The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพูดในโอกาสต่าง ๆ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pattaraporn2409, 2020-10-05 12:25:49

การพูดในโอกาสต่าง ๆ

การพูดในโอกาสต่าง ๆ

การพดู ในโอกาสต่าง ๆ

นางสาวภทั ราภรณ์ ชยั ลังกา
เลขท่ี 15 สบจ.63.1

สาขาวิชาการจดั การสานกั งาน

รายงานน้ีเปน็ ส่วนหน่ึงของรายวชิ า 30216 - 2003
โปรแกรมสาเร็จรปู ในงานสานักงาน

สาขาวิชาการจัดการสานักงาน แผนกวิชาการจัดการสานักงาน
คณะบริหารธุรกิจ

วิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปาง
ภาคการศึกษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563



การพดู ในโอกาสต่าง ๆ

เสนอ
ครูปรียา ปันธยิ ะ

นางสาวภทั ราภรณ์ ชยั ลังกา
เลขที่ 15 สบจ.63.1

สาขาวิชาการจดั การสานกั งาน

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 30216 - 2003
โปรแกรมสาเรจ็ รูปในงานสานักงาน

สาขาวิชาการจดั การสานักงาน แผนกวิชาการจดั การสานักงาน
คณะบริหารธุรกิจ

วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาลาปาง
ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563

คานา

รายงานนี้ เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 30216 - 2003 โปรแกรมสาเร็จรูปในงานสานักงาน
ซึ่งได้รับมอบหมายจาก ครูปรียา ปันธิยะ ให้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่อง การพูดในโอกาสต่าง ๆ
โดยมีเน้อื หาสาระของรายงานเลม่ นี้ประกอบด้วย ความรู้เกี่ยวกับการพูดในโอกาสต่าง ๆ, แนวทาง
สาหรับการพูดในโอกาสต่าง ๆ และการประเมินผลการพูดในโอกาสต่าง ๆ อีกทั้งยังเป็นการฝึกพิมพ์
การจดั หนา้ การพมิ พ์ และการเข้าเล่มรายงาน

ผู้จดั ทาไดท้ าการคน้ ควา้ รวบรวม และเรียบเรยี ง เปน็ รายงานฉบับสมบูรณ์ เพื่อให้ผู้ท่ีสนใจ
ศกึ ษาความรู้การพูดในโอกาสต่าง ๆ เพ่มิ เตมิ จากรายงานเล่มน้ี

ผ้จู ดั ทาหวังเปน็ อยา่ งยง่ิ ว่า ผู้อ่าน ผู้ที่สนใจจะได้รับประโยชน์ และนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิต
ประจาวนั ได้

ภทั ราภรณ์ ชยั ลงั กา
สาขาวชิ าการจัดการสานักงาน

สารบญั

เรอื่ ง หนา้

ความร้เู กี่ยวกบั การพูดในโอกาสต่าง ๆ 1
ความหมายของการพูดในโอกาสต่าง ๆ 1
โอกาสต่าง ๆ ในการพูด 1
หลกั การพูดในโอกาสตา่ ง ๆ 2
ขอ้ ควรคานงึ เก่ียวกบั การพูดในโอกาสตา่ ง ๆ 2
โฆษณาหรอื พธิ ีกร 3
5
แนวทางสาหรบั การพูดในโอกาสต่าง ๆ 5
การกลา่ วแนะนา 7
การกล่าวต้อนรบั และการกลา่ วตอบต้อนรับ 9
การกล่าวแสดงความยนิ ดตี ้อนรบั สมาชกิ ใหม่และการกล่าวตอบรบั ความยนิ ดี
เมือ่ เป็นสมาชิกใหม่ 11
การกลา่ วแสดงความยนิ ดตี อ้ นรบั ผูเ้ ขา้ รบั ตาแหน่งใหม่ และกลา่ วตอบรับตาแหนง่ ใหม่ 13
13
การประเมินผลการพดู ในโอกาสต่าง ๆ 13
วธิ ีการพูดทป่ี ระสบผลสาเร็จ 15
ประเดน็ สาหรบั การประเมินผล

บรรณานุกรม

สารบัญตาราง หนา้
14
ตารางท่ี
1.1 แบบประเมนิ ผลการพูดในโอกาสตา่ ง ๆ

สารบญั รปู ภาพ หนา้
1
ภาพที่ 2
ภาพท่ี 1.1 การพูดในโอกาสต่าง ๆ 6
ภาพท่ี 1.2 หลักการพดุ 7
ภาพที่ 1.3 แนะนาตวั 12
ภาพท่ี 1.4 การพูดแนะนาผูอ้ น่ื 12
ภาพที่ 1.5 การกลา่ วแสดงความยนิ ดีต้อนรบั ผเู้ ข้ารบั ตาแหน่ง 13
ภาพที่ 1.6 การกลา่ วตอบรบั มอบตาแหนง่ ใหม่
ภาพที่ 1.7 การพดู ใหป้ ระสบความสาเรจ็

1

บทที่ 1
การพูดในโอกาสต่าง ๆ

ความรู้เก่ียวกับการพูดโอกาสตา่ ง ๆ

การพดู ในโอกาสต่าง ๆ เป็นการพูดต่อที่ประชุม เกิดข้ึนจากจุดมุ่งหมายในการจัดกิจกรรม

ร่วมกันในหน่วยงาน ผู้พูดมักจะเป็นผู้ที่ได้รับเกียรติเชิญให้พูด เป็นผู้ท่ีเจ้าภาพยกย่องว่าเป็นผู้มี

ความสามารถเหมาะสมกับกิจกรรมที่จัดขึ้น ผู้พูดจึงควรมีความรู้การพูดในโอกาสต่าง ๆ ความรู้

เกย่ี วกบั การพูดในโอกาสต่าง ๆ มีดงั น้ี

1. ความหมายของการพูดในโอกาสตา่ ง ๆ

พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525 (2539 : 966) ไดใ้ ห้ความหมายของคาว่า

โอกาส ไวด้ งั น้ี “โอกาส เปน็ คานาม ชอ่ ง,.ทาง ; เวลาทเี่ หมาะ, จังหวะ.”

นิพนธ์ ทิพย์ศรี (2542 : 200) กล่าวถึง การพูดในโอกาสที่เก่ียวข้องกับกับงานหรือ

กจิ กรรมนน้ั ๆ เป็นการพูดทีพ่ บเห็นได้บอ่ ย ๆ ในชีวิตประจาวัน การพดู ในลักษณะน้ี จะมีจุดมุ่งหมาย

ทห่ี ลากหลาย เช่น การพดู เพือ่ สร้างสรรค์ การพูดเพ่อื เสนอข้อมูล หรอื การพูดเพ่ือมารยาทอนั ดีงาม ฯลฯ

ความหมายดังกล่าวสรุปได้ว่า การพูดในโอกาสต่าง ๆ หมายถึง กาพูดในเวลาที่เหมาะ

เพือ่ แสดงไมตรจี ิต มารยาทในสังคม และเพ่ือเป็นเกียรติแก่บุคคลท่ีมาในงานท่ีจัดขึ้นตาจุดมุ่งหมาย

ของแตล่ ะหนว่ ยงาน

2. โอกาสตา่ ง ๆ ในการพูด

การพูดในโอกาสต่าง ๆ มดี ังนี้

2.1 การกล่าวแนะนา

2.2 การกลา่ วตอ้ นรบั และการกลา่ วตอบตอ้ นรับ

2.3 การกล่าวแสดงความยนิ ดแี ละการกล่าวตอบรับ

ความยินดี (สมาชิกใหม่ ตาแหน่งใหม)่

2.4 การกล่าวแสดงความอาลยั ในการอาลา ภาพที่ 1.1 การพูดในโอกาสต่าง ๆ

และการกลา่ วตอบการอาลา

2.5 การกล่าวมอบรางวัลหรือของที่ระลึก และการกล่าวตอบรับมอบรางวัลหรือของท่ี

ระลกึ

2.6 การกล่าวอวยพรและการการกล่าวตอบรบั อวยพร (งานขน้ึ บ้านใหม่ งานวันคล้ายวัน

เกดิ งานมงคลสมรส)

