สมุดความรู้
1 องค์ประกอบของการขนส่ง
ระบบการขนส่ง
ระบบการขนส่ง 1. ในการขนส่งสามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ
1) ในกรณีที่เป็นคนจะเรียกว่า การขนส่งผู้โดยสาร
เป็นการเคลื่อนย้ายของคน, สัตว์ และสินค้าจากที่หนึ่งไป (passenger transport) 2) ในกรณีที่เป็นสัตว์หรือ
ยังอีกที่หนึ่ง โดยรูปแบบการเดินทาง ไม่ว่าจะเป็นทางอากาศ, สิ่งของจะเรียกว่า การขนส่งสินค้า (freight transport)
รถไฟ, ถนน, น้ำ, สายเคเบิล, ท่อ และแบ่งออกไปได้ตาม
โครงสร้างพื้นฐาน ยานพาหนะ และระบบการจัดการ 2. ยานพาหนะ (vehicle)
3. เส้นทาง (Route, Way หรือ Path) ที่ใช้สาหรับ
วิวัฒนาการระบบการขนส่ง การขนส่ง
4. สถานีหรืออาคารที่พักผู้โดยสาร (station หรือ
รูปแบบการขนส่งในอดีตนั้นได้มีการใช้สัตว์ในการโดยสาร terminal) เช่น สถานีขนส่งรถประจาทาง สถานีรถไฟ
หรือบรรทุกสิ่งของและเริ่มพัฒนายานพาหนะมาเป็นซึ่งช่วย ท่าเรือ สนามบิน เป็นต้น
เพิ่มปริมาณของคนและสิ่งของ เมื่อความรู้ทางวิทยาศาสตร์ 5. ผู้ประกอบการ (carrier) คือ ผู้ที่ให้บริการการ
เทคโนโลยี และวิศวกรรมเจริญก้าวหน้ามากขึ้นมนุษย์จึงได้ ขนส่งอาจจะเป็นรัฐบาล หรือเอกชนผู้ให้บริการอาจได้รับค่า
นำความรู้มาประยุกต์ใช้ในด้านการขนส่ง เช่น การคิดค้น จ้าง ถ้าดาเนินการในลักษณะของธุรกิจ หรือไม่ได้รับผล
เครื่องจักรไอน้ำของเจมส์ วัตต์ เป็นต้น ตอบแทน ถ้าดาเนินการเพื่อส่วนบุคคล
2
3 ตัวอย่างรถในการขนส่ง
รูปแบบการขนส่ง Tank trailer
ใช้ในการขนถ่ายน้ำมัน ของเหลว
รูปแบบการขนส่งสามารถแบ่งออกเป็น 5 ประเภท
ได้แก่ รูปภาพที่ 1 Tank trailer
hhttps://www.canva.com/design/DAEpOWFRhTk
1. การขนส่งทางรถ
1.1 การขนส่งทางรถยนต์ (Motor Transportation) Refrigerated
หรือรถบรรทุก (Truck Transportation) เป็นที่นิยมใน ใช้ในการขนส่งอาหารหรือสิ่งของที่ต้องมีการควบคุม
ปัจจุบัน เหมาะสำหรับของขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สะดวก อุณหภูมิ
และรวดเร็ว ซึ่งการขนส่งทางรถนั้นยังมีข้อได้เปรียบการ
ขนส่งทางรถไฟโดยสามารถขนส่งได้ทั่วถึงมากกว่ารถไฟ รูปภาพที่ 2 Refrigerated
เป็นบริการขนส่งจากที่ถึงที่ (Door-to-Door Service) hhttps://www.canva.com/design/DAEpOWFRhTk
แต่ยังคงมีข้อเสียเปรียบในเรื่องความปลอดภัยต่ำอันเนื่อง
มาจากความประมาทของผู้ขับขี่หรือถนนไม่ได้มาตรฐาน High cube
กำหนดเวลาแน่นอนไม่ได้ ขึ้นอยู่กับสภาพการจราจรและดิน ใช้ในการขนส่งสินค้าทั่วไป เช่น รถที่ใช้ในการขนส่งของ
ฟ้าอากาศ บริษัทดีเฮชแอล เป็นต้น
รูปภาพที่ 3 High cube
hhttps://www.canva.com/design/DAEpOWFRhTk
4
5
1.2 การขนส่งทางจักรยานยนต์ เหมาะสำหรับของขนาด 2. การขนส่งทางน้ำ (Water Transportation)
เล็กและขนาดกลาง ระยะการขนส่งสั้น ไม่สามารถส่งใน เป็นการขนส่งโดยการใช้แม่น้ำ ลำคลอง ทะเล เป็นเส้น
ระยะไกลได้ ราคาไม่แพงมาก การขนส่งทางจักรยานยนต์
เหมาะกับของที่ต้องการความรวดเร็วในระยะการขนส่งระยะ ทางลำเลียงสินค้า ส่วนใหญ่ใช้สำหรับการขนส่งสินค้า
สั้น ระหว่างประเทศ ซึ่งเหมาะสมกับสินค้าที่มีขนาดใหญ่ ขนส่ง
ได้ปริมาณมาก เช่น ทราย แร่ ข้าวเปลือก เครื่องจักร
