https://stang.sc.mahidol.ac.th/stangmuseum musc.museum @StangLibrary @218yyaxq
พระราชประวัติ
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี พระราชสมภพเม่ือวันเสาร
ที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๘ ตรงกับวันขึ้น ๑๐ คำ เดือน ๕ ปม ะแม สปั ตศก ณ พระทน่ี ั่งอมั พรสถาน พระราชวังดุสติ
เปน สมเด็จพระเจาลกู เธอพระองคที่ ๓ ใน พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ
บพิตร และ สมเด็จพระนางเจา สริ กิ ติ ิพ์ ระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนีพันปห ลวง ไดรบั การถวายพระนามจากสมเด็จ
พระสงั ฆราชเจา กรมหลวงวชริ ญาณวงศ วา สมเดจ็ พระเจา ลกู เธอ เจา ฟา สริ นิ ธรเทพรตั นสดุ า กติ วิ ฒั นาดุลโสภาคย
พรอ มทงั้ ประทานคำแปลวา นางแกว หมายถงึ หญงิ ผูประเสริฐ และมีพระนามทข่ี า ราชบริพารเรียกท่วั ไปวา ทลู กระหมอม
นอ ย
พระนาม “สิรนิ ธร” มาจากสรอ ยพระนามของ สมเด็จพระราชปต จุ ฉา เจา ฟา วไลยอลงกรณ กรมหลวงเพชรบุรี
ราชสริ นิ ธร ซง่ึ เปน พระราชปต จุ ฉา ในพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
สรอ ยพระนาม “กิติวัฒนาดลุ ยโ สภาคย” ประกอบข้นึ จากพระนามาภิไธยของสมเด็จพระราชบพุ การี ๓ พระองค
ไดแก “กิติ” มาจากพระนามาภิไธยของ สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง
สมเดจ็ พระราชชนนี สว น “วฒั นา” มาจากพระนามาภิไธยของ สมเดจ็ พระศรสี วรนิ ทราบรมราชเทวี พระพนั วสาอยั ยกิ าเจา
สมเดจ็ พระปย ยกิ า และ “อดลุ ย” มาจากพระนามาภิไธยของ สมเดจ็ พระมหติ ลาธเิ บศร อดลุ ยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก
สมเด็จพระอยั กา
https://stang.sc.mahidol.ac.th/stangmuseum musc.museum @StangLibrary @218yyaxq
การศกึ ษา
ทรงเร�ิมเขา รบั การศกึ ษาระดับอนบุ าลท่โี รงเรยี นจิตรลดา ในพระตำหนกั จิตรลดารโหฐาน พระราชวังดสุ ติ ทรง
ศกึ ษาตอในโรงเรียนจิตรลดา จนถงึ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และในป พ.ศ. ๒๕๑๕ กท็ รงสอบไลจบช้ันมธั ยมศกึ ษา
ตอนปลาย ในแผนกศิลปะ ดวยคะแนนสงู สดุ ของประเทศ
ทรงสอบเขาศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา ณ คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดยสามารถทำ
คะแนนสอบเอนทรานซเ ปน อนั ดบั ๔ ของประเทศ ซง่ึ ถอื เปน สมเดจ็ เจา ฟา พระองคแ รกทท่ี รงเขา ศกึ ษาตอ ระดบั อดุ มศกึ ษา
ในประเทศ จนกระทง่ั พ.ศ. ๒๕๒๐ พระองคท รงสำเรจ็ การศกึ ษาไดร บั ปรญิ ญาอกั ษรศาสตรบณั ฑติ สาขาประวตั ศิ าสตร
เกียรตินยิ มอนั ดบั หน่งึ เหรียญทอง ดวยคะแนนเฉลย่ี ๓.๙๘
ทรงเขา ศกึ ษาตอ ในระดบั ปรญิ ญาโท ดา นจารกึ ภาษาตะวนั ออก (ภาษาสนั สกฤตและภาษาเขมร) ณ คณะโบราณคดี