2.7 การกลา่ วมอบถาวรวตั ถแุ ละการกลา่ วตอบรบั มอบถาวรวัตถุ

2

2.8 การกล่าวรายงานทางราชการ

2.9 การกล่าวให้โอวาท

2.10 การกลา่ วปราศรัย

2.11 การกลา่ วสุนทรพจน์

3.หลักการพดู ในโอกาสตา่ ง ๆ

การพูดในโอกาสตา่ ง ๆ มหี ลักการพูดดงั นี้ ภาพท่ี 1.2 หลักการพดุ

3.1 ใชเ้ วลาพูดน้อยท่ีสุด จะต้องหาข้อมูลเกี่ยวกับงานนั้นไว้ก่อน เช่น บรรยากาศ ความ

การตอ้ งการของผู้ฟงั และรายการจานวนผู้พูด

3.2 เริ่มตน้ ใหน้ ่าสนใจ ใช้ถอ้ ยคาภาษาท่ีประทบั ใจ

3.3 พูดสั้น ๆ พูดให้ตรงประเด็น เน้นส่ิงที่สาคัญให้เด่นชัด เตรียมขึ้นต้นและลงท้ายให้

เหมาะสมรบั กบั เรอื่ ง กาหนดเวลาให้เหมาะสมกบั เรือ่ ง

3.4 พดู ใหใ้ กลเ้ จา้ ของงาน หรือเจ้าภาพ มีประโยชนต์ ่อผู้ฟังและเจ้าภาพ

3.5 พูดแตใ่ นส่ิงท่ดี ี ๆ ถ้าเป็นงานมงคล ควรสร้างบรรยากาศในทางบันเทงิ สดุ สดชน่ื

3.6 ลาดบั ความให้ตอ่ เนอ่ื งกันไมส่ บั สน เขา้ ใจงา่ ย

3.7 แทรกอารมณข์ นั โดยคานึงถงึ กาลเทศะ เชอื่ มโยงกบั เร่ืองที่กาลังพดู ให้เหมาะสม

3.8 ลักษณะทา่ ทางใหม้ ีชวี ติ ชีวา แสดงความมอี ารมณ์ดี มีความแปลกใหม่ และสนกุ สนาน

สายตาสบผูฟ้ งั ทกุ คนและเป็นกนั เองกับผฟู้ ัง

3.9 ตอ้ งเตรยี มพร้อม ถา้ งานใดท่สี นิทกบั เจา้ ภาพ เจ้าภาพอาจจะเชิญให้พูดโดยกะทันหัน

ผู้พูดต้องพูดได้ ต้องคมสติให้ม่ัน ไม่ตกใจประหม่า พยายามสร้างความมั่นใจให้กับตนเอง รวบรวม

ความร้เู ดิมและประสบการณ์เดมิ ท่ีเกย่ี วขอ้ งกับเรอื่ งที่พดู

4.ขอ้ ควรคานึงเก่ยี วกับดารพูดในโอกาสตา่ ง ๆ

เม่ือไดร้ บั เชญิ ชวนในโอกาสใดกต็ าม ส่งิ ทผี่ ู้พูดควรพจิ ารณากอ่ นการพดู จะช่วยให้ผู้พูดได้มี

โอกาสเตรียมความพรอ้ ม วเิ คราะหส์ ถานการณ์ได้ถูกตอ้ ง ขอ้ ควรคานึงเกีย่ วกบั การพดู ในโอกาสต่าง ๆ

มีดงั นี้

4.1 จดุ ม่งุ หมายของการจดั กิจกรรม ผพู้ ดู ต้องวเิ คราะหถ์ ึงความเป็นมาและจดุ มงุ่ หมายของ

การจัดกิจกรรมนัน้ ๆ ดงั น้ี

4.1.1 ผูฟ้ ังเป็นใคร และมาในงานกิจกรรมนีฐ้ านะอะไร

4.1.2 งานกจิ กรรมน้จี ัดข้นึ เพ่ือวัตถุประสงคใ์ ด

4.1.3 สาระสาคัญของงานกจิ กรรมคือเรอ่ื งใด

3

4.2 ลาดับรายการ ผู้พูดควรทราบรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับขั้นตอนของการจัดงาน
กิจกรรมน้ัน ๆ ดังนี้

4.2.1 มรี ายการอะไรบา้ ง และจดั เรยี งลาดับไวอ้ ยา่ งไร
4.2.2 ผพู้ ูดจะพดู ในฐานะใด และกล่าวในนามใคร
4.2.3 ก่อนหรือหลังการพูดมสี ิง่ ทนี่ า่ สนใจเป็นพิเศษ อย่างใดหรอื ไม่
4.2.4 เวลาที่กาหนดใหพ้ ดู นานเทา่ ใด
4.3 สถานการณ์ ควรวิเคราะหส์ ถานการณ์และบรรยากาศของการจัดงานกจิ กรรมน้นั ๆ ดังนี้
4.3.1 ผู้ฟงั รูจ้ ักพูดมากนอ้ ยเพียงใด
4.3.2 ผฟู้ งั กาลังใหค้ วามสนใจอยกู่ ับเรอื่ งใดเรือ่ งหนงึ่ หรอื ไม่
4.3.3 ผฟู้ งั มาด้วยความสมัครใจหรือถกู บงั คบั หรอื ขอรอ้ งใหม้ า
5. โฆษณาหรือพิธีกร
การพดู ในโอกาสตา่ ง ๆ มกั มีบคุ คลผหู้ นึ่ง ซงึ่ ทาหน้าท่เี ปน็ ตัวกลางประสานงานระหว่างผู้
ได้รับเชิญมาพูดกับผ้ฟู งั เปน็ ผู้กล่าวแนะนาเรื่องท่ีจะพูด แนะนาผู้พูดกว่าเชิญให้พูด และเป็นบุคคล
แรกที่ออกมาปรากฏตัวต่อท่ีชุมชนก่อนบุคคลอ่ืน ผู้น้ันก็คือ โฆษก พิธีกร น่ันเอง พิธีกรเป็นผู้มีส่วน
สาคัญในการเสริมภาพลักษณ์ที่ดีให้กับหน่วยงานเพราะผู้ท่ีเป็นโฆษกหรือพิธีกร และรู้หน้าท่ีของ
ตนเอง ดงั น้ี
5.1 คณุ สมบตั ิของพธิ กี ร
5.1.1 เปน็ ผู้ทสี่ ามารถใช้ไหวพริบ ปฏิภาณแก้ไขเฉพาะหน้าไดด้ ี
5.1.2 เป็นผูท้ มี่ ีอารมณ์รืน่ เรงิ แจม่ ใส มีอารมณ์ขนั
5.1.3 มีบุคลกิ ดี แตง่ กายไดเ้ หมาะสมกบั โอกาส และสถานที่
5.1.4 รู้จักเลือกถ้อยคา และเร่ืองท่ีจะนามาพูดให้ถูกต้องเหมาะสมกับวาระและ
โอกาส
5.1.5 มีมารยาทดี
5.1.6 มีศลิ ปะในการพดู น้าเสียงและมลี ีลาท่นี า่ ฟัง
5.1.7 พูดเฉพาะเร่อื งทีต่ นควรพดู เทา่ นัน้ พูดให้สั้น เข้าใจง่าย
5.1.8 ไมใ่ ช้ขอ้ ความ หรอื ข้อความท่ซี ้าซาก ฟมุ เฟือย
5.1.9 เมอื่ จะกล่าวแนะนา ควรแนะนาให้ตรงกับความจรงิ
5.1.10 ไมพ่ ดู ถงึ เรอ่ื งสว่ นตวั หรือแสดงความสนทิ สนมกบั ผู้ไดร้ บั เชิญมาพูด
5.1.11 รักษาเวลาในการพูด และต้องประสานงานกับผู้พูด หรือฝุายกากับเวที
เกยี่ วกับเร่ืองเวลา

