เกษตรกรรม เช่น
ทานา ทาสวน เลีย้ งสตั ว์ เลี้ยงปลา เปน็ รปู แบบของเกษตรแบบผสมผสาน ประชาชนบางสว่ นประกอบ

อาชพี เสรมิ ไดแ้ ก่ รับจ้างทัว่ ไป
ผลผลติ หรอื สินคา้ /บรกิ ารที่สาคัญของอาเภอ ผลผลิตเกยี่ วกบั การเกษตร เชน่ ข้าว
รายไดเ้ ฉล่ียของประชากร ๑๕,๐๐๐ – ๒๐,๐๐๐ บาท/คน/ปี

-13-

ตาบลบางผึง้
1. โครงสรา้ งฐานอาชีพของชุมชน
- อาชพี หลัก ไดแ้ ก่ เกษตรกรรม ทานา ประมง
- อาชีพเสริม ได้แก่ รับจา้ ง
2. ผลผลิตหรอื สินคา้ / บริการทส่ี าคญั ของตาบล
การทานา และการทาประมง การเลี้ยงปลากะพง เล้ียงกุ้ง ทาปา่ จาก คา้ ขาย รบั ราชการ

รบั จา้ ง ฯลฯ
3. รายได้เฉล่ียของประชากร 20,000 บาท/คน/ปี

 การสาธารณูปโภค

ตาบลท่าข้าม
การประปา

- การประปา ใช้ระบบการประปาภายในเขตเทศบาลตาบลทา่ ข้าม โดยการประปาสว่ นภมู ภิ าค
สานักงานประปาบางปะกง และบริษทั ยนู เิ วอร์แซล ยทู ีลติ ีย์ จากดั ตงั้ อยูต่ าบลบางววั ใช้ครบทกุ ครัวเรือน

การไฟฟ้า
- การไฟฟ้า ใชภ้ ายในเขตเทศบาลตาบลทา่ ข้าม ใช้ครบทกุ ครวั เรือน
- ถนนสายหลัก จานวน 4 สาย และถนนสายรอง 6 สาย
- จานวนโทรศพั ท์สว่ นบุคคล จานวน 5,580 เครื่อง โทรศพั ท์สาธารณะ 8 แหง่ ท่ที าการไปรษณียโ์ ทรเลข
จานวน 1 แห่ง และหอกระจายขา่ ว จานวน 8 แห่ง

ตาบลเขาดิน
การไฟฟา้
การไฟฟ้าของตาบลเขาดนิ ดาเนนิ การโดยการไฟฟา้ สว่ นภูมภิ าค
การประปา
การประปาสว่ นภมู ิภาคของอาเภอบางปะกง ดาเนินการโดยการประปาสว่ นภมู ภิ าคสาขาบางปะกง
- ในปจั จุบนั การโทรคมนาคมตดิ ตอ่ สอ่ื สาร มีการติดตอ่ ส่อื สารทางไปรษณีย์ ระบบ Internet ดงั น้ี
1. กิจการโทรศัพท์ มตี ูช้ ุมสายโทรศัพท์
2.ระบบ Internet เนต็ ประชารฐั หม่ทู ี่ 1 และหมู่ที่ 7

ตาบลบางผงึ้
การไฟฟ้า
ปัจจุบันตาบลบางผง้ึ มีไฟฟา้ ใช้ในหม่บู า้ นครบทง้ั ๗ หมู่
การประปา
การประปาสว่ นภมู ภิ าคของอาเภอบางปะกงดาเนินการโดยการประปาส่วนภมู ภิ าค สาขาบางปะกง ปจั จุบัน

. ตาบลบางผง้ึ มปี ระปาหมู่บา้ นจานวน ๗ แหง่
- ถนนสว่ นใหญ่มสี ภาพเป็นหินคลุก ลาดยาง และคอนกรีต การคมนาคมสะดวก

-14-

- ไฟฟ้า เขา้ ถงึ ท้งั 7 หม่บู ้าน คดิ เป็นร้อยละ 98
- ประปา เข้าถึง ทง้ั 7 หมบู่ ้าน คิดเปน็ ร้อยละ 95
- การโทรคมนาคม มีโทรศัพทส์ าธารณะจานวนน้อย โทรศพั ทบ์ ้านคิดเปน็ ร้อยละ20

