The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chantisa780, 2022-07-10 07:37:51

สมองสมอง

สมองสมอง

Nervous system
and

Sensory organs

พนื้ ฐานการทาํ งานของระบบประสาท

เปรยี บเทยี บการทางานของระบบประสาทและระบบตอ่ มไรท้ อ่

- คณุ สมบัตอิ ยา่ งหนงึ่ ของส่ิงมีชวี ติ คอื ความสามารถใน
การตอบสนองตอ่ การเปล่ียนแปลงต่อสง่ิ เรา้ (stimulus)
ทั้งภายนอกและภายในร่างกาย

- การตอบสนองดังกล่าวใช้ระบบประสานงาน
(Coordinating system) ระหวา่ งระบบ 2 ระบบคือ

- 1) ระบบประสาท (Nervous system)
- 2) ระบบตอ่ มไรท้ อ่ (Endocrine system)

องคป์ ระกอบหลกั ในการทาํ งานของระบบประสาท

องคป์ ระกอบหลักในการทางานของระบบประสาท
ประกอบด้วย 3 ส่วน คอื
1)หนว่ ยรับความร้สู กึ (sensory input) ไดแ้ ก่ อวยั วะ
รับความรสู้ กึ ต่างๆ (เซลลร์ บั ความรสู้ กึ : sensory cell)

2)หน่วยประมวลผลและประสานงาน (integration
center) ได้แก่ระบบประสาทสว่ นกลาง (centalnervous
system CNS: สมองและไขสนั หลัง)

3)หน่วยตอบสนอง (motor output) ได้แก่ อวยั วะตา่ งๆ
(กลา้ มเน้อื : muscle)

การรับรู้และตอบสนองของส่งิ มีชวี ิตเซลลเ์ ดียวและสัตว์

การตอบสนองของสง่ิ มชี วี ติ เซลลเ์ ดยี ว
ส่งิ มชี ีวติ เซลลเ์ ดยี ว เชน่
พารามเี ซียม ไม่มีเซลลป์ ระสาท แต่สามารถตอบสนอง ตอ่
สิง่ เรา้ ได้ เช่น
การเคลื่อนท่เี ข้าหาหรอื หนแี สงสว่าง โดยพบวา่ พารามี
เซยี ม มี Coordinating fider ทาหนา้ ท่ี ควบคมุ ทศิ ทางของ
ซเี รีย การตอบสนองของสตั วไ์ ม่มกี ระดูกสนั หลัง

การรับรูแ้ ละตอบสนองของสงิ่ มีชวี ิตเซลล์เดยี วและสตั ว์

การตอบสนองของสตั วไ์ มม่ กี ระดกู สนั หลัง

ฟองนํา้ เซลล์แตล่ ะเซลลส์ ามารถรบั ร้แู ละการตอบสนองได้
แต่ไม่มีเซลลท์ ี่ทา หนา้ ที่ประสานงานระหว่างเซลตา่ ง ๆ
โดยเฉพาะ

ไฮดรา เปน็ กลมุ่ แรกท่เี รม่ิ มกี ารพฒั นาระบบประสาทเพอ่ื
ตอบสนองต่อส่ิงเร้า ซ่ึงประกอบดว้ ย (Never net) โดยเมอื่ มีส่งิ
เร้ามา กระตุน้ จะเกิดกระแสประสาท(Nerve impulse) เคล่อื นท่ี
ไปตามเซลล์ประสาทที่ ประสานกันเป็นรา่ งแห่จากจดุ ที่ถูกกระตุ้น
และกระจายไปทั่วทั้งตวั ทาให้ไอครา สามารถรับรู้และ
ตอบสนองต่อสงิ่ เรา้ ได้

ดาวทะเล มรี ะบบประสาทคล้ายกับระบบประสาทแบบ
ร่างแห มกี ารพัฒนาโครงสร้างของระบบประสาทเพมิ่ ขึน้ มาคอื
Nerve ring และ Radial nerve

การรับรแู้ ละตอบสนองของสงิ่ มชี ีวติ เซลล์เดยี วและสตั ว์

พลานาเรีย หรือ หนอนตวั แบน
มีการรวมกลมุ่ ของเซลล์ประสาทบริเวณหวั เรยี กวา่
Cerebral ganglion มเี สน้ ประสาทขนาดใหญย่ าวขนาน
กับล่าตวั เรยี กว่า longitudinal nerve cords
มีเสน้ ประสาทตามขวาง เรียกว่า transverse nerve เรียก
รวมว่าระบบประสาทแบบ Iadder type nerve system มี
eye spot ตอบสนองความเขม้ ของแสง

การรบั รู้และตอบสนองของส่งิ มชี ีวติ เซลล์เดยี วและสตั ว์

ไส้เดอื นดิน และ พวกกุ้ง กั้ง แมลง Cerebral
ganglion Brain Ventral nerve cord มปี มประสาท
อยเู่ ปน็ ระยะ (ตามปลอ้ ง) หอย มีปมประสาทตามสว่ น
สาคัญของร่างกาย หัว Cerebral ganglion เท้า Pedal
ganglion อวยั วะภายใน Visceral ganglion หวั
Cerebral ganglion เทา้ Pedal ganglion อวัยวะ
ภายใน Visceral ganglion

การรับรูแ้ ละตอบสนองของส่งิ มชี วี ิตเซลล์เดยี วและสตั ว์

หมึก มรี ะบบประสาทเจริญมากมีการรวมกล่มุ ของเซลล์
ประสาทเปน็ สมอง มีการพัฒนาส่วนของตาเจริญมาก
การตอบสนองของสตั ว์ไมม่ กี ระดูกสนั หลงั ระบบประสาท
พัฒนามากทีส่ ดุ ระบบประสาทประกอบด้วย 2 สว่ น คอื
central nervous system (ระบบประสาทสว่ นกลาง)
peripheral nervous system (ระบบประสาทรอบนอก)
ไดแ้ ก่ เส้นประสาทสมอง เส้นประสาท ไขสันหลัง ปม
ประสาท

โครงสรา้ งและการทาํ งานของเชลลป์ ระสาท

เน้ือเยือ่ ประสาท (Nervous tissue) ทาหนา้ ทใ่ี น
การรับรกู้ ารเปล่ยี นแปลงของภาวะแวดลอ้ มท้งั ภายใน
และภายนอกรวมถงึ การถ่ายทอดข้อมลู ไปยงั สว่ นต่าง ๆ
เพ่อื ควบคุมการทางาน
เน้อื เยื่อประสาทประกอบดว้ ย เชลล์ หลกั 2 กลุ่ม คือ
1)เซลล์ประสาท (nerve cell neuron) ทาหน้าทีร่ บั และ
สง่ สญั ญาณประสาท
2)เซลล์เกลยี (Glial cell or nueroglia) หรอื เซลล์ค้า
จุน (superling cell) ช่วยสนบั สนุนการทางานของระบบ
ประสาท