4

5.1.12 เสยี งพูดชดั เจน แจม่ ใส ออกเสียงตัวควบกลา้ ได้ถกู ต้อง
5.1.13 คลอ่ งแคล่ว วอ่ งไว กระฉบั กระเฉง และมชี วี ิตชีวา
5.1.14 สุภาพ สารวม และมคี วามเชือ่ ม่ันในตนเอง
5.2 หน้าทขี่ องพธิ กี ร
พิธกี รมหี น้าท่ี ดังนี้
5.2.1 ศึกษาเกี่ยวกับผู้พูดทุกคนเกี่ยวกับ ชื่อ นามสกุล คุณวุฒิ ตาแหน่งงาน
ความสัมพนั ธก์ ับเจ้าภาพกอ่ นขึน้ เวทีดาเนินการเปน็ พิธีกร ทาความเขา้ ใจในรายการอย่างถ่องแท้
5.2.2 วางแผนดาเนินงานล่วงหนา้ ตง้ั แตต่ น้ จนตลอดรายการ แล้วจดั ลาดบั พธิ กี ารให้
เหมาะสม
5.2.3 สังเกต และวิเคราะหบ์ คุ คลผู้มาในงานและบรรยากาศของงาน
5.2.4 ประสานกบั บุคคลทเ่ี ก่ียวขอ้ งเปน็ การลว่ งหน้าและเตรียมทดุ อยา่ งใหพ้ รอ้ มกอ่ น
ขนึ้ เวที
5.2.5 เรม่ิ พูดดว้ ยการกลา่ วปฏสิ นั ถารกับผฟู้ งั ใชถ้ อ้ ยคาทส่ี ร้างบรรยากาศที่เป็นมิตร
ไมตรี ใชภ้ าษาสภุ าพ เหมาะสมและให้เกียรตผิ ฟู้ งั
5.2.6 แนะนาตนเองอย่างส้ัน ๆ ถึงช่ือ นามสกุล ตาแหน่งงาน ความสัมพันธ์กับ
เจ้าภาพและการได้รบั เชิญใหเ้ ปน็ พิธีกรงานน้ี
5.2.7 กลา่ วนาโดยกลา่ วถึงเร่อื งทจ่ี ะพดู บอกเหตผุ ลเพราะเหตุใดจงึ มีการพดู นี้ พูดถงึ
ความสาคัญของเรอ่ื งทจี่ ะพดู ใช้ภาษาทก่ี ะทัดรดั ชัดเจน สุภาพ มคี วามจริงใจ
5.2.8 แนะนาผู้พูดอื่น ๆ เกี่ยวกับ ช่ือ นามสกุล ตาแหน่งงาน ความสัมพันธ์กับ
เจา้ ภาพ พูดในฐานะใด ควรกลา่ วดว้ ยเสยี งทดี่ ังชัดเจน นา้ เสยี งแสดงถึงความยกย่อ แต่ไม่เป็นการยก
ยอ่ งเกินไป
5.2.9 กล่าวเชญิ ผพู้ ดู ทีละคน จดั ตามลาดับให้ถูกตอ้ ง
5.1.10 คอยควบคุมเวลาของรายการให้เป็นไปตามกาหนดและสนใจรายการอย่าง
ใกล้ชดิ ไม่ทิ้งหา่ งเวที
5.1.11 กล่าวเสริมความคิดเห็นของผู้พูดบ้างพอสมควร ไม่นาความคิดเห็นของตน
แสดงการคดั คา้ น หรือแสดงความคดิ เห็นของตนมากกว่าผพู้ ดู ในทานองโออ้ วด ยกตน ดถู ูกผพู้ ูดคนอืน่
หรือผู้ฟงั
5.1.12 กล่าวขอบคุณผู้พูดและผู้มาร่วมงาน ด้วยการใช้ถ้อยคา ลักษณะท่าทาง
นา้ เสยี งและสหี นา้ แสดงให้เห็นว่ามีความซาบซึ้งในการพูด และไดร้ ับประโยชน์จากการพดู น้ี

5

แนวทางสาหรับการพูดในโอกาสตา่ ง ๆ

การพดู คุยในชวี ิตประจาวนั เป็นเร่ืองปกติธรรมดา แต่หากได้รับเชิญให้พูดในบางโอกาส ไม่
อาจใชว่ ิธีพูดคยุ เหมอื นเชน่ ปกติ เพราะเปน็ การพูดท่ตี อ้ งคานึงถึงโอกาส และจุดมุ่งหมายของการพูด
การพูดในโอกาสต่าง ๆ ทั้งเป็นพิธีการและไม่เป็นพิธีการล้วนมีรูปแบบและวิธีการท่ีผู้พูดควรศึกษา
เพื่อปูองกันการพูดไม่ให้เกิดความผิดพลาด เจ้าภาพยกย่องให้เกียร ติผู้พูดว่าเป็นผู้มีความรู้
ความสามารถ สงั คมยอมรบั จึงมักเชญิ ให้พูด การพดู ในโอกาสต่าง ๆ ถ้าผพู้ ดู รแู้ นวทางสาหรับการพดู
จะสรา้ งความม่ันใจแก่ผพู้ ดู ซง่ึ แนวทางสาหรับการพดู ในโอกาสต่าง ๆ ดงั น้ี

1. การกล่าวแนะนา
การกล่าวแนะนา แบ่งเป็นการกล่าวแนะนาตัวและการกล่าวแนะนาผู้อื่น ในโอกาสที่

นักเรียนจะนาเสนอผลงานต่อท่ีชุมชน อันดับแรก คือ การกล่าวแนะนาตัวเป็นการพูดเพ่ือให้คนอื่น
รู้จกั ตน การกลา่ วแนะนาผูอ้ ่ืน เป็นการพูดแนะนาบุคคลอ่ืนท่ีจะมาพูดหรือมาเป็นวิทยากร โดยการ
กล่าวแนะนา มีแนวทางการพูด ดงั น้ี

1.1 การกลา่ วแนะนาตวั ในฐานะต่าง ๆ กัน ดงั นี้
1.1.1 การแนะนาตัวในหม่นู ักเรียนใหม่ เพ่ือทาความรู้จักโดยทั่วถึง เพื่อร่วมงานกัน

ในดา้ นกาศกึ ษา ดา้ นกิจกรรมเปน็ พเิ ศษ สมานสามัคคี แนะนาดังน้ี
- กล่าวคาปฏิสนั ถาร
- ช่ือ/นามสกลุ
- ความรู้เดิม สถานศึกษาเดิม
- ทอ่ี ยู่ปจั จบุ นั
- ภมู ลิ าเนาเดมิ
- ความถนัด
- งานอดิเรก
- เรอ่ื งท่สี นใจเป็นพเิ ศษ
ตวั อย่างการแนะนาตวั ในหมนู่ กั เรยี นใหม่

สวัสดีค่ะ ดฉิ ันนางสาวมุทธา สายตอ่ เนื่อง สาเร็จชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จากโรงเรียนสตรีวัด
อัปสรสวรรค์ ปัจจุบันเรียนอยู่ที่วิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา ภูมิลาเนาเดิมเป็นคนจังหวัด
กรงุ เทพมหานคร มีความถนัดในการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ งานอดเิ รก ท่ีชอบก็คือ การร้องเพลงและรา
ไทย มกั จะใช้เวลาว่างในการร้องเพลงและราไทย แต่ดิฉันสนใจในเร่ืองของศิลปะเป็นพิเศษ เพราะมี
ความปรารถนาอยากจะเปน็ นักออกแบบโฆษณาหรอื นักสถาปนิกในอนาคต

6

1.1.1 การแนะนาตัวในฐานะผู้แทนท่ีได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานเพื่อให้ที่ประชุม

รจู้ กั และความรคู้ วามสามรถ ควรแนะนาดังน้ี

- กล่าวคาปฏิสนั ถาร

- ชอ่ื /นามสกลุ

- ผ้แู ทนสถาบนั ใด

- ไดร้ บั มอบหมายมาในเรือ่ งใดโดยเฉพาะหรอื มีความสนใจเรอ่ื งใดโดยเฉพาะ

ตวั อย่างการแนะนาตัวในฐานะผ้แู ทนที่ไดร้ บั มอบหมาย

สวัสดีค่ะ ดิฉันนางสาวดวงกมล นาตุรัตน์ ผู้แทนจากวิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา เป็น

หวั หนา้ คณะโต้วาที จะมาแข่งขันโต้วาทีระดับมัธยมศึกษาตอนปลายค่ะ คณะโต้วาทีของดิฉันได้รับ

รางวัลชนะเลิศการโต้วาทีเน่ืองในงานจัดกิจกรรมวันภาษาไทยท่ีวิทยาลัยฯ จัดข้ึนเม่ือวันท่ี 29