 ผลติ ภัณฑ์

ตาบลทา่ ข้าม
ของฝาก ทีร่ ะลกึ และสินคา้ OTOP

1. ขนมเปี๊ยะชาววัง ของกลุ่มแม่บ้าน ม.7 ตาบลท่าข้าม
2. การทาน้าพรกิ จากปลาทะเล
ตาบลเขาดิน
การทานา และการทาประมง การเลย้ี งปลากะพง เลยี้ งกงุ้ ทาปา่ จาก คา้ ขาย รับราชการ
รับจ้าง ฯลฯ
ตาบลบางผ้งึ

1. ศูนยป์ ลูกผักไรด้ ินและปลอดสารพิษ หมู่ท่ี ๒ บ้านทางเกวยี น
2. ขนมกงโบราณ ซ่งึ เปน็ สนิ ค้า OTOP ระดับห้าดาว ผลติ โดยกลุ่มพฒั นาบา้ นศรีเสม็ดหมู่ท่ี 4 บ้าน
ศรเี สม็ด
3. เสือ้ ผ้าสาเร็จรูป ซง่ึ เปน็ สนิ คา้ OTOP ระดับสามดาว ผลติ โดยกลุ่มเกษตรกร บางผึ้งพัฒนา หมูท่ ่ี
4 บา้ นศรเี สม็ด
4. ผลติ ภณั ฑ์ นา้ ยาลา้ งจาน ผลิตโดย กลุ่มแม่บ้านศรเี สมด็ หมูท่ ี่ 4
5. วสิ าหกจิ ชุมชน หมูท่ ี่ 4 เชน่ ทาไข่เคม็

 การทอ่ งเท่ียว

ตาบลท่าขา้ ม
-รตะธารา รีสอร์ท (บ้านปลาโลมา รีสอร์ท) ท่ีต้ัง 6 หมู่ 8 ตาบลท่าข้าม อาเภอบางปะกง จังหวัด

ฉะเชงิ เทรา
- เกาะนก ม.1 ต.ทา่ ข้าม อ.บางปะกง จ.ฉะเชงิ เทรา
- ชมโลมาปากอ่าวบางปะกง ม.1 ต.ท่าขา้ ม อ.บางปะกง จ.ฉะเชงิ เทรา
- วัดทา่ ขา้ มเจริญศรทั ธา ม.3 ต.ท่าขา้ ม อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา

- วัดทองนพคณุ (บางแสม) ม.6 ต.ทา่ ข้าม อ.บางปะกง จ.ฉะเชงิ เทรา

ตาบลเขาดนิ
- วดั เขาดนิ ม.7 ต.เขาดิน อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา

ตาบลบางผ้ึง
-วดั บางผ้ึง ม.1 ต.บางผึง้ อ.บางปะกง จ.ฉะเชงิ เทรา

-15-

 แหลง่ เรียนรู้/ภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ /ภาคีเครือขา่ ย
ตาบลทา่ ขา้ ม

แหลง่ เรียนรอู้ ่นื

ท่ี ชอื่ แหลง่ เรยี นรู้อ่นื ประเภทแหลง่ เรียนรู้ ที่ตั้ง

1 ขนมเป๊ียะอร่อยจังเบอเกอร่ี ดา้ นอาชีพ /พาณิชยกรรม 46/27 ม.7 บา้ นบางนาง ต.ท่าขา้ ม
หม่ทู ่ี 7 บ้านบางนาง ต.ท่าข้าม
2 แหล่งเรยี นรูช้ มุ ชนตาบลทข่ ้าม ด้านอนรุ ักษส์ ่งิ แวดล้อม

(การอนรุ ักษส์ ่ิงแวดลอ้ มป่าชายเลน)

ภูมิปัญญาท้องถิน่ ความสามารถและประสบการณ์ ที่อยู่

ท่ี ช่อื ภูมิปัญญาท้องถิ่น วทิ ยากรอาชีพด้านการทาขนมอบ 46/27 ม.7 บ้านบางนาง
1 นางเรณู ภทู่ วี วิทยากรดา้ นอนุรักษ์สิง่ แวดล้อม หมทู่ ี่ 7 บา้ นบางนาง ต.ทา่ ข้าม
2 นางสาวสายร่งุ เกดิ แกว้

