The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by d.natnicha, 2022-04-18 12:16:54

แผ่นพับ

แผ่นพับ 64

“เยอ็นาชหืน่ าใรจคกลับายรอ้ น” อาหารหวาน โรคลมแดด

อ.ชนิ ริณี วีระวุฒิวงศ์ ผเู้ ชีย่ วชาญดา้ นการดูแล 1. ถัว่ เขยี วต้มนำ�้ ตาล (หวานนอ้ ย) Heat stroke
สขุ ภาพแบบองค์รวม วิทยาการของศูนยเ์ รยี นรู้ สสส. แนะนำ� 2. เตา้ ส่วน (หวานน้อย)
เมนูอาหารคาว อาหารหวาน ที่เหมาะสำ�หรับฤดูร้อน โดยคนทุก 3. หยกมณี ภยั รา้ ย หนา้ รอ้ น
ธาตสุ ามารถรับประทานได้และยิ่งดีตอ่ คนธาตไุ ฟท่มี ักจะมีปัญหา 4. ลกู ตาลลอยแก้ว
ดา้ นสุขภาพคอื รอ้ นในง่าย มแี ผลในช่องปาก เครียด ผวิ หนงั 5. สละลอยแก้ว
แพ้ง่าย โรคกระเพาะอาหาร เพราะฉะน้นั อาหารทง้ั คาวหวาน 6. แตงไทยน�ำ้ กะทิ (หวานน้อย)
ควรเน้นที่ รส “ขม เย็น และจดื ” รวมไปถึงงดของทอดด้วย 7. ขา้ วแช่ ลอยนำ�้ ดอกมะลิ
เพราะของทอดนั้นจะทำ�ให้ธาตไุ ฟพ่งุ และร่างกายเปน็ ไข้ เกดิ การ ฯลฯ
อักเสบ
ผลไม้

อาหารคาว 1. แตงโม สาขาวิชานเิ ทศศาสตร์
2. แกว้ มงั กร มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สกลนคร
1. แกงจืดมะระ กระดกู หมู 3. มะพร้าว
2. แกงจืดฟกั 4. แคนตาลปู
3. แกงจืดหวั ไช้เท้า กระดูกหมู 5. กล้วยนำ�้ วา้
4. แกงจดื ต�ำ ลงึ 6. สม้
5. แกงสม้ ใส่ใบย่านาง 7. ชมพู่
6. ผดั ผักบงุ้ ฯลฯ
7. ผัดผักกาดขาว
8. ผัดบวบใส่ไข่ ส�ำ นักงานกองทนุ สนับสนุนการ
9. ผักพน้ื บ้าน จมิ้ น้�ำ พรกิ สร้างเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.)
ฯล www.thaihealth.or.th

ประเทศไทยเขา้ ส่ฤู ดรู อ้ นอย่างเป็นทางการแลว้ ผูท้ มี่ ีความเสยี่ งสงู กวา่ คนทัว่ ไป มี 6 กล่มุ ไดแ้ ก่
สภาพอากาศมีอุณหภูมสิ งู ขึ้น ซ่งึ ประชาชนท่ัวไป
และกลุ่มเสี่ยง มโี อกาสป่วยเปน็ ภาวะลมแดดหรอื 1. ผทู้ ท่ี �ำ งานหรอื ท�ำ กจิ กรรมกลางแดด เชน่ ออกก�ำ ลังกาย
โรคฮีทสโตรก (Heat stroke) ได้ ซึง่ เปน็ ภาวะที่ 2. เดก็ เลก็ และผสู้ งู อายุ เนอื่ งจากรา่ งกายไม่สามารถระบาย
ร่างกายไม่สามารถปรับตัวหรือควบคุมระดับความ ความรอ้ นไดด้ เี ท่าคนหนมุ่ สาว
ร้อนภายในร่างกายจากสภาพอากาศที่รอ้ นจดั จึง 3. ผทู้ ม่ี โี รคประจ�ำ ตวั เช่น โรคความดนั โลหติ สงู โรคหลอด
ควรเฝ้าระวังและป้องกันโดยเฉพาะผู้ที่มีความเสี่ยง เลือดสมอง
สงู กว่าคนทั่วไป 4. ผทู้ ม่ี นี า้ํ หนกั ตวั มาก
5. ผทู้ พ่ี กั ผอ่ นไมเ่ พยี งพอ โดยร่างกายของคนอ้วนและ
อาการส�ำ คัญของ ผ้ทู ีพ่ ักผอ่ นไมเ่ พียงพอจะตอบสนองต่อความรอ้ นทไี่ ด้รบั
โรคฮที สโตรก ไดแ้ ก่ ช้ากวา่ ปกติ
6. ผทู้ ด่ี ม่ื เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ โดยฤทธ์ิของแอลกอฮอล์
ตวั ร้อน อุณหภมู ริ า่ งกายสงู ขน้ึ เรื่อย ๆ จะท�ำ ให้เส้นเลือดฝอยใต้ผิวหนังขยายตัวไดม้ ากขนึ้ ท�ำ ให้
จนเกนิ 40 องศาเซลเซยี ส รา่ งกายสูญเสยี นํา้ และเกลือแร่สงู กวา่ คนทีไ่ มไ่ ด้ด่ืม ซ่ึง
แอลกอฮอลจ์ ะถกู ดูดซึมเขา้ กระแสเลือดได้รวดเร็ว และออก
ฤทธ์ิกระตนุ้ หวั ใจให้สบู ฉีดเลอื ดเร็วและแรงข้ึน ท�ำ ใหค้ วามดนั
โลหติ สูงขน้ึ หวั ใจท�ำ งานหนกั เพ่ือสูบฉดี เลือดไปเลีย้ งร่างกาย
อาจทำ�ให้ชอ็ กและเสยี ชีวติ

ค�ำ แนะน�ำ ในการดูแลสขุ ภาพตนเอง ได้แก่ การปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน้
หากสงสยั ผู้มีอาการเจบ็ ป่วย
1. สวมใสเ่ สื้อผา้ สอี อ่ น ระบายความร้อนได้ดี จากภาวะอากาศรอ้ น ่
2. ควรอยใู่ นทมี่ อี ากาศถา่ ยเทสะดวก
3. ลดหรอื เลีย่ งทำ�กิจกรรมท่ตี อ้ งออกแรงกลางแจง้ นาน ๆ ดื่มนํ้าเยน็
4. สวมแวน่ กนั แดด กางรม่ สวมหมวกปีกกว้าง เชด็ ตวั ดว้ ยนํ้าเยน็
5. ควรด่ืมน�ำ้ 2-3 ลิตรต่อวนั เพื่อชดเชยการเสียน�้ำ ใน ใหอ้ ยใู่ นที่ระบายอากาศท่ดี ี
ร่างกายจากเหงอ่ื ออก ถ้ามีอาการรนุ แรงหรอื หมดสติ
6. หลีกเลย่ี งการดมื่ เคร่ืองดืม่ แอลกอฮอลท์ กุ ชนดิ ควรรบี น�ำ สง่ โรงพยาบาลทนั ที
7. ผู้ทอ่ี อกกำ�ลังกาย ควรเลอื กในชว่ งเช้าหรือช่วงเยน็
เน่อื งจากเปน็ ช่วงทอี่ ากาศไมร่ ้อนมาก และเป็นเวลาทเ่ี หมาะสม สอบถามข้อมูลเพมิ่ เตมิ ไดท้ ี่
สายดว่ นกรมควบคุมโรค โทร. 1422


Click to View FlipBook Version