The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by supananjan, 2022-03-26 12:04:09

วารสารกลุ่ม

วารสารกลุ่ม

วารสาร

THE FACULTY OF EDUCATION IS MORE THAN A TEACHER.

ค รุ ศ า ส ต ร์

เ ป็ น ไ ด้ ม า ก ก ว่ า ค รู

วารสารครศุ าสตร์เป็นไดม้ ากกว่าครู

ชอ่ื วารสาร วารสารครศุ าสตรเ์ ปน็ ได้มากกวา่ ครู
สำนกั งานกองบรรณาธิการ ฝา่ ยวชิ าการ คณะศลิ ปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวชิ ยั
ISSN (Online) 2505-2545
วัตถุประสงคข์ องวารสาร
1. เพอ่ื เปน็ แนวทางใหก้ ับบณั ทิตที่จบใหม่
กำหนดการออกวารสาร
2. เพ่อื ใหค้ นสนใจท่ีจเรยี นตอ่ สาขาน้ีได้มีแนวทางในการตัดสินใจมากขน้ึ
บรรณาธิการทีป่ รึกษา
บรรณาธกิ ารอำนวยการ 3. เพอ่ื ใหร้ จู้ ักเลอื กอาชพี ที่เหมาะสมกับความสามารถของตน
บรรณาธิการการบริหาร
บรรณาธิการ วารสารอาชพี สำหรับนักศกึ ษาท่ีเรยี นคณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรมและ
ผชู้ ่วยบรรณาธิการ
ผูจ้ ัดการวารสาร เทคโนโลยีเปน็ วารสารวชิ าการในรูปวารสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-Journal)
กองบรรณาธกิ าร มีกำหนดการออกปีละ 1 ฉบบั คือ มกราคม-เมษายน
นางสาวภัณฑริ า สขุ ประเสรฐิ
นายรัฐบาล ชยั ชนะ
นางสาวศภุ นนั ต์ จนั ทรท์ องอ่อน
นายนรากร รามณรงค์
นางสาวณฐั กัญญา ชยั วาที
นางสาวศภุ นนั ต์ จนั ทรท์ องอ่อน
นางสาวธนพร พระสงฆ์ ประธานครสุ ภา
นายธนกร พลธวฒั น์ รองประธานครุสภา
นายพงพัฒน์ เส้งสุย ประธานสภาวิศวกร
นางสาวกัญญาณัฐ แซล่ ่ิม สมาคมวศิ วกรรมแห่งประเทศไทย
นาวสาววรรณิศา สายดำ สมาคมวิศวกรรมแหง่ ประเทศไทย

บทบรรณาธิการ

วารสารสำหรับนกั ศกึ ษาคณะครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรมและเทคโนโลยี เนื้อหาของบทความนจี้ ะ
เกีย่ วกับอาชีพของผทู้ ีก่ ำลังศึกษาท้ังทางดา้ นครุศาสตร์และวศิ วกรรมศาสตร์ เพ่อื เป็นแนวทางในการเลอื กชีพ
ของนกั ศกึ ษาที่กำลังจะสำเร็จการศกึ ษาจากสาขาที่เกี่ยวข้องกับครศุ าสตรแ์ ละวศิ วกรรมศาสตร์ ซ่ึงประกอบไป
ด้วยอาชพี ทีม่ ีความหลากหลาย

คณะผจู้ ดั ทำหวังเป็นอยา่ งย่ิงวา่ วารสารฉบบั นจ้ี ะเปน็ ประโยชน์สำหรบั ผู้อ่านทุกทา่ น และ
ขอขอบคุณที่ทา่ นผอู้ า่ นไดใ้ ห้ความสนใจตดิ ตามวารสารอาชพี สำหรับคนที่เรียนทางดา้ นครศุ าสตรแ์ ละ
วศิ วกรรมศาสตร์

นายนรากร รามณรงค์
บรรณาธิการ

สารบญั

บทความทางวิชาการ หนา้
1.อาชพี วศิ รกรออกแบบระบบอัตโนมัติ 1-4

ศุภนนั ต์ จนั ทร์ทองออ่ น 5-7
2.อาชีพวศิ วกรแมคคาทรอนิกส์
8-11
นรากร รามณรงค์
3.อาชพี วศิ วกรควบคุมการผลิต 12-14

ณฐั กัญญา ชยั วาที 15-18
4.อาชีพวศิ วกรระบบควบคมุ

รฐั บาล ชยั ชนะ
5.อาชีพวิศวกรตรวจสอบคุรภาพ

ภณั ฑิรา สุขประเสริฐ

1

อาชพี วิศวกรออกแบบระบบอตั โนมตั ิ

ศภุ นนั ต์ จันทรท์ องออ่ น¹
บทนำ

ในปจั จบุ ันครูเป็นอาชีพทีม่ คี ุณค่าและน่าสนใจ แตไ่ มใ่ ชท่ กุ คนท่ีจะเป็นครูแลว้ มีความสขุ การเรียน
คณะครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวศิ วกรรมแมคคาทรอนกิ ส์ เปน็ สาขาทนี่ า่ เรยี นและมี
ทางเลอื กในการประกอบอาชีพ ซึ่งอาชีพวิศวกรออกแบบระบบอตั โนมตั ิ เป็นอาชีพทมี่ คี วามรคู้ วามสามารถใน
การออกแบบ สร้างพัฒนาและจัดการระบบตา่ งๆในโรงงานอตุ สาหกรรม ดังนนั้ อาชีพวศิ วกรออกแบบระบบ
อัตโนมตั เิ ป็นอาชีพทีน่ ่าสนใจและเปน็ ทางเลอื กในการประกอบอาชีพทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมได้

1.ทำความรจู้ กั สาขาวศิ วกรรมแมคคาทรอนกิ ส์
สาขาวิชาวศิ วกรรมแมคคาทรอนกิ ส์ (Mechatronics Engineering) เปน็ สาขาสหวิทยาการท่ีประยุกต์

องค์ความรู้ของวิศวกรรมศาสตร์ 3 ด้านหลัก คือ วิศวกรรมเครือ่ งกล วิศวกรรมไฟฟ้า วศิ วกรรมการควบคมุ
อตั โนมตั ิ และศาสตรด์ า้ นวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยสี ารสนเทศเขา้ ไวด้ ้วยกัน เพอื่ การออกแบบ สร้าง
ผลติ ชน้ิ ส่วนหรอื ผลิตภณั ฑ์ รวมถงึ พัฒนางานในระบบอตุ สาหกรรม วิศวกรรมแมคคาทรอนิกส์ จะพัฒนา
ศกั ยภาพของเครื่องจักรกลโรงงาน จำพวกหนุ่ ยนต์โรงงาน หรือ ระบบอัจฉริยะ (Intelligent Systems) ใหม้ ี
การทำงานไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพสงู สดุ โดยการเรียนการสอนจะเรมิ่ ตน้ ตง้ั แต่ ความร้พู นื้ ฐานทางวงจรไฟฟ้า
การออกแบบวงจรควบคมุ การควบคุมเครอื่ งจักรกลโรงงาน รวมไปถงึ การออกแบบเครื่องจักรกลหนกั และ
โครงสร้างของเคร่อื งจักร เป็นตน้

2.เรียนวิศวกรแมคคาทรอนกิ ส์ จบไปทำงานอะไรไดบ้ า้ ง
ผู้ที่มคี วามชอบและความถนดั ด้านวชิ าฟิสิกส์ วิชาคณติ ศาสตร์ มีความชนื่ ชอบในด้านการประดิษฐ์

ชอบระบบกลไกการทำงานของหุ่นยนต์ เครอื่ งจักในโรงงาน สนใจการเขียนโปรแกรม AI และเทคโนโลยี
มีความคิดสร้างสรรค์ เปน็ คนชา่ งสังเกตสามารถเข้าการศกึ ษาในสาขาวิศวกรรมแมคคาทรอนิกส์