โครงสร้างและการทํางานของเชลล์ประสาท

เซลล์ประสาท (Neurons)
เซลล์ประสาท ประกอบดว้ ย
1) ตวั เซลล์ ทบ่ี รรจุ นวิ เคลยี ส ไซโทพลาซีม เย่ือห้มุ เชลล์ ออร์
แกเนลตา่ ง ๆ ซงึ่ มีเมตา โบลิขมิ ใชใ้ นการสรา้ งพลงั งานและ
โปรตีนเหมอื นเชลสอ์ ื่น ๆ
2) เส้นใยประสาท หรอื แขนงประสาท ตวั เซลล์ (Cell Body
Soma cell) ประกอบดว้ ยนวิ เคลียส และออร์แกเนลล์ต่าง ๆ
คลา้ บยกัเซลส์ทวั่ ๆ ไป ตวั อยา่ งสาคัญเช่น
1) นิสส์ บอดี (Nisst Body) กลมุ่ ของ RER ทาหน้าท่ี เกีย่ วกับ
การสังเคราะห์โปรตนี สาหรบั นาไปสร้างเป็นเอทไซม์ที่เกย่ี วกับการ
นากระแสประสาท
2) ไมโทคอนเดรยี (Mitochondria) ทาหน้าท่ีสร้างพลังงานให้แก่
เซลล์
3) กอลจบิ อดี (Golgi Body) มหี นา้ ที่เก็บสารโปรตนี ทนี่ ีลส์ บอดี
สรา้ งข้ึนและเปลยี่ นแปลงโปรตีน บางสว่ นเปน็ ไลโซโซม

โครงสร้างและการทํางานของเชลล์ประสาท

เส้นใยประสาท (Nerve Fiber)
1)เดนไดรต์ (Dendrite) ทาหน้าท่ใี นการรับสัญญาณประสาท
เข้าสตู่ ัวเซลล์ เปน็ เส้นใยสัน้ ๆ บางเซลลม์ เี ยอะ บางเซลล์ไม่
มเี ลย บางเซลลม์ ี่แค่
2)แอกซอน (axon) ทาหน้าทใ่ี นการส่งกระแสประสาท
กระแสประสาทสามารถสง่ ไดท้ ิศทางเดียว รอยต่อ เรียกวา่
Axon hillock ปลาย เรยี กว่า terminal branch ปลายสุด
เรยี กวา่ synaptip terminal
แอกซอนของเซลล์ประสาทในสัตวม์ กี ระดูกสนั หลังบางชนิด
จะมี Myelin sheath หมุ้
- Myelin sheath เปน็ สารพวก phospholipid ซ่ึงมีคณุ สมบัติ
เป็นฉนวนทที่ าให้การส่งกระแสประสาททาไดเ้ รว็ ข้นึ
- บริเวณ ไมม่ ี Myelin sheath ทุ้ม เรยี กว่า Node of Rarivier

โครงสร้างและการทาํ งานของเชลลป์ ระสาท

เสน้ ประสาท (Nerve) คือ กลุ่มของแอกซอนหลายร้อย
หรอื หลายพันอันและถูกหอ่ ห้มุ ดว้ ยเนอ้ื เยอื้ เก่ยี วพนั
ปมประสาท (Ganglion) คอื กลุม่ ของตัวเซลลท์ ีอ่ ยู่
รวมกนั ขนาดใหญ่

โครงสร้างและการทาํ งานของเชลลป์ ระสาท

ประเภทของเชลล์ประสาท : แบง่ ตามโครงสร้างของเซลล์
1 เซลล์ประสาทขัว้ เดียว (Unipolar neuron)
-มเี ส้นใยประสาทแอกซอนแยกออกมาจากตัวเซลล์เพียง 1 เสน้
พบท่ี เซลล์ประสาทฟลง่ั ฮอรโ์ มนของสัตว์
2 เซลลป์ ระสาทขว้ั เดยี วเทยี ม (Pseudounipolar neuron)
- เปน็ เชลล์ประสาทที่มีแอกซอนออกจากตวั เซลล์เสน้ ใยเดยี ว
แล้วแตกออกเป็น 2 เสน้ โดยเส้นใยหนง่ึ ตรงปลายจากแตก
แบ่งเป็นเดนไดรต์ พบที ปมประสาทรากบนในไขสันหลัง
3 เซลลป์ ระสาทสองขวั้ (Bipolar neuron)
-มเี สน้ ใยประสาทแยกออกจากตัวเชลล์ 2 เสน้ ไย เป็นแอกซอน
1 เสน้ และเดนไดรต์ 1 เสน้ พบที่ อวยั วะรบั ความร้สู กึ
4 เซลลป์ ระสาทหลายขั้ว (Mutipolar neuron)
-มเี สน้ ตนไตร แยกออกมาจากตวั เชล จานวนมาก และมแี อก
ซอน 1 เสน้ พบที่ สมอง ไขสนั หลงั ทาหน้าทนี่ าคาสง่ั และ
ประสานงาน

โครงสรา้ งและการทาํ งานของเชลลป์ ระสาท

ประเภทของเชลลป์ ระสาท : แบ่งตามหนา้ ที่ของเซลล์

1 เซลลป์ ระสาทรับความรสู้ ึก (Sensory neuron)
-ทาหน้าท่ีรบั กระแสประสาทจากหน่วยรับความรสู้ ึกแลว้ ถ่ายทอด
ไปสเู่ ซลล์ประสาทอน่ื ๆ
- Bipolar neuron
- พบที่ปมประสาทรากบนในไขสนั หลงั
2 เซลลป์ ระสาทสง่ั การ (Motor neuron)
-อยู่ทีใ่ บสนั หลงั ทา่ กระแสประสาทออกจากไขสนั หลังไปยงั หน่วย
ปฏบิ ตั ิงาน
- แอกซอนจะยาวกวา่ เดนไดรต์
3 เชลล์ประสาทประสานงาน (interneuron or Association
neuron)
– อยใู่ นไขสันหลังและสมอง
- มขี นาดส้ันเพยี ง 4-5 ไมโครเมตร
- เปน็ เซลล์ประสาททีเ่ ชอื่ มระหวา่ งเซลล์ประสาทรบั ความรสู้ ึกและ
เซลลป์ ระสาทส่งั การ

เซลลเ์ กลยี (Glia or Neuroglia) หรือเซลลค์ ้ําจนุ (Supporting cell)

โครงสรา้ งและการทาํ งานของเชลลป์ ระสาท

การทาํ งานของเซลลป์ ระสาท

-การทางานของกระแสประสาท เก่ียวข้องกับการไหลของ
ไอออน

- เซลล์ประสาททกุ เซลล์ มีเยอ่ื หมุ้ เซลลเ์ ปน็ Phospholipid
Bitlayer

-มคี ุณสมบัติปอ้ งกนั ไมใ่ หไ้ อออนใหลผ่านหรอื เข้าออก
อย่างอสิ ระ

- เยือ่ ห้มุ เซลลม์ โี ปรตนี แทรกอย่ทู ่วั ไปเปน็ Channel ทาให้
ไอออนตา่ ง ๆไหลผ่านได้