กรกฎาคมน้ีค่ะ

1.1.3 การแนะนาตัวในการเข้าปฏิบัติงานหรือรายงานตัวต่อผู้บังคับบัญชา ควร

แนะนาดังนี้

- กล่าวคาปฏสิ นั ถาร

- ช่อื นามสกุล

- สาเรจ็ การศึกษาระดบั ใด

- จะเขา้ ปฏบิ ัติงานในหนา้ ทใี่ ด

- นบั ตง้ั แตเ่ มื่อไรเปน็ ตน้ ไป ภาพท่ี 1.3 แนะนาตัว

ตัวอย่างการแนะนาตวั ในการเขา้ ปฏิบตั ิงาน

สวัสดีค่ะ ดิฉันนางสาวพัชรา ขันแก้ว สาเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา

แผนกพิมพส์ กรีน จะเขา้ ปฏิบัตหิ นา้ ที่หัวหน้างานออกแบบพิมพส์ กรีน ตั้งแตว่ ันนเี้ ปน็ ต้นไปคะ่

1.1.4 การรายงานตัวเมื่อผบู้ ังคบั บัญชามาตรวจงาน รายงานดังน้ี

- กล่าวคาปฏิสันถาร

- ชื่อ-นามสกุล

- ขณะนน้ั กาลงั ปฏิบัตหิ นา้ ที่อะไร

- ผลการปฏบิ ตั ิงานในขณะนน้ั

ตวั อยา่ งการรายงานตวั เม่ือผบู้ ังคับบญั ชามาตรวจงาน

สวัสดีค่ะ ดิฉันนางสาวพัชรินทร์ ขันแก้ว กาลังย้อมสีผ้าบาติกค่ะ ได้ผ่านการมัดย้อมเป็น

ลาดบั ข้นั สดุ ทา้ ยแล้วค่ะ

7

1.1.5 การแนะนาตัวในงานสงั คม แนะนาดงั นี้
- กล่าวคาปฏิสันถาร
- ชื่อ-นามสกลุ
- ตาแหนง่ หน้าทีห่ รืองานที่เป็นที่รจู้ ักในสงั คม
ตัวอย่างการแนะนาตวั ในงานสงั คม

สวสั ดคี รับ กระผมนายเมธา ตามล เป็นผู้จัดการฝุายการพิมพ์ บริษัท สี่สหาย พิมพ์สกรีน
จากดั ครบั

1.2 การกลา่ วแนะนาผ้อู ื่น (วทิ ยากร) ใหท้ ีประชมุ ร้จู ัก เพอ่ื ใหผ้ ฟู้ ังรู้ผู้พูดว่า เป็นใคร มาก
จากหน่วยงานใด มีความรู้ความสามารถอย่างไร จะมาพดู ในเรอ่ื งอะไรเปน็ การสร้างบรรยากาศความ
เปน็ กันเองระหวา่ งผพู้ ูดกบั ผฟู้ ัง และเปน็ การให้เกยี รติในกาต้อนรับผู้พูด ขอ้ ควรคานึงเกย่ี วกบั การพูด
แนะนาผอู้ น่ื (วิทยากร) มีดงั น้ี

1.2.1 ถ้ายังไมร่ ู้จักผพู้ ดู ควรตดิ ต่อขอรายละเอียดล่วงหน้า
1.2.2 ไมค่ วรใช้เวลาแนะนามากเกนิ ไป
1.2.3 ไม่ควรเล่าชวี ประวตั ิของวิทยากร แต่เปน็ การแนะนาใหผ้ ู้ฟังทราบเกีย่ วกบั ผูพ้ ูด
โดยครา่ ว ๆ ให้ถูกต้องความความเป็นจรงิ และอยใู่ นขอบเขตคณุ งามความดขี องวทิ ยากรเท่าน้ัน ไม่ยก
ยอ่ งจนเกนิ ไป

กล่าวแนะนาผอู้ ื่น (วทิ ยากร) มรี ายละเอียดดังน้ี
- กล่าวคาปฏสิ ันถาร
- ชื่อ-นามสกุล
- คุณวฒุ ิ
- ตาแหนง่ หน้าท่ีการงานปจั จุบัน
- ความรแู้ ละประสบการณท์ เี กี่ยวขอ้ งกบั เร่ืองท่จี ะพูด

ภาพท่ี 1.4 การพูดแนะนาผู้อ่นื

8

ตัวอย่างการกลา่ วแนะนาผอู้ ่ืน (วิทยากร)
สวัสดีครับ ทา่ นผู้มเี กยี รติท่เี คารพ
ผู้ทจี่ ะมาบรรยายเร่ือง “บรู้ช ลี ปรมาจารย์กังฟู” คือ คุณมานพ บุญบูรณ์ กาลังเรียนอยู่
ชน้ั ปวช.1 แผนกการโรงแรม ประเภทวิชาอุตสาหกรรมการท่องเท่ียว วิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา
คณุ มานพฯ เป็นผู้มีความร้ใู นเรอ่ื งมวยกงั ฟูเปน็ อย่างดสี นใจศกึ ษาค้นควา้ และยังได้รวบรวมภาพ และ
ประวตั ขิ องบรู้ช ลี อย่างละเอียด อีกทั้งคุณมานพได้ฝึกฝนมวยกังฟู และได้ช่ือว่ามีฝีมือที่เก่งกาจอยู่
พอสมควร วนั น้ีมานพฯ จะบรรยายใหท้ า่ นได้ทราบถึงเรื่องราวของมวยกังฟู และประวัติของบรู้ช ลี
ปรมาจารย์กังฟู และเคลด็ ลับบางประการเก่ยี วกบั มวยกงั ฟู ขอเรยี นเชิญ คณุ มานพ บญุ บูรณ์ ครบั
2. การกล่าวตอ้ นรบั และการกลา่ วตอบต้อนรบั

ในโอกาสจัดงานมักเชิญบุคคลอ่ืน หรือหน่วยงานอื่นมาร่วมงานด้วย เจ้าภาพจัดงาน
จะต้องกลา่ วตอ้ นรบั เป็นการแสดงถึงมารยาทของเจ้าภาพที่ให้เกียรติ และให้ความสาคัญแก่บุคคลท่ี
เกี่ยวขอ้ ง เปน็ การสร้างความสัมพันธภาพระหว่างเจ้าภาพกับแขกที่มาเยือน เพื่อให้ผู้มาเย่ียมเยือน
รสู้ ึกอบอนุ่ ใจและเม่ือกลา่ วต้อนรบั แลว้ บุคคลผู้ไดร้ ับการกล่าวต้อนรับจะต้องกล่าวตอบการต้อนรับ
การกลา่ วตอบการตอ้ นรับควรกล่าวตาลาดับขั้นตอน ดังน้ี

2.1 การกลา่ วตอ้ นรับ ดังนี้
- กลา่ วคาปฏิสันถาร
- ใครตอ้ นรับใคร ระบใุ หช้ ดั เจน
- รู้สกึ ยินดีและเป็นเกยี รติท่ีไดม้ โี อกาสต้อนรับอาคนั ตุกะ
- กลา่ วถึงจดุ มงุ่ หมายในการเยี่ยมเยือนและเหน็ ความสาคัญของผูม้ าเยี่ยมเยอื น
- กลา่ วสรรเสริญถึงความดีงาม ความมีชือ่ เสียงของผมู้ าเยี่ยมเยือน ความปรารถนาดี

และความยินดีทจ่ี ะช่วยเหลือเก้ือกลู กัน
- ลงทา้ ยกลา่ วอวยพรให้ประสบความสุข และการแสดงความหวังว่า อาคันตุกะจะ

พอใจและประสบความสาเรจ็ ในการมาคร้ังน้ี
ตัวอย่างการกลา่ วต้อนรับผมู้ าเยยี่ มเยือน

เรียน ทา่ นอาจารยแ์ ละคณะนกั เรียนชนั้ ปวช.1 แผนกการออกแบบ
ดฉิ ัน นางสาวปรัศญา สิงห์โต ตัวแทนนักเรียนชั้น ปวช.1 แผนกการโรงแรม ประเภทวิชา
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว วิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา รู้สึกยินดีและเป็นเกียรติอย่างย่ิง ที่ได้มา
ต้อนรับคณะอาจารย์และนักเรียนชั้น ปวช.1 แผนกออกแบบ ประเภทวิชาศิลปกรรม วิทยาลัย
อาชวี ศึกษาเสาวภา ซ่งึ ทา่ นท้ังหลายล้วนแต่เป็นผู้มีความรู้ความสามารถและฝีมือยอดเยี่ยม ในด้าน
การออกแบบไดม้ าเยีย่ มชมงาน “การจบั จบี กระโปรงปูโต๊ะ” ซึ่งท่านจะทราบถึงการเลือกผ้าสาหรับ