2.1ตัวอย่างอาชพี ทบี่ คุ คลจบสาขาวิศวกรรมแมคคาทรอนกิ ส์
2.1.1 วิศวกรแมคคาทรอนกิ ส์ (Mechatronics Engineer)
2.2.2 วศิ วกรหนุ่ ยนต์ (Robotics Engineer)
2.2.3 วิศวกรออกแบบระบบอตั โนมตั ิ (Automation System Design Engineer)
2.2.4 วศิ วกรซอ่ มบำรุงหุ่นยนต์ (Robot Maintenance Engineer)
2.2.5 วศิ วกรระบบควบคมุ (Controls Engineer)
2.2.6 วศิ วกรตรวจสอบคณุ ภาพ (Quality Engineer)
2.2.7 วศิ วกรฝ่ายขาย (Sale Engineer)
2.2.8 นกั วิจัย (Researcher)

2

3.อาชีพวิศวกรออกแบบระบบอัตโนมตั คิ อื อะไร มหี นา้ ที่และการทำงานอย่างไร
3.1 วศิ วกรออกแบบระบบอตั โนมัติ
วิศวกรออกแบบระบบอตั โนมัติ คือ วศิ วกรทมี่ ีความร้คู วามสามารถในการออกแบบ สรา้ ง พฒั นา และ

จัดการระบบต่าง ๆ เชน่ ระบบโรงงานอตั โนมัติ (Factory Automation) กระบวนการผลิตอัตโนมตั ิ (Process
Automation) ตลอดจนอาคารทอี่ ยู่อาศัยอจั ฉรยิ ะ (Building and Home Automation) เพ่อื ให้ระบบต่าง ๆ
เหลา่ นีส้ ามารถทำงานไดโ้ ดยตัวเองหรือพง่ึ พาผู้ปฏิบตั งิ านน้อยที่สดุ

3.2 หนา้ ทีข่ องวิศวกรออกแบบระบบอัตโนมัติ
อาชพี วิศวกรออกแบบระบบอตั โนมัติ มีความรับผิดชอบการทำงานของระบบอตั โนมตั ิในโรงงาน
ปรบั ปรงุ กระบวนการผลติ เพื่อพัฒนาประสทิ ธิภาพการผลติ คุณภาพงาน และลดตน้ ทนุ การผลติ ออกแบบ
จดั เตรยี ม Jig & Fixture พรอ้ มอุปกรณก์ ารผลิต ปรบั ปรงุ กระบวนการผลิตให้ไดต้ ามเป้าหมายทีว่ างไว้
นำระบบอัตโนมัตแิ ละและเทคโนโลยีใหมๆ่ เข้ามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นกระบวนการผลิต เฝ้าตดิ ตามและคงไว้ซึ่ง
ประสทิ ธิภาพในกระบวนการผลิต เช่น วธิ ีการทำงาน รอบเวลาการทำงาน มาตรฐานการปรับตงั้ ค่าเครือ่ งจักร
เปน็ ต้น ประสานงานกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง ปฏบิ ัตติ ามขัน้ ตอนการทำงานท่รี ะบใุ นเอกสาร Procedure
และ WI
4.เขา้ ใจในระบบอตั โนมัตขิ องอตุ สาหกรรม
4.1 ระบบอตั โนมตั ทิ างอุตสาหกรรมคอื อะไร
ระบบอตั โนมัติสามารถเร่ิมตน้ การทำงานไดเ้ องผา่ นการรนั โปรแกรมทวี่ างเอาไว้ เพือ่ ช่วยในการ
ควบคมุ สง่ั งาน หรอื รบั คำสงั่ งานต่างๆ รวมถึงกำหนดการทำงานของระบบควบคุมอตั โนมัติให้สามารถทำงาน
ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพมากท่สี ุดระบบอตั โนมัตินัน้ เข้ามาสนบั สนนุ การทำงานของมนุษย์ โดยเฉพาะการ
ปฏิบัตงิ านที่มีความเสีย่ งต่อความสูญเสยี เปน็ หลักไมว่ ่าจะเป็นการยกของหนกั การขนยา้ ยวสั ดใุ นพืน้ ทีจ่ ำกดั
หรือการทำงานในพ้ืนท่ที มี่ สี ภาพแวดลอ้ มอันตราย ทำใหร้ ะบบควบคมุ อตั โนมัตแิ ละห่นุ ยนตถ์ ูกนำมาใชก้ ัน
อย่างแพรห่ ลายในปจั จุบัน ยกระดับการแข่งขนั ในตลาดอตุ สาหกรรมข้ึนไปอย่างรวดเร็ว
4.2 ประโยชนข์ องระบบออกแบบอัตโนมัติ
4.2.1 ลดต้นทนุ ระบบ Automation ชว่ ยลดเวลาในการทำงานไดเ้ ป็นอย่างดี รวมถึงกาอำนวยความ
สะดวกให้กับแรงงานทำใหไ้ มเ่ กิดคา่ ใชจ้ า่ ยจากการบาดเจ็บหรือ Downtime
4.2.2 เพม่ิ คุณภาพ ระบบ Automation นนั้ เป็นสิง่ ท่ีมีความแมน่ ยำสูง สามารถผลติ ชน้ิ งานทม่ี ีความ
ละเอยี ดสงู และทำงานในรปู แบบพิเศษทม่ี นุษย์ไม่อาจทำได้
4.2.3 เพม่ิ ความสามารถในการผลิต การทำงานภายใต้เงื่อนไขอันจำกัด เช่น สถานที่ สภาพแวดล้อม
ระยะเวลา ต้องมกี ารบรหิ ารจดั การทดี่ ไี มอ่ ยา่ งนั้นจะสูญเสยี อยา่ งมาก เชน่ การบรหิ ารจัดการคลงั สนิ คา้ ทด่ี จี ะ
ไมก่ ่อใหเ้ กดิ การสง่ ชน้ิ สว่ นทล่ี ่าช้า หรอื การทำงานซำ้ ๆ อย่างตอ่ เน่อื งได้โดยไมก่ อ่ ให้เกดิ ความเส่ยี งจากความ
เมอื่ ยลา้

3

4.2.4 รักษาสขุ ภาพและความปลอดภัยทดี่ ี การใชง้ านระบบควบคุมอตั โนมัตสิ ามารถส่งเสริมความ
ปลอดภยั ของกระบวนการผลิตไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ด้วยระบบเซนเซอร์ตรวจจับการทำงาน สามารถทดแทนแรงงาน
มนษุ ย์ในการปฏบิ ัตงิ านที่มีความเส่ยี งต่อสขุ ภาพและความปลอดภัยของผ้ปู ฏบิ ัติงานในพื้นที่ เชน่ ระบบหยดุ
การทำงานของหุ่นยนตเ์ มอ่ื มีคนเข้าไปใกล้

สรุป
จากบทความท่กี ล่าวมา อาชพี วศิ วกรออกแบบระบบอตั โนมตั ิ เป็นอาชพี ทนี่ ่าสนใจในการประกอบ

อาชพี มีความก้าวไกลในหนา้ ทกี่ ารทำงาน มคี วามสามารถพัฒนาศักยภาพของเคร่ืองจักรกลโรงงาน จำพวก
หนุ่ ยนต์โรงงาน หรอื ระบบอัจฉริยะ มีการทำงานได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพสูงสุด

4

บรรณานุกรม

สำนกั ทะเบยี นและประมวลผลสถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคณุ ทหารลาดกระบงั .(2558)
“วศิ วกรรมอตั โนมตั ิคอื อะไร”. สืบคน้ เมอ่ื 12 มีนาคม 2565, จากhttps://automation.kmitl.ac.th.

Sunstar.(2563 ). “วศิ วกรระบบอัตโนมัติ (Automation Engineer)”. สบื คน้ เมือ่ 12 มนี าคม 2565,
จากhttps://www.sunstar-engineering.com/th/career/automation-engineer/.