ภาคเี ครอื ขา่ ย

ที่ ภาคีเครอื ขา่ ย ทอี่ ยู่ / ท่ตี ง้ั

1 เทศบาลตาบลท่าข้าม 122 ม.3 ต.ทา่ ข้าม อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา โทรศัพท์ 038- 573 411
2 โรงไฟฟ้าบางปะกง 4 ม.6 ต.ทา่ ขา้ ม อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา โทรศพั ท์ 038 -573 420
3 โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพ 119 ม.3 ต.ทา่ ขา้ ม อ.บางปะกง จ.ฉะเชงิ เทรา โทรศัพท์ 038- 573 481
Email : [email protected] email ...
4 วัดท่าข้ามเจริญศรัทธา ม.3 ต.ท่าข้าม อ.บางปะกง จ.ฉะเชงิ เทรา
5 วดั ทองนพคณุ (วัดบางแสม) 6/2 ม.6 ต.ทา่ ข้าม อ.บางปะกง จ.ฉะเชงิ เทรา
6. โครงการชลประทานพานทอง – หม่ทู ่ี 4 ตาบลทา่ ขา้ ม อาเภอบางปะกง จังหวดั ฉะเชงิ เทรา รหัสไปรษณยี ์
24130 โทรศัพท์ 0898908217 โทรสาร - e – Mail science393
พานทองขยาย @hotmail.com

แหล่งวิทยากรชุมชน และทุนด้านงบประมาณท่ีสามารถนามาใช้ประโยชนเ์ พือ่ การจดั การศึกษา

1. ประเภทบุคคล นางสายหยุด พรหมศริ ิ และ นางสาวสายรุ้ง เกิดแกว้
2. ประเภทสถานทีแ่ ละองคก์ ร เทศบาลตาบลทา่ ข้าม และโรงไฟฟา้ บางปะกง
3. ประเภททรพั ยากรธรรมชาติ ปลาโลมา, เกาะนกและการปลูกป่าชายเลน

-16-

4. ประเภทกิจกรรมทางสังคม – วัฒนธรรม การเตน้ แอโรบกิ และกิจกรรมผูส้ งู อายุ
5. ตน้ ทุนงบประมาณ (ระบแุ หล่งทนุ ดา้ นงบประมาณของชุมชน) เทศบาลตาบลทา่ ข้ามและโรงไฟฟา้ บางปะกง

ลาดบั ท่ี ตาบลเขาดิน ประเภทแหล่งเรียนรู้ ทอ่ี ยู่
1 - เกษตรกรรม 33 หมูท่ ี่ 4 ตาบลเขาดิน
* แหล่งเรยี นรู้อน่ื
แหล่งเรียนรู้

แหลง่ เรียนรกู้ ารปลูกมะนาวไรด้ นิ

* ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ ความสามารถและประสบการณ์ ทอี่ ยู่
ลาดับท่ี ชอ่ื ภมู ิปัญญาท้องถนิ่
1 นายสมั ฤทธ์ิ บุญเปรม วิทยากรถา่ ยทอดความรเู้ รอื่ งการ ม.7 ตาบลเขาดนิ

* ภาคีเครือขา่ ย จกั สาน ถกั ลอบ อวนดกั ปลา

ท่ี ภาคเี ครือข่าย ที่อยู่ / ที่ต้ัง

1 องค์การบริหารสว่ นตาบลเขาดิน หมู่ที่ 7 ตาบลเขาดิน อาเภอบางปะกง จงั หวดั ฉะเชิงเทรา
2 โรงเรียนวัดเขาดิน หมทู่ ่ี 7 ตาบลเขาดิน อาเภอบางปะกง จังหวดั ฉะเชงิ เทรา
3 วดั เขาดนิ หมทู่ ี่ 7 ตาบลเขาดิน อาเภอบางปะกง จังหวดั ฉะเชิงเทรา

ตาบลบางผึง้

 แหล่งเรยี นรู้

ที่ ชือ่ แหล่งเรยี นรอู้ ่นื ประเภทแหลง่ เรยี นรู้ ท่ตี ้งั
54 หมู่ที่ 4 ตาบลบางผง้ึ อาเภอ
1 .นางปราณี พลู ศริ ิ ขนมกงโบราณ บางปะกง จังหวดั ฉะเชงิ เทรา

2 นายอานาจ ทองเจอื ปลูกพชื ไรด้ ิน 56 หมทู่ ่ี 4 ตาบลบางผ้งึ อาเภอ
3 นายไสว พุม่ พวง การทาเกษตรผสมผสาน บางปะกง จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
15 หมู่ที่ 7 ตาบลบางผ้งึ อาเภอ
บางปะกง จงั หวัดฉะเชงิ เทรา