โครงสรา้ งและการทํางานของเชลล์ประสาท

Channel แบ่งเปน็ 2 ประเภทหลกั คอื

1) Passive transport - channel
ไอออนไหลตามหลกั Concentration gradient และ ไม่ใช้
พลงั งาน
- Open/Leakage channel ของโปรตนี เปิดตลอดเวลา
- Voltage-gated channel ของโปรตีนจะเปิดเม่อื มีการ
เปลยี่ นแปลงศกั ยไ์ ฟฟา้ ทเี่ ยอ่ื หุ้มเซลล์
- Ligand-gated channel ของโปรตีนจะเปดิ เมื่อมสี ารเคมมี า
จบั กบั ตัวรบั (receptor) บริเวณชอ่ ง
โปรตนี ซ่ึงอาจจบั บรเิ วณฝ่ังทางด้านนอกเซลล์หรอื โนเชลส์
ได้
- Mechanically/Stress-gated channel ของโปรตนี จะเปิดเมื่อ
มีการเปล่ยี นแปลงเชิงกลหรือมีแรงตงึ มากระทากับช่อง
โปรตีน

โครงสร้างและการทาํ งานของเชลลป์ ระสาท

2) Active transport - channel
ไอออนไหลตรงขา้ มหลกั Concenyration gradient และ
ต้องใช้พลงั งาน

โครงสรา้ งและการทาํ งานของเชลลป์ ระสาท

เซลล์ประสาทในระยะพัก (resting membrane potential)
- Alan Lloyd Hodgkin และ Andrew Fielding Huxley ใช้
Microelectrode reกับโวลต์มิเตอร์ วัดความตา่ งศักดร์ิ ะหว่างด้านในและ
ดา้ นนอกของเซลลป์ ระสาท อา่ นค่าได้ -70 mV
- ภายในเซลล์ประสาทมิ K” เข้มขน้ สูง แตภ่ ายนอกเซลลป์ ระสาทจะมี
Na เขม้ ข้นสูงกว่า
- K จะร่วั ออกจากเชลล์ผ่านทาง K leak channel มากกวา่ Na ทจ่ี ะร่วั
จากภายนอกเข้ามาภายในเซลล์ ส่งผลใหภ้ ายในเชลส์ประสาทมศี กั ด์ิ
ไฟฟ้าเปน็ ลบ
- เหตผุ ลอกี ประการณ์หนึง่ คอื การที่เซลล์ประสาทมโี ปรตนี และกรดนิ
วคลอี กี อยู่ภายใน ซึ่งมีประจุไฟฟา้ ป็นลบ
เซลลป์ ระสาทจะพยายามรักษาสมดลุ ของไอออนไว้ โดยใช้กระบวนการ
Na - K Pump
-เกิดขน้ึ บรเิ วณ Node of ranvier
-ขบั Na ออกจานวน 3 ไอออน และดึง k กลบั เข้าเซลล์ประสาท 2
ไอออน
-ต้องใช้ ATP

โครงสรา้ งและการทํางานของเชลลป์ ระสาท

Action potential

1.ระยะพกั ชอ่ งโซเดยี มและโพแทสเซียมปดิ เซลล์ประสาทรกั ษาการ
ทางานอย่ใู นระยะพักโดยการทางานของ Na-K Pump
2.Depolarization (ช่วงแรก)เม่อื มกี ารกระตนุ้ ช่อง Na จะเปดิ ออก
บางสว่ น Na เรมิ่ เขา้ สูภ่ ายในเซลล์กนะตุน้ ถึงระดบั Theshold จะเกิด
Action potential
3.Depolarization (ชว่ งหลัง) การเกดิ ในช่วงแรกจะกระตุ้นให้มีการเปิด
ของช่อง K มากขน้ึ ทาให้ความต่างศกั ย์ไฟฟ้าเยือ้ เซลล์ด้านในมคี ่า
เปน็ บวกเมอื่ เทียบกบั ดา้ นนอก
4.Repolarization ชอ่ ง Na เรมิ่ ทยอยปดิ ช่อง K เปิด K ไหลออกนอก
เซลล์ ทาใหภ้ ายในเซลล์กลบั มามคี วามตา่ งศกั ยเ์ ป็นลบอกี คร้งั
5.Hyperpolarization/Undershoot ช่อง K ยงั คงเปิดอยู่(ปดิ ช้า) K ไหล
ออกจากเซลล์มากเกนิ ไป ความต่างศักยจ์ ะติดลบมากกว่าระยะพกั
และเมือ่ ช่อง K ปดิ โดยสมบรู ณ์ ศกั ย์ไฟฟา้ จะกลบั เข้าสู่ระยะพักโดย
การทางานของ Na-K Pump

โครงสร้างและการทํางานของเชลลป์ ระสาท

การนาํ กระแสประสาท

การนํากระแสประสาท : กรณีไมม่ เี ยอื่ ไมอีลนิ หุ้ม
- เมอื่ กระแสประสาทในเซลล์ประสาทถกู กระตุ้นจะเกิดการส่ง
ตอ่ ไปตามแอกซอน
- บริเวณทเี่ กดิ depolarization จะทาให้มกี ารสะสมของ Na
ภายในแอกซอน ทา่ ให้ศกั ดไิ ฟฟ้าบริเวณนนั้ สูงกวา่ บรเิ วณ
ขา้ งเคียง
- Na จะแพรไ่ ปยังบริเวณข้างเคียงและเหนีย่ วนาใหป้ ระตู
โซเดียม บริเวณค้างเคียงเปดิ มากขน้ึ ทาให้เกิด depolarization
ในบรเิ วณ ถัดไป และเกิดขน้ึ ไปตามแอกซอนอย่างตอ่ เน่อื ง
เรียกว่า continuous conduction

โครงสรา้ งและการทํางานของเชลลป์ ระสาท

การนํากระแสประสาท กรณีมเี ยอื่ ไมอลี นิ หมุ้

- การส่งกระแสประสาทจะสามารถเกิดขึ้นได้เรว็ เน่ืองจากไมอี
ลินเป็นฉนวนไฟฟา้
- การเกดิ กระแสไฟฟ้าจะเกดิ ขึ้นได้เฉพาะบริเวณ Node of
Pervler
-กระแสประสาท เกิดขึน้ อยา่ งกา้ วกระโดด เรียกการนากระแส
ประสาทแบบนวี้ ่า Saltatory conduction
- ถ้ามีระยะห่างของ Node of Renvier มาก กจ็ ะสามารถทา
กระแสประสาทไดเ้ ร็วข้นึ
- มขี อ้ ดีอีกประการคอื มกี ารใชพ้ ลังงานน้อยกว่า