Automation Engineering Kmitl.(2561) “ทำไมตอ้ งมีวศิ วกรรมอตั โนมัต”ิ . สืบคน้ เมอ่ื 12 มนี าคม 2565,
จาก https://web.facebook.com/AutomationKmitl/photos/.

5

อาชพี วศิ วกรรมแมคคาทรอนิกส์

นรากร รามณรงค2์

บทนำ
วิศวกรรมแมคคาทรอนิกส์คือ สาขาสหวทิ ยาการที่ประยุกตอ์ งคค์ วามรู้ของวศิ วกรรมศาสตร์ 3 ดา้ น

หลัก คอื วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมไฟฟ้า วศิ วกรรมการควบคมุ อัตโนมัติ และศาสตรด์ ้านวทิ ยาการ
คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศเขา้ ไวด้ ว้ ยกนั เพ่ือการออกแบบ สร้างผลติ ช้นิ ส่วนหรอื ผลิตภณั ฑ์ รวมถงึ
พัฒนางานในระบบอตุ สาหกรรม

1.ความหมายของวิศวกรรมแมคคาทรอนกิ ส์
1.1. วิศวกรรมแมคคาทรอนกิ ส์คอื อะไร
วศิ วกรรมแมคคาทรอนิกสเ์ ป็นสาขาวิศวกรรมทมี่ ีสาขาวิชาตา่ งๆ มากมาย เชน่ คอมพวิ เตอร์

เครื่องกล และวิศวกรรมอิเลก็ ทรอนิกส์ วิศวกรรมประเภทนี้เนน้ ทง้ั ระบบเคร่อื งกลและระบบไฟฟ้า และอาจ
รวมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ หนุ่ ยนต์ ระบบควบคุม อิเล็กทรอนกิ สแ์ ละโทรคมนาคม ตัวอย่างผลติ ภณั ฑ์ที่
ได้รบั การออกแบบโดยใช้วศิ วกรรมแมคคาทรอนกิ ส์ ได้แก่ ระบบเบรกป้องกนั ลอ้ ล็อกในรถยนต์ และฮาร์ดดสิ ก์
ของคอมพวิ เตอร์ แม้ว่าผลิตภณั ฑ์เหลา่ นีจ้ ะเป็นแบบกลไก แตต่ อ้ งใชค้ อมพิวเตอรแ์ ละระบบควบคมุ ไฟฟา้ ใน
การทำงาน

2.หน้าท่ขี องวศิ วกรรมแมคคาทรอนิกส์
2.1ลกั ษณะการทำงานของวิศวกรรมแมคคาทรอนิกส์
วิศวกรรมแมคคาทรอนกิ สอ์ าจทำงานในสาขาวศิ วกรรมทหี่ ลากหลายและทำหน้าที่ที่แตกตา่ งกันหลาย

อยา่ ง วิศวกรรมแมคคาทรอนกิ ส์มกั ทำงานกับทีมเครอื่ งกล ทีมวศิ วกร หรอื ทัง้ สองอยา่ ง โดยมักจะทำงานกับ
อุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ซอฟต์แวรแ์ บบเรียลไทม์ เคร่ืองมอื วดั และเคร่อื งจกั รทางกลไฟฟ้า วิศวกรรมแมคคา
ทรอนิกส์มักมบี ทบาทพ้นื ฐานในการพัฒนาผลิตภณั ฑแ์ ละใชห้ ลกั การทางวิศวกรรม เช่น อิเลก็ ทรอนกิ ส์
ซอฟต์แวร์ กลไก และวิศวกรรมควบคุมตลอดกระบวนการพฒั นา

2.2 หนา้ ที่ท่ัวไปของวศิ วกรรมแมคคาทรอนกิ ส์

2.2.1 ใชเ้ ทคโนโลยีเครอ่ื งกล คอมพวิ เตอร์ และ/หรืออเิ ลก็ ทรอนิกส์เพื่อพฒั นาแนวทางแกไ้ ขปัญหา

2.2.2 ใชร้ ะบบควบคุมปรบั ปรงุ และพฒั นาระบบและประสิทธิภาพ

2.2.3 พฒั นาและสร้างผลิตภัณฑต์ า่ งๆ ท่ีเกย่ี วข้องกับความต้องการทางกลและหรอื ทางไฟฟา้

6

3.การประยกุ ตใ์ ช้งาน

3.1ระบบอตั โนมัติ

ระบบท่ีทำงานผ่านการควบคุมจากคอมพิมเตอร์ อาจจะเปน็ อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนกิ สท์ ส่ี ามารถเรม่ิ
ทำงานได้ด้วยตวั เองตามโปรแกรมทม่ี นษุ ยเ์ ป็นผู้ควบคุมไว้ เชน่ ระบบรดน้ำอัตโนมตั ิ ระบบตอบรับโทรศพั ท์
อัตโนมตั ิ ระบบอตั โนมัตเิ ข้ามามบี ทบาทมากข้ึนในปจั จุบนั ท้ังในด้านวิศวกรรม อุตสาหกรรม และรวมไปถงึ การ
ดำเนินชวี ิตประจำวนั ของมนษุ ย์ ระบบอัตโนมัติถูกคิดคน้ มาเพอ่ื ให้สามารถลดการใชท้ รพั ยากรท่ไี มจ่ ำเป็น และ
ตอบสนองความตอ้ งการของมนษุ ย์

3.1.1ระบบเคร่ืองจกั รกงึ่ อัตโนมัติ
ระบบเครื่องจักรก่ึงอตั โนมตั ิ หมายถึงระบบเคร่อื งจกั รทใี่ ช้งานผา่ นการควบคุมจากคอมพวิ เตอรแ์ ค่
บางสว่ น ในส่วนทีเ่ หลอื ยังต้องอาศัยการทำงานโดยมนษุ ย์ เนื่องจากเป็นงานท่ตี อ้ งการความแมน่ ยำ และความ
ละเอียดสงู
3.1.2 ระบบเคร่ืองจักรอตั โนมตั ิ
เครื่องจกั รทนี่ ำเอาคอมพิวเตอร์เข้ามามีส่วนชว่ ยในการควบคมุ หรือการทำงานในทกุ ขัน้ ตอน โดยจะให้
เรามหี นา้ ทใี่ นการออกคำสัง่ ดแู ล รักษาระบบเครอื่ งเพียงเทา่ นน้ั การทำงานโดยใชร้ ะบบเคร่ืองจกั รอัตโนมัติ
ทกุ ขน้ั ตอนจะเหมาะกบั งานท่ีต้องการการควบคุมอยา่ งเต็มที่เต็มรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นในเร่ืองด้านคุณภาพหรือ
ความสะอาด อีกท้งั ยังใช้ในงานทีไ่ ม่สามารถใช้คนทำได้ เชน่ งานทตี่ อ้ งใชอ้ ุณหภมู สิ งู ๆเกนิ กว่าที่คนเราจะ
สามารถทนได้ ซ่ึงเราจะมหี นา้ ทก่ี ารรับผดิ ชอบในการดแู ลรักษาเคร่ืองจกั รเทา่ นนั้

4.อาชพี วิศวกรรมแมคคาทรอนกิ ส์

4.1 วศิ วกรหรอื ชา่ งเทคนิคหุน่ ยนต์ ( Robotics engineer/technician )

4.2 วศิ วกรระบบอตั โนมัติ ( Automation engineer )

4.3 วิศวกรออกแบบระบบควบคุม ( Control system design engineer )

4.4 วศิ วกรออกแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ ( Electronics design engineer )

สรุป

วศิ วกรรมแมคคาทรอนกิ ส์เปน็ สหวิทยาการเชิงประยุกต์ทน่ี ำวชิ าพืน้ ฐานหลกั วา่ ดว้ ย วศิ วกรรมเครอื่ งกล
วศิ วกรรมควบคมุ อตั โนมตั ิ วศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทส มาบรู ณาการเขา้ ด้วยกันเพอื่ การ
ออกแบบสรา้ งสรรค์ปรับปรงุ พัฒนาระบบและประสิทธิภาพระบบควบคมุ สำหรับผลติ ชนิ้ สว่ นและผลิตภณั ฑ์

