The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มหาราชพระองค์ที่ 3 พ่อขุนรามคำแหงมหาราช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tharaphan.prasan, 2020-06-04 12:57:24

มหาราชพระองค์ที่ 3 พ่อขุนรามคำแหงมหาราช

มหาราชพระองค์ที่ 3 พ่อขุนรามคำแหงมหาราช

มหาราชพระองค์ท่ี 3 พ่อขุนรามคาแหงมหาราช

ผ้เู รยี บเรยี ง นายประสาร ธาราพรรค์

พ่อขุนราม คาแหง มหาราช ธ คอื ปราชญ์ ทรงสร้างสรรค์ ส่ิงลาค่า

ก่อกาเนดิ อกั ษรไทย ทรงปรชี า ทรงพัฒนา ชาตไิ ทย ใหร้ ่งุ เรอื ง

ทรงปกครอง รฐั ราษฎร์ ชาญฉลาด เศรษฐกจิ ชาติ ทรงสรา้ งเสรมิ อยา่ งตอ่ เน่ือง

ด้านการศาล ยุติธรรม ไร้ขนุ่ เคือง ทรงประเทือง ศาสนา พระรตั นตรยั

การชลประทาน ธ ทรงสรา้ ง ทานบกักนา ทรงเลศิ ลา กลการศึก ไมห่ วัน่ ไหว

ทรงขยาย อาณาเขต ใหก้ วา้ งไกล ทรงทาให้ ราษฎรท์ ัว่ ไป สขุ ร่มเย็น

สมั พนั ธภาพ ต่างประเทศ ลว้ นดีเย่ยี ม ธ ทรงเป่ยี ม วเิ ทโศบาย ทรงเลอื กเฟน้

งานหตั ถกรรม ธ ทรงสรา้ ง ได้โดดเด่น ธ ทรงเปน็ ร่มโพธ์ิทอง ของผองไทย

............................................................

นายประสาร ธาราพรรค์ รอ้ ยกรอง

พอ่ ขุนรามคาแหงทรงเป็นมหาราชพระองค์เดียวในสมัยสุโขทัย พระองค์ทรงเป็นอัจฉริยกษัตริย์ทรง
บาเพญ็ พระราชกรณียกิจอนั ทรงคุณประโยชน์แก่แผ่นดิน ทรงชานาญทั้งในด้านการรบ การปกครอง และการ
ศาสนา พระองคท์ รงรวบรวมขยายอาณาจักรสุโขทัยออกไปไดก้ ว้างใหญ่ไพศาลด้วยวเิ ทโศบายอันแยบยลสุขุม
คัมภีรภาพท้ังทรงปกครองไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินด้วยความยุติธรรมได้รับความร่มเย็นเป็นสุขกันทั่วหน้า พ่อขุน
รามคาแหงมหาราช เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 3 ในราชวงศ์พระร่วงแห่งราชอาณาจักรสุโขทัย ท้ังยังได้
ทรงประดิษฐ์ตัวอักษรไทยข้ึน เมื่อ พ.ศ.1826 เป็นมรดกอันล้าค่าท่ีทรงมอบให้แก่คนไทย ทาให้ชาติไทยได้
สะสมความรู้ทางศิลปะ วัฒนธรรม และวิชาการต่าง ๆเจริญก้าวหน้าวัฒนาสถาพรสืบทอดกันมายาวนานกว่า
เจด็ รอ้ ยปี

พระราชประวตั ิ

พอ่ ขุนศรีอินทราทิตย์ นางเสอื ง

พ่อขุนรามคาแหงมหาราช หรือพ่อขุนรามราช ชอ่ื ”รามราช” พบในจารึกวัดศรีชุมว่า “ลูกพ่อขุนศรี
อินทราทิตย์ผู้หน่ึงช่ือพ่อขุนรามราชปราชญ์รู้ธรรม” รวมท้ังพบในจารึก และเอกสารอ่ืนๆอีกหลายแห่งว่า
“พญารามราช” อาจารย์พิริยะ ไกรฤกษ์ อธิบายคาว่า “ราม” (จากช่ือพญารามราช) น่าจะมาจาก “อุตต
โมราม” ซ่ึงแปลว่า “พระรามผู้ย่ิงใหญ่” ท่ีทรงเป็นพระอนาคตพุทธเจ้าองค์ตอ่ ไปจากพระเมตไตรย ดังที่
กล่าวถึงใน “โสตตัตถกีมหานิทาน” เพราะในชว่ งเวลานั้นตา่ งให้ความสาคัญแก่พระอนาคตพุทธเจ้าโดยเฉพาะ
(เอกสารวจิ ัยเร่อื ง “การศึกษาเชิงประวตั ศิ าสตร์ศิลปะ : จารึกพอ่ ขุนรามคาแหง” : 2531)แตช่ ื่อ “รามคาแหง”
พบเพียงครงั้ เดยี วในจารึกพ่อขุนรามคาแหง และไมพ่ บในที่อน่ื ๆอีกเลยทุกวนั นี้ชื่อ “รามคาแหง” เป็นท่ีรู้จักกัน
แพรห่ ลายกว่า “รามราช” จึงขอเรียกตามความนยิ มวา่ “พ่อขนุ รามคาแหง”

พ่อขนุ รามคาแหงมหาราชเปน็ พระราชโอรสองคท์ ี่ 3 ของพ่อขุนศรีอนิ ทราทิตย์กับนางเสือง พอ่ ขุนศรี
อนิ ทราทิตย์ หรือพระนามเตม็ กามรเตงอัญศรีอินทรบดินทราทิตย์ พระนามเดิม พอ่ ขุนบางกลางหาว ทรงเป็น
ปฐมวงศ์ราชวงศพ์ ระรว่ งแห่งอาณาจักรสุโขทัย ครองราชสมบัติ ตงั้ แต่ พ.ศ. 1782 (คานวณศักราชจากคัมภีร์สุ
รยิ ยาตรตามข้อเสนอของ ศ. ประเสรฐิ ณ นครและ พ.อ.พเิ ศษ เอือ้ น มณเฑียรทอง) แตไ่ ม่ปรากฏหลักฐานการ
สวรรคตหรือสิน้ สุดการครองราชสมบตั ิปีใด มผี ู้สันนษิ ฐานทีม่ าของพอ่ ขนุ ศรีอนิ ทราทิตย์ จากคัมภีร์ชนิ กาลมาลี
ปกรณ์วา่ บา้ นเดมิ ของพระองค์อาจอยู่ที่ “บา้ นโคน” ในจังหวัดกาแพงเพชร

พ่อขุนศรีอินทราทิตย์เม่ือคร้ังยังเป็นพ่อขุนบางกลาวหาวได้ร่วมกับพ่อขุนผาเมือง เจ้าเมืองราดแห่ง
ราชวงศศ์ รีนาวนาถมุ รวมกาลังพลกนั กระทารัฐประหารขอมสบาดโขลญลาพง โดยพ่อขุนบางกลางหาวตเี มือง
ศรสี ัชนาลยั และ เมืองบางขลงได้ และยกทั้งสองเมอื งใหพ้ ่อขุนผาเมือง ส่วนพ่อขุนผาเมืองตีเมืองสุโขทัยได้ ก็ได้
มอบเมืองสุโขทัยให้พอ่ ขุนบางกลาวหาว พร้อมพระขรรค์ชัยศรีและพระนาม “ศรีอนิ ทรบดนิ ทราทิตย์” ซ่ึงได้
นามาใช้เป็นพระนาม ภายหลังได้กลายเปน็ ศรีอินทราทิตย์ โดยคาว่า “บดินทร” หายออกไป เช่ือกันว่าเพื่อ
เป็นการแสดงว่ามิได้ เปน็ บดีแห่งอินทรปัต คืออยู่ภายใตอ้ ิทธิพลของเขมร (เมืองอินทรปตั ) อกี ต่อไป เมื่อแรก
ตั้งอาณาจักรสโุ ขทัยน้นั อาณาเขตยังไม่กวา้ งขวางเท่าใดนกั เขตแดนทางทิศใต้จดเพียงเมืองปากนา้ โพ ใต้จาก
ปากน้าโพลงมายังคงเป็นอาณาเขตของขอมอันได้แก่เมืองละโว้ ทางฝ่ายตะวันตกจดเพียงเขาบรรทัด ทาง

เหนือมเี ขตแดนติดต่อกับประเทศลานนาท่ีภูเขาเข่ือน ส่วนทางตะวันออกก็จดอยู่เพียงเขาบันทัดท่ีกั้นแม่น้า
สักกับแม่น้าน่าน การเข้ามาครองสุโขทัยของพระองค์ ส่งผลให้ราชวงศ์พระร่วงเข้า มามีอิทธิพลในเขตนคร
สุโขทัยเพิ่มมากข้ึน และได้แผ่ขยายดินแดนกว้างขวางมากออกไป แต่เขตแดนเมืองสรลวงสองแคว ก็ยังคงเป็น
ฐานกาลังของราชวงศศ์ รีนาวนาถมุ อยู่
พอ่ ขนุ ศรอี นิ ทราทิตยม์ พี ระราชโอรสและพระธิดารวม 5 พระองค์ ได้แก่

1. พระราชโอรสองค์โต (ไมป่ รากฏนาม)เสยี ชวี ติ ตั้งแตย่ งั ทรงพระเยาว์
2. พ่อขนุ บานเมือง
3. พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช
4. พระธิดา (ไม่ปรากฏนาม)
5. พระธดิ า (ไมป่ รากฏนาม)