9

จบั จบี กระโปรง ชนิดเน้ือผ้า สีซ่ึงกลมกลืนและเหมาะสมกับบรรยากาศของงาน วิธีการจับจีบแบบ
ตา่ ง ๆ วธิ ีการปูผา้ โต๊ะรูปทรงต่าง ๆ

การจบั จีบกระโปรงปูโตะ๊ ท่สี วยงามเหล่าน้ี เราไดใ้ ช้ความสามารถพิเศษและเทคนิควิธีการท่ี
แปลกใหมต่ ามแบบสากลนิยมที่จัดงานเลยี้ งอาหารในโรงแรมท่ีมีชื่อเสียงทั่วไป ซ่ึงหาชมได้ยาก วันนี้
นับวา่ เปน็ โอกาสอนั ดที ีท่ า่ นจะไดช้ ม และได้รับความรู้จากการจัดนิทรรศการนี้ ท่านสามรถสอบถาม
และทดลองฝึกการจับจีบกระโปรงได้ จากการเย่ียมเยือนคร้ังน้ี ขออวยพรให้ท่านมีความสุขสวัสดี
ปรารถนาส่ิงใดขอใหส้ มดังประสงค์ และประสบความสาเรจ็ ดงั หวังทตี่ ้งั ไว้ทุกประการ

2.2 การกล่าวตอบการตอ้ นรับ ดงั น้ี
- กลา่ วคาปฏสิ ันถาร
- กลา่ วขอบคุณอยา่ งจรงิ ใจต่อเกยี รตทิ ่ไี ด้รับ
- กล่าวถุงความประทับใจในการต้อนรับ ในความมีไมตรีจิตจากเจ้าของบ้านและ

ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั
- กล่าวถงึ จุดเด่นของเจา้ ของบ้าน
- กล่าวเชอื้ เชิญเจา้ ของบา้ นใหไ้ ปเยี่ยมเยอื นตนบ้าง และความหวังท่ีจะมาพบกนั อกี
ตวั อย่างการกลา่ วตอบการตอ้ นรบั

เรยี น ทา่ นอาจารย์ และคณะนกั เรยี นช้นั ปวช.1 แผนกกาโรงแรม
กระผม นายมานิต ทองขจรศกั ดา ตวั แทนนักเรียนชัน้ ปวช.1 แผนกออกแบบ ประเภทวิชา
ศลิ ปกรรม วิทยาลยั อาชวี ศึกษาเสาวภา ขอขอบคณุ ทท่ี ่านให้การตอ้ นรบั พวกเราด้วยความอบอุ่นด้วย
ไมตรจี ติ อันซาบซ้ึง ทัง้ ได้รบั ประโยชน์ท่ีคุ้มค่ามากด้วย ท่านชาวการโรงแรมทุกคนเป็นผู้มีฝีมือเย่ียม
ยอด มีความละเอียดลออ มีความคิดสร้างสรรค์ในกาออกแบบผ้าจีบต่าง ๆ ได้สวยงาม เหมาะสม
กลมกลืนกับบรรยากาศของห้อง พวกเราได้รับความรู้และความเพลิดเพลินเจริญตาเป็นอันมาก
รวมท้ังไดร้ ับประทานอาหารท่ีแสนอรอ่ ยบนโต๊ะปผู ้าทง่ี ดงามยิ่งอีกดว้ ย
ถา้ ท่านทง้ั หลายมโี อกาส พวกเราขอเชญิ ทา่ นไปเย่ียมชมงานของเราบ้างและหวังว่าพวกเรา
คงจะพบกันอกี
3. การกล่าวแสดงความยินดตี อ้ นรับสมาชกิ ใหม่และการกลา่ วตอบรับความยินดีเมื่อเป็น
สมาชิกใหม่

ในกรณีทีม่ ผี ู้มาเปน็ สมาชิกใหม่ในหนว่ ยงานใด หวั หนา้ หนว่ ยงานนั้น จะตอ้ งกล่าวต้อนรับ
และเปน็ การแนะนาให้ทุกคนในหน่วยงานรจู้ กั เพื่อใหผ้ ู้มาใหม่เกดิ ความอบอนุ่ ใจและมคี วามเข้าใจที่ดี
ต่อกันผ้ซู ง่ึ เปน็ สมาชิกใหม่จะตอ้ งกล่าวตอบการตอ้ นรับดว้ ยโดยมแี นวทางการพูด ดงั น้ี

10

3.1 การกล่าวแสดงความยินดตี อ้ นรบั สมาชิกใหม่ ดงั น้ี
- กลา่ วคาปฏิสันถาร
- กลา่ วแสดงความยินดีตอ้ นรบั
-กล่าวถึงประวัติและผลงานของสมาชิกใหม่และยกย่องความวิริยะอุตสาหะของผู้

ไดร้ บั ตาแหน่งใหม่
- กล่าวอวยพรใหป้ ระสบสุข ความสาเรจ็ และความกา้ วหน้า
ตวั อย่างการกลา่ วตอ้ นรบั สมาชกิ ใหม่

สวสั ดเี พื่อนพีน่ อ้ งที่รักทกุ ท่าน
ต้งั แต่เมอื่ ต้นปีที่ผา่ นมา พวกเราทุกคนทางานเหน็ดเหน่ือยมากเน่ืองจากคุณสุรศักด์ิ ลอยใหม่
ได้ย้ายไปรับตาแหน่งใหม่สาขานครสวรรค์ พวกเราทางานกันอย่างเหน็ดเหน่ือยและน่าเห็นใจมาก
บัดน้ี ทางบริษัทของเราได้รับอัตราตาแหน่งหัวหน้าฝุายวางแผน 1 อัตราท่านผู้น้ี คือ คุณธนารัตน์
ขวัญมิง่ ซงึ่ ท่านเป็นผ้มู ีความสามารถและประสบการณ์ทางด้านการวางแผนมาเป็นเวลา 3 ปี ได้ไป
ศึกษาดูงานยังประเทศญี่ปุนอีก 1 ปี ทาให้ท่านมีความรู้ความเช่ียวชาญย่ิงข้ึน ท่านได้สับเปลี่ยน
ตาแหนง่ กบั คณุ สรุ ศักดิ์ ลอยใหม่ เพือ่ ท่านจะได้มาชว่ ยดูแลคณุ พอ่ ซง่ึ ชรามากแล้ว หวังว่าคุณธนารัตน์ฯ
จะชว่ ยพฒั นาบริษทั ของเราใหเ้ จรญิ กา้ วหนา้ ต่อไป ขอให้คุณพนารัตน์ฯ ทางานที่นี่ด้วยความสุขและ
เจรญิ กา้ วหนา้ ในหนา้ ทีก่ ารงาน

3.2 การกล่าวต้อนรับความยนิ ดี เมอื่ เปน็ สมาชิกใหม่
- กล่าวคาปฏสิ นั ถาร
- กล่าวขอบคุณ
- กลา่ วคาปวารณาตวั รับใช้
- กลา่ วอวยพร
ตวั อยา่ งการกลา่ วตอบรับความยินดีเม่อื เป็นสมาชิกใหม่

เรยี น ท่านผจู้ ัดการ และท่านผู้มีเกียรติ
กระผมขอขอบคณุ ทุกท่าน ทีใ่ หก้ ารตอบรับอย่างเป็นเกียรตแิ ละอบอุ่น กระผมรู้สึกยินดีเป็น
อย่างยิง่ ทไ่ี ด้มาทางานท่ีน่ี ซ่ึงเปน็ สาขาใหญ่ แม้ว่าภาระการงานจะมากและเหนด็ เหน่ือยมากกว่าสาขา
เดมิ แต่กระผมก็จะทางานร่วมกบั ทกุ คนอยา่ งเตม็ ความสามารถ ถ้าหากกระทาส่ิงใดไม่ถูกต้อง โปรด
ใหอ้ ภยั และชว่ ยแนะนาผมด้วย กระผมขอฝากตัวเป็นนอ้ งคนใหม่และยินดีช่วยเหลืองานเสมอ ขอให้
ทกุ ทา่ นมีความสุขและเจรญิ ในหน้าที่การงานเชน่ เดียวกันครบั