7

บรรณานุกรม

Indeed Editorial Team.(2021). “What is mechatronics engineering” สบื คน้ เมือ่ 1 มนี าคม 2565,
จาก What Is Mechatronics Engineering? Definition and Examples | Indeed.com

Indeed Editorial Team.(2021).“What do mechatronics engineering do”
สบื คน้ เม่อื 1 มนี าคม 2565 ,จากWhat Is Mechatronics Engineering? Definition and Examples

| Indeed.com

Indeed Editorial Team.(2021). “Common duties of a mechatronics engineer include”
สืบคน้ เมอื่ 1 มนี าคม 2565,

จาก What Is Mechatronics Engineering? Definition and Examples | Indeed.com

วิกิพเี ดยี .(2563). “ระบบอัตโนมตั ”ิ สบื คน้ เมอ่ื 1 มนี าคม 2565,
จาก ระบบอัตโนมตั ิ - วกิ พิ เี ดยี (wikipedia.org)

Pennsylvania Western University.(2022).“Jobs you can get with a mechatronic”สืบค้นเม่อื 1
มนี าคม 2565,

จาก What Can You Do With A Mechatronics Degree | Jobs, Careers (calu.edu)

8

อาชพี วศิ วกรควบคมุ การผลติ

ณัฐกัญญา ชัยวาที3
บทนำ

ปัจจบุ นั เน่ืองจากอาชีพมีความสำคัญตอ่ มนษุ ยม์ าก การเลอื กประกอบอาชพี จึงมีความสำคญั ต่อมนุษย์
เป็นอย่างมาก สงั คมของเรามอี าชพี มากมายหลายชนดิ อาชพี แต่ละอาชพี ก็มีความแตกตา่ งกนั มาก อาชพี
บางอยา่ งกอ็ าจเหมาะสมกบั บุคลกิ ภาพคนหนึ่ง อาจสอดคล้องกับบคุ ลกิ ภาพของอกี คนหนึ่ง การเลอื ก
ประกอบอาชพี ให้เหมาะสมกบั บคุ ลิกภาพ ความสนใจ ความสนใจ ความถนัดของแต่ละบุคคล จึงมคี วามสำคญั
มาก คนท่เี ลือกประกอบอาชพี ท่ีเหมาะสมกบั ตนทำใหเ้ กิดความเพลดิ เพลินและเกิดความสุขในการทำงานและ
ยงั มโี อกาสท่ีจะประสบความเร็จในการประกอบอาชีพมาก
1. วศิ วกรควบคุมการผลติ คอื อะไร

1.1 วิศวกรควบคุมการผลิตคอื อะไร
วศิ วกรควบคมุ คณุ ภาพวางแผนและควบคุมข้ันตอนต่าง ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้องในกระบวนการผลิตและวัสดุ
การผลิตเพอ่ื ใหแ้ นใ่ จว่าพวกเขาไปถงึ ระดับคุณภาพที่เฉพาะเจาะจง เธอมหี นา้ ทรี่ ับผิดชอบในการเลือกเทคนิคที่
ดที ี่สดุ สำหรบั กระบวนการที่กำหนดกำหนดระดบั คณุ ภาพและทำตามขน้ั ตอนท่เี หมาะสมเพอ่ื รกั ษาหรือ
ปรบั ปรุงคุณภาพของกระบวนการหากจำเป็นหลาย บรษิ ทั ใหค้ วามสำคัญกบั การปรบั ปรงุ คุณภาพของ
ผลิตภณั ฑใ์ นระหวา่ งขั้นตอนการผลติ หวงั ทีจ่ ะปอ้ งกันข้อบกพรอ่ งและประหยัดเงนิ วิศวกรควบคุมคณุ ภาพมัก
ทำงานกับพนักงานจากแผนกต่างๆในบริษัทเพอ่ื หาวิธีท่ดี ีทีส่ ุดในการผลิตและปรบั ปรงุ คุณภาพของสินค้า
1.2 การพฒั นาการนำไปใชแ้ ละควบคมุ
การพัฒนาการนำไปใชแ้ ละควบคมุ กระบวนการทสี่ ง่ ผลใหเ้ กดิ ระดบั คณุ ภาพเฉพาะสำหรับรายการ
ท่ผี ลติ น้ันเป็นความรับผิดชอบของวิศวกรควบคมุ คณุ ภาพ เธอจะต้องระบุมาตรฐานในการวดั คณุ ภาพของสนิ ค้า
ที่ผลติ วิเคราะหร์ ายละเอยี ดทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อคุณภาพของสินค้าและตดั สนิ ใจวา่ เทคนคิ ใดที่ดที ่ีสดุ สำหรับ
ผลลพั ธท์ ่ดี ีทสี่ ุด บคุ คลนีต้ อ้ งตั้งค่าวิธปี ฏิบัตเิ พอื่ ติดตามและควบคุมคุณภาพ อยา่ งไรก็ตามต้องพิจารณาปจั จยั
อ่ืน ๆ เชน่ ประสทิ ธภิ าพต้นทุนและผลผลติ

9

2. หน้าท่ีของอาชีพวศิ วกรควบคมุ การผลติ
2.1 วางแผนและสรา้ งข้ันตอนการผลติ เพ่อื ให้กระบวนการผลิตเกิดประสทิ ธิภาพ
2.2 วิเคราะหส์ าเหตทุ ่กี ระทบตอ่ กระบวนการผลิตทงั้ ในเชงิ พัฒนา ป้องกนั และแกไ้ ข
2.3 ประเมิน วิเคราะห์ และวางแผนปัจจยั การผลติ ใหพ้ ร้อมต่อกระบวนการผลติ เชน่ ตน้ ทนุ
งบประมาณ ระยะเวลา
2.4 รา่ งแบบและออกแบบอุปกรณ์ วัสดุ และพนื้ ทท่ี ำงานที่ทำใหป้ ระสทิ ธภิ าพการทำงานสูงสุด
2.5 ประสานงานและควบคุมคุณภาพการผลิต เพื่อการแก้ไขปัญหาการผลิต ลดตน้ ทุน และตรวจสอบ
คณุ ภาพ

3. ทกั ษะและความรู้ของอาชีพวิศวกรควบคมุ การผลิต
3.1 ทักษะของอาชพี วศิ วกรควบคุมการผลติ
3.1.1 การกำกบั ดแู ลงาน
การกำกับ ตดิ ตามงาน และประเมินผลการปฏิบตั งิ านของตัวเอง ผ้อู ่ืน หรือองคก์ ร เพื่อปรับปรุง

แกไ้ ขได้อยา่ งถูกต้อง
3.1.2 การคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ
การใชเ้ หตุผลหรอื ตรรกะในการระบุจดุ แข็ง และจดุ ออ่ นของทางเลอื กต่าง ๆ ทีม่ ี เพอื่ หาข้อสรปุ

ของแนวคิดในการแก้ไขปญั หา
3.1.3 การแก้ไขปญั หาทซ่ี บั ซอ้ น
การระบลุ กั ษณะปญั หาที่มีความซบั ซ้อนและทบทวนข้อมลู ทเ่ี ก่ยี วข้อง เพื่อประเมินทางเลอื ก

ต่างๆ ในการแกไ้ ขปญั หา
3.1.4 การเขียน
การเขียนประเด็นสำคญั ผา่ นการเลอื กใชค้ ำ ระดับภาษา และวิธกี ารเล่าเรื่องให้เข้ากบั ผู้อ่านได้

อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
3.1.5 การฟงั อย่างลึกซึง้
การใสใ่ จกับส่งิ ท่ีผูอ้ น่ื กำลงั พดู อยา่ งเต็มท่ี จบั ประเดน็ สำคัญ สอบถามในเวลาทเ่ี หมาะสม และ ไม่

ขัดจงั หวะในการพดู
3.1.6 การเรียนรูเ้ ชงิ ประยกุ ต์
การทำความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ข้อมูลใหม่ ๆ เพือ่ มาใชใ้ นการตัดสินใจและแกไ้ ขปัญหา ทั้งใน ปจั จุบนั

และอนาคต

10

3.2 ความรขู้ องอาชีพวิศวกรควบคมุ การผลติ
3.2.1 การผลิต และการแปรรปู
ความรู้เกี่ยวกบั วัตถุดิบ กระบวนการผลิต การควบคมุ คณุ ภาพ ต้นทุน และการเพมิ่ ประสิทธิภาพการ

ผลิตและการกระจายสินคา้
3.2.2 เคร่อื งจักรกล
ความรูเ้ กยี่ วกบั การออกแบบ ใช้งาน ซ่อมแซม และบำรุงรกั ษาเครอื่ งมือ หรืออปุ กรณท์ างกล

เชน่ มอเตอร์ เกียร์ เคร่อื งยนต์
3.2.3 การออกแบบ
ความรเู้ กยี่ วกับการทำความเขา้ ใจความต้องของการกลมุ่ ผใู้ ช้งานและการออกแบบ รวมถึงการเขียน

แบบเชิงเทคนคิ ทต่ี อ้ งอาศัยความแม่นยำ
3.2.4 คณิตศาสตร์
ความรู้เก่ียวกับเลขคณิต พชี คณติ เรขาคณติ แคลคูลสั สถิติ เพอ่ื นำไปประยกุ ตใ์ ชก้ ับการทำงาน
3.2.5 การศกึ ษา และการฝกึ อบรม
ความรเู้ กี่ยวกบั การออกแบบหลักสูตรการอบรม วิธีการสอนแบบรายบุคคลหรือกลมุ่ และการวดั

ประเมินผลจากการสอน
3.2.6 ภาษาไทย
ความรู้เกี่ยวกับหลกั ภาษาไทย รวมถงึ ความหมาย การสะกดคำ หลกั เกณฑก์ ารเขยี น และไวยากรณ์

ของภาษา

สรปุ
จากขอ้ มูลข้างตน้ อาชีพวิศวกรควบคุมการผลิตนน้ั นับไดว้ า่ เป็นอาชีพท่ีน่าสนใจอาชีพหน่ึง เพราะ

เปน็ อาชพี ทีต่ ลาดแรงงานต้องการเป็นอยา่ งมาก รายไดด้ ี ม่นั คง และมีบรษิ ัทท่ีรบั วิศวกรคหลายแขนงมาก
อาชพี วิศวกรควบคมุ การผลิตน้นั เปน็ อกี หนง่ึ ทางเลอื กสำหรับนกั ศกึ ษาคณะครศุ าสตร์อุตสาหกรรมและ
เทคโนโลยี นักศึกษาวศิ วกรรมรวมไปถงึ บุคคลทสี่ นใจและรกั ในอาชพี วิศวกรควบคุมการผลติ

11

บรรณานกุ รม

Netinbag.(ม.ป.ป). “วศิ วกรควบคุมการผลิตคืออะไร” สบื ค้นเม่อื 1 มีนาคม 2565,
จาก https://www.netinbag.com/th/education/what-is-a-quality-control-engineer.html

WE Space. (ม.ป.ป). “หนา้ ทข่ี องวิศวกรควบคุมการผลิต” สืบค้นเมอื่ 1 มีนาคม 2565,
จาก https://wespace.in.th/explore/career/K1401.00

WE Space. (ม.ป.ป). “ทกั ษะและการทำงาน” สบื คน้ เม่ือ 1 มนี าคม 2565,
จาก https://wespace.in.th/explore/career/K1401.00

12

อาชพี วิศวกรรมระบบควบคุม

รัฐบาล ชัยชนะ4
บทนำ

ปจั จบุ นั หลายๆประเทศมีการประยุกตใ์ ชห้ ลักการทางวิทยาศาสตรเ์ พ่ือออกแบบและพฒั นาโครงสร้าง
เครอ่ื งจกั ร เครอ่ื งมือ กระบวนการผลติ เพอื่ ใช้ประโยชน์สง่ิ เหลา่ นี้รวมเข้าด้วยกัน หรอื เป็นศาสตร์ที่ว่าดว้ ยการ
นำวิทยาการและความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ มาประยกุ ต์ คิดคน้ ออกแบบและประดิษฐส์ งิ่ ต่างๆ ท้งั การนำ
ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่มี ีอยูม่ าดัดแปลงและปรบั ปรุง หรอื ทีเ่ รียกกนั ว่า วศิ วกรรมศาสตร์

1.วิศวกรรมระบบควบคมุ
1.1 วิศวกรรมระบบควบคุมคอื อะไร
เป็นสาขาวชิ าหน่งึ ของการศึกษาทางวศิ วกรรมศาสตร์ ม่งุ เนน้ การศกึ ษาค้นคว้าและประยกุ ตท์ ฤษฎี

ระบบควบคุมในการออกแบบระบบเพอื่ ควบคมุ ใหม้ ีพฤตกิ รรม (เสถยี รภาพและสมรรถนะ) ตามตอ้ งการโดย
เปน็ ไปตามทว่ี เิ คราะหค์ าดการไว้ลว่ งหน้า การใชง้ านระบบควบคมุ โดยท่ัวไปแล้วนยิ มอาศัยอปุ กรณว์ ดั หรือ
เซนเซอร์ (sensors) เพือ่ วัดค่าผลลพั ธ์หรือเอาต์พุตของระบบทีต่ อ้ งการควบคมุ แล้วนำผลดังกลา่ วไป
เปรียบเทยี บกบั เป้าหมายท่ตี อ้ งการ

2.ประวตั ิความเป็นมา
2.1 ประวตั ิความเปน็ มาวิศวกรรมระบบควบคุม
ระบบควบคมุ อตั โนมัติได้รบั การพัฒนาขน้ึ คร้งั แรกเมื่อสองพนั ปีก่อน อุปกรณค์ วบคุมความคดิ เหน็ ครง้ั

แรกในบนั ทึกคดิ วา่ จะเป็นโบราณ Ktesibios's นาฬิกาน้ำในซานเดรียอยี ปิ ต์รอบครสิ ตศกั ราชศตวรรษท่สี ามมนั
เก็บเวลาโดยการควบคุมระดับน้ำในเรอื ต่อมาในปี ค.ศ. 1258 มกี ารใชอ้ ปุ กรณอ์ ตั โนมัตทิ ี่หลากหลายตลอด
หลายศตวรรษที่ผ่านมาเพื่อทำงานทีม่ ีประโยชนใ์ หส้ ำเร็จหรอื เพยี งเพื่อสรา้ งความบนั เทิง หลงั รวมถึงออโตมา
ตะซ่งึ เป็นท่นี ิยมในยโุ รปในศตวรรษที่ 17 และ 18 ซงึ่ มหี ่นุ เต้นรำทจ่ี ะทำซำ้ งานเดิมซ้ำแลว้ ซ้ำอกี ออโตมาตา
เหลา่ นี้เปน็ ตวั อย่างของการควบคุมแบบวงเปดิ เหตกุ ารณ์สำคญั ในหมู่ข้อเสนอแนะหรอื อปุ กรณค์ วบคมุ
อตั โนมัติ "วงปดิ " ไดแ้ ก่ ตัวควบคมุ อุณหภูมขิ องเตาเผาทเ่ี กิดจาก Drebbel ประมาณปี 1620 และผวู้ ่าราชการ
flyball แบบแรงเหวยี่ งทใี่ ช้สำหรบั ควบคมุ ความเรว็ ของเครื่องยนต์ไอน้ำโดย James Watt ในปี พ.ศ. 2331
ทฤษฎีการควบคุมมีความกา้ วหน้าอยา่ งมากในศตวรรษหนา้ เทคนิคทางคณิตศาสตร์แบบใหม่ เช่นเดยี วกับ
ความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยอี เิ ล็กทรอนกิ สแ์ ละคอมพิวเตอร์ ทำให้สามารถควบคุมระบบไดนามกิ ท่ี
สลับซับซ้อนได้อยา่ งมนี ยั สำคัญมากกว่าท่ผี ้วู า่ การฟลายบอลเดมิ จะมีเสถยี รภาพได้ เทคนคิ ทางคณิตศาสตร์
ใหม่รวมถงึ การพัฒนาในการควบคมุ ทีเ่ หมาะสมที่สดุ ในปี 1950 และ 1960 ต่อมาในปี 1970 และ 1980 มีการ
ประยุกตใ์ ชร้ ะเบยี บวิธคี วบคุมช่วยใหก้ ารเดินทางในอวกาศและดาวเทียมสอ่ื สารเป็นไปได้ เครอื่ งบินปลอดภัย
และมีประสทิ ธิภาพมากขน้ึ เครื่องยนตข์ องรถยนตส์ ะอาดขึน้ และกระบวนการทางเคมที ่สี ะอาดข้นึ และมี
ประสิทธภิ าพมากข้นึ