-17-

ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ความสามารถและประสบการณ์ ที่อยู่
ท่ี ชือ่ ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน ดา้ นศาสนา
1 นายประสทิ ธ์ิ สีสันต์ หมูท่ ี่ ๒ ต.บางผึ้ง อ.บางปะกง
จ.ฉะเชิงเทรา

ภาคีเครือขา่ ย ทอี่ ยู่ / ที่ตั้ง

ท่ี ภาคเี ครอื ขา่ ย ม.๑ ต.บางผง้ึ อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา
ม.๑ ต.บางผ้ึง อ.บางปะกง จ.ฉะเชงิ เทรา
๑. เทศบาลตาบลบางผง้ึ ม.๑ ต.บางผึ้ง อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา
๒. โรงพยาบาลชุมชน ม.๗ ต.บางผง้ึ อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา
๓. วดั บางผึ้ง ม.๓ ต.บางผ้งึ อ.บางปะกง จ.ฉะเชงิ เทรา
๔. โรงเรียนบางขา้ ว
๕. โรงเรยี นวัดบางผ้งึ

 ทรัพยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม

ตาบลทา่ ขา้ ม

แหลง่ น้า

- แหลง่ นา้ 3 แหง่

- คลองธรรมชาติ 10 สาย

ตาบลเขาดนิ

แหลง่ น้า

แมน่ ้า 1 สาย

คลอง 4 สาย

ตาบลบางผ้งึ

แหล่งนา้ สาย
คลองธรรมชาติ 7

ฝาย 2 แห่ง

บ่อบาดาล 12 แห่ง

-18-

 การสาธารณสุข

ตาบลทา่ ขา้ ม
สถานพยาบาลในชุมชน คือ โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบล จานวน 2 แห่ง

ตาบลเขาดนิ
สถานพยาบาลในชมุ ชน คือ โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบล จานวน ๑ แห่ง

ตาบลบางผึง้
สถานพยาบาลในชมุ ชน คือ โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบล จานวน ๑ แห่ง

 การศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรม

ตาบลท่าข้าม

ราษฎรสว่ นใหญ่นบั ถอื ศาสนาพทุ ธ

ตาบลเขาดนิ

ราษฎรสว่ นใหญ่นับถือศาสนาพุทธ

ตาบลบางผง้ึ

ราษฎรส่วนใหญ่นับถอื ศาสนาพทุ ธ

 การบรกิ าร

ตาบลท่าขา้ ม

ตาบลบางคล้า มแี หล่งประกอบการประเภท

รา้ นอาหาร จานวน 50 แหง่
แห่ง
รา้ นตดั เส้อื ผา้ จานวน 15 แห่ง
แห่ง
รา้ นเกม/บริการอนิ เทอร์เนต จานวน 17 แหง่
แห่ง
โรงแรม/รสี อร์ท/โฮมสเตย์ จานวน 5 แห่ง
แหง่
รา้ นซอ่ มรถจักรยาน จานวน 10 แหง่

อูซ่ ่อมจกั รยานยนต์ จานวน 10 แหง่
แหง่
รา้ นตดั ผม/เสริมสวย จานวน 10 แหง่
แห่ง
อ่ซู ่อมรถยนต์ จานวน 10

ตลาดนดั จานวน 3

ตาบลเขาดนิ

ตาบลท่าทองหลาง มแี หล่งประกอบการประเภท

ร้านอาหาร จานวน 120

รา้ นตัดเสอื้ ผ้า จานวน 5

รา้ นตดั เยบ็ เส้อื ผ้า จานวน 5

รา้ นเกม/บริการอนิ เทอร์เนต จานวน -

-19-

โรงแรม/รีสอรท์ /โฮมสเตย์ จานวน - แหง่
แหง่
รา้ นซ่อมรถจกั รยาน จานวน 3 แหง่
แหง่
อ่ซู อ่ มจกั รยานยนต์ จานวน 3 แหง่
แห่ง
ร้านตัดผม/เสริมสวย จานวน 2
แหง่
อ่ซู ่อมรถยนต์ จานวน 2 แห่ง
แห่ง
ตลาดนดั จานวน ๑ แหง่
แหง่
ตาบลบางผึ้ง แห่ง
แห่ง
ตาบลเสมด็ เหนอื มีแหล่งประกอบการประเภท