11

4. การกล่าวแสดงความยนิ ดีต้อนรบั ผู้เขา้ รบั ตาแหนง่ ใหม่และกล่าวตอบรับตาแหน่งใหม่
เม่อื มผี ู้เข้ามารับตาแหน่งใหมใ่ นหนว่ ยงาน หวั หน้าหนว่ ยงานผู้เปน็ เจา้ ของสถานท่ีจะต้อง

กล่าวต้อนรับ ควรพูดให้จริงจัง เข้มแข็ง และจริงใจ เพื่อแสดงความเป็นผู้นา และในโอกาสเข้ารับ
ตาแหนง่ ใหม่ ควรเตรียมใหพ้ รอ้ ม พูดด้วยความเข้มแข็ง เพ่อื ใหเ้ หน็ ความสามารถ ดังนี้

4.1 กล่าวแสดงความยินดตี อ้ นรบั ผู้เขา้ รับตาแหนง่ ใหม่ ดงั น้ี
- กลา่ วคาปฏิสันถาร
- กล่าวแสดงความรู้สึกยินดที ่ไี ดร้ ว่ มงานกบั ผเู้ ขา้ รบั ตาแหนง่ ใหม่
-พดู เกย่ี วกับประวัตผิ ้เู ข้ารับตาแหนง่ ใหม่อย่างยอ่ พดู เก่ยี วกับความสามารถของผู้เข้า

รับตาแหนง่
-พูดถึงลกั ษณะงานของหนว่ ยงานนนั้ และหลกั การนโยบายแนวทางในการที่จะปฏบิ ัติ
-หวังว่าผู้เข้ารับตาแหน่งคงจะมีความสุขมีความพอใจในสถานท่ีใหม่และร่วมมือ

ชว่ ยเหลือเป็นมิตรต่อกัน
ตัวอยา่ งการกลา่ วแสดงความยินดีต้อนรบั ผเู้ ข้ารบั ตาแหนง่ ใหม่

ท่านผมู้ เี กียรตทิ ี่เคารพทกุ ท่าน
กระผม ศภุ ฤกษ์ จนั ทรธ์ ีระ เป็นผอู้ านวยการการประกวดเทพีสงกรานต์ชุมชนบ้านหม้อ
รสู้ กึ ยนิ ดเี ปน็ อยา่ งยิง่ ทีเ่ วทปี ระกวดเทพสี งกรานตข์ องชมุ ชนเรานี้ ได้เทพคี นใหม่มาดารงตาแหน่งแทน
คณุ ศริ ประภา สุจติ ร์ ซ่ึงจะพ้นตาแหนง่ ในวนั นี้ เทพีสงกรานต์ประจาปี ๒๕๕๕ เปน็ เทพที่มีความงาม
มากและมีน้าเสยี งทีไ่ พเราะมากดว้ ย คือ นางสาวคนึงนจิ โทณะวณกิ ซ่ึงไดป้ ระกวดมาหลายแห่งแล้ว
และได้รับรางวัลทุกแห่ง ในปีนี้คุณคนึงนิจฯ ได้ให้เกียรติมาประกวดท่ีเวทีของเรา และก็ได้คว้า
ตาแหน่งเทพสี งกรานตช์ มุ ชนบ้านหมอ้ ไดร้ บั รางวัล เงินสด 3 แสนบาท มงกุฎเพชรมลู ค่า 3 แสนบาท
และรางวัลอืน่ อกี มากมายรวมมูลคา่ ร่วมหนึง่ ลา้ นบาท คุณคนึงนิจฯ เปน็ คนสวย เพรียบพรอ้ มทกุ อย่าง
กรรมการทุกท่านตา่ งกใ็ หค้ ะแนนคุณคนึงนิจฯ มาเปน็ อนั ดบั หนึง่ ซง่ึ ชนะเปน็ เอกฉนั ท์ หวงั ว่าคุณคนึง
นจิ ฯ คงจะทาหน้าที่เทพีสงกรานต์ชุมชนบ้านหม้ออย่างเต็มความสามารถ ขอให้พวกเราชุมชนบ้าน
หมอ้ ทุกคนปรบมอื แสดงความยินดตี อ้ นรับดว้ ยครบั
4.2 การกล่าวตอบรับมอบตาแหนง่ ใหมด่ ังน้ี

- กล่าวคาปฏสิ ันถารต้อนรับผเู้ ขา้ รบั ตาแหนง่ ใหม่
- กลา่ วถึงความร้สู กึ ยินดีของตน ท่ีได้มาทางานรว่ มกับทุกคนในหน่วยงานนั้น
- กลา่ วขอบคุณทีใ่ หค้ วามไวว้ างใจ และให้เกยี รติ
- ยกยอ่ งหน่วยงานทต่ี นจะมาทางาน
- กลา่ วถึงนโยบาย หลักการ อุดมคตขิ องตน

12

- ให้คามัน่ สัญญาวา่ จะปฏิบัติหน้าที่เตม็ ความสามารถกล่าวให้ทุกคนเห็นว่าทุกคนมี
ความรับผิดชอบ และมคี วามสาคญั ต่อหนว่ ยงานนัน้

- กล่าวขอรอ้ งให้ทกุ คนรว่ มมือกนั ทางาน
ตวั อย่างการกลา่ วตอบรับมอบตาแหนง่ ใหม่

เรียนท่านผอู้ านวยการ และท่านผ้มู เี กยี รติทเี่ คารพทุกท่าน
ดฉิ ันรู้สึกยนิ ดีเปน็ อย่างยงิ่ ทไี่ ดร้ บั ตาแหน่งเทพีสงกรานตช์ มุ ชนบ้านหม้อประจาปนี ้ี แม้ดิฉันจะ
ได้ผา่ นการประกวดเทพีมาหลายจังหวดั แล้วกต็ าม แตด่ ิฉนั กร็ ูส้ ึกตื่นเต้นกับเวทีประกวดน้ีมากทีเดียว
เพราะในกรุงเทพมหานครมีสาวสวย ๆ ทั้งนั้น ดิฉันไม่ได้คาดหวังเลยว่า จะได้รับตาแหน่งเทพี เม่ือ
ไดร้ ับจริง ๆ ก็รสู้ กึ ต่นื เตน้ และดีใจมาก ยิง่ ไปกวา่ นั้น คือ ดฉิ นั ไดโ้ อกาสบาเพ็ญประโยชน์ให้แก่ชุมชน
ของเราสมดังที่ดิฉันหวังไว้ ดิฉันจะตั้งใจปฏิบัติหน้าท่ีของเทพีชุมชนบ้านหม้อนี้ให้ดีท่ีสุด เต็ม
ความสามารถ หากมีสง่ิ ใดที่ดิฉนั บกพร่องไปบ้าง ก็ขอให้ช่วยแนะนาด้วย ดิฉันยนิ ดีรบั ฟังความคิดเห็น
จากทุกท่านค่ะ รางวัลเงินสด 3 แสนบาท ดิฉันขอมอบให้มูลนิธิชุมชนบ้านหม้อ เพ่ือใช้จ่ายในการ
พฒั นาชมุ ชนของเราในด้านสาธารณูปโภค ดา้ นการศึกษาดา้ นสุขภาพอนามัย และการจัดเก็บขยะมูล
ฝอย และดา้ นอนื่ ๆ ตามแตท่ ่านผอ. ศภุ ฤกษ์ฯ ที่จะเห็นควร อย่างไรก็ตามขอให้พวกเราชุมชนบ้าน
หม้อจงรว่ มแรงรว่ มใจกัน เพอื่ พัฒนาชุมชนของเราให้เจริญก้าวหนา้

ภาพท่ี 1.5 การกลา่ วแสดงความยินดตี ้อนรบั ผ้เู ข้ารบั ตาแหนง่

ภาพที่ 1.6 การกล่าวตอบรบั มอบตาแหนง่ ใหม่

13

การประเมนิ ผลการพูดในโอกาสตา่ ง ๆ

การประเมนิ ผลการพดู ในโอกาสต่าง ๆ จะชี้ใหเ้ หน็ ถงึ ขอ้ ดีและขอ้ บกพร่องเพอ่ื พัฒนาการพูด
ให้มปี ระสทิ ธิภาพยงิ่ ขึน้ การประเมินผลการพูดโอกาสต่าง ๆ มีดังนี้