13

3.อาชีพวิศวกรรมระบบควบคุม
3.1 อาชีพวศิ วกรรมระบบควบคุม
อาชพี วิศวกรควบคุมเร่ิมตน้ ด้วยปรญิ ญาตรแี ละสามารถดำเนนิ ต่อไปไดจ้ นถงึ ข้นั ตอนของวิทยาลยั

องศาวิศวกรควบคุมน้นั เขา้ กนั ได้ดกี บั ปริญญาวศิ วกรรมไฟฟ้าหรอื เครื่องกล วิศวกรควบคมุ มกั จะได้งานในด้าน
การจัดการดา้ นเทคนิคซง่ึ มกั จะนำไปสโู่ ครงการสหวิทยาการ มีโอกาสในการทำงานมากมายในบริษทั การบิน
และอวกาศ บริษทั ผู้ผลติ บรษิ ทั รถยนต์ บรษิ ัทพลังงาน และหนว่ ยงานราชการ สถานท่ีบางแห่งทจี่ า้ งวศิ วกร
ควบคมุ ได้แก่ บรษิ ัทต่างๆ
4.หนา้ ท่ีและความสำคญั

4.1 หน้าท่ีและความสำคญั ของวศิ กรรมระบบควบคุม
ทำหน้าท่ตี รวจสอบและแก้ไขปญั หาท่ีเกิดขนึ้ กับระบบควบคมุ หรือเครอื่ งจักรภายในโรงงานโดยทัว่ ไป
เก่ียวขอ้ งกับ Process Control ,Instrument , PLC , Program SCADA , Network และ Database
4.1.1 Process Control ตอ้ งเขา้ ใจการทำงานของระบบท่รี บั ผิดชอบ เชน่ ระบบของเราเป็น First
order หรอื Second order เขา้ ใจวิธีการควบคมุ ทใ่ี ช้ เช่น Close loop control แบบ Cascade , Ratio
แล้วใช้ Controller แบบไหน
4.1.2 Instrument เครอ่ื งมอื วดั อยา่ งเดียวกัน ยงั คณุ ลกั ษณะ หรอื โครงสรา้ งภายในแตกต่างกัน
ระบบสามารถใช้แทนกันได้ บางอย่างไม่สามารถใช้แทนกนั ได้ วิศวกรควบคุมตอ้ งตัดสินใจเลือกอุปกรณ์ท่ใี ช้ให้
ถกู ตอ้ ง
4.1.3 PLC ทำหนา้ ที่ควบคมุ อปุ กรณต์ ่างๆในโรงงาน ซึ่งถกู โปรแกรมให้ทำงานตามชนดิ ของ process
นนั้ ๆ วิศวกรควบคมุ ต้องเขา้ ใจการทำงานของ PLC และสามารถแกไ้ ขเวลาทีร่ ะบบขดั ขอ้ งได้
4.1.4 SCADA เป็นกราฟกิ โปรแกรมที่ใชใ้ นการสั่งงานระบบ, แสดงการทำงานของระบบ, แสดง
สญั ญาณเตอื น, และอ่นื ๆ วศิ วกรควบคุมตอ้ งเขา้ ใจการทำงานระบบผา่ น SCADA อกี ทง้ั ยงั ตอ้ งแปล
ความหมายสัญญาณเตือนตา่ งๆ แล้วนำไปแก้ไขปญั หาไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง
4.1.5 Network ในปจั จุบันนี้ อปุ กรณ์ระบบควมคุมมกี ารพัฒนาอยา่ งมาก มกี ารนำระบบสื่อสาร
ตา่ งๆเข้ามาใช้กันอยา่ งแพรห่ ลาย เพราะขอ้ ได้เปรยี บทางด้านความเรว็ และมมี าตราฐานสากลรองรบั
4.1.6 Database ข้อมูลของระบบจะถูกเกบ็ ลงในฐานขอ้ มลู เพอ่ื นำมาวเิ คราะห์ในเชิงของฝา่ ยผลติ
หรือฝา่ ยซอ่ มบำรงุ ข้อมลู เหลา่ น้ีจึงมีความสำคัญยิ่ง วิศวกรควบคุมควรจะสามารถดึงขอ้ มูลมาวิเคราะห์และ
บำรงุ รักษาระบบฐานขอ้ มูลเบ้ืองต้น

สรุป
วิศวกรรมระบบควบคมุ เป็นสาขาหน่งึ ของวศิ วกรรมศาสตร์ ส่วนใหญ่จะทำการศึกษาค้นควา้ ประยุกต์

ทฤษฎีระบบควบคมุ ในการออกแบบเพ่อื ควบคุมใหม้ ีเสถยี รภาพและสมรรถนะตามตอ้ งการโดยจะใช้อุปกรณ์วัด
หรือเซนเซอรใ์ นการควบคุม

14

บรรณานุกรม

สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง. (2561). “วิศวกรรมระบบควบคุม คือ”
สบื คน้ เมอ่ื 28 ธันวาคม 2561, จาก https://control.kmitl.ac.th/controlsysengis/

hmong.in.th. (2561). "วิศวกรรมควบคมุ ภาพรวมและประวตั "ิ . สบื ค้นเมื่อ 12 มนี าคม 2565,
จาก https://hmong.in.th/wiki/Control_Engineering

hmong.in.th. (2561) "วิศวกรรมควบคุม ภาพรวมและประวตั ิ". สืบคน้ เมื่อ 12 มนี าคม 2565,
จาก https://hmong.in.th/wiki/Control_Engineering

Thaicontrol’s Blog.(2553).“วิศวกรควบคมุ (Control Engineer) ตอ้ งทำอะไรบา้ ง”.
สบื ค้นเมอื่ 12 มนี าคม 2565,จาก https://thaicontrol.wordpress.com0/

15

อาชีพวิศวกรตรวจสอบคณุ ภาพ

ภัณฑิรา สุขประเสรฐิ 5
บทนำ

วิศวกรตรวจสอบคณุ ภาพมีบทบาททางดา้ นการผลิตและเทคนิคมากมาย มหี นา้ ที่ในการตรวจสอบให้
แนใ่ จวา่ ผลติ ภณั ฑ์ของบรษิ ทั นนั้ ไดม้ าตรฐานทีค่ วบคมุ โดยตลาด วศิ วกรตรวจสอบคณุ ภาพจึงมคี วามสำคัญ
อย่างมาก สามารถพบได้ในอตุ สาหกรรมการผลิต และการขนส่ง วิศวกรตรวจสอบคณุ ภาพจำเป็นต้องใชท้ ักษะ
ทางเทคนิคของเขาเพอื่ ทำงานรว่ มกับผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการประกันคณุ ภาพอนื่ ๆ เช่น ชา่ งเทคนคิ ใน
หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ผูบ้ ริหารฝ่ายประกนั คณุ ภาพ นกั วิเคราะหค์ ุณภาพและซพั พลายเออร์