โครงสรา้ งและการทาํ งานของเชลล์ประสาท

การนํากระแสประสาทบรเิ วณไซแนปส์ (Synapse)
คอื รอยต่อระหวา่ งเซลล์ประสาท เมอ่ื เซลล์ประสาทเคลือ่ น
ผ่านปลายสุดของแอกซอน เซลล์ประสาทตอ้ งสง่ สัญญาณไป
เซลล์ถัดไป
Presynaptic Neuron เป็นเซลล์ประสาทกอ่ นไซแนปสท์ ี่
ปลายแอกซอน มีสารส่อื ประสาทเพอ่ื ใช้ในการสง่ กระแส
ประสาท
Postsynaptic Neuron เปน็ เซลลป์ ระสาทหลงั ไซแนปส์ มี
เดนไดรต์เชอ่ื มตอ่ กับปลายแอกซอนของเซลล์ประสาทของ
ไซแนปส์
Synaptic Cleft คือ ช่องระหวา่ งเซลล์ประสาท 2 เซลล์

โครงสรา้ งและการทาํ งานของเชลลป์ ระสาท

ไซแนปส์ มี 2 ชนดิ ได้แก่
1) Chemical Synapse พบไดใ้ นสัตวท์ ่มี ีกระดูกสนั หลัง

ขัน้ ตอนการส่งกระแสประสาท
-เม่อื กระแสประสาทเคลื่อนทีม่ ายงั ปลายแอกซอน ทาให้
Ca2+ เปิดออก และ แพรเ่ ข้าสู่ในเซลล์
-Ca2+ ไปกระต้นุ ถงุ ทปี่ ระจสุ ารสอ่ื ประสาท(Synaptic
Vesicle) เคลอื่ นไปสว่ นปลายแอกซอน และ เกิดการหล่ังแบบ
เอกโซไซโทซิส
-สารสอ่ื ประสาททหี่ ลังออกไปจะไปจับกบั Receptor บนเยื่อ
หมุ้ เซลล์ของเซลลป์ ระสาทหลงั ไซแนปส์ และอาจจะกระตุ้น
ใหเ้ กดิ Depolarization หรือ Hyperpolarization ได้ข้อึ ยู่กับ
ชนดิ ของสารสือ่ ประสาท
-เม่ือกระแสประสาทหยดุ ลง สารสอื่ ประสาทจะถูกทาลาย
โดยเอนไซม์บางชนิดที่จาเพาะตอ่ สารสื่อประสาท เชน่
Acetylcholine ถูกทาลายดว้ ย Acetylcholinesterase

โครงสรา้ งและการทาํ งานของเชลลป์ ระสาท

2) Electical Synapse ไซแนปสไ์ ฟฟ้า เย่อื หมุ้ เซลลอ์ ยชู่ ิด
ตดิ กนั มาก เหมอื นเปน็ เยอ่ื หมุ้ เซลล์เดยี วกนั เกดิ การเชือ่ ม
ติดกันของช่องโปรตีน ทาใหก้ ระแสประสาทสามารถผา่ นช่อง
โปรตนี นี้ เข้าส่เู ซลลป์ ระสาทหลังไซแนปสไ์ ดโ้ ดยตรงพบได้ใน
บริเวณกล้ามเน้อื หัวใจ หรือ บางบรเิ วณของสมองมนษุ ย์

ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervous system)

ทาหน้าทีใ่ นการรบั รู้และประมวลผลข้อมลู ที่ไดม้ าจากเซลล์ brain
ประสาทรบั ความรสู้ กึ บรเิ วณอวยั วะรับความรู้สกึ แล้วสง่ Spinal cord
ขอ้ มลู ออกไปโดยผา่ นเซลล์ประสาทสงั่ การจนไปถึงหนว่ ย
ปฎบิ ตั ิงานเพ่อื ตอบสนองต่อส่งิ เรา้

ระบบประสาทส่วนกลาง (Central Nervous System ; CNS)
• ประกอบด้วย
- สมอง
- ไขสันหลงั
• เจริญมาจากท่อประสาท (neural tube)
- ด้านหนา้ เจรญิ ไปเปน็ สมอง
- ดา้ นหลงั เจริญไปเปน็ ไขสันหลงั

เย่ือหุ้มสมองและไขสนั หลัง (Meninges)

สมองและไขสนั หลงั มเี ย่ือหุ้มทเ่ี รยี กว่า Meninges 3 ชนั้

- ช้นั ที่ 1 Dura mater เป็นช้นั หนาทส่ี ดุ ท่ีประกอบดว้ ยเสน้ ใย
คอลลาเจน
- ชน้ั ที่ 2 Arachnoid mater ประกอบด้วยเสน้ ใยคอลลาเจน และ
เส้นใยอลิ าสตกิ เรียงตัวสานกันเป็นเสน้ ใย
- ชัน้ ที่ 3 Pia mater เปน็ เย้อื ท่อี ยชู่ น้ั ในสดุ
- ระหวา่ งชัน้ Arachoid กับ Pia จะมีโพรง เรียกว่า subarachoid
space ภายในมีนา้ เลี้ยงสมองและไขสนั หลัง (CSF) ทาหน้าท่ี
ช่วยปอ้ งอนั ตรายให้กบั สมองและไขสันหลังจากการ
กระทบกระเทอื น เปน็ ตัวกลางในการลาเลยี งอาหารและไปแก๊ส
ไปยังระบบประสาทสว่ นกลางและนาของเสียออกจากระบบ
ประสาทส่วนกลาง

สมอง (Brain) White matter
Gray matter
สมองเปน็ ศนู ยก์ ลางของระบบประสาท มีหน้าทส่ี าคญั 2 ประการ
- เป็นตัวรบั ความรู้สกึ จากอวยั วะสัมผสั และส่งคาสง่ั ออกไปยงั
อวยั วะตอบสนอง
- ผสมผสานและเชอื่ มโยงกจิ กรรมต่าง ๆ ท้งั ภายใตแ้ ละนอd
อานาจจิตใจ

• โครงสรา้ งของสมอง
- สมองเปลือกนอก (cerbral cortex) เปน็ เนอื้ สเี ทา

(gray mattar) ประกอบด้วยตวั เซลล์ประสาทและแอกซอนท่ีไมม่ ี
เยื่อไมอลี ินหมุ้

- เนอื้ สมองส่วนใน (white matter) ประกอบด้วยเสน้
ใยประสาทท่ีมีไมอสี ินหมุ้

สมอง (Brain)

- สมองแบง่ ได้ 3 สว่ น ไดแ้ ก่
สมองสว่ นหน้า (Forebrain) ประกอบดว้ ย
อลั แฟกเทอร์บลั บ์ , ซีรีบรัม ,ทาลามสั , ไฮโพทามสั
สมองส่วนกลาง (Midbrain) ประกอบด้วย
ออฟตกิ โลบ
สมองส่วนทา้ ย (Hindbrain) ประกอบด้วย
ซรี เี บลลมั พอนส์ , เมดลั ลา ออบลองกาตา