พ่อขนุ รามคาแหงชนชา้ งขนุ สามชนเจา้ เมอื งฉอด
ในระหว่างที่พระเจ้าศรีอินทราทิตย์ทรงครองราชย์อยู่น้ัน ก็ได้กระทาสงครามเพื่อขยายเขตแดนของ
ไทยออกไปอกี ในทางโอกาสท่ีเหมาะสม ดงั ท่มี ขี ้อความปรากฏอยูใ่ นศลิ าจารึกวา่ พระองค์ไดเ้ สดจ็ ยกกองทัพไป
ตีเมืองฉอด ได้ทาการรบพุ่งตะลุมบอนกันเป็นสามารถถึงขนาดท่ีพระเจ้าศรีอินทราทิตย์ ได้ทรงกระทายุทธ
หัตถีกับขุนสามชนเข้าเมืองฉอด แต่พระองค์เสียทีแก่ขุนสามชน แลในครั้งนี้เองที่เจ้ารามราชโอรสองค์เล็กของ
พระองคไ์ ด้เริม่ มบี ทบาทสาคญั ด้วยการที่ทรงถลนั เขา้ ช่วยโดยไสชา้ งทรงเข้าแก้พระราชบดิ าไวท้ ันท่วงที แล้วยัง
ไดร้ บพงุ่ ตที พั ขนุ สามชนเขา้ เมืองฉอดแตกพ่ายกระจายไป

การขึนครองราชย์
เม่ือพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ส้ินพระชนม์ พระเชษฐาองค์ท่ีสองทรงพระนามตามศิลาจารึกว่า "พระยา

บานเมือง" ซึ่งได้เสวยราชย์ต่อจากพระราชบิดา และเม่ือส้ินพระชนม์แล้ว พ่อขุนรามคาแหงมหาราชก็เสวย
ราชย์แทนต่อมารัชสมัยของพ่อขุนรามคาแหงมหาราชเป็นยุคท่ีกรุงสุโขทัยเฟื่องฟูและเจริญขึ้นกวา่ เดิมเป็นอัน
มาก ระบบการปกครองภายในก่อให้เกิดความสงบเรียบร้อยอย่างมีประสิทธิภาพ มีการติดต่อสัมพันธ์กับ
ต่างประเทศท้ังในดา้ นเศรษฐกิจและการเมือง ประชาชนอยู่ดกี ินดี สภาพบา้ นเมืองก้าวหน้าทั้งทางเกษตร การ
ชลประทาน การอตุ สาหกรรม และการศาสนา อาณาเขตของกรงุ สโุ ขทัยได้ขยายออกไปกวา้ งใหญไ่ พศาล
การขยายอาณาเขต

เมื่อพ่อขุนรามคาแหง เสดจ็ เถลิงถวัลราชสมบัติสืบต่อจากพอ่ ขุนบาลเมืองนั้น อาณาจักรสุโขทัยนับว่า
ตกอยู่ในระหวา่ งอนั ตรายรอบดา้ น และยากทาการขยายอาณาจักรออกไปได้ เพราะทางเหนือก็ติดต่อกับแคว้น
ลานนา อนั เป็นเชอื้ สายไทยดว้ ยกันมีพระยาเม็งรายเป็นเจ้าเมืองเงนิ ยางและพระยางาเมือง เป็นเจ้า
เมืองพะเยาและท้ังพระยาเม็งรายและพระยางาเมือง ขณะน้ันต่างก็มีกาลังอานาจแข็งแกร่งท้ังคู่ ตาม
พงศาวดารโยนก พ่อขุนรามคาแหงมหาราชแห่งกรุงสุโขทัย พญามังรายมหาราชแห่งล้านนา และพญางาเมือง
แห่งพะเยา เป็นศิษย์ร่วมพระอาจารย์เดียวกัน ณ สานักพระสุกทันตฤๅษี ท่ีเมืองละโว้ จึงน่าจะมีอายุรุ่นราว
คราวเดียวกนั โดยพ่อขนุ เม็งรายประสูตเิ มอื่ พ.ศ. 1782 พอ่ ขุนรามฯ น่าจะประสตู ใิ นปใี กลเ้ คียงกนั

พญางาเมือง พญามังรายมหาราช พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช

ทรงทาพระราชไมตรีกับพ่อขุนเม็งรายมหาราชแห่งล้านนาและพ่อขุนงาเมืองแห่งพะเยา โดยทรง
ยินยอมให้พ่อขุนเม็งรายมหาราชขยายอาณาเขตล้านนาทางแม่น้ากก แม่น้าปิง และแม่น้าวังได้อย่างสะดวก
เพื่อให้เป็นกันชนระหว่างจีนกับสุโขทัยกับทั้งยังได้เสด็จไปทรงช่วยเหลือพ่อขุนเม็งรายมหาราชหาชัยภูมิสร้าง
เมืองเชียงใหม่เม่อื พ.ศ. 1839 ดว้ ย ดว้ ยเหตุนพ้ี ่อขนุ รามคาแหงจึงตอ้ งดาเนินวิเทโศบายในการแผ่อาณาจักร
อย่างแยบยล และสุขุมท่ีสุดเพอ่ื หลีกเล่ียงการฆ่าฟันระหวา่ งคนไทยด้วยกันเอง คือแทนที่จะขยายอาณาเขตไป
ทางเหนอื หรือตะวนั ออกซึ่งมีคนตง้ั หลกั แหล่งอยมู่ าก พระองคก์ ลบั ทรงตดั สนิ พระทยั ขยายอาณาเขตลงไปทาง
ใต้อันเป็นดินแดนของขอม และทางทิศตะวันตกอันเป็นดินแดนของมอญ เพื่อให้คนไทยในแคว้นลานนาได้
ประจกั ษใ์ นบุญญาธิการ และได้เห็นความแข็งแกร่งของกองทัพไทยแห่งอาณาจักรสุโขทัยเสียก่อน แล้วไทยใน
แคว้นล้านนาก็อาจจะมารวมเขา้ ดว้ ยตอ่ ภายหลังไดโ้ ดยไมย่ าก

แต่แม้จะได้ตกลงพระทัย ดังนั้น พ่อขุนรามคาแหงก็ยังคงทรงวิตกอยู่ในข้อท่ีว่าถ้าแม้ว่าพระองค์
กรีฑาทัพขยายอาณาเขตลงไปสู้รบกับพวกขอมทางใต้แล้วพระองค์อาจจะถูกศัตรูรุกรานลงมาจากทางเหนือก็
ได้ บงั เอิญในปี พ.ศ. 1829 กษัตริย์ในราชวงศ์หงวนได้ส่งทูตเข้ามาขอทาไมตรีกับไทย พระองค์จึงยอมรับเปน็
ไมตรีกับจีน เพื่อป้องกันมิให้กองทัพจีนยกมารุกรานเม่ือพระองค์ยกทัพไปรบเขมร พร้อมกันนั้นก็ได้ทรง
พยายามสร้างความสนิทสนมกับไทยลานนาเช่นไดเ้ สดจ็ ดว้ ยพระองค์เองไปช่วยพระยาเม็งราย สร้างราชธานีท่ี
นครเชียงใหม่เป็นต้น แหละเม่ือเห็นว่าสัมพันธไมตรีทางเหนือมั่นคงแล้ว พระองค์จึงได้เริ่มขยายอาณาจักร
สุโขทยั ลงไปทางใตต้ ามลาดบั คอื ใน พ.ศ. 1823 ทรงตีไดเ้ มืองนครศรธี รรมราช และเมอื งตา่ งๆ ในแหลมลายู
ตลอดรวมไปถงึ เมืองยะโฮร์และเกาะสงิ คโปรใ์ นปจั จุบนั น้ี

ใน พ.ศ. 1842 ตีได้ประเทศเขมร (กัมพชู า)

มะกะโท พระเจ้าฟ้าร่ัว

ส่วนทางทิศตะวันตกที่มีอาณาเขตจดเมืองมอญนั้นเล่าพระเจ้ารามคาแหงก็ได้ดาเนินการอย่างสุขุม
รอบคอบเช่นเม่ือได้เกิดความขึ้นว่า มะกะโท อามาตย์เชือ้ สายมอญ ซ่ึงมีสติปัญญาเฉลียวฉลาดและไดม้ ารับ
ราชการใกล้ชิดพระองค์ไดก้ ระทาความผิดช้ันอุกฤษฏ์โทษ โดยลักพาเอาพระธิดาของพระองค์หนีกลับไปเมือง
มอญ แทนท่ีพระองค์จะยกทัพตามไปชิงเอาตัวพระราชธิดาคืนมา พระองค์กลับทรงเฉยเสียด้วยได้ทรง
คาดการณไ์ กล ทรงม่นั พระทัยวา่ มะกะโท ผูน้ ้ีคงจะคิดไปหาโอกาสตงั้ ตวั เป็นใหญ่ในเมืองมอญ ซ่ึงถ้าเม่ือมะกะ
โทได้เป็นใหญ่ในเมืองมอญก็เปรียบเสมือนพระองค์ได้มอญมาไว้ในอุ้มพระหัตถ์ โดยไม่ตอ้ งรบราฆ่าฟันกันให้
เสียเลือดเน้ือ ซึ่งต่อมาการณ์ก็ได้เป็นไปตามที่ได้ทรงคาดหมายไว้ คือมะกะโท ได้เป็นใหญ่ครอบครอง
อาณาจักรมอญท้ังหมด แลได้เข้าสามิภักด์ิต่ออาณาจักรสุโขทัย โดยพระเจ้ารามคาแหงมิต้องทาการรบพุ่ง
ประการใดพระองค์ไดเ้ สด็จไปทาพิธีราชภิเษกใหม้ ะกะโท และพระราชทานนามใหใ้ หม่ว่า “พระเจ้าฟ้ารว่ั ”