1.ความสำคัญและจดุ เด่นเฉพาะของหลักสตู ร
เป็นหลักสูตรทสี่ รา้ งนกั ฝึกอบรมและวศิ วกรปฏบิ ตั ิการทมี่ คี วามร้ทู ้งั ด้านทฤษฎีและงานปฏิบตั ิ ท่ี

เกยี่ วขอ้ งกบั วิศวกรรมแมคคาทรอนิกส์และรายวิชาในหลกั สูตรม่งุ เน้นใหผ้ เู้ รยี นมีกระบวนการคิดและลงมอื
ปฏบิ ตั ิอยา่ งเข้มข้น โดยใช้การจดั การเรยี นรแู้ บบโครงงาน เป็นฐานควบคู่กับการถา่ ยทอดความรู้และทักษะ
ตามอัตลกั ษณ์ คิดเปน็ ทำเปน็ ถา่ ยทอดเปน็

2.วิศวกรควบคุมคณุ ภาพคอื อะไร
วิศวกรควบคุมคุณภาพวางแผนและควบคมุ ขนั้ ตอนต่าง ๆ ที่เกีย่ วข้องในกระบวนการผลิตและวัสดุ

การผลติ เพ่ือใหแ้ น่ใจว่าพวกเขาไปถึงระดบั คุณภาพที่เฉพาะเจาะจง เมีหน้าทร่ี ับผดิ ชอบในการเลือกเทคนิคทีด่ ี
ทีส่ ดุ สำหรับกระบวนการทก่ี ำหนดกำหนดระดับคณุ ภาพและทำตามขน้ั ตอนที่เหมาะสมเพือ่ รกั ษาหรือปรับปรุง
คุณภาพของกระบวนการหากจำเป็น หลาย บรษิ ทั ให้ความสำคัญกบั การปรบั ปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ใน
ระหว่างข้ันตอนการผลิตหวงั ทีจ่ ะปอ้ งกนั ขอ้ บกพรอ่ งและประหยัดเงิน วิศวกรควบคมุ คุณภาพมกั ทำงานกับ
พนักงานจากแผนกตา่ ง ๆ ใน บรษิ ทั เพอื่ หาวธิ ีทดี่ ที สี่ ดุ ในการผลติ และปรบั ปรงุ คุณภาพของสินค้า

การพฒั นาการนำไปใช้และควบคมุ กระบวนการทีส่ ง่ ผลใหเ้ กิดระดับคณุ ภาพเฉพาะสำหรับรายการท่ี
ผลิตนน้ั เปน็ ความรบั ผดิ ชอบของวศิ วกรควบคุมคุณภาพ เธอจะต้องระบุมาตรฐานในการวัดคุณภาพของสนิ ค้าท่ี
ผลิตวิเคราะห์รายละเอยี ดทอี่ าจสง่ ผลกระทบตอ่ คณุ ภาพของสนิ คา้ และตัดสินใจว่าเทคนิคใดท่ีดที ี่สดุ สำหรับ
ผลลัพธท์ ่ดี ีทส่ี ดุ บคุ คลน้ตี อ้ งตั้งคา่ วิธีปฏิบตั เิ พอื่ ติดตามและควบคุมคุณภาพ อย่างไรก็ตามต้องพิจารณาปจั จยั
อื่น ๆ เชน่ ประสิทธภิ าพตน้ ทุนและผลผลิต

ในบางกรณบี ุคคลนอ้ี าจมีส่วนร่วมในการออกแบบและประเมินผลผลิตภัณฑ์ ในกรณเี หลา่ นน้ั อาจมี
ความรู้เพ่มิ เตมิ หรอื การศกึ ษาเกีย่ วกบั การออกแบบอตุ สาหกรรม นอกจากนี้ยังอาจร่วมมอื กบั ผู้ขายหรอื ฝ่าย
การตลาดเพ่ือวิเคราะหร์ ายงานผู้บริโภคซงึ่ จะบ่งบอกวา่ ผลติ ภณั ฑ์ทำงานไดด้ ีเพียงใดสำหรับประชาชนทั่วไป
นอกจากน้ีเธออาจรบั ผิดชอบในการตรวจสอบใหแ้ นใ่ จวา่ วัสดุท่เี ป็นไปตามมาตรฐานทจี่ ำเปน็ และอปุ กรณ์
ทำงานอย่างถกู ต้อง

16

วิศวกรควบคมุ คณุ ภาพทำงานร่วมกบั บุคคลหลากหลาย นอกเหนือจากการพบปะกบั พนกั งานจำนวน
มากเพ่ือตดั สินใจเทคนคิ ท่ดี ีทสี่ ดุ สำหรับการผลติ เธอยังสามารถควบคุมชา่ งเทคนิคการควบคมุ คุณภาพผู้
ตรวจสอบและบคุ ลากรการผลติ อื่น ๆ การมที ักษะการสือ่ สารท่ดี ีจะเปน็ ประโยชน์ต่อผ้ทู ่ีทำงานในสายงานน้ี

3.หนา้ ท่ีของวศิ วกรตรวจสอบคุณภาพ
3.1 สามารถให้ขอ้ มลู ทางสถติ สิ ำหรบั การปรบั ปรุงคุณภาพโดยการระบุวธิ กี ารทดสอบและตวั อย่างใน

การปฏิบัติ
3.2 วศิ วกรตรวจสอบคณุ ภาพจะต้องกำหนดชว่ งเวลาในการปรับปรุงคุณภาพของผลติ ภัณฑ์โดยตอ้ งมี

การระบุขน้ั ตอนต่างๆในการกระบวนการผลติ
3.3 ต้องทำงานรว่ มกบั บุคลากรด้านวศิ วกรรมและหน่วยงานประกนั คุณภาพอนื่ ๆ เพอื่ กำหนด

คุณลกั ษณะที่จำเปน็ เพื่อให้ได้รบั การควบคุมคณุ ภาพ
3.4 ให้คำแนะนำในการปรบั เปลยี่ นกระบวนการผลติ ตามความจำเป็นเพ่ือสนับสนนุ การผลติ ท่มี ี

คณุ ภาพและคุ้มคา่
3.5 วิศวกรตรวจสอบคุณภาพต้องตรวจสอบข้ันตอนการผลิตอยา่ งเข้มงวด
3.6 แก้ไขปัญหาต่างๆทกุ กระบวนการการผลติ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั คณุ ภาพและมาตรฐาน
3.7 วิศวกรตรวจสอบคุณภาพจะช่วยแกป้ ญั หาเก่ยี วกบั คุณภาพโดยการระบปุ ัญหา การผลติ การ

ตรวจสอบ การหาวธิ แี ก้ไขปญั หาและจัดหาทรัพยากรทีจ่ ำเป็นในการดำเนินการตามแผน
3.8 วศิ วกรตรวจสอบคุณภาพจะตอ้ งวิเคราะหผ์ ลและนำไปใชเ้ พ่อื แนะนำการเปล่ยี นแปลง แก้ไข

กระบวนการผลติ และปฏบิ ัติตามเพ่ือให้ไดป้ ระสทิ ธิภาพสูงสดุ
3.9 อำนวยความสะดวกและสง่ เสริมการใช้เทคนิคการแกป้ ัญหาทเี่ หมาะสมและเปน็ ปัจจุบนั สำหรับ

การวิเคราะห์ทีม่ ีประสิทธภิ าพและกระบวนการผลิตทีป่ ระสบความสำเรจ็

4.ทกั ษะทค่ี วรมขี องวศิ วกรตรวจสอบคณุ ภาพ
4.1 การปรบั ปรงุ : วศิ วกรตรวจสอบคุณภาพต้องใช้เทคนิคและขั้นตอนการผลติ ทีม่ คี ณุ ภาพและ