มหาวิทยาลัยศิลปากร และสาขาภาษาบาลีและสันสกฤต จาก ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย ทรงสำเร็จการศึกษาไดรับปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต และเขารับพระราชทานปริญญาบัตร เมอื่ วนั ที่
๑๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๒๒ ทรงสำเรจ็ การศึกษาไดร บั ปริญญาอกั ษรศาสตรมหาบัณฑติ จากคณะอกั ษรศาสตร จฬุ า
ลงกรณมหาวิทยาลยั และไดเ ขารบั พระราชทานปริญญาบัตรเม่อื วนั ท่ี ๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๒๔
ทรงเขา ศกึ ษาตอ ในระดบั ปรญิ ญาเอก ณ คณะศึกษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ โดยพระองคผา น
การสอบคัดเลือกอยา งยอดเย่ยี มดว ยคะแนนเปนอนั ดบั หน่ึงในบรรดาผเู ขาสอบทัง้ หมด และทรงเปน นิสติ ปรญิ ญาการ
ศกึ ษาดุษฎบี ัณฑิต สาขาพฒั นศึกษาศาสตร รนุ ที่ ๔ ทรงสอบผา นวทิ ยานิพนธอ ยา งยอดเย่ียม ทรงสำเร็จการศึกษา
ในระดบั ปริญญาเอก เมื่อวันที่ ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๙
https://stang.sc.mahidol.ac.th/stangmuseum musc.museum @StangLibrary @218yyaxq
พระปรีชาญาณ “อกั ษรศาสตร”
ทรงไดร ับการถา ยทอดความรูทางดานภาษาท้งั ภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาเขมร ภาษาอังกฤษ และภาษาฝรง่ั เศส
โดยภาษาไทยน้นั พระองคท รงเชี่ยวชาญท้ังดา นหลกั ภาษา วรรณคดี และศิลปะไทย เน่อื งจากสมัยน้ันผูที่จะเรยี นภาษาไทย
ใหล กึ ซ้ึง จะตอ งเรยี นทั้งภาษาบาลี สนั สกฤต และเขมร ซ่งึ ภาษาบาลีน้ัน เปนภาษาทีพ่ ระองคส นพระทัยตั้งแตทรงพระเยาว
แตไดเรม�ิ เรยี นอยา งจรงิ จังในระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย จนสามารถจำการแจกวิภตั ติเบอ้ื งตน ทส่ี ำคัญได และเขาพระทัย
โครงสรา งและลักษณะทว่ั ไปของภาษาบาลีได
เมอ่ื ทรงเขาศึกษา ณ คณะอักษรศาสตร จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั พระองคท รงเลือกเรยี นสาขาประวตั ศิ าสตร
เปน วชิ าเอก และวิชาภาษาไทย ภาษาบาลี และภาษาสันสกฤตเปน วิชาโท ทำใหทรงศกึ ษาวิชาภาษาไทยในระดับชน้ั สูงและ
ละเอยี ดลึกซ้ึงยิง� ขน้ึ ท้งั ดานภาษาและวรรณคดี สว นภาษาบาลแี ละสันสกฤตน้นั ทรงศึกษาท้ังวิธีการแบบดัง้ เดิมของไทย คือ
แบบที่เรียนกันในพระอารามตาง ๆ และแบบภาษาศาสตรซึ่งเปนวิธีการตะวันตก ตั้งแตไวยากรณขั้นพื้นฐานไปจนถึงขั้นสูง
และเรียนตามวิธีการอินเดียโบราณเปน พเิ ศษในระดับปริญญาโท โดยวทิ ยานิพนธในระดับปริญญาโทของพระองค เรอ่ื ง
ทศบารมีในพทุ ธศาสนาเถรวาท ไดร บั การยกยอ งจากมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วา เปน วทิ ยานพิ นธท แ่ี สดงถงึ พระปรชี าสามารถ
ในภาษาบาลีพทุ ธวจนะเปน พิเศษ
พระปรีชาสามารถทางดานภาษาของพระองคนั้นเปนที่ประจักษ จึงไดรับการทูลเกลาถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิต
กิตตมิ ศกั ด์ิทางดานภาษาจากมหาวิทยาลัยตาง ๆ ทงั้ ในและตางประเทศ เชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม
มหาวทิ ยาลัยมาลายา ประเทศมาเลเซยี มหาวทิ ยาลยั บกั กงิ แฮม สหราชอาณาจกั ร เปน ตน
https://stang.sc.mahidol.ac.th/stangmuseum musc.museum @StangLibrary @218yyaxq
พระปรีชาญาณ “สังคีตศลิ ป”
พระองคท รงเปนผเู ชยี่ วชาญดานดนตรีไทยผูห นึ่ง โดยทรงเครื่องดนตรีไทยไดทุกชนดิ แตทีโ่ ปรดทรงอยูประจำ คอื
ระนาด ซอ และฆอ งวง โดยเฉพาะระนาดเอก พระองคทรงเริม� หัดดนตรีไทย ในขณะท่ที รงศกึ ษาอยชู นั้ มัธยมศกึ ษาปที่ ๒
โรงเรียนจติ รลดา โดยทรงเลอื กหัดซอดวงเปน เคร่ืองดนตรีชิน� แรก และไดท รงดนตรีไทยในงานปด ภาคเรยี นของโรงเรยี น
รวมท้ังงานวันคนื สูเหยารว มกับวงดนตรจี ิตรลดา ของโรงเรยี นจติ รลดาดว ย หลังจากที่ทรงเขาศกึ ษาในระดบั อดุ มศกึ ษา
ณ คณะอกั ษรศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลยั ทรงเขารวมชมรมดนตรีไทยของสโมรสรนสิ ิตจฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั
และคณะอักษรศาสตร โดยทรงซอดว งเปนหลกั และทรงเรม�ิ หดั เลน เคร่ืองดนตรีไทยช�ินอนื่ ๆ ดว ย
ในขณะทที่ รงพระเยาว เคร่อื งดนตรที ท่ี รงสนพระทัยน้ัน ไดแ ก ระนาดเอกและซอสามสาย ซ่งึ พระองคท รงเริ�มเรยี น
ระนาดเอกอยา งจรงิ จงั เมอ่ื ป พ.ศ. ๒๕๒๘ หลงั จากการเสด็จทรงดนตรีไทย ณ บานปลายเนนิ ซึง่ เปน วังของสมเด็จพระเจา
บรมวงศเธอ เจาฟาจิตรเจรญิ กรมพระยานรศิ รานุวัดตวิ งศ โดยมี สริ ชิ ยั ชาญ พักจำรูญ เปนพระอาจารย พระองคท รงเริม�
เรยี นตงั้ แตการจับไมร ะนาด การตีระนาดแบบตาง ๆ และทาทีป่ ระทบั ขณะทรงระนาดและทรงเริ�มเรยี นการตรี ะนาดตามแบบแผน
โบราณ กลา วคือ เร�มิ ตนดวยเพลงตนเพลงฉิ�งสามชั้น แลว จงึ ทรงตอ เพลงอื่น ๆ ตามมา ทรงทำการบา นดว ยการไลระนาด
ทกุ เชา หลังจากตน่ื พระบรรทมภายในหองพระบรรทมจนกระท่ัง พ.ศ. ๒๕๒๙ พระองคจงึ ทรงบรรเลงระนาดเอกรวมกับ
ครูอาวุโสของวงการดนตรีไทยหลายทานตอหนาสาธารณชนเปนครั้งแรกในงานดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ ๑๗ ณ
มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม โดยเพลงท่ที รงบรรเลง คือ เพลงนกขม�นิ (เถา)
นอกจากดนตรีไทยแลว พระองคยังทรงดนตรีสากลดวย โดยทรงเริ�มเรียนเปยโนตั้งแตพระชนมายุ ๑๐ พรรษา
แตไดทรงเลิกเรียนหลังจากนั้น ๒ ป และทรงฝกเครื่องดนตรีสากลประเภทเครื่องเปา จากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกา
ธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร จนสามารถทรงทรัมเปตนำวงดุริยางคในงานคอนเสิรตสายใจไทย
และทรงระนาดฝรงั่ นำวงดุริยางคในงานกาชาดคอนเสริ ต
https://stang.sc.mahidol.ac.th/stangmuseum musc.museum @StangLibrary @218yyaxq
พระปรีชาญาณ “วรรณศิลป”