ด้วยวิเทโศบายอันชาญฉลาด สุขุมคมั ภรี ภาพของพระองคน์ ้ีเอง จงึ เป็นผลใหอ้ าณาจักรไทยในสมัย
พระเจ้ารามคาแหงแผ่ขยายออกไปอย่างกวา้ งขวาง ปรากฎตามหลักศิลาจารึกว่าพอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช
ได้ทรงขยายอาณาเขตออกไปอยา่ งกวา้ งขวางไพศาล คอื

ทิศตะวนั ออก ทรงปราบได้เมืองสรหลวงสองแคว (พษิ ณุโลก), ลุมบาจาย, สะค้า (สองเมืองหลังนี้อาจ
อยูแ่ ถวล่มุ แม่น้าน่านหรอื แควป่าสกั ก็ได้), ขา้ มฝั่งแมน่ ้าโขงไปถงึ เวยี งจนั ทนแ์ ละเวยี งคาในประเทศลาว

ทิศใต้ ทรงปราบได้คนที (บ้านโคน จังหวดั กาแพงเพชร), พระบาง (นครสวรรค์), แพรก (ชัยนาท),
สพุ รรณภูมิ, ราชบุร,ี เพชรบุร,ี และนครศรีธรรมราช โดยมฝี ั่งทะเลสมทุ ร (มหาสมุทร) เปน็ เขตแดนไทย

ทศิ ตะวนั ตก ทรงปราบได้เมืองฉอด, เมืองหงสาวดี และมีสมทุ รเป็นเขตแดนไทย
ทิศเหนือ ทรงปราบได้เมืองแพร่, เมืองน่าน, เมืองพลัว (อาเภอปัว น่าน), ข้ามฝ่ังโขงไปถึงเมืองชวา
(หลวงพระบาง) เป็นเขตแดนไทย

เศรษฐกิจและการค้า

ในรัชสมัยของพอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช เป็นช่วงสมัยท่ีสุโขทัยมีความเจริญรุ่งเรืองสูงสุด ซึ่งนอกจาก
การทาสงครามเพ่ือขยายอาณาเขตแล้ว ความรุ่งเรืองของสุโขทัยอาจเน่ืองมาจากการที่สุโขทัยต้งั อยู่ในเส้นทาง
ทาง การค้ามาตั้งแตส่ มัยโบราณ และเมื่อการค้าขยายตวั เพิ่มข้ึน สุโขทัยซ่ึงอยู่บนเส้นทางคมนาคมท่ีสามารถ
ค้าขายติดต่อกับบ้านเมืองต่างๆได้ โดยรอบ โดยมีเส้นทางการเดินทางไปทางเหนือถึงลุ่มแม่น้าโขง ทาง
ตะวันตกมีเส้นทางติดต่อกับเมืองพุกามและหัวเมืองมอญ ซึ่งสามารถออกทะเลเบงกอลติดต่อกับลังกา และ
อินเดียใต้ ส่วนทางใต้มีเส้นทางเดินทางผ่านลุ่มแม่น้าปิง ลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา ผ่านนครศรีธรรมราชออกสู่ทะเล
สันนษิ ฐานวา่ สโุ ขทัยอาจเป็นเมืองศูนย์กลางการค้าแบบกองคาราวาน และสุโขทัยเองอาจจะค้าของป่า และแร่
ธาตุสาคัญ นอกจากนั้นสุโขทัยยังยอมเป็นเมืองผ่านทางการค้า โดยอนุญาตให้พ่อค้าเอาสินค้าไปค้าขาย
แลกเปล่ียนไดโ้ ดยไม่เก็บภาษีผ่านด่าน เป็นการส่งเสริมให้มีคนมาค้าขายท่ีสุโขทัยเพิ่มขึ้น ดงั มีข้อความปรากฏ
ในศิลาจารึกหลักที่ 1 ว่า “เจ้าเมืองบ่เอาจกอบ ในไพร่ลู่ทาง เพ่ือนจูงวัวไปค้า ขี่ม้าไปขาย ใครจะใคร่ค้าช้างค้า
ใครจะใคร่ค้าม้าค้า ใครจะใคร่ค้าเงือนค้าทองค้า” จึงอาจเป็นเหตุผลสาคัญท่ีทาให้ผู้คนจากที่ตา่ งๆโยกย้ายเข้า
มาสู่ดินแดนใน อาณาเขตของอาณาจักรสุโขทัย ดังปรากฏข้อความในศิลาจารึกหลักที่ 1 ว่า “พ่อขุน
รามคาแหง ลูกพ่อขนุ ศรอี ินทราทติ ย์ เป็นขนุ ในเมืองศรีสัชนาลัย สุโขทัย ทั้งมากาว ลาวแลไทย เมืองใต้หล้าฟ้า
ฏ…ไทยชาวอู ชาวของ มาออก”ทรงสนับสนุนในทางการค้าพานิช เลิกด่านเก็บภาษีอากรและจังกอบ เพื่อ
เปิดโอกาสให้ผู้คนไปมาคา้ ขายกนั ไดโ้ ดยสะดวกได้ย่ิงขนึ้

พระราชกรณียกจิ ด้านการตา่ งประเทศ

การเชื่อมสัมพันธไมตรีกับประเทศเพ่ือนบ้าน นับเป็นพระราโชบายสาคัญอันหนึ่งของพ่อขุน
รามคาแหง ท้ังน้ีก็เพื่อยังประโยชน์ต่อประเทศชาติบ้านเมืองในด้านต่าง ๆ หลังจากที่ทรงขยายอาณาจักร
สุโขทัยออกไปได้อย่างกว้างขวาง และดาเนินการจัดระเบียบการปกครองเป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว จึงหันมาเอา
พระทัยใส่ในด้านต่างประเทศอย่างจริงจัง โดยเฉพาะกับประเทศจีนซึ่งในเวลานั้นเป็นรัชสมัยของ "พระเจ้าหง
วนสโี จว๊ ฮ่องเต"้ แหง่ ราชวงศ์หงวน ไดแ้ ตง่ ราชฑูตมาเจริญสัมพันธไมตรีกับไทยในราวปี พ.ศ.2825 หลังจากน้ัน
พ่อขนุ รามคาแหงได้เสด็จไปเมืองจีนถึง 2 คร้ัง โดยมีหลักฐานจากจดหมายเหตขุ องจีนยืนยันว่า ได้เสดจ็ ไปในปี
พ.ศ. 1837 และในปี พ.ศ.1843 และในสมยั สโุ ขทยั เป็นราชธานขี องไทยได้มีบันทกึ ทางประวตั ิศาสตร์วา่ ไทยได้
ส่งคณะทูตไปเมืองจีน 10 ครั้ง จีนส่งมา 4 คร้ัง (แตม่ าถึงกรุงสุโขทัยเพียง 3 ครั้ง) พ่อขุนรามคาแหงส่งราชทูต
เดินทางมาเฝา้ และแจ้งพระราชประสงคแ์ กพ่ ระเจา้ หงวนสโี จ๊วฮอ่ งเต้ ณ กรุงปักกิ่งในปี พ.ศ.2835 ว่าจะเสดจ็ ฯ
มาเฝ้าด้วยพระองค์เอง แต่เกิดศึกทางด้านเมืองชวา คร้ันถึงปี พ.ศ.1837 พระเจ้าหงวนสีโจ๊วฮ่องเต้เสด็จ
สวรรคต พอ่ ขุนรามคาแหงจงึ เสดจ็ ไปถวายคานับพระบรมศพ ณ กรงุ จนี ภายในปีนน้ั และประทับอยู่จนถึงต้นปี
พ.ศ.1838 เพือ่ เข้าร่วมในพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษกพระราชนัดดา (บางตาราว่าคือ ติมูรข่าน ทรงเปน็ พระราช
โอรส) ของพระเจ้าหงวนสีโจ๊ว ซึ่งเสด็จครองราชย์เป็นรัชกาลที่ 2 แห่งราชวงศ์หงวน ทรงพระนามว่ามหา
จกั รพรรดิ "หงวนเซง่ จง" หรอื "พระเจ้าหงวนเสงจงฮ่องเต"้

ในการเสดจ็ ไปประเทศจีนน้นั มผี ลดที างด้านการเมือง 2 ประการ คือ

1. เพ่มิ พูนสมั พนั ธไมตรรี ะหว่างราชวงศไ์ ทยและจีนให้แนน่ แฟ้นย่งิ ขึ้นกว่าสมัยใด ๆ ทผ่ี า่ นมา

2. ไทยมกี ารพัฒนาทางดา้ นงานศิลปหตั ถกรรม โดยเมื่อเสดจ็ กลับจากเมอื งจีนแล้ว พอ่ ขนุ รามคาแหง
ไดใ้ ห้ตง้ั โรงงานทาถว้ ยชามเครอื่ งเคลอื บดนิ เผาขึ้นในกรุงสุโขทยั และเมอื งศรสี ชั นาลัย ซึง่ มนี ายช่างทนี่ ามาจาก
เมืองจนี เปน็ ผคู้ วบคุมดแู ล โดยในระยะแรกทรงใหส้ ร้างโรงงานขนาดเล็กข้นึ ก่อน เปน็ โรงงานสาหรับฝกึ ชา่ งไทย
และทาผลิตผลส่งหลวง