ปรบั ปรงุ ให้ทันสมัย
4.2 วศิ วกรตรวจสอบคณุ ภาพตอ้ งมีความเป็นมืออาชพี และความรู้ทางเทคนคิ โดยเขา้ ร่วมการประชุม

เชิงปฏบิ ัติการดา้ นการศกึ ษา การมสี ่วนรว่ มในสมาคมวชิ าชพี อน่ื ๆ เพื่อรกั ษามาตรฐานคณุ ภาพ
4.3 ขอ้ มูลการวิเคราะห์: วิศวกรตรวจสอบคุณภาพต้องมปี ระสิทธิภาพในการวิเคราะหข์ อ้ มลู การผลิต

วิธีการและขน้ั ตอนการผลิต
4.4 งานวิจัย: วศิ วกรตรวจสอบคุณภาพตอ้ งมีความรใู้ นเชงิ ลกึ เกย่ี วกบั กระบวนการผลติ ตอ้ งวิจยั

วธิ กี ารผลิตท่ที นั สมยั ด้วยมาตรฐานการควบคุมที่มีคุณภาพ

17

4.5 ความเขา้ ใจทางเทคนคิ : วศิ วกรตรวจสอบคณุ ภาพตอ้ งมีความรคู้ วามเขา้ ใจในการใช้อปุ กรณ์ และ
เครือ่ งจกั รทใ่ี ช้ในการผลิต และตอ้ งมคี วามรูเ้ ก่ยี วกบั วัตถดุ บิ ที่ใชผ้ ลติ

4.6 วิธีการผลติ และกระบวนการ: เปน็ งานของวศิ วกรตรวจสอบคุณภาพเพ่ือสร้างแมแ่ บบสำหรับการ
ผลติ และข้ันตอนเพอื่ ให้ได้มาตรฐานดา้ นคณุ ภาพ นอกจากน้ียังต้องตรวจสอบกระบวนการผลติ และปฏบิ ตั ิตาม
มาตรฐานคณุ ภาพทุกขั้นตอน

4.7 นวัตกรรมควรมคี วามสามารถในการคดิ คน้ นวตั กรรมใหม่ ๆ เพ่ือรบั ประกันคณุ ภาพใน
กระบวนการผลิต

4.8 วิศวกรตรวจสอบคุณภาพต้องทำให้แนใ่ จว่ากระบวนการผลิตในข้ันตอนตา่ งๆมีความปลอดภัย
และไดม้ าตรฐานและคณุ ภาพสงู สุด

5.ความแตกต่างระหวา่ งงาน QA กบั งาน QC ทตี่ อ้ งรกู้ อ่ นสมคั รงาน
การประกันคุณภาพ หรอื Quality Assurance: QA หมายถึงการกระทำทมี่ กี ารวางแผนไว้ล่วงหน้าอย่าง

มรี ะบบ เพ่อื ใหเ้ กดิ ความมัน่ ใจไดว้ า่ ผลติ ภัณฑ์หรอื บริการจะมาสามารถตอบสนองความต้องการทางด้าน
คุณภาพไดต้ ามตกลง ซง่ึ การประกันคุณภาพนี้เป็นสิง่ ทช่ี ว่ ยสร้างความมน่ั ใจให้กับลกู ค้าว่าจะได้รับสินคา้ และ
บรกิ ารทม่ี ีคุณภาพเทา่ นน้ั

การควบคมุ คณุ ภาพ หรอื Quality Control: QC เป็นการตรวจสอบสินคา้ และบรกิ ารใหเ้ ป็นไปตาม
มาตรฐาน (Standard) ซง่ึ ถกู ต้องหรือสอดคล้องตรงตามแผนทีไ่ ดว้ างไว้ ทง้ั ในด้านคุณภาพ (Quality) และ
ปรมิ าณ (Quantity) โดยการควบคุมคณุ ภาพน้ีเป็นส่วนหนึง่ ของการประกนั คณุ ภาพ (QA) และการประกัน
คณุ ภาพกเ็ ปน็ ส่วนหนงึ่ ของระบบการบริการคณุ ภาพ (QMS) และระบบการบรหิ ารคุณภาพก็เปน็ ส่วนหน่งึ ของ
กระบวนการบรหิ ารธุรกิจทม่ี เี ปา้ หมายเพยี งหน่งึ เดยี วคือ การสร้างความพงึ พอใจใหแ้ ก่ลูกค้า

สรปุ
โอกาสสำหรบั ผทู้ ่ตี ้องการเปน็ วิศวกรควบคมุ คุณภาพนัน้ คอ่ นขา้ งทั่วไปแมว้ า่ ตลาดงานจะข้นึ อยู่กบั ภาวะ

เศรษฐกจิ หลาย บริษัท พยายามผลติ ผลิตภณั ฑข์ องตนอย่างมีประสทิ ธิภาพมากข้ึนด้วยต้นทุนท่ีตำ่ ลงและมี
คุณภาพเพ่มิ ขึ้น ดังนน้ั เมอ่ื บรษิ ัท ตา่ งๆเริม่ เหน็ ประโยชนข์ องการจา้ งวิศวกรควบคุมคณุ ภาพก็จะมงี านมากข้นึ
อตุ สาหกรรมที่ตอ้ งการบคุ ลากรทม่ี ที กั ษะในงานนร้ี วมถงึ บรษิ ทั ยา บรษิ ทั เคมแี ละอุตสาหกรรมอาหารและ
ต้องเป็นผ้ทู ม่ี คี วามละเอยี ดอ่อนและชา่ งสังเกต ตอ้ งคดั แยกสินคา้ ทไี่ ม่เปน็ ไปตามมาตรฐานให้ไดภ้ ายในเวลา
อันรวดเร็ว ซึ่งจำเป็นต้องใชค้ วามรแู้ ละประสบการณอ์ ย่างมาก ตอ้ งมีการกำกับการตรวจสอบตั้งแตก่ อ่ น
ระหวา่ ง และหลงั การผลิต มขี ั้นตอนการตรวจสอบ

18

บรรณานุกรม

เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนอื . (2019). “ความสำคญั และจดุ เด่นเฉพาะของหลักสูตร”
สบื คน้ เมอื่ 20 กมุ ภาพันธ์ 2565 ,
จาก https://tm.kmutnb.ac.th/page.php?slug=Mechatronics- Engineering

Netinbag.(ม.ป.ป). “วิศวกรควบคุมคณุ ภาพคอื อะไร” สบื ค้นเมื่อ 22 กมุ ภาพันธ์ 2565,
จาก https://www.netinbag.com/th/education/what-is-a-quality-control-engineer.html

Resumeextra. (ม.ป.ป). “หนา้ ที่ของวศิ วกรตรวจสอบคณุ ภาพ” สืบค้นเม่ือ 26 กมุ ภาพนั ธ์ 2655,
จาก https://th.resumeextra.com/quality-engineer-job-description/

Resumeextra. (ม.ป.ป). “ทกั ษะทคี่ วรมขี องวิศวกรตรวจสอบคุณภาพ”สบื คน้ เมื่อ 26 กมุ ภาพนั ธ์ 2655,
จาก https://th.resumeextra.com/quality-engineer-job-description/

JobsDB. (2020). “ความแตกต่างระหวา่ งงาน QA กับงาน QC ทต่ี ้องรู้ก่อนสมัครงาน”
สบื คน้ เม่ือ 28 กุมภาพันธ์ 2565, จาก https://th.jobsdb.com/thth/articles/

THE FACULTY OF EDUCATION
IS MORE THAN A TEACHER.

ค รุ ศ า ส ต ร์

เ ป็ น ไ ด้ ม า ก ก ว่ า ค รู


Click to View FlipBook Version