สมองส่วนหน้า (Forebrain) Cerebrum
Thalamus
ออลเฟกทอรบี ลั บ์ (olfactory bulb)
- อย่ดู ้านหนา้ สุด Hypothalamus
- ทาหนา้ ท่ี ดมกล่นิ (ปลา,กบ แลtสตั ว์เล้อื ยคลาน
olfactory bulb
สอออใ-นอามอดสศลลอมตัเัยฟกแงวลกเเส์ฟลย่นิทว่ีย้กออ่ื (งนปรทลบบี นลกูอลุใัาดจ้ีนบ,รกว้ะ์โีบยบ(มoพนัลดแีขlมรีโfลบดอนaงะยจ์อcสจาอละตtัดมาแoไวศฟใูกมเ์rยหลั กyเ่เือ้ทญยจยbอ่ือรคร่)บuญิลบี ใใุ lาลันนbนบโแ)สพสจ์ ตมร-ัตะงอไ่จอวจมงะยมเ์สเ่ จดู่ลดกูว่ รา้นี้ยมญิ นนงกหีจ้แลนละตา้มกู ่นิ่จสีขะดดไุนดด้วาทมยด้ดากในหีโลหดน่ินมญา้ไยดท่) ้่ี

สมองส่วนหน้า (Forebrain) Cerebrum

ซีรบี รัม (Cerebrum)

- มีขนาดใหญ่สุด มรี อยหยักเปน็ จานวนมาก ทาหน้าทเี่ ก่ียวกบั
การเรยี นรู้ ความสามารถต่างๆ เป็นศนู ย์การทางานของ
กล้ามเนอ้ื การพูด การมองเห็น การดมกล่นิ การชมิ รส
แอบอง่ ลเเปฟน็ กทสออรงบี ซลั กีบ์ แ(oตlfล่ aะcซtีกoเrรyยี กbวu่าlbC)e-reอbยrดู่ aา้ lนhหeนmา้ สisดุ pทhาeหreนา้ แทล่ี ะ
แต- ่ลดมะซกลีก่นิ จะ(ปแลบาง่,กไบด้เแปลน็ะส4ตั วพเ์ ลูดือ้ ังยนคล้ี านสมองส่วนนีจ้ ะมีขนาดใหญ่)
1.ในFสroตั วnเ์tลaีย้l งloลbกู ดeว้ ทยนามหอนอ้าลทแคี่ฟวกบทอครมุ บี กลั บารจ์ ะเคไมล่เจ่ือรนญิ ไหแตวจ่ กะาดรมอกลอ่ินกไเดส้ ยี ง
ความคดิ ความจา ดสีโตดยปิ อัญาศญยั าเย่ือบบุคใุ ลนกิโพครงวจามมกู รสู้ ึก พื้นอารมณ์
2. Temporal lobe ทาหน้าท่ีควบคุมการได้ยนิ การดมกล่ิน
3. Occipital lobe ทาหนา้ ท่ีควบคุมการมองเหน็
4. Parietal lobe ทาหน้าทค่ี วมคุมความรู้สึกดา้ นการสัมผัส การ
พดู การรบั รส

สมองสว่ นหนา้ (Forebrain) Thalamus

ทาลามสั (Thalamus)
- อยูเ่ หนอื ไฮโปทาลามสั ทาหนา้ ท่ีเป็นสถานีถ่ายทอด
กระแสประสาทเพือ่ ส่งไปจุดต่างๆในสมอง รับรแู้ ละ
แตอใ-นออสดสลบดมตัเฟกสงวลกเอ์นล่นิทอีย้ออ(งกปรงลบี ลพคกู ลัาดวฤบ,กว้ าต์ ยบ(มoนกิ แlรมรfลอสู้aระอcสกึมลตtั เแดoวจฟเ์้าrบ็ลกyนือ้ทปยคbอวครวuดลบี าlาลั bมนทบ)สเจา์ จม-ะใอ็บไหอมงยปม้ส่เจดู่ ว่วีกรา้นญิดนานหรีจ้แนสะตา้มจ่ั่งสีขะกดุนดาาทมดรากใหลหน่นิ ญา้ไดท่) ้่ี

ดีโดยอาศยั เย่ือบใุ นโพรงจมกู

สมองส่วนหนา้ (Forebrain)

ไฮโปทาลามัส (Hypothalamus)
- ทาหนา้ ท่เี ปน็ ศนู ย์กลางของระบบประสาทอัตโนมัติ
และสร้างฮอรโ์ มนเพ่ือควบคมุ การผลติ ฮอรโ์ มนจากต่อม
สใตอา-้สอรดลมลมเฟกอะลกลง่นิทซาอ(ยง่ึปรบี ใจลลนัาะบ,เทก์ลบ(าoอื กแlดfลาaะรcสแคตtั ลoววะเ์rบลยyือ้คังยbมุ คเuกสลlาย่ีมbนวด)สกมุล-ับออขงกยอสดู่า่วงา้รนปนนคหรีจ้ วนะิมบา้มาสีขคณดุนมุ าทนอดาใ้าหุณหแนญหา้ลท่)ภะ่ี ูมิ
รา่ในงสกตั าวยเ์ ลีย้องาลรกู ดมว้ ณยนค์ มวอาอลมแรฟู้สกกึทอวรบีงลัจบรจ์ กะาไมร่เตจรน่ื ญิ แแลตะ่จะกดามรกหลล่ินไบั ด้
การหวิ การอิม่ แดลีโดะยคอวาศายัมเยร่ือสู้ บกึ ใุ นทโพารงงเจพมศกู

สมองส่วนกลาง (midbrain) midbrain

ออพติกโลบ (optic lobe) เปน็ สมองที่ตอ่ จากสมองสว่ น
หนา้ เป็นสถานีรับสง่ ประสาท ระหวา่ งสมองส่วนหนา้ กับ
สว่ นท้ายและสว่ นหนา้ กับนยั น์ตาทาหน้าทเ่ี กย่ี วกับการ
เปคอใ-ลนอลดสาลมอ่ืตัเฟกกวนลกเ์บลไ่นิทหีย้ อ(งปรวลบี ลขกู ลัาดอบ,กว้ ง์ ยบ(ลoนแlกูมfลอaตะอcสาลตtัแแoวฟลเ์rลกyะือ้ทมยbอคา่รuลบีนlาลั bตนบ)สาจ์ มจ-ะอไะอมงเยสเ่ จจดู่ ่วรรา้นญิ นญินหีจ้แนดะตา้มใีจ่ สนีขะดุนดสาทมตัดากใวหลหน์พ่ินญา้ไวดท่)ก้่ี

ดีโดยอาศยั เย่ือบใุ นโพรงจมกู

สมองส่วนท้าย (Hindbrain)