เครื่องปน้ั ดนิ เผาสวรรคโลก

คร้ันอีก 6 ปีต่อมาพ่อขุนรามคาแหงเสด็จไปเยือนเมืองจีนเป็นคร้ังที่ 2 ในปี พ.ศ.1843 พระมหา
จักรพรรดิหงวนเซ่วจนได้ถวายช่างฝีมือเพ่ิมเติมจึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างโรงงานขนาดใหญ่ขึ้น ณ เมืองสวรรค
โลก (เมืองเชลียง) อีกแห่งหน่ึง โดยระดมทั้งชา่ งไทยและชา่ งจีน ทาการผลิตเคร่ืองปนั้ ดนิ เผาเคลือบนานาชนิด
ส่งเป็นสินค้าทางทะเลออกจาหน่ายท้ังภายในและต่างประเทศ ณ ประเทศ ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย บอร์เนียว
และมาเลเซีย เป็นต้น ซ่ึงได้รับความนิยมแพร่หลาย เน่ืองจากมีลวดลายวิจิตรวายงามและขนาดไม่ใหญ่
เทอะทะเหมอื นแบบเดมิ ทีใ่ ชก้ ันอยู่ ทง้ั อายุการใชง้ านก็ยาวนาน จึงเปน็ ทต่ี อ้ งการของตลาด

ในสมัยต่อมาคาว่าสวรรคโลกได้เพ้ียนไป ถ้วย ชาม เคร่ืองเคลือบดินเผาท่ีผลิตขึ้นในสมัยน้ันจึงถูก
เรียกว่า "เคร่ืองสังคโลก" ปัจจุบันเป็นสิ่งที่ทรงคุณค่าหาได้ยากยิ่ง มีราคาซื่อขายกันแพงลิบล่ิว และมีช่ือเสียง
เป็นที่รู้จักและยอมรับในนานาประเทศ สาหรับเตาเผาที่ใช้เผาเคร่ืองสัคโลกเรียกว่า "เตาทุเรียง" อันเป็นคาท่ี
เพ้ียนมาจากเมืองเชลียง ลักษณะเตาก่อด้วยอิฐกว้าง 1.50 เมตร ยาว 4-5 เมตร ทารูปร่างคล้ายกับประทุน
เกวียน แบ่งออกเป็น 3 ตอน คอื 1. ปลอ่ งไฟ 2. ที่สีไฟ 3. ทีว่ างถ้วยชาม

นอกจากการติดต่อกับประเทศจีนแล้ว จากข้อความในหนังสือราชาธิราชปรากฏว่ามีการติดต่อกับ
ประเทศใกลเ้ คียงคือ เมอื งรามญั เมืองหงสาวดี ชวา มลายแู ละลังกา

การปกครอง

ในด้านการปกครองเพือ่ ความปลอดภยั และม่นั คงของประเทศน้นั พระองคท์ รงถือว่าชายฉกรรจ์ท่มี ี
อาการครบ 32 ทกุ คนเปน็ ทหารของประเทศ พระเจา้ แผน่ ดนิ ทรงดารงตาแหน่งจอมทัพ ข้าราชการกม็ ี
ตาแหน่งลดหล่นั เป็นนายพล นายร้อย นายสบิ ถัดลงมาตามลาดบั

ในดา้ นการปกครองภายใน จดั เป็นส่วนภมู ิภาคแบง่ เป็นหวั เมืองชน้ั ใน ชั้นนอกและเมืองประเทศราช
สาหรับหวั เมอื งช้นั ใน มีพระเจ้าแผ่นดินเป็นผู้ปกครองโดยตรง มีเมอื งสโุ ขทัยเป็นราชธานี เมอื งศรสี ชั นาลยั
(สวรรคโลก) เปน็ เมืองอปุ ราช มเี มืองท่งุ ยงั้ บางยม สองแคว (พิษณโุ ลก) เมืองสระหลวง (พิจิตร) เมืองพระบาง
(นครสวรรค)์ และเมอื งตากเปน็ เมอื งรายรอบ

สาหรบั หวั เมืองชนั้ นอกน้ัน เรยี กว่าเมอื งพระยามหานคร ใหข้ ุนนางผูใ้ หญ่ทไ่ี วว้ างพระราชหฤทยั ไป
ปกครองมีเมอื งใหญบ่ า้ งเลก็ บ้าง เวลามีศึกสงครามกใ็ ห้เกณฑ์พลในหวั เมอื งขนึ้ ของตนไปชว่ ยทาการรบป้องกัน
เมือง หวั เมอื งชัน้ นอกในสมัยนั้น ได้แก่ เมอื งสรรคบรุ ี อู่ทอง ราชบรุ ี เพชรบุรี ตะนาวศรี เพชรบรู ณ์ แล
เมอื งศรีเทพ

สว่ นเมอื งประเทศราชน้นั เป็นเมืองทอ่ี ย่ชู ายพระราชอาณาเขตมักมีคนตา่ งดา้ วชาวเมืองเดมิ ปะปนอยู่
มาก จึงได้ตงั้ ให้เจา้ นายของเขานั้นจัดการปกครองกนั เอง แตต่ อ้ งถวายดอกไมเ้ งินดอกไม้ทองทกุ ปี แลเมอื่ เกดิ
ศกึ สงครามจะต้องถล่มทหารมาชว่ ย เมอื งประเทศราชเหล่าน้ี ไดแ้ ก่ เมืองนครศรีธรรมราช มะละกา ยะโฮร์
ทะวาย เมาะตะมะ หงสาวดี น่าน หลวงพระบาง เวียงจันทร์ และเวยี งคา

พระพุทธสหิ งิ ค์
การศาสนา

ทรงรับเอาพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท ลัทธิลังกาวงศ์ จากลังกา ผ่านเมืองนครศรีธรรมราช มา
ประดิษฐานที่เมืองสุโขทัย ทาให้พระพุทธศาสนาวางรากฐานมั่นคงในอาณาจักรสุโขทัย และเผยแผ่ไปยังหัว
เมอื งต่างๆในราชอาณาจักรสโุ ขทยั จนกระทั่งไดก้ ลายเป็นศาสนาประจาชาตไิ ทยมาจนถงึ ทุกวันน้ี

เมื่อพระพุทธศาสนาได้มาตั้งม่ันท่ีนครศรีธรรมราช พ่อขุนรามคาแหงมหาราชทรงเลื่อมใสศรัทธาใน
พระพุทธศาสนาจึงให้นิมนต์พระเถระช้ันผู้ใหญ่จากเมืองนครศรีธรรมราชไปตั้งเผยแผ่พระพุทธศาสนาท่ีกรุง
สุโขทัยด้วย และนับเป็นการเริ่มการเจริญสัมพันธไมตรีกับลังกา อีกท้ังทรงได้สดับกิตติศัพท์ของ "พระพุทธ
สิหิงค์" ซ่ึงเป็นพระพุทธรูปท่ีเจ้าราชวงศ์ลังกาสร้างขึ้นด้วยพระพุทธลักษณะท่ีงดงาม และมีความศักดิ์สิทธ์ิ จึง
ทรงให้พระยานครศรีธรรมราช เจ้าประเทศราชแต่งสาส์นให้ทูตถือไปยังลังกา เพื่อขอเป็นไมตรีและขอ

พระราชทานพระพุทธสิหิงค์มาเพอ่ื เป็นพระคู่บ้านคู่เมืองไทยสืบไป ศิลปะทางด้านพุทธศาสนา ในสมัยสุโขทัย
ไดร้ ับพระพุทธสิหิงค์มาจากลังกา ซึ่งเปน็ แม่แบบของพระพุทธรูปสุโขทัย พระพุทธรูปในประเทศไทยก่อนหน้า
น้ีทุกยุคไม่เคยมีเปลวรัศมีสูง เพ่ิงจะมีขึ้นคร้ังแรกในสมัยสุโขทัย สังฆาฏิพระพุทธรูปในสมัยก่อนหน้าน้ี ไม่เคย
เป็นแฉกชนิดท่ีเรียกว่า เข้ียวตะขาบ พระเจดยี ์แบบลอมฟางซึ่งถ่ายทอดมาจากมรีจิวัดเจดีย์ในลังกาก็ดี ถูปา
รามในลงั กากด็ ี สมยั สุโขทยั ก็สรา้ งข้ึนเลียนแบบ เชน่ พระมหาธาตวุ ดั ช้างรอ้ ง เมืองชะเลียง