ร้านอาหาร จานวน 10

รา้ นตดั เสอ้ื ผ้า จานวน 5

รา้ นเกม/บรกิ ารอนิ เทอร์เนต จานวน -

ร้านซ่อมรถจกั รยาน จานวน 3

อู่ซ่อมจักรยานยนต์ จานวน 3

ร้านตดั ผม/เสริมสวย จานวน 3

อซู่ ่อมรถยนต์ จานวน -

1.4 ข้อมลู เกยี่ วกับสถานศึกษา
 ปรชั ญา
 วิสัยทศั น์
 พันธกิจ
 เปา้ หมาย/เป้าประสงค์
 โครงสร้าง
 บุคลากร
 ศูนยก์ ารเรียนชุมชน
 ภมู ิปัญญาท้องถ่ิน
 แหลง่ เรียนรู้
 ทรพั ยากรและงบประมาณ
 แผนงานขยายโอกาส/พัฒนาการศกึ ษา

-20-

2. สารสนเทศเกย่ี วกับผเู้ รียน

2.1 ผูเ้ รยี นการศึกษานอกระบบ ระดับขนั้ พนื้ ฐาน

1) จานวนนกั ศึกษาทลี่ งทะเบียนเรยี น

- จานวนนักศกึ ษาทีล่ งทะเบียน ปงี บประมาณ 2564

ภาคเรียนท่ี 1/2563 และ ภาคเรยี นท่ี 2/2563

-ระดับประถมศึกษา - คน

-ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ 217 คน

-ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 81 คน

รวม 298 คน

2) จานวนนักศึกษาที่จบการศึกษา

- จานวนนักศึกษาทจ่ี บ ปีงบประมาณ 2564

ภาคเรียนที่1/2563 และ ภาคเรยี นที่ 2/2563

- ระดับประถมศกึ ษา - คน

- ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 19 คน

- ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 22 คน

รวม 41 คน

2.2 ผู้เรียน การสง่ เสริมการรู้หนงั สอื 6 คน

2.3 ผูเ้ รียนและผรู้ บั บรกิ าร การศึกษาต่อเน่ือง

1) ผู้เรียนและผรู้ บั บรกิ าร โครงการจดั กระบวนการการเรยี นรูเ้ ศรษฐกจิ พอเพียง 18 คน
156 คน
2) ผเู้ รยี นและผู้รบั บรกิ าร การศึกษาพัฒนาทักษะอาชีพ 48 คน
68 คน
3) ผเู้ รยี นและผู้รบั บริการ การพฒั นาเพ่ือพฒั นาสังคมและชมุ ชน
102 คน
4) ผเู้ รียนและผรู้ ับบรกิ าร การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะชวี ติ 102 คน

2.4 ผเู้ รียนและผู้รับบริการ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั

1) ทะเบียนสมาชกิ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อาเภอบงปะกง

2) สถิติผใู้ ช้บริการหอ้ งสมุดประชาชน“เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบงปะกง

3. สารสนเทศบรหิ ารงานวิชาการ
3.1 หลกั สตู รสถานศกึ ษา ตามหลักเกณฑ์และวิธกี าร การจัดการศึกษานอกโรงเรียน ตามหลักสตู ร

การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2544
-ระดับประถมศกึ ษา
-ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
-ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

-21-

1. กลุ่มหมวดวชิ าพนื้ ฐาน
- ภาษาไทย
- คณติ ศาสตร์
- วิทยาศาสตร์
- ภาษาต่างประเทศ

2. กลมุ่ หมวดวิชาประสบการณ์
- พัฒนาสงั คมและชุมชน
- พัฒนาทกั ษะชวี ิต 1
- พฒั นาทักษะชีวติ 2
- พฒั นาอาชีพ

3.2 หลกั สูตรสถานศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
-ระดบั ประถมศึกษา
-ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
-ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

3.3 ระเบยี บและแนวทาง การเทยี บโอนผลการเรยี น หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551

3.4 ระเบยี บและคู่มือการวัดผลและประเมินผลการเรยี น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยอาเภอบางปะกง หลักสูตร พทุ ธศักราช 2551

3.5 ระเบยี บและคูม่ ือ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางปะกง วา่ ดว้ ยการ
ดาเนินกจิ กรรมการพัฒนาคณุ ภาพชีวิต (กพช.) หลกั สูตรการศึกษานอกระบบ ระดับขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551

3.6 หลกั สตู รการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาอาชพี
3.7 หลักสูตรการศึกษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชีวติ
3.8 หลักสูตรการศกึ ษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชมุ ชน


Click to View FlipBook Version