พอนส์ (Pons) - อยูด่ ้านหน้าของซีรเี บลลมั ติดกบั สมอง
ส่วนกลาง ทาหนา้ ท่คี วบคุมการทางานบางอยา่ งของ
รา่ งกาย เชน่ การเคีย้ วอาหาร การหล่ังน้าลาย การ
เคลอ่ื นไหวของกล้ามเนอ้ื บริเวณใบหนา้ การหายใจ การ
ฟเมอัง-ดอดลลั มเฟกลลกา่นิทอ((Mปรบี ลeลัาdบ,ก์uบ(ollแalfล)aะcส-ตtั เoวปเ์rลน็ yือ้ สยbคมuลอlาbงน)สสม-่วออนงยสทดู่ ่วา้า้นนยนหีสจ้ นะดุ า้มสีขตดุน่อาทดกาใหบัหนญไา้ ขท่)ส่ี นั
หลในังสตัเปวเ์ ล็นีย้ ทงลากูงดผว้ ่ายนนมขออองลกแฟรกะทแอสรบี ปลั รบะจ์ ะสไามทเ่ จรรญิะหแวต่า่จะงดสมมกลอ่นิ งไกดบั้
ไขสนั หลงั เป็นศูนดีโยด์กยอลาาศงยั กเยา่ือรบคใุ นวโบพรคงจุมมกกู ารทางานเหนอื
อานาจจติ ใจ เช่น ไอ จาม สะอกึ หายใจ การเตน้ ของ
หวั ใจ เปน็ ตน้
ซรี ีเบลลัม (Cerebellum) - อยู่ใต้ซีรีบรัม ควบคุมระบบ
กลา้ มเนอื้ ให้สมั พันธ์กันและควบคมุ การทรงตวั ของ
รา่ งกาย

กา้ นสมอง (Brain Stem) Midbrain
Pons
เป็นส่วนท่ีเชือ่ มระหวา่ งซีรีบรมั กบั ไขสนั หลงั เป็นทอ่ี ยู่ Medulla
ของเซลล์นวิ เคลียสของเสน้ ประสาทสมอง ทาหน้าที่
เคกชาวอใ-่นรนบอดสกลคมศตัเลฟกมุวนู ลกืนเ์ กลย่นิทีย้าอก์ก(งรปราลลบี ทลกรู าลัาดายงบ,กว้ง่อก์ ยบ(าoายนนแlรมfลขอคaะออcสวลตtังบแoวรฟคเ์rะลกyมุ ือบ้ทยกbอบคราuปลบี รlาลัรbหนบะ)สาจ์สมย-ะาอไใอมทงจยสเ่ จด่อู ว่ กรา้นัตญิ นานโหรีจ้นแนเะตมตา้มจ่ สีขน้ัตะดุนดหิขาทมอดลากใหงาลหน่หนิยญา้ไชวั ดท่)ใน้่ี จิด

ดีโดยอาศยั เย่ือบใุ นโพรงจมกู

Brain Stem

สมองมีเสน้ ประสาท 12 คู่

โรคที่เกยี่ วกบั สมอง • โรคพารก์ นิ สนั (Parkinson's disease)

• โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer's disease) - เกดิ จากการเสอ่ื มของสมองบรเิ วณสว่ นกลาง
ของก้านสมอง ทีเ่ รียกวา่ ซับสแตนเชยี ไนกรา้ ซ่งึ ทา
- เกิดกบั สมองส่วนซีรีบรมั การตายของ หนา้ ทีส่ ร้างสารโดพามนี (dopamine) เนื่องจากตัวสาร
เซลลป์ ระสาท เน่อื งจากความผดิ ปกตอของโปรตีน โดพามนี มผี ลตอ่ การควบคมุ การเคลอื่ นไหวของรา่ งกาย
ภายในเซลล์ประสาท และไซแนปสถ์ กู ทาลาน
อาการ —> เคลื่อนไหวช้า เดินลาบาก / ตดิ ขดั
อาการ —> หลงลมื บคุ คลิกเปล่ียน มอี าการสั่นเวลาอยูน่ ่งิ ๆ มีอาการสมองเสื่อมร่วมดว้ ย
ชว่ ยเหลอื ตัวเองไม่ได้
วธิ ีการรักษา —> รักษาใหห้ ายขาดไมไ่ ดแ้ ต่
วธิ ีการรกั ษา —> ใชย้ ายบั ย้งั สาร เพยี งชว่ ยให้อาการบรรเทาลง โดยใชต้ ัวยาหรือการ
Acetylcholinesterase เพื่อลดการทาลายสารใน ผ่าตัดฝัง เครอื่ งกระตนุ้ สมองสว่ นลกึ ทั้งนท้ี ัง้ นน้ั ขึน้ อยกู่ บั
สมอง การพิจารณาการรกั ษาของแพทย์

วธิ ปี อ้ งกนั —> รบั ประทานอาหารทีม่ ี
ประโยชน์ ไมส่ บู บุหรี่ ออกกาลงั กายเปน็ ประจา ทา
กิจกรรมทีใ่ ช้ความคดิ

ไขสนั หลงั (Spinal cord)

ไขสนั หลังเป็นสว่ นของระบบประสาทส่วนกลางท่ีอยู่
ต่อมาจากสมองส่วน medulla - ไขสันหลงั อยภู่ ายใน
กระดูกสนั หลงั มี CSF หล่อเลย้ี งอยใู่ นชอ่ งกลางไขสนั
หลังและแทรกอยูร่ ะหว่างเยื่อชน้ั กลางและเย่อื ช้ันใน -
หนอา้ อทลเี่หฟลกทักอขรบอี ลังบไ์ข(oสlันfaหcลtoงั rคyอื buกlาbร)ถ-่าอยยทดู่ า้อนดหกนาร้ สะดุ แทสาหนา้ ท่ี
ประ- สดมากทล่นิ (N(ปeลuาr,aกlบSแiลgะnสaตั lว)เ์ ลรือ้ ะยหควลาา่ นงสสมมองอสง่วกนนบั ีจ้ สะม่วีขนนตาา่ดใงหๆญข่)อง
รา่ งในกสาตั ยวเ์ ลกีย้ รงะลแกู ดสว้ ปยนรมะอสอาลทแฟถกูกทสอรง่ บี ผลั า่บนจ์ ะไไขมส่เจนั รญิ หลแตงั ่จทะั้งดกมกรละ่นิ แไดส้
ประสาทเข้า และอดีโอดกยอจาาศกยั สเยม่ือบอใุ งนโรพวรงมจถมกูึงกระแสประสาท
ที่สง่ เขา้ มายังไขสนั หลงั โดยตรง

ไขสันหลงั (Spinal cord)