ดว้ ยอิทธิพลเกยี่ วกับประเพณที างศาสนา ในศิลาจารึกของพ่อขุนรามคาแหง ไดพ้ รรณนาถึงสภาพของ
ของชาวสโุ ขทัยและประเพณีทางศาสนามีความวา่ "คนในเมอื งสโุ ขทยั น้ี มักทาน มักทรงศีล มักโอยทาน พ่อขุน
รามคาแหงเจ้าเมืองสุโขทยั ทง้ั ชาวแม่ชาวเจ้า ท่วยปั่วทว่ ยนาง ลูกเจ้าลูกขุน ท้ังสิ้นท้ังหลาย ทั้งผู้ชายผู้หญิง ฝูง
ท่วยมีศรัทธาในพระพุทธศาสนา ทรงศีลเมื่อพรรษาทุกคน เมื่อออกพรรษา กรานกฐินเดือนหนึ่งจึงแล้ว เมื่อ
กรานกฐินมีพนมเบี้ยพนมหมากมีพนมดอกไม้ มีหมอนนั่งหมอนนอน บริพารกฐิน โอยทานแล่ป่แี ล้ญิบล้าน ไป
สวดญัตติกฐินถึงอรัญญิกพู้น…ใครจะมักเล่น…เล่น ใครจะมักหัว…หัว ใครจะมักเลื่อน…เล่ือน เมืองสุโขทัยนี้มีส่ี
ปากประตหู ลวง เทียนญอมคนเสยี ดกนั ดูท่านเผ่าเทยี น เมืองสโุ ขทัยนี้มดี งั จะแตก

พระอัจนะ วัดศรีชมุ
นอกจากนี้กรงุ สุโขทยั ยังมีวดั ตา่ ง ๆ ท่ีสาคญั เช่น วดั ตะพงั เงนิ วดั ชนะสงคราม วัดสระสี วัดตะกวน วดั
ศรีชมุ เป็นต้น ภายในวดั ศรีชุมมพี ระพทุ ธรปู ปางมารวชิ ยั ขนาดมหึมา คอื "พระอจั นะ" ประดษิ ฐานอยู่ภายใน
พระวหิ ารซ่งึ สร้างเปน็ รูปสีเ่ หลี่ยมลกั ษณะคลา้ ยมณฑป แต่หลงั คาพงั ทลายลงมาหมดแล้ว เหลอื เพยี งผนงั ทงั้ ส่ี
ด้าน ผนังแตล่ ะด้านกอ่ อฐิ ถือปูนอยา่ งแนน่ หนาภายในชอ่ งกาแพงตามฝาผนังมภี าพเขียนเก่าแก่แตเ่ ลอะเลือน
เกอื บหมดภาพเขยี นนีม้ อี ายเุ กือบ 700 ปี

พระแทน่ มนงั คศิลา
พระองคเ์ องทรงเป็นอคั รศาสนูปถมั ภกไดท้ รงสร้างแทน่ มนังคศลิ าไว้ท่ีดงตาล สาหรับใหพ้ ระสงฆ์แสดง
ธรรมและบางครง้ั กใ็ ช้เป็นที่ประทับว่าราชการแผ่นดิน

อุทยานประวตั ิศาสตรศ์ รสี ชั นาลยั

สถาปัตยกรรม
สถาปตั ยกรรมท่ีสาคัญอ่นื ๆ เช่น โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้างเจดีย์ครอบพระมหาธาตุ ณ เมืองศรีสัชนาลัย มี

ข้อความปรากฏในหลักศิลาจารึกตอนหน่ึงว่า "...๑๒๐๗ ศกปีกุน ให้ขุนเอาพระธาตุออกท้ังหลายเห็น กระทา
บูชาบาเรอแก่พระธาตุได้เดือนหกวัน จึงเอาฝังในกลางเมืองศรีสัชนาลัยก่อพระเจดีย์เหนือหกเช้าจึงแล้ว ต้ัง
เวียงผาล้อมพระธาตุสามเช้าจึงแลัว.." และได้ทรงให้สร้างโบสถ์ วิหาร ให้สกัดศิลาแลงเป็นแท่งมาเป็นกาแพง
ล้อมเขตวัด เช่น ท่ีวัดช้างล้อม อันเป็นวัดที่ทรงสร้างขึ้นคร้ังแรกในเมืองศรีสัชนาลัยโดยมีเจดีย์ทรงกลมแบบ
ลงั กาเป็นประธานของวัด และต่อมาจึงใช้เปน็ แบบในการสรา้ ง ณ วดั ในเมอื งสโุ ขทัยและเมอื งกาแพงเพชร
ดา้ นการเมอื งการปกครอง และการบริหารรฐั กิจ

ลักษณะการปกครองในสมัยของพ่อขุนรามคาแหงหรือราษฎรมักเรียกกันติดปากว่าพ่อขุนรามคาแหง
น้ัน พระองค์โปรดการสมาคมกับไพร่บ้านพลเมืองไม่เลือกช้ันวรรณะ ถ้าแม้ว่าใครจะถวายทูลร้องทุกข์
ประการใดแล้ว ก็อนุญาตให้เข้าเฝ้าใกล้ชิดไดไ้ ม่เลือกหน้าในทุกวันพระมักเสด็จ ออกประทับยังพระแท่นศิลา
อาสน์ ทาการส่ังสอนประชาชนให้ต้ังอยู่ในศีลธรรม การปกครองของพ่อขุนรามคาแหงได้ใช้ระบบปิตุ
ราชาธิปไตยหรือ "พ่อปกครองลูก" ดงั ข้อความในศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงว่า คาพูด"....เม่ือช่ัวพ่อกู กูบาเรอ
แก่พ่อกู กูได้ตัวเนื้อตัวปลา กูเอามาแก่พอ่ กู กูได้หมากส้มหมากหวาน อันใดกินอร่อยดี กูเอามาแก่พ่อกู กูไปตี
หนังวังช้างได้ กูเอามาแก่พ่อกู กูไปท่อบ้านท่อเมือง ได้ช้างได้งวง ได้ป่ัวได้นาง ได้เงือนได้ทอง กูเอามาเวนแก่
พ่อก.ู ."

ข้อความดังกล่าวแสดงการนับถือบิดามารดา และถือว่าความผูกพันในครอบครัวเป็นเร่ืองสาคัญ
ครอบครัวท้ังหลายรวมกันเข้าเป็นเมืองหรือรัฐ มีเจ้าเมืองหรือพระมหากษัตริย์เป็นหัวหน้าครอบครั ว

ปรากฏข้อความในศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงว่าพ่อขุนรามคาแหงมหาราชทรงใช้พระราชอานาจใน
การยุติธรรมและนิติบัญญัติไว้ดังต่อไปน้ี 1) ราษฎรสามารถค้าขายได้โดยเสรี เจ้าเมืองไม่เรียกเก็บจังกอบหรือ
ภาษีผ่านทาง 2) ผู้ใดล้มตายลง ทรพั ย์มรดกกต็ กแก่บุตร และ 3) หากผู้ใดไม่ได้รบั ความเป็นธรรมในกรณีพิพาท
ก็มีสิทธิไปส่ันกระด่ิงท่ีแขวนไว้หน้าประตูวังเพื่อถวายฎีกาต่อพระมหากษัตริย์ได้ พระองค์ก็จะทรงตัดสินด้วย
พระองค์เอง

นอกจากน้ี พ่อขุนรามคาแหงมหาราชยังทรงใช้พุทธศาสนาเป็นเครื่องช่วยในการปกครอง โดยได้ทรง
สร้าง "พระแท่นมนังคศิลาบาตร"ข้ึนไวก้ ลางดงตาล เพ่ือให้พระเถรานุเถระแสดงพระธรรมเทศนาแก่ประชาชน
ในวันพระ ส่วนวันธรรมดาพระองค์จะเสดจ็ ประทับเปน็ ประธานให้เจ้านายและข้าราชการปรกึ ษาราชการการ
ด้านศาลยตุ ิธรรม

กระด่งิ พ่อขนุ รามคาแหง
ในด้านทางศาลกใ็ หค้ วามยตุ ธิ รรมแก่อาณาประชาราษฎรโดยท่ัวถึงกนั ไมเ่ ลอื กหนา้ ทรงเอาพระทยั ใส่ใน
ทุกข์สุขของอาณาประชาราษฎร์ถงึ กับสงั่ ให้เจ้าพนกั งานแขวนกระดง่ิ ขนาดใหญไ่ ว้ที่ประตพู ระราชวังด้านหน้า
แมใ้ ครมที กุ ข์รอ้ นประการใดจะขอให้ทรงระงบั ดับเข็ญแล้วก็ใหล้ ัน่ กระดง่ิ รอ้ งทุกข์ไดท้ ุกเวลา ในขณะพิจารณา
สอบสวนและตดั สนิ คดี พระองค์กเ็ สดจ็ ออกฟงั และตัดสินด้วยพระองคเ์ องไปตามความยตุ ิธรรม
การชลประทาน
โปรดใหส้ ร้างทานบกกั น้าท่เี รียกว่า “สรีดภงส์” เพอื่ นานา้ ไปใชใ้ นตวั เมอื งสุโขทยั และบรเิ วณใกล้เคียง
โดยอาศัยแนวคันดนิ ที่เรยี กว่า “เข่ือนพระร่วง” ทาให้มีนา้ สาหรบั ใชใ้ นการเพาะปลูกและอุปโภคบรโิ ภคในยาม
ทบ่ี า้ นเมืองขาดแคลนน้า

ศิลาจารึกพอ่ ขุนรามคาแหง กาเนดิ อกั ษรไทย

การคน้ พบหลกั ศิลาจารกึ พอ่ ขุนรามคาแหง
วนั ท่ี 17 มกราคม พ.ศ.2376 ปีมะเส็ง เบญจศก ศักราช 1995 พระบาทสมเด็จฯ พระจอมเกล้า

เจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงผนวชมาตั้งแต่รัชกาลท่ี 2 ประทับอยู่ ณ วัดราชาธิราชเสดจ็ ขึ้นไปธุดงค์ทางมณฑลฝ่าย
เหนือถึงเมือพษิ ณโุ ลก สวรรคโลก และเมืองสุโขทัย เม่ือเสดจ็ ไปถึงเมืองสุโขทัยคร้ังนั้นทอดพระเนตรเห็นศิลา
จารึก 2 หลักคือ ศิลาจารึกของพอ่ ขุนรามคาแหง (หลักท่ี 1 ) และศิลาจารึกภาษาเขมรของพระมหาธรรม
ราชาลิไทย (หลักท่ี 4) กับแท่นมนังศิลาอยู่ท่ีเนินปราสาท ณ พระราชวังกรุงสุโขทัยเก่า ราษฎร เช่นสรวง
บูชานบั ถอื กันว่าเป็นของศกั ด์ิสิทธ์ิ เปน็ ทน่ี ับถือกลัวเกรงของหมมู่ หาชน ถ้าบุคคลไม่เคารพเดินกรายเข้าไปใกล้
ใหเ้ กิดการจับไข้ไม่สบาย ทอดพระเนตรเห็นแล้วเสดจ็ ตรงเข้าไปประทับแผ่น ณ ศิลานั้น ก็มิได้มีอันตราส่ิงหนึ่ง
ส่ิงใดด้วยอานาจพระบารมี พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวดารัสถามว่าของทั้งสามสิ่งนั้นเดิมอยู่ท่ี
ไหน ใครเปน็ ผเู้ อามารวบรวมไวต้ รงนนั้ ก็หาไดค้ วามไม่ ชาวสโุ ขทัยทราบทูลว่าแต่ว่าเห็นรวบรวมอยู่ตรงนั้นมา
ต้งั แตค่ ร้ังปยู่ ่าตายายแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพิจารณาดูเห็นวา่ เป็นของสาคัญจะทิ้งไว้เปน็ อนั ตราย
เสีย จึงโปรดเกล้าฯ ให้ส่งมากรุงเทพฯเดิมเอาไว้ท่ีวัดราชาธิวาส ทั้งสามส่ิง พระแท่นมนังคศิลาน้ันก่อทาเป็น
แทน่ ทีป่ ระทบั ไว้ตรงใต้ต้นมะขามใหญ่ ข้างหน้าพระอุโบสถ คร้ันเสดจ็ มาประทับ ณ วดั บวรนิเวศ โปรดฯ ให้
ส่งหลักศิลาทั้งสองนั้นมาด้วย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพยายามอ่านหลักศิลาของพ่อขุน
รามคาแหงเอง แล้วโปรดฯ ให้สมเด็จพระมหาสมณะเจ้าพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ พร้อมดว้ ยล่ามเขมรอา่ น
แปลหลักศิลาของพระธรรมราชาลิไทย ได้ความทราบเรื่องท้ังสองหลัก ครั้งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า
เจา้ อยู่หวั ได้ เสวยราชย์ เม่ือ พ.ศ. 2394 ตอ่ มาจงึ โปรด ฯ ใหย้ า้ ยพระแท่นมนงั คศิลามากอ่ แท่นประดิษฐานไว้
หนา้ วหิ ารพระคนั ธารราฐในวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม...

วันพอ่ ขุนรามคาแหง
สานักงานสภาจังหวัดสุโขทัย ได้มีหนังสือเสนอต่อ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี ขอให้มีการกาหนด “วันพ่อ

ขุนรามคาแหงมหาราช” ขนึ้ ในเดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2531 โดยถือวนั ที่พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี
ศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะดารงพระราชอิสริยยศสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ
สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดาเนินเพ่ือทรงประกอบพระราชพิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์พ่อขุน
รามคาแหงมหาราช วันท่ี 17 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2526 เป็น “วันพอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช”

ต่อมาคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ คณะกรรมการชาระประวัติศาสตร์ไทย และจัดเอกสารทาง
ประวัติศาสตร์และโบราณคดี ได้พิจารณาเรื่องการกาหนดวันสาคัญทางประวัติศาสตร์ใหม่ ตามหลักฐานทาง
ประวัตศิ าสตร์ โดยเสนอว่าควรเป็นวนั ท่ีพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพบหลักศิลาจารึกของพ่อ
ขุนรามคาแหงมหาราช วนั ที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2376

มีการเสนอต่อท่ีประชุมคณะรัฐมนตรี ในการกาหนดวันสาคัญทางประวัติศาสตร์ของชาติ ซึ่ง
คณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ คณะกรรมการชาระประวัติศาสตร์ไทยและจัดพิมพ์เอกสารทาง
ประวัติศาสตร์และโบราณคดี ได้พิจารณาเห็นชอบด้วย จึงกาหนดให้ วนั ท่ี 17 มกราคม ของทุกปีเปน็ “วนั พ่อ
ขุนรามคาแหงมหาราช”

พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั
ภายหลังเม่ือพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวไดเ้ สวยราชย์เมื่อปี พ.ศ. 2394 ไดโ้ ปรดให้เอามา
ก่อแทนประดิษฐานไว้ที่หน้าวิหารพระคันธาราฐในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม อยู่มาจนถึงในรัชกาลปัจจุบันนี้
เมื่องานพระราชพิธีบรมราชาภิเศกสมโภชใน พ.ศ. 2545 จึงโปรดให้ย้ายไปทาเป็นแท่นเศวตฉัตรราช
บัลลงั ก์ ประดษิ ฐานไว้ในพระที่นง่ั ดุสติ มหาปราสาทปรากฏอยใู่ นทกุ วันนี้

วัดบวรนเิ วศ

สว่ นศลิ าจารกึ พ่อขุนรามคาแหงนัน้ ครนั้ พระบาทสมเดจ็ ฯ พระจอมเกลา้ เจา้ อย่หู ัวเสดจ็ มาประทับอยู่
ณ วดั บวรนิเวศ โปรดให้ส่งหลักศิลานั้นมาดว้ ย

ภายหลงั เม่อื ได้เสวยราชย์ พระจอมเกลา้ อย่หู ัวโปรดฯ ใหย้ ้ายจากวัดบวรนิเวศ เอาเขา้ ไปตง้ั ไว้ศาลาราย
ในวดั พระศรีรัตนศาสดารามขา้ งดา้ นเหนือ พระอโุ บสถหลงั ทสี่ องนบั แตท่ างตะวันตก อยู่ ณ ที่น้ีตอ่ มาช้านาน
จนปลายเดือนมนี าคม พ.ศ. 2466 จึงได้ย้ายเอามารวมไวท้ หี่ อพระสมดุ

เร่ืองหลกั ศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหง ทีน่ ักปราชญช์ าวยุโรปแตง่ ไว้ในหนงั สือต่างๆ นัน้ มอี ยใู่ นบญั ชีท้าย
คานาภาษาฝรงั่ แลว้ ส่วนนักปราชญ์ไทยแตข่ ้ึนนน้ั ได้เคยพิมพใ์ นหนังสอื วชิรญาณเล่มที่ 6
หนา้ 3574 ถึง 2577 ในหนงั สอื เรอื่ งเมอื งสโุ ขทยั ในหนังสอื พระราชนพิ นธเ์ ร่ืองเท่ียวเมอื งพระรว่ ง และใน
ประชมุ พงศาวดารภาคทห่ี น่งึ

จากการสนั นิษฐาน ผ้แู ต่งอาจมมี ากกวา่ 1 คน เพราะเนือ้ เรอื่ ง ในหลกั ศลิ าจารกึ แบง่ ไดเ้ ป็น 3 ตอน

ศลิ าจารกึ พ่อขุนรามคาแหง ดา้ นที่ 1

ศลิ าจารกึ พอ่ ขุนรามคาแหง ด้านท่ี 1
ตอนที่ 1 ต้งั แตบ่ รรทดั ท่ี 1 ถงึ 18 กล่าวถงึ พระราชประวตั ิของพอ่ ขนุ รามคาแหง และพระราช
ภารกจิ ของพระองค์ ใชค้ าว่า “กู” เปน็ พ้นื เขา้ ใจว่า พอ่ ขุนรามคาแหงคงจะทรงแตง่ เกยี่ วกับพระราชประวตั ิ
ของพระองค์เอง

ศลิ าจารกึ พ่อขนุ รามคาแหง ดา้ นท่ี 1 รูปคาปจั จบุ นั

ศิรารึกพอ่ ขนุ รามคาแหงดา้ นที่ 2

ศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงด้านท่ี 2
ตอนท่ี 2 เป็นการบนั ทึกเรื่องราวเหตุการณต์ ่าง ๆ ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีของเมืองสุโขทัย
เช่นเรื่องราวของการสร้างพระแท่นมนังคศิลาอาสน์ วัดมหาธาตุ เมืองศรีสัชนาลัย และการประดิษฐ์ตัว
อักษรไทย ใช้คาว่าพ่อขุนรามคาแหง โดยเร่ิมต้นว่า "เม่ือช่ัวพ่อขุนรามคาแหงเมืองสุโขทัยนี้ดี......" จึงเข้าใจว่า
จะต้อง เป็นผอู้ ่นื แตง่ เพ่มิ เตมิ ภายหลงั ตอนที่ 2 เล่าเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ

ศลิ าจารกึ พ่อขนุ รามคาแหงดา้ นท่ี 2 รูปคาปจั จบุ นั

ศิลาจารกึ พอ่ ขุนรามคาแหงด้านที่ 3

ศิลาจารึกพอ่ ขนุ รามคาแหงดา้ นที่ 3
ตอนท่ี 3 กลา่ วถึงอาณาเขตของเมอื งสโุ ขทยั สรรเสรญิ และยอพระเกียรตคิ ุณของพ่อขุนรามคาแหง
โดยเริ่มต้นวา่ "พอ่ ขุนรามคาแหง น้นั หาเป็นท้าวเปน็ พระยาแก่ไทยทงั้ หลาย......" ศาสตราจารย์ยอร์ช เซเดย์
ผู้แปลอักษรพอ่ ขุนรามคาแหงได้ ท่านได้สนั นิษฐานวา่ ความในตอนท่ี 3 คงจารึกหลงั ตอนที่ 1 และตอนท่ี 2
จึงเข้าใจวา่ ผู้อืน่ แต่งต่อในภายหลัง

ศลิ าจารกึ พ่อขนุ รามคาแหงดา้ นท่ี 3 รูปคาปจั จบุ นั

ศลิ าจารึกพอ่ ขนุ รามคาแหงดา้ นท่ี 4
ศลิ าจารึกพอ่ ขนุ รามคาแหงด้านท่ี 4

ศิลาจารกึ พ่อขนุ รามคาแหงดา้ นท่ี 4 รูปคาปจั จบุ นั

ลักษณะหลักศลิ าจารึกพ่อขนุ รามคาแหง

หลักศิลาจารึกพ่อขนุ รามคาแหง
หลักศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงมีลักษณะเป็นแท่งหินรูปสี่เหล่ียม ยอดกลมมน สูง 1 เมตร 11
เซนติเมตร กว้าง 35 เซนติเมตร หนา 35 เซนติเมตร เป็นหินชนวนสีเขียว มีจารึกท้ังส่ีด้าน ด้านที่ 1 มี 35
บรรทดั ดา้ นท่ี 2 มี 35 บรรทัด ด้านที่ 3 มี 27 บรรทัด และด้านที่ 4 มี 27 บรรทดั
ในการจารึกอักษรไทยครั้งแรกนั้น ได้ใชพ้ ยัญชนะไม่ครบทั้ง 44 ตวั คือมีเพียง 39 ตัว โดยขาด ตวั ฌ
ฑ ฒ ฬ และตัว ฮ ไม่ครบชุดพยัญชนะเหมือนท่ีใช้สอนวิชาภาษาไทยในปจั จุบนั ในบรรดาตัวอักษร 44 ตวั
ที่มีมาแตส่ มัยโบราณ มีอยู่ 2 ตัว ที่เราเลิกใชไ้ ปแล้ว คือ ฃ (ขอขวด) และ ฅ (คอคน) ท่ีเราเลิกใชก้ ็เพราะเสียง
2 เสียงนี้เปล่ียนไปแล้วกลายเป็นเสียงเดียวกันกับ ข (ขอไข่) ค (คอควาย) การเขียนสระในศิลาจารึกสุโขทัย
หลกั ที่ 1 ต่างจากการเขียนสระในปจั จุบนั มาก ทง้ั รูปรา่ งสระ และวธิ ีการเขียน กลา่ วคอื เขยี นสระอยูใ่ นบรรทดั

เช่นเดียวกับพยัญชนะ รูปวรรณยุกต์ที่ใชเ้ ขียนกากับในยุคสุโขทัย มีเพียง 2 รูป คือไม้เอก และไม้โท แตไ่ ม้โท
ใชเ้ ปน็ เครื่องหมายกากบาทแทน ตัวหนังสือที่ทรงประดิษฐ์ขึ้นใหม่นี้ มีการจัดวางรูปแบบตัวอักษรใกล้เคียง
กบั อกั ษรของประเทศตะวันตก คือ เขียนจากซ้ายไปขวา วางสระและวรรณยุกต์ไว้ในบรรทัดเดียวกันหมด เพื่อ
ความสะดวกในการอ่านและเขียน(ต่างจากวิธีการเขียนของชาวจีนและอาหรับ ซึ่งเขียนจากขวามาซ้าย) และ
ต่อมาได้มีการแก้ไขเพ่ิมเติมในรัชสมัยของพระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระเจ้าสิไทครองราชย์ปี พ.ศ.1891- พ.ศ.
1912 ) ซงึ่ เปน็ พระราชนัดดาของพอ่ ขุนรามคาแหงด้วยการนาสระไปไว้ข้างบนบ้างข้างล่างบ้าง ตามแบบอย่าง
หนังสือขอมที่ไทยได้ใช้กันมาแต่ก่อนจนเคยชิน เช่น สระ อิ อี อือ นาไปเขียนไว้บนพยัญชนะส่วนสระ อุ อู
เขยี นไวใ้ ตพ้ ยญั ชนะ (สว่ น สระ อะ อา อา แตเ่ ดมิ เขียนไวห้ ลังพยัญชนะอยู่แล้ว เช่นเดียวกับสระ เอ แอ โอ ไอ
ซึ่งเขียนไว้หน้าพยัญชนะมาแต่เดิม) และได้ทรงเพิ่มไม้หันอากาศ เพื่อใช้แทนตัวอักษร เช่น คาว่า "อนน"
เปล่ยี นเปน็ เขียนว่า "อัน" เปน็ ตน้ และรูปแบบตวั อกั ษร ก็เปลี่ยนแปลงไปบา้ งเล็กน้อย

ลายสือไทยทพี่ อ่ ขุนรามคาแหงทรงคิดขนึ้ น้ี ประเทศขา้ งเคียง เช่น อาณาจักรลา้ นนา ลา้ นช้าง อโยธยา
สุพรรณภมู ิ ไดน้ าไปใช้กันอยา่ งแพร่หลายแตต่ ่อมาครัน้ เม่อื อาณาจักรสุโขทัยเสื่อมอานาจลง ทางล้านช้างได้
เปล่ยี นไปใชอ้ กั ษรลาว ส่วนทางลา้ นนาเปลี่ยนไปใชอ้ กั ษรไทยล้ือ และเมอื่ สมเด็จพระรามาธบิ ดที ี่ 1 (พระเจ้าอู่
ทอง ครองราชยป์ ี พ.ศ. 1893- พ.ศ.1912) ทรงต้ังอาณาจักรเปน็ อิสระกับสร้างพระนครศรอี ยุธยาเป็นราชธานี
ในปี พ.ศ.1893 กไ็ ด้เอาแบบอกั ษรไทยสโุ ขทยั มาใช้ ซึ่งมกี ารแกไ้ ขดัดแปลงกันมาตามลาดบั จนเปน็ อย่างท่เี หน็
และใช้กันแพรห่ ลายเชน่ ในปจั จบุ ัน

สระ วรรณยกุ ต์ และตัวเลข สมยั พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช

การแก้ไขอักษรขอมของพ่อขนุ รามคาแหง มีดงั นี

1. ตัวอักษรขอมท่ีมีหนามเตยและเชิง พ่อขุนรามคาแหงทรงเห็นว่ารุงรังมิได้เป็นประโยชน์ใน
ภาษาไทย ตัวอักษรตัวเดียวควรเขียนด้วยเส้นเดียวไม่ควรยกปากกาบ่อย ๆ ทาให้อักษรไทยเขียนได้ง่ายและ
รวดเร็ว พยัญชนะแต่ละตัวต่อเป็นเส้นเดียวตลอด ในขณะท่ีพยัญชนะขอมต้องเขียนสองหรือสามเส้นต่อหน่ึง
พยญั ชนะ

2. เพิ่มพยัญชนะบางตัวท่ีมิได้มีในภาษาขอม เช่น ฃ ฅ ซ ฏ ด บ ฝ ฟ อ (ในภาษาเขมร ตัว บ ใช้เป็น
ท้ัง ป และ บ ตัว ฎ ใช้เป็นท้งั ฎ และ ฏ)

3. เพิม่ สระที่ทรงประดษิ ฐ์ข้ึน ไดแ้ ก่สระอึ สระอือ สระแอ สระเอือ ฯลฯ สระออ และสระอือ ไม่ต้องมี
อ เคียง เช่น เขียน พ่ชื่ แทน พ่อช่ือ สระ อิ อี อือ อุ อู นามาเขียนข้างหน้าติดกับพยัญชนะต้น เช่น อี ป น
แทน ปืน ฯลฯ

4. สระอกั ษรขอมมีความสูงไมเ่ ทา่ กัน แต่สระของพอ่ ขนุ รามคาแหงสูงเทา่ กันหมด และสูงเท่ากบั
พยญั ชนะทกุ ตวั หางของ ศ ส กข็ ีดออกไปขา้ ง ๆ สว่ น ป และ ฝ หางสูงกว่าอักษรตวั อืน่ ๆ เพียงนดิ เดียว สระ
กับพยัญชนะรวมทั้งสระโอ สระไอ ไม้ลาย และสระไอไม้ม้วน