พระองคโปรดการอานหนังสือและการเขียนมาตั้งแตทรงพระเยาว รวมกับพระปรีชาสามารถดานภาษาทั้งภาษาไทย
และตางประเทศ รอยแกวและรอยกรอง ทรงพระราชนิพนธห นงั สือประเภทตาง ๆ ออกมามากกวา ๑๐๐ เลม ซึ่งมีหลาย
หลากประเภททั้งสารคดีทองเที่ยวเมื่อเสด็จพระราชดำเนินเยือนตางประเทศ ประเภทวิชาการและประวัติศาสตร หนังสือ
สำหรับเยาวชน หนังสือที่เก่ียวของกับพระบรมวงศานวุ งศไทย ประเภทพระราชนพิ นธแปล และหนงั สือทั่วไป พระราชนพิ นธ
ของพระองคจะมีลักษณะการเขียนที่คลายคลึงกับพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลย
เดชมหาราช บรมนาถบพติ ร กลาวคือในพระราชนอกจากจะแสดงพระอารมณข ันแลว ยงั ทรงแสดงการวิพากษวจิ ารณในแง
ตาง ๆ เปนการแสดงพระมตสิ วนพระองค
นอกจากพระนาม "สิรนิ ธร" แลว พระองคยงั ทรงใชนามปากกาในการพระราชนิพนธห นังสืออกี ๔ พระนาม ไดแก
"กอนหนิ กอ นกรวด" เปน พระนามแฝงทีท่ รงหมายถงึ พระองคแ ละพระสหาย นามปากกาน้ี ทรงใชค รัง้ เดียว
ในบทความ "เรอ่ื งจากเมืองอิสราเอล" เมอ่ื ป พ.ศ. ๒๕๒๐
"แวน แกว " พระองคเ รมิ� ใชเมอ่ื ป พ.ศ. ๒๕๒๑ เมื่อทรงพระราชนิพนธแ ละทรงแปลเรื่องสำหรับเด็ก ไดแก
แกวจอมซน แกว จอมแกน และขบวนการนกกางเขน
"หนูนอย" พระองคท รงใชเ พยี งคร้ังเดยี วในบทความเร่อื ง “ปองทีร่ กั ” ตีพมิ พในหนงั สือ ๒๕ ปจิตรลดา เมอ่ื ป
พ.ศ. ๒๕๒๓
"บนั ดาล" พระองคท รงใชในงานแปลภาษาองั กฤษเปนภาษาไทยทีท่ รงทำใหสำนักเลขาธกิ ารคณะกรรมการแหงชาติ
วาดวยการศกึ ษาวทิ ยาศาสตรแ ละวัฒนธรรมแหง สหประชาชาติ กระทรวงศึกษาธิการ เมอ่ื ป พ.ศ. ๒๕๒๖
นอกจากนี้ ยังทรงพระราชนิพนธเพลงเปนจำนวนมาก โดยบทเพลงที่มีชื่อเสียงและนำมาขับรองบอยครั้ง ไดแก
เพลง สมตำ รวมทั้ง ยังทรงประพันธคำรองในบทเพลงพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพล
อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ไดแก เพลง รัก และ เพลง เมนไู ข
https://stang.sc.mahidol.ac.th/stangmuseum musc.museum @StangLibrary @218yyaxq
เทพรตั นเมธี
นกั วจิ ัยดีเดนแหง ชาติ
สมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงพระเมตตาแกอ าณา
ประชาราษฎรอยางตอเนื่อง ทรงแบกรับเปนพระราชภาระในการทำโครงการตามพระราชดำริตางๆ โดยมิยอทอ
ทรงใฝพระราชหฤทยั ที่จะสานตอ งานใหก าวหนา ทรงประมวลพระอจั ฉรยิ ภาพในหลายดา น เพราะพระปญญาบารมี
ในการพัฒนาอยา งครบวงจร ทรงเขา พระราชหฤทยั ในครรลองวฒั นธรรมไทยอยางกวา งขวางลึกซ้ึง ขณะเดียวกันก็
ทรงทราบถงึ เทคโนโลยวี ทิ ยาการสมัยใหม ทรงพระปรีชาสามารถยอดย�ิงในดานการวจิ ัย ทรงมีผลงานวิจัยอยา ง
ตอ เนือ่ งและหลากหลายสาขา ผลงานวิจยั บางเรอื่ งไดรับรางวัลดีเย่ยี ม คอื เร่ือง "การศึกษาความถกู ตองของ
แผนที่การใชที่ดินจากภาพถายดาวเทียมความละเอียดสูง ซึ่งจำแนกโดยคอมพิวเตอรบริเวณจังหวัด