เนือ้ ไขสนั หลงั สเี ทา : มีรปู ร่างคล้ายผีเสื้อ หรือตัว H
ประกอบด้วยเส้นใยประสาททไ่ี มม่ ีเยือ่ ไมอลี ิน
ป--รVDะอใe-oสนอดnsสาลมtaตัเทrฟกวlaลกเ์hทlล่นิทohีย้าอ(งorปรหลnบีrลกูนnลัามดบ้า,กวม้เีท์ ยบ(สีเoนสี่ ส้นแlมงั่fล้นปอaะกอปรcสาลตtัะรรแoวสะฟเ์rลสากyือ้ททายbอทครDuลบี Volาลัbนesบ)สnaจ์ ม-ะltrอไrอaมงoยlส่เoจดู่ rว่ รoาt้นญิ นoนมหีจ้tแีปนะตไา้มมจ่มสีขะปดุม่นดราทมปี ดะากมใหสลหน่ินาญา้ไทดท่) ้่ี
เน้อื ไขสนั หลงั สขี าดวีโด:ยอมาีเศสยั น้เยใ่ือยบปใุ นรโพะรสงาจทมกู ที่มเี ยอ่ื ไมอลิ ินหุ้ม
ไมม่ ตี ัวเซลล์

ไขสนั หลัง (Spinal cord)

- cernival nerves คอ 8 คู่
- thoracic nerves อก 12 คู่
- lumber nerves เอว 5 คู่
- sacral nerves กระเบน 5 คู่
- coccyxgeal nerves กน้ กบ 1 คู่

การทํางานของระบบประสาท (ระบบประสาทรอบนอก)

การทาํ งานของระบบประสาท (ระบบประสาทรอบนอก)

ระบบประสาทโซมาตกิ (Somatic Nervous System:
SNS) –ควบคุมการทางานของกลา้ มเนือ้ โครงร่าง
-รับความรสู้ กึ จากหนว่ ยรับความรู้สกึ ผ่านเส้นประสาทไข
สนั หลงั เข้ามายังไขสนั หลงั /สมอง
-กระออแลสเฟปกรทะอสรบี าลั ทบจ์ (oะถlfูกaสctง่ oไrปyยbังuหlนbว่)ย-ปอยฏดู่ บิ า้ นตั หิงนาา้ นส(ดุ กทลา้าหมนา้เทน่ี อ้ื
โครง- รดา่มงกล)ผ่นิ ่า(ปนลทาา,กงบเสแลน้ ะปสตั รวะเ์ ลสือ้ ายทคลไขานสสนั มหองลสว่งั นในนีจ้ กะามรีขนทาาดกใหจิ ญก่)รรม
ตา่ งใๆนเสชตั น่ วเ์ ลกีย้ างลรกูเดดว้ ินยนเมปอน็ อลตแน้ ฟกทอรบี ลั บจ์ ะไมเ่ จรญิ แตจ่ ะดมกล่ินได้
-ใช้ " Acetycholineดีโ"ดยเปอาน็ ศสยั เายร่ือสบใุือ่ นปโพรระงจสมากู ท
-อาจไมม่ ี Interneuron ระหว่างเซลล์ประสาทรบั ความรสู้ กึ
กบั เซลล์ประสาทสัง่ การ
-ทางานไดโ้ ดยผ่านไขสันหลงั เท่าน้นั ในบางครง้ั

การทาํ งานของระบบประสาท (ระบบประสาทรอบนอก)

Reflex คอื การตอบสนองต่อสิ่งเร้าทม่ี ากระตุ้น
หน่วยปฏบิ ตั ิงานซ่งึ เกดิ ขึ้นได้เอง
RออeลfเlฟeกxทอAรcบี ลtั iบo์ n(olคfaอื cอtoาrกyาbรทulแ่ี bส) ด-งออยดู่อา้ กนมหนาา้เสมดุ ่ือทมาสีหนงิ่ า้ ท่ี
เ-รดา้ มมกาลก่นิ ร(ปะลตาุน้ ,กซบึง่ แเลกะิดสตัขวึน้ เ์ ลไือ้ดย้เคอลงานสมองส่วนนีจ้ ะมีขนาดใหญ่)
ยในกสตตั ัวเอ์ ลยี้ ง่าลงกู กดาว้ ยรนตมออบอลสแนฟกอทงอกรบีาลรั บเจ์ กะดิไมrเ่eจfรlญิexแตไ่จดะแ้ ดกมก่ ล่ินได้
Knee Jerk Reflดeีโxดยแอลาศะยั เกย่ืาอบรใุเนอโาพมรงอืจมอกู อกเมือ่ สมั ผัส
โดนความรอ้ น เป็นต้น

การทาํ งานของระบบประสาท (ระบบประสาทรอบนอก)

ระบบประสาทอตั โนวัติ (Autonomic Nervous System: ANS)
-ควบคุมการรกั ษาดลุ ยภาพตา่ งๆของรา่ งกาย เช่น การเตน้ ของ

หวั ใจ การหายใจ เปน็ ต้น
-ไม่สามรถควบคมุ ไดด้ ว้ ยอานาจจติ ใจ เปน็ " กิจกรรมทอี่ ยู่นอก

อานาจจติ ใจ (Involunary) "
-มหี อนอว่ ลยเฟทกาทงอารนบี เลั ปบน็์ (oกlfลa้าcมtเoนr้อื yเรbียuบlbแ)ล-ะอกย่ดูลา้้านมหเนนา้ อื้ สหดุ ัวทใาจหนา้ ท่ี
-ประ-กดอมบกลด่นิ ว้ ย(ปลา,กบ และสตั วเ์ ลือ้ ยคลานสมองสว่ นนีจ้ ะมีขนาดใหญ่)
▪หในน่วสตยั วรเ์ บัลีย้คงวลากู มดรว้ ย้สู นกึ มใอนออลวแัยฟวกะทภอราบี ยลั ใบนจ์ ซะไึง่ มม่เจีเรซญิ ลลแต์ป่จระะดสมากทลร่ินบัได้

ความรูส้ ึกเขา้ สู่ปมประดสีโดายทอราาศกยั บเยน่ือสบไู่ใุ ขนโสพันรงหจลมงักู
▪เซลล์ประสานงานรับความร้สู ึกไปยังสมอง
▪เซลล์ประสาทสง่ั การท่ี 1 (Preganglionic Neuron)
▪เซลล์ประสาทสงั่ การที่ 2 (Postganglionic Neuron)
▪ปมประสาทอัตโนวตั ิ (Autonomic Ganglion)

ระบบประสาทอตั โนวัติ (Autonomic Nervous System: ANS)