1. วธิ กี ารพดู ทป่ี ระสบผลสาเร็จ
การพูดท่ีประสบผลสาเรจ็ นั้น ยอ่ มข้ึนอยกู่ บั การฝึกฝน ดังนี้
1.1 ผพู้ ูดต้องหม่นั ฝึกซอ้ ม ปรบั ปรุงบคุ ลกิ ภาพของตนให้ผู้ฟงั ชื่นชมศรัทธา
1.2 ต้องสรา้ งความเชื่อม่นั ในตนเอง
1.3 ตอ้ งรูจ้ กั วิเคราะหผ์ ฟู้ งั มเี จตนาดีตอ่ ผู้ฟัง
1.4 พยายามสรา้ งบรรยากาศร่วม ระหวา่ งผพู้ ูดกับผูฟ้ ัง
1.5 เลอื กใชภ้ าษาใหเ้ หมาะสมกบั โอกาสต่าง ๆ ในการพดู
1.6 วเิ คราะหโ์ อกาส สถานการณ์ แล้วกาหนดเน้ือหา และเลือกใช้ภาษาให้เหมาะสมกับ

โอกาสทีจ่ ะพดู นนั้
1.7 การประเมนิ ผลตอ้ งยตุ ธิ รรม ไม่เขา้ ข้างตนเอง ส่งิ ทีบ่ กพรอ่ งจะต้องแกไ้ ขปรับปรงุ เพ่อื

พฒั นาการพูดใหด้ ยี ่งิ ขึ้น
2. ประเดน็ สาหรับการประเมนิ ผล
การประเมินผลตามแบบประเมินผลการพูดในโอกาสตา่ ง ๆ ทาใหเ้ ราได้มีโอกาสเตรียมตวั

และได้ฝกึ ฝนไว้ล่วงหน้า ประเดน็ สาหรบั การประเมินผลการพูดในโอกาสต่าง ๆ มีดังน้ี
2.1 เนือ้ หาถกู ตอ้ ง และเหมาะสมกับโอกาสในการพดู
2.2 การลาดับขอ้ ความได้ถกู ตอ้ ง
2.3 ใช้ถอ้ ยคาสานวนไดถ้ กู ตอ้ ง
2.4 บคุ ลิกภาพทว่ งทีการวางตวั สง่างาม
2.5 ลกั ษณะการพดู ท่ีเป็นการเอง ให้เกียรติแกแ่ ขกหรอื เจ้าภาพ
2.6 สลสายตาผฟู้ งั หน้าตาสุขุม ยม้ิ แย้มแจ่มใสเขา้ กบั บรรยากาศท่ีพูด
2.7 พูดถูกตอ้ งตามฐานะในบทบาท
2.8 การพูดมีจดุ มุ่งหมาย มขี อ้ คดิ และเจตนาที่ดี
2.9 นา้ เสยี งแจ่มใสน่าฟงั เสียงชดั เจน
2.10 ใช้เวลาได้เหมาะสม

ภาพที่ 1.7 การพดู ให้ประสบความสาเรจ็

14

แบบประเมนิ ผลการพูดในโอกาสตา่ ง ๆ

ชื่อผู้พูด ....................................................... ชั้น ...............................
เรือ่ งในโอกาส ..................................... กลา่ วในฐานะ ……………………

วันท่ี ........ เดอื น ............................ พ.ศ. ..................

คะแนน

ลาดบั ท่ี เกณฑ์ประเมนิ ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช้ ปรับปรงุ

54 3 2 1

1 เนือ้ หาถกู ตอ้ งและเหมาะสมกบั

โอกาส

2 การลาดบั ข้อความ

3 ใช้ถ้อยคาสานวนไดถ้ กู ตอ้ ง

4 บุคลิกภาพ ทว่ งที และการวางตวั

สง่างาม

5 ลักษณะการพูดทีเ่ ป็นการเอง
6 การใช้สายตาและสหี น้า
7 พูดถูกตอ้ งตามฐานะในบทบาท
8 มีจดุ มงุ่ หมาย มขี อ้ คดิ และเจตนา

ท่ีดี
9 นา้ เสยี งและการใช้เสยี ง
10 การใชเ้ วลาได้เหมาะสม

รวมคะแนน

ตารางที 1.1 แบบประเมนิ ผลการพดู ในโอกาสต่าง ๆ

ผปู้ ระเมนิ ...................................................
(................................................)

บรรณานุกรม

กรมการฝกึ หดั คร.ู การใช้ภาษา. กรงุ เทพฯ : อกั ษรเจริญทัศน์ 2524
กรมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษาธิการ. วรรณลักษณ์วจิ ารณ์ เลม่ 1. พมิ พ์คร้งั ที่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์
ครุ ุสภาลาดพร้าว, 2542.

. วรรณลักษณว์ ิจารณ์เลม่ 2. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ครุ สุ ภาลาดพรา้ ว,
2544.

. วรรณสารวจิ กั ษณเ์ ลม่ 1. พิมพ์คร้งั ที่ 5. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พค์ ุรสุ ภาลาดพรา้ ว, 2542
. วรรณสารวจิ กั ษณเ์ ลม่ 3. พมิ พ์ครง้ั ที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ครุ ุสภาลาดพรา้ ว, 2542
ข่าววชิ าการ เอกสารประชาสมั พันธ์เพอื่ การปฏริ ูปการศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธกิ าร 2, 1
(ม.ิ ย. 45) : 3 คณาจารย์คณะครศุ าสตรจ์ ฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ภาษาไทย 2. พิมพ์ครงั้ ที่ 2.
กรงุ เทพฯ : โรงพิมพจ์ ฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, 2435.
คณาจารย์มหาวิทยาลยั ศิลปากร. ภาษาและการส่อื สาร. นครปฐม : โรงพมิ พม์ หาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร,
2428.
ครรชติ มาลยั วงศ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ. ศูนย์เทคโนโลยอี เิ ล็กทรอนิกส์และคอมพวิ เตอร์แหง่ ชาติ
กระทรวง
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการพลังงานกรงุ เทพฯ : โรงพมิ พส์ ารมวลชน, 2535
ฉลวย สุรสทิ ธิ.์ วิชาการพูด. พิมพค์ รง้ั ที่ 2. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พแ์ พรพ่ ทิ ยา, 2520
ฉัตรวรณุ ตันนะรัตน์ และคณะ. การเตรียมเพื่อการพดู และการเขยี น. พิมพ์ครั้งที่ 8 กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์
สานักพิมพ์มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง. 2533.
ฉัตรวรุณ ตันนะรตั น.์ การพูดเบอ้ื งตน้ . พิมพ์ครง้ั ที่ 11. กรุงเทพฯ : หา้ งหนุ้ สว่ นจากดั โรงพมิ พ์ชวนพมิ พ,์
2538.
ฉัตรา บญุ นาค สวุ รรณี อุดมผล และวรรณี พทุ ธเจรญิ ทอง. ศลิ ปะการใชภ้ าษาไทยในชวี ติ ประจาวัน
และทางธรุ กิจพมิ พค์ รงั้ ท่ี 3. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์และทาปกเจรญิ ผล, 2529.
ณรงค์ สมพงษ.์ สือ่ เพอ่ื งานสง่ เสริมเผยแพร.่ พมิ พ์ครงั้ ที่ 2. กรงุ เทพฯ : โอ. เอส.: อส. พริน้ ตง้ิ เฮ้าส,์
2535.
ดารณี พานทองพาลสุ ขุ . กลยทุ ธการสรา้ งสรรคง์ านโฆษณา. พมิ พค์ รัง้ ที่ 2. โรงพมิ พส์ านกั พิมพ์
มหาวิทยาลยั รามคาแหง, 2534.
ตะวนั สนั ติภาพ. เอาโลกมาทาปากกา. กรงุ เทพฯ : บริษัท สามคั คสี าร (ดอกหญา้ ) จากัด (มหาชน),
2538.