นราธิวาส" ทรงไดรับ รางวลั งานวจิ ยั ดเี ดน ในกลมุ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรก ายภาพและคณติ ศาสตร ประจำป
พ.ศ. ๒๕๓๓ จากสภาวจิ ยั แหงชาติ
พระราชกรณียกิจทุกสิ�งทุกประการลวนแตเปนประโยชนแกมหาชน สมควรเปนแบบอยางที่ดีใหแกนักวิจัย
อนื่ ๆ ได คณะกรรมการบรหิ ารสภาวจิ ัยแหงชาตจิ ึงมมี ติเปน เอกฉันท ขอพระราชทานทูลเกลาทลู กระหมอมถวาย
รางวลั นกั วจิ ัยดีเดนแหง ชาติ ประจำป พ.ศ. ๒๕๔๕ สาขาสหวทิ ยาการ เพือ่ เฉลมิ พระเกยี รติคณุ ใหปรากฎอยู
ย่ังยนื ดวยเหตแุ หง พระราชกรณยี กิจอันเปนประโยชนนานัปการ และพระปรีชาสามารถเปนอเนกวิธ
https://stang.sc.mahidol.ac.th/stangmuseum musc.museum @StangLibrary @218yyaxq
เสด็จพระราชดำเนนิ ทรงเปด การแขง ขนั ชีววทิ ยาโอลิมปก ระดับชาติ ครงั้ ที่ ๘
โดยมี คณะวิทยาศาสตร มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล และ มูลนธิ ิ สอวน. เปน เจาภาพ
เม่ือวันพุธท่ี ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔
พระปรีชาญาณดา นวิทยาศาสตร
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเปนนกั วทิ ยาศาสตร
และนักเทคโนโลยีศึกษาที่ทรงพระปรีชาสามารถยิ�ง ทรงมีพระอัจฉริยภาพโดดเดนในการบูรณาการศาสตรตางๆ
เขาดวยกันอยางลงตัว จึงทรงสงเสริมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในเชิงบูรณาการ แนวพระราชดำรินี้ทำใหวิชา
วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีไมแปลกแยกจากมนษุ ยศาสตรแ ละสังคมศาสตร ทรงเห็นวาวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
เปน สว นสำคัญหนงึ่ ของวฒั นธรรมและอารยธรรม เปน สัญลักษณข องการพฒั นาสตปิ ญญาของมนษุ ยแ ละสงั คม
ดานวิทยดาวศยาคสวตารมแสลนะเพทรคะโรนาโชลหยฤีอทยยั างดสานมวำทิเสยมาอศทาสรงตใรห กทารรงสมนีพับรสะนรุนาชโคดรำรงิแกลาะรพเพระิ�มรพาชูนทคานวาคมวสามามชาว รยถเหทลางอื วแิทกยก าาศรศาสกึ ตษรา
และเทคโนโลยแี กครูและนกั เรยี น
ทรงใหการสนับสนุนใหเยาวชนและนักวิทยาศาสตรไทยไดมีโอกาสเก็บเกี่ยวประสบการณกับนักวิทยาศาสตร
ระดบั โลก โดยในป พ.ศ. ๒๕๕๑ ไดเ สดจ็ พระราชดำเนินเยอื นประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี เพื่อทรงรว มงาน
การประชมุ นกั วทิ ยาศาสตรร างวลั โนเบล ณ เมอื งลนิ เตา ทรงเปน ประธานในพธิ ลี งนามความรว มมอื ระหวา ง สำนกั งาน
พฒั นาวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยแี หง ชาติ (สวทช.) กบั มลู นธิ ผิ ูไดร บั รางวลั โนเบล ณ เมอื งลนิ เดา และ The Council
for the Lindau Nobel Laureate Meetings เพือ่ สนับสนุนใหน ักวทิ ยาศาสตรร ุนเยาวของไทยไดมโี อกาสรวม
การประชมุ กบั นกั วทิ ยาศาสตรท มี่ ีผลงานและการคิดคน ท่ยี �ิงใหญในระดับโลก
https://stang.sc.mahidol.ac.th/stangmuseum musc.museum @StangLibrary @218yyaxq