Sympathetic Nervous System
-เกดิ ข้ึนในชว่ งที่ร่างกายตืน่ เต้น ตกใจ สู้/หนี(Fight-or-
Flight) หรอื เกดิ จากความเครียด(stress)
-ควบคมุ อยู่บรเิ วณไขสนั หลงั สว่ นอก-เอว -เสน้ ประสาท
หAก่อลceน่งั tสไอใy-นซอาlดcสลเรมตัoเนฟสกวlปลกiเ์อ่ืnล่นิทสปีeย้ อ(์งรปรสล"บี ละกู้นั-ลัาสดเบ,สกว้าม์ ยบ(ท้นoีไนแมชปlมfลอนอaระอลีcะสดิ ลตtัสินแoว"าฟเ์rลNหทกyือ้ทลoหยbอrังคลรeuสลบี งัplาลัาbไiนบnซร)สจ์eสเม-ะนpอื่อไอมhปงปยสเ่rสจ่ดูiร่วnรา้น์ะญิeนยนสหาีจ้แ"านะวตทา้มจ่ สไีขชะดุมนดนา่มทมดิดากไี ใหลมห"น่ินญอา้ไดท่)ลี ้่ี นิ
-เส้นประสาททตี่ ่อไปดทีโด่ตียออ่ ามศยหั เมย่ือวบกใุ นไตโพจระงจไมมกู ม่ เี สน้ ประสาทไซ
เนปส์

ระบบประสาทอัตโนวัติ (Autonomic Nervous System: ANS)

Parasympathetic Nervous System
-เกิดขึ้นในช่วงผ่อนคลาย อมิ่ นอนหลบั หรือระยะพกั
(Resting) -ควบคุมโดยเซลลป์ ระสาทสมองคทู่ ่ี 3,7,9,10
และเส้นประสาทไขสันหลงั สว่ นกระเบนเหนบ็
-ป-เเรสสะนน้้ สอใปป-นอาดรรสลทมะะตัเฟชกวสสลกเน์ ลาา่นิทดิีย้ททอ(งปรกหล"บี ลกู่อลลัAาดบน,งั กcว้ ์ไไยบ(eoซซนtแlเyมเfลนนlอacะอปปcสoลตtัสสlแoiวnฟ์สย์เ์rลeกนั้yาือ้ทว"ยbอไครมมuลบี ม่ีไlาลัbมนบไี )สมไจ์ มม-ะออไออมีลงยสลี่เนิจ่ดู ว่ นิรา้นญิ นหนหหีจล้แนละตงั า้มจ่งัสสีขะสดุนาดาารทมดรสากใหสลหือ่ น่นิอ่ืญา้ไดท่) ้่ี
ประสาทชนิด " Aceดtyีโดlcยoอlาoศiยัnเeย่ือ"บใุ นโพรงจมกู

ระบบประสาทอัตโนวตั ิ (Autonomic Nervous System: ANS)

อวัยวะรบั ความรู้สกึ (Sensory organ)

อวยั วะรับความรสู้ ึกมหี นว่ ยรบั ความรู้สึกท่ีเมือ่ มสี ่งิ
เร้ามากระตุ้น จะส่งกระแสประสาทรับความรสู้ กึ
แลว้ สง่ ผา่ นเสน้ ประสาทสมอง

1ออ)ออตลลาเฟเฟกกกับททอกอรราบี บี รลั ลั บมบ์ อ(์ (ooงllfเfaหacc็นttoorryybbuullbb))--ออยยดู่ ่ดู า้ า้ นนหหนนา้ า้ สสดุ ดุ ททาาหหนนา้ า้ ทท่ี ่-ี
เด-ปมดก็นมลอก่นิ ลว(่นิ ยัป(ลวปาะล,กราบ,ับกแบคลวแะลาสะมตั สวรตัเ์ ลูส้วือ้เ์ึกลยือท้คยลีม่ คาีลนPาสนhมสoอมtงoอสง่วrสeน่วcนนีจe้ นะpีจ้มtะีขoมนrีขานอดาใยดหู่ใญห่)ญใ่)น
ภสใตั านวยสเ์ ลตัใีย้นวงเ์ ลเลพียกู้ งดอื่ ลว้ ตกูยดนรว้มวยอจนอรมลับอแอฟแลกสแทฟงอกรแทบี อลับรบง่บี จ์ อลั ะบไอมจ์ กเ่ะจเไรมปญิ ่เจ็นรแสญิตาจ่ แมะตดก่จมละกดลุ่มม่ินคกไลดอื ่ินด้ ไีโดดย้
ตาเดียว (Simpleดีโeดอyยาeอศายั หศเยยัร่ือเือยบ่ือใุ นOบโใุ พcนรeโพงlจlรuมงsจกู )มกูพบในพวก
หนอนตัวแบน มอลลัสก์และอารโ์ ทรพอดบางชนดิ
ตาประกอบ (Compound eye) พบในแมลง กุ้ง กงั้
ตาเลนสเ์ ดียว (Camera eye) พบในพวกหมึกและ
สตั ว์มกี ระดกู สันหลงั

องคป์ ระกอบของตามนษุ ย์

องคป์ ระกอบของตามนษุ ย์ -เลนส์ Lens อยถู่ ัดจากกระจกตา มลี กั ษณะใส
-มีรปู รา่ งคอ่ นข้างกลม อยู่ในเบา้ ตา แบง่ เป็น 2 ส่วน คอื ชอ่ งหน้าเลนส์และชอ่ งหลงั
-โครงสร้างผนงั ลูกตาแบ่งออกเปน็ 3 ชนั้ เลนสซ์ ึ่งบรรจนุ า้ เลยี้ งลกู ตาอยู่ นา้ เล้ียงลกู ตาใน
1ออ.สลเเฟคกลทออรรบี าลั บ(์S(oclflearcat)oมryีลbักuษlณb)ะ-เหอยน่ดู ียา้ นวหแนขา้ ็งสดุ ทาหนา้ ท่ี - ช่องหนา้ ทาหนา้ ทีน่ าอาหารและออกซิเจนไปสู่
ปดรมะกกล่นิอ(บปดลาว้ ,ยกบเสแล้นะใสหตั ญวเ์ ลค่ ือ้ อยคลลลาานเสจมนองส่วนนีจ้ ะมีขนาดใหญ่) ใน กระจกตา ส่วนนา้ เล้ียงลกู ตาชอ่ งหลงั ทาให้ตาคง
ส-กตั วรเ์ ะลจีย้ งกลตกู าดว้ (ยCนoมอrnอeลแaฟ) กเทปอ็นรบีเยลั บ่อื จ์ โะปไมรเ่ ่งจรใญิสอแยตจู่่ดะา้ ดนมกนลอ่ินกไดสด้ ดุีโดย รปู
ชว่ ยในการหกั เหขออางศแยั สเยง่ือบใุ นโพรงจมกู -ม่านตา (Iris) เปน็ ส่วนท่ยี ื่นจากผนงั โครอยดก์ ับ
2.โครอยด์ (Choroid )เปน็ ชั้นทปี่ ระกอบด้วยหลอด บางส่วนของเลนส์ มีสารสีตา่ งๆ
เลือดมาเลยี้ งเปน็ จานาวนมาก มีสารสีกระจายจานวน
มากปอ้ งกันไมใ่ หแ้ สงสวา่ งทะลผุ ่าน


Click to View FlipBook Version