ทองยอ้ ย แสงสินชยั . กาพย์เหเ่ รือเฉลมิ พระเกยี รต.ิ วารสารนาวกิ ศาสตร์ 82.11 (พ.ย. 42) : 66 - 58
ทินวฒั น์ มฤคพทิ ักษพ์ ดู ได้พูดเป็น. กรงุ เทพฯ : ก้องหลา้ , ม.ป.ป.
ทพิ ย์สดุ า นยั ทรัพย.์ ภาษากับวัฒนธรรม. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์การศาสนา, 2535
ธีรยทุ ธ บุญม.ี Free Kick ฟุตบอลโลก. มตชิ นสุดสัปดาห์ 22, 1138 (ม.ิ ย. 55), 26 -28
นิคม รายยวา. ตล่ิงสูงซ่ึงหนัก. กรุงเทพฯ : นาอกั ษรการพิมพ์,2538.
นพิ นธ์ ทพิ ยศ์ รีนิมิต. หลกั การพดู . มหาวทิ ยาลัยทักษณิ , 2542
เนาวรตั น์ พงษ์ไพบูลย.์ เพยี งความเคล่อื นไหว. พิมพค์ ร้งั ที่ 8. กรุงเทพฯ : เคลด็ ไทย, 2541
ประภัส สรเสวกิ ลุ . เวลาในขวดแก้ว. กรงุ เทพฯ : ดอกหญา้ , 2539.
ประภาวดี สบื สนธิ.์ สารสนเทศในบรบิ ทสงั คม. สานกั วิชาเทคโนโลยสี งั คม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยสี รุ นารี

พิมพค์ ร้ังท่ี 2. ห้างหนุ้ ส่วนจากัดพ.ี เอ็น. การพิมพ,์ 2543.
ประภาศน์ อวยชัย. ข่าวสารสภาสังคมสงเคราะห.์ 17, 3 (พ.ค. -ม.ิ ย. 55) : 11
ประภาศรี สหี อาไพ. การเขียนแบบสรา้ งสรรค.์ กรงุ เทพฯ : โอ. เอส. พร้นิ ติ้งเฮ้าส,์ 2531.
ปรชี า ขา้ งขวัญยนื . ภาษาไทยธรุ กจิ ระดับอดุ มศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : สานกั พิมพส์ ร้างสรรค์ -วิชาการ,

2536.
ผะอบ โปษะกฤษณะ. ลกั ษณะเฉพาะของภาษาไทย. กรงุ เทพฯ : อักษรพิทยา, 2521.
พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525 พิมพค์ รง้ั ท่ี 6. กรงุ เทพฯ : บริษัท อักษรเจรญิ ทศั น์

อจท. จากัด, 2539
พระไตรปิฎกสาหรบั เยาวชนเลม่ 3. พิมพ์ครงั้ ที่ 4. กรุงเทพฯ : บริษทั โรงพมิ พ์ไทยวฒั นาพานิช จากดั ,

2541.
พศิ เพลิน สงวนพงศ์. ภาษาไทยธุรกิจ. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ : วชั รนิ ทร์การพมิ พ,์ 2531.
เพียรศกั ด์ิ ศรีทอง. การพดู . กรงุ เทพฯ : รงุ่ เรืองสาสน์ การพมิ พ,์ 2537.
ไพฑูรย์ ธัญญา. กอ่ กองทราย. พมิ พค์ รงั้ ที่ 27. ปทมุ ธานี : สานักพมิ พน์ าคร, 2541.
ไพบลู ย์ ดวงจันทร.์ การใชภ้ าษา. กรงุ เทพฯ : ภาควชิ าภาษาไทยและภาษาตะวนั ออก คณะมนษุ ยศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ, 2542.
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช. เทคโนโลยีและส่ือสารการศกึ ษา. พมิ พค์ รัง้ ท่ี 10. นนทบรุ ี : โรงพิมพ์
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช,2534.

. ภาษาเพือ่ การส่อื สาร. นนทบรุ ี : โรงพมิ พม์ หาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช, 2529.
มานพ ถนอมศร.ี ทา้ วทองกบี มา้ . กรุงเทพฯ : ตน้ ออ้ แกรมม,ี่ 2539.
ยุพยงค์ โสรจั ประสพสันต.ิ ภาษาไทยเพอ่ื อาชีพ 1. กรุงเทพฯ : สานักพมิ พศ์ ูนยส์ ง่ เสรมิ วิชาการ, 2545
รพินทร์พันธุโรทยั . สมเด็จพระแมเ่ จ้าทรงพระเจรญิ . ไทยรฐั (12ส.ค. 45) :1

. สยามมกฎุ ราชกมุ ารสดดุ .ี ไทยรฐั (28 ก.ค. 45) : 1.

. โสมสวลีภิถุติการ. ไทยรัฐ (13 ก.ค. 45) : 1
ลดาวัลย์ ยมจนิ ดา และสพุ รรณี มงั คะล.ี หลักการโฆษณา. พมิ พค์ รัง้ ท่ี 6. โรงพิมพส์ านกั พมิ พ์

มหาวิทยาลัยรามคาแหง, 2535.
ลดั ดา สขุ พานิช. หลกั การโฆษณา. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ตีรณสาร, 2529.
วีระ ไทยพานิช. ศลิ ปะการพูด. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พช์ วนพมิ พ,์ 2535.
ศรีบูรพา. ข้างหลังภาพ. พิมพ์ครงั้ ท่ี 34. กรุงเทพฯ : สานักพมิ พต์ อกหญา้ , 2543.
สมจติ ชวิ ปรชี า. วาทวทิ ยา. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พจ์ ุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย, 2535.
สมาคมภาษาและหนงั สอื แหง่ ประเทศไทย. อนสุ รณส์ นุ ทรภู่ 200 ปี. กรงุ เทพฯ : อมรินทร์การพมิ พ,์

2529.
สวนติ ยมาภยั และถิรนนั ท์ อนวัชศิริวงศ.์ หลกั การพูดข้นั พื้นฐาน. พิมพค์ รงั้ ที่ 8. กรงุ เทพฯ : ครี เอ

ทีฟ พบั ลิชช่งิ ,2535
สอท. ออกโรงปูองเซอร์ชารจ์ เหลก็ . ไทยรฐั (25 พ.ค. 45) : 8
สานักงานเสรมิ สร้างเอกลกั ษณ์ของชาต.ิ ราชาศพั ท์. กรงุ เทพฯ : บริษัทฉลองรัตน จากัด (มหาชน),

2537.
สทุ ธิ วงศ์พงศไ์ พบลู ย.์ การเขยี น. พมิ พ์คร้งั ท่ี 2. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั โรงพมิ พ์ไทยวัฒนาพานิช จากดั ,

2531.
สภุ าพ รงุ่ เจรญิ . ภาษาไทยธรุ กิจ. กรงุ เทพฯ : สานักพมิ พ์ศนู ยส์ ่งเสรมิ วิชาการ, ม.ป.ป.
สุวิทย์ หิรณั ยกาณฑ.์ ภาษาไทยม. 5 ท 503 ท504. กรงุ เทพฯ : มติ รสมั พนั ธ์กราฟฟิคอารท์ , ม.ป.ป.
เสกสรร สายสสี ด. สอ่ื มวลชนกบั สงั คม, ภาควิชาการสือ่ สารและการประชาสมั พนั ธ์คณะวิทยาการ

จัดการ สถาบนั ราชภัฏอดุ รธานี
อวยพร พานชิ และคณะ. ภาษาและหลกั การเขยี นเพื่อการสอื่ สาร. กรงุ เทพฯ : สานกั พมิ พแ์ หง่

จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, 2543.
อัมพร สุขเกษม. การเขียนกลอน. มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม, ม.ป.ป.

. การเขียน 2. หนังสอื เรียนภาษาไทย รายวชิ า ท 402 การเขยี น 2 ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอน
ปลาย พมิ พค์ รง้ั ที่ 3. กรุงเทพฯ : บรษิ ัทโรงพิมพ์ไทยวฒั นาพานิช จากดั

. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับร้อยกรองไทย. กรุงเทพฯ : พรี ะพธั นา, 2524.
อาจารย์วชิ าภาษาไทย คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร.์ คาสอนวิชาภาษาไทยม. ธ. 131

และ 132. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพม์ หาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร,์ 2516.
อาศริ วาท. ข่าวสารสภาสงั คมสงเคราะห์ 17, 3 (พ.ค. -มิ.ย.45) : 1 - 3.


Click to View FlipBook Version