5. สระขอมวางไว้รอบดา้ นพยัญชนะ ทงั้ ข้างหนา้ ข้างหลัง ขา้ งลา่ ง แตพ่ ่อขุนรามคาแหงทรงดัดแปลง
ให้สระอยบู่ นบรรทดั เดียวกบั พยญั ชนะทงั้ หมดและอยู่หน้าพยญั ชนะเป็นส่วนมาก ทอี่ ยหู่ ลังมีแตส่ ระ อะ อา อา
ท่มี าเขียนไว้รอบตัวอยา่ งปจั จบุ นั นี้เรามักมาแก้กันในชั้นหลัง วิธีเรยี งอกั ษรของพ่อขุนรามคาแหงคลา้ ย ๆ กับวธิ ี
เรียงตัวอักษรของฝร่งั ผิดแตท่ ่ีของฝรงั่ เรยี งสระไวข้ า้ งหลังตัวพยัญชนะแตศ่ ิลาจารกึ ของพ่อขุนรามคาแหงสระ
บางตัวอยขู่ ้างหลงั เชน่ อา อา อะ บางตวั อยขู่ ้างหน้า เช่น อิ อี อือ อุ อู เอ แอ ไอ ใอ โอ

คณุ คา่ ของศลิ าจารกึ พอ่ ขุนรามคาแหง

1. ด้านภาษาและสานวนโวหาร จารึกของพอ่ ขนุ รามคาแหงเป็นหลกั ฐานที่สาคัญทสี่ ดุ ที่แสดงให้เหน็
ถึงกาเนดิ ของวรรณคดแี ละอกั ษรไทย เช่น กล่าวถึงหลกั ฐานการประดิษฐอ์ กั ษรไทย

ดา้ นสานวนการใช้ถ้อยคาในการเรียบเรียงจะเหน็ วา่
- ถอ้ ยคาส่วนมากเปน็ คาพยางค์เดยี วและเป็นคาไทยแท้ เชน่ อา้ ง โสง นาง เป็นตน้
- มีคาที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤตปนอย่บู ้าง เช่น ศรอี นิ ทราทติ ย์ ตรบี รู อรัญญิก ศรทั ธา พรรษา เปน็
ต้น
- ใชป้ ระโยคสัน้ ๆ ให้ความหมายกระชบั เชน่ แมก่ ูช่ือนาง"เสือง พก่ี ูช่ือบานเมอื ง” ขอ้ ความบางตอน
ใชค้ าซ้า เช่น "ป่าพร้าวกห็ ลายในเมอื งน้ี ปา่ ลางกห็ ลายในเมืองน้ี”
- นยิ มคาคลอ้ งจองในภาษาพูด ทาให้เกดิ ความไพเราะ เชน่ "ในน้ามปี ลา ในนามขี ้าว
เจา้ เมอื งบเอาจกอบในไพรล่ ูท่ าง เพอื่ นจงู วัวไปค้า ข่มี ้าไปขาย"
- ใช้ภาษาท่ีเป็นถอ้ ยคาพ้ืน ๆ เป็นภาษาพดู มากกว่าภาษาเขียน
2. ดา้ นประวตั ศิ าสตร์ ใหค้ วามรูเ้ กย่ี วกับพระราชประวตั พิ อ่ ขุนรามคาแหง จารึกไวท้ านองเฉลิมพระ
เกยี รติ ตลอดจนความรูด้ า้ นประวัติศาสตร์ โบราณคดี และสภาพสังคมของกรงุ สโุ ขทยั ทาใหผ้ ูอ้ า่ นร้ถู งึ ความ
เจรญิ รงุ่ เรอื งของกรงุ สุโขทัย พระปรชี าสามารถของพอ่ ขนุ รามคาแหง และสภาพชวี ิตความเปน็ อย่ขู องชาว
สุโขทัย
3. ดา้ นสังคม ให้ความร้ดู ้านกฎหมายและการปกครองสมยั กรงุ สโุ ขทัย วา่ มีการปกครองแบบพ่อ
ปกครองลกู พระมหากษตั รยิ ด์ แู ลทกุ ข์สขุ ของราษฎรอย่างใกล้ชิด
4. ดา้ นวัฒนธรรม ประเพณี ใหค้ วามร้เู กยี่ วกับวฒั นธรรม ประเพณีอันดีงามของชาวสุโขทยั ที่
ปฏบิ ตั สิ ืบมาจนถงึ ปจั จุบัน เชน่ การเคารพบูชาและเล้ียงดบู ิดามารดา นอกจากนน้ั ยังไดก้ ลา่ วถงึ ประเพณที าง
ศาสนา เช่น การทอดกฐินเมือ่ ออกพรรษา ประเพณีการเลน่ รน่ื เริงมีการจุดเทียนเลน่ ไฟ พ่อขนุ รามคาแหงโปรด
ให้ราษฎรทาบุญและฟงั เทศนใ์ นวันพระ เช่น "คนเมืองสโุ ขทยั นี้มกั ทาน มักทรงศีล มกั อวยทาน.......ฝูงทว่ ยมี
ศรัทธา ในพระพทุ ธศาสนา ทรงศีล เมื่อพรรษาทกุ คน"
พ่อขนุ รามคาแหงมหาราช ทรงประดิษฐ์อักษรไทยโดยจัดทาศลิ าจารกึ ขนึ้ เปน็ คร้ังแรกแลนบั วา่
ก่อให้เกิดประโยชน์แกท่ างประวตั ศิ าสตรเ์ ป็นอย่างมาก อนั เป็นรากฐานของหนังสอื ไทยทเ่ี ราได้ใชก้ ันอยู่ในทกุ
วนั นี้

วันพอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช

สานักงานสภาจังหวัดสุโขทัย ได้มีหนังสือเสนอต่อ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี ขอให้มีการกาหนด “วันพ่อ
ขุนรามคาแหงมหาราช” ข้ึน ในเดอื นธันวาคม พ.ศ. 2531 โดยถอื วันที่พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี
ศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะดารงพระราชอิสริยยศสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ
สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดาเนินเพื่อทรงประกอบพระราชพิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์พ่อขุน
รามคาแหงมหาราช วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526 เป็น “วันพอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช”

ต่อมาคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ คณะกรรมการชาระประวัติศาสตร์ไทย และจัดเอกสารทาง
ประวัติศาสตร์และโบราณคดี ได้พิจารณาเร่ืองการกาหนดวันสาคัญทางประวัติศาสตร์ใหม่ ตามหลักฐานทาง
ประวัตศิ าสตร์ โดยเสนอว่าควรเป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพบหลักศิลาจารึกของพ่อ
ขนุ รามคาแหงมหาราช วนั ท่ี 17 มกราคม พ.ศ. 2376

มีการเสนอต่อท่ีประชุมคณะรัฐมนตรี ในการกาหนดวันสาคัญทางประวัติศาสตร์ของชาติ ซึ่ง
คณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ คณะกรรมการชาระประวัติศาสตร์ไทยและจัดพิมพ์เอกสารทาง
ประวัตศิ าสตร์และโบราณคดี ได้พิจารณาเห็นชอบด้วย จึงกาหนดให้ วันที่ 17 มกราคม ของทุกปเี ป็น “วนั พ่อ
ขุนรามคาแหงมหาราช”

...............................................................

แหลง่ ข้อมูลอา้ งองิ

เจา้ พระยาพระคลัง (หน). (2515). ราชาธิราช. พระนคร : บรรณาการ.
ชนม์สวสั ดิ์ ชมพนู ุช.2514.พระราชประวตั ิ 9 มหาราช.กรุงเทพฯ: พิทยาคาร
ตรี อมาตยกุล. (2523, 2524, 2525 และ 2527). "ประวัตศิ าสตรส์ ุโขทัย." แถลงงานประวัติศาสตร์ เอกสาร
โบราณคด,ี (ปที ี่ 14 เลม่ 1, ปที ี่ 15 เลม่ 1, ปีท่ี 16 เลม่ 1 และปีที่ 18 เลม่ 1)
ประชมุ ศิลาจารกึ ภาคที่ 1. (2521). คณะกรรมการพจิ ารณาและจัดพมิ พ์เอกสารทางประวตั ศิ าสตร์.

กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์สานกั เลขาธิการคณะรัฐมนตร.ี
ประเสรฐิ ณ นคร. (2534). "ประวตั ศิ าสตร์สุโขทยั จากจารึก." งานจารึกและประวตั ศิ าสตร์ของประเสริฐ ณ

นคร. มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ กาแพงแสน.
ประเสรฐิ ณ นคร. (2544). "รามคาแหงมหาราช, พอ่ ขุน". สารานุกรมไทยฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน,
(เลม่ 25 : ราชบณั ฑิตยสถาน-โลกธรรม). กรงุ เทพฯ : สหมติ รพร้นิ ตงิ้ .
ประเสรฐิ ณ นคร. (2534). "ลายสือไทย". งานจารกึ และประวตั ศิ าสตร์ของประเสรฐิ ณ นคร.
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ กาแพงแสน.
อดุ ม ประมวลวิทย.์ (2508)" "50 กษตั ริยไ์ ทย". สานักพมิ พโ์ อเดยี นสโตร์.
th.wikipedia.org/wiki/พ่อขนุ รามคาแหงมหาราช.
www.prachin.ru.ac.th/พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช/ประวัติ
www.info.ru.ac.th/province/Sukhotai/mpkr.htm
www.youtube.com/watch?v=lImrIkj0oK8
www.m-culture.go.th/.../king-ramkhamhaeng
www.silpa-mag.com
http://www.info.ru.ac.th/province/Sukhotai/srjsd
http://www.info.ru.ac.th/province/Sukhotai/srjsd33-3.htm
hilight.kapook.com/view
ขอขอบคุณภาพและเนื้อหาจากเวบ็ ไซต์ตา่ งๆ


Click to View FlipBook Version