คุณสมบัติของพนักงานชับรถ 1) พนักงานที่ขับรถ ยางพารา เป็นต้น ซึ่งการขนส่งทางน้ำอัตราค่าขนส่งถูก
ขนส่งต้องมีใบขับขี่ในการใช้รถ 2) ไม่ใช้สารเสพติดหรือดื่ม กว่าเมื่อเทียบกับการขนส่งทางอื่น ทั้งยังขนส่งได้ปริมาณ
แอลกอฮอล์ 3) พนักงานที่เป็นโรคลมบ้าหมูไม่ควรขับรถ มาก สามารถส่งได้ระยะไกลได้ แต่ไม่สามารถกำหนดเวลาที่
เนื่องจากเมื่อมีอาการจะไม่มีสติ แน่นอนในการขนส่งได้ขึ้นอยู่กับภูมิอากาศ และ ภูมิประเทศ
และในการขนส่งโดยใช้รถบนั้นกฎหมายประเทศไทยได้ โดยรูปแบบของการขนส่งทางน้ำนั้นมี 3 รูปแบบ
กำหนดไว้ว่า ได้แก่ 1. การขนส่งในลำน้ำ (Inland Waterways
Transport) เป็นการขนส่งภายในประเทศ เช่น แม่น้ำ
1. สำหรับรถกระบะกฎหมายอนุญาตให้รถกระบะบรรทุก เจ้าพระยา แม่น้ำป่าศักดิ์ เป็นต้น
ของได้ไม่เกิน 1,100 กิโลกรัม
2. การขนส่งชายฝั่ งทะเล (Coastal Shipping) เป็น
2. รถหกล้อกฎหมายอนุญาตให้บรรทุกของได้ไม่เกิน เส้นทางการขนส่งของประเทศและประเทศข้างเคียง เช่น
15 ตัน (รวมน้ำหนักของรถด้วย) การขนส่งสินค้าจากประเทศไทยไปยังประเทศสิงคโปร์
เป็นต้น
3. รถสิบล้อกฎหมายอนุญาตให้บรรทุกของได้ไม่เกิน
25 ตัน (รวมน้ำหนักของรถด้วย) 3. การขนส่งทางทะเล เป็นการขนส่งสินค้าระหว่าง
ประเทศหรือการการขนส่งสินค้าข้ามทวีป
4. รถกึ่งพวง 6 เพลา 22 ล้อ ในการกำหนดการ
บรรทุกสินค้านั้นจะขึ้นอยู่กับระยะห่าง ของ King Pin
6
7 3. Low-Cost Carrier LCC เป็นสายการบิน
ต้นทุนต่ำ สายการบินราคาที่ให้บริการเที่ยวบินราคาถูก เช่น
3. การขนส่งทางอากาศ (Air Transportation) แอร์เอเชีย
เหมาะกับการขนส่งระหว่างประเทศ หรือการขนส่งที่
รูปภาพที่ 6 สายการบินต้นทุนต่ำ-สายการบินแอร์เอเชีย
ต้องการความรวดเร็ว สะดวกและปลอดภัย เหมาะกับการ https://www.boldmethod.com/blog/lists/2017
ขนส่งสินค้าประเภทที่เปราะบาง เช่น ผัก ผลไม้ เป็นต้น และ
มีค่าใช้จ่ายแพงกว่าการขนส่งประเภทอื่น 4. Air Taxi Service (Small Aircraft) เป็นการบริการ
ที่มีลักษณะคล้ายกับการบริการให้เช่าเหมาลำเพียงแต่
ประเภทของการให้บริการสายการบินประกอบด้วย 5 เป็นการให้บริการด้วยอากาศยานขนาดเล็ก บรรทุกผู้
ประเภทดังนี้ โดยสารหรือสินค้าได้ จำนวนจำกัด มักใช้เดินทางในระยะ
ใกล้ เช่น การ เดินทางภายในประเทศ เป็นต้น
1. Scheduled / Commercial Airline สายการ
บินเชิงพาณิชย์
รูปภาพที่ 4 สายการบินเชิงพาณิชย์-สายการบินไทยที่มา รูปภาพที่ 7 Small Aircraft
https://www.boldmethod.com/blog/lists/2017 https://www.boldmethod.com/blog/lists/2017
2. Charter flight เป็นสายการบินในการให้เช่า 5. Cargo จะใช้เฉพาะสำหรับการขนส่งสินค้า
เหมาลำ ไม่มีการบินแบบประจำ
เท่านั้น
รูปภาพที่ 5 สายการบินเช่าเหมาลำ-สายการบิสิเนสแอร์ รูปภาพที่ 8 Cargo-Fedex Express
https://www.boldmethod.com/blog/lists/2017 https://www.boldmethod.com/blog/lists/2017
8
9
หน่วยงานในการดูแลการขนส่งทางอากาศระหว่าง 2. International Civil Aviation Organization
ประเทศมีหน่วยการหลักอยู่ 2 หน่วยงาน ได้แก่ (ICAO) องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ โดย
องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศจัดตั้งขึ้นเพื่อวาง
1. International Air Transport Association ระเบียบข้อบังคับ สำหรับกิจกรรมการบินระหว่างประเทศ
(IATA) หรือสมาคมขนส่งสินค้าทางอากาศระหว่างประเทศ ระหว่างชาติ และเป็นหน่วยงานชำนัญพิเศษของ
เป็นองค์กรระหว่างประเทศที่ดำเนินโดยภาคเอกชนระดับโลก สหประชาชาติ โดยมีหน้าที่หลักๆ คือ
โดยสามาจำแนกหน้าที่หลักออกมาได้ดังนี้
2.1 กำหนดมาตรฐานและวิธีปฏิบัติที่ใช้ในกิจการการ
1.1 อำนวยความสะดวกในการขนส่งผู้โดยสารและ บินทุกประเภท โดยได้จัดทำในลักษณะเป็นข้อตกลงระหว่าง
สินค้า เชื่อมโยงกันโดยถือตั๋วใบเดียวด้วยคุณภาพเท่าเทียม นานาประเทศ
กัน
2.2 ออกระเบียบข้อบังคับการเดินอากาศ การออก
1.2 ส่งเสริมด้านความปลอดภัยและการขนส่งทาง ประกาศนียบัตรและการตรวจสอบเครื่องบิน
อากาศอย่างประหยัด
2.3 การกำหนดคุณสมบัติของเจ้าหน้าที่ประจำเครื่อง
1.3. สนับสนุนการบินพาณิชย์และร่างกฎระเบียบต่างๆ บินและเจ้าหน้าที่ฝ่ายช่างเครื่อง
ของการขนส่งทางอากาศ
2.4 กำหนดลักษณะของท่าอากาศยาน กำหนด
1.4 ศึกษาและหาทางแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับ มาตรฐานระบบสื่อสารและวิทยุช่วยบิน
อุตสาหกรรมการบิน
2.5 กำหนดกิจการศุลกากรคนเข้าเมือง ตลอดจนข้อ
1.5 กำหนดนโยบายเรื่องตั๋วโดยสาร ให้เป็นมาตรฐาน บังคับว่าด้วยสุขภาพของผู้โดยสารเครื่องบิน สินค้า และ
ทั้งในด้านราคา การชั่งน้ำหนัก การตรวจสอบสัมภาระ และ พัสดุลำเลียงโดยทางเครื่องบิน
การดูแลเอกสาร ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก
6.ออก Tag Code สำหรับสายการบินทั่วโลก 2.6 ทำหน้าที่สอบสวนเมื่อเกิดอุบัติเหตุทางเครื่องบิน
เกิดขึ้น
10
11
4. การขนส่งทางรถไฟ (Railroads) การขนส่งระบบคอนเทนเนอร์ (Container System)
เป็นเส้นทางการลำเลียงที่สำคัญที่สุดของประเทศ
เป็นการขนส่งโดยบรรจุสินค้าที่จะขนส่งลงในตู้หรือ
เหมาะสำหรับการขนส่งสินค้าหนัก ปริมาณมาก ระยะทาง กล่องเหล็กขนาดใหญ่ แล้วทำการขนส่งโดยรถบรรทุก
ไกล รวดเร็ว อัตราค่าบริการไม่แพง และขนส่งสินค้าได้ รถไฟ หรือเครื่องบิน ไปยังจุดหมายปลายทางโดยไม่มีการ
จำนวนมากหลายชนิด ทันตามกำหนดเวลาที่ต้องการ แต่ ขนถ่ายสินค้าออกจากตู้ระหว่างทำการขนส่งเที่ยวนั้น ซึ่งตู้
ความยืดหยุ่นมีน้อย เพราะมีเส้นทางที่ตายตัว สินค้าที่ใช้การ คอนเทนเนอร์ทนทานต่อสภาพลมฟ้าอากาศ สามารถวางไว้
ขนส่งทางรถไฟ เช่น การขนน้ำมัน ปูนซีเมนต์ เฟอร์นิเจอร์ กลางแจ้ง ตู้คอนเทนเนอร์ จึงสามารถป้องกันสินค้าชำรุด
เป็นต้น เสียหายได้เป็นอย่างดี
5. การขนส่งทางท่อ (Pipeline Transportation) ซึ่งขนาดของตู้คอนเทนเนอร์ที่ใช้กันทั่วไปหากแบ่งตาม
เป็นการขนส่งสิ่งของประเภทของเหลวและก๊าซผ่าน ขนาดนั้น แบ่งได้ 2 ประเภท คือ
สายท่อ เช่น น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ เคมีภัณฑ์ เป็นต้น ซึ่ง 1. ตู้ 20 ฟุต มีความกว้าง x ยาว x สูง ที่ 8.0 ฟุต
การขนส่งทางท่อจะแตกต่างกับการขนส่งประเภทอื่น คือ x 19.6 ฟุต x 8.6 ฟุต มีน้ำหนักบรรจุตู้ได้ไม่เกิน 21.7 ตัน
อุปกรณ์ที่ใช้ในการขนส่งไม่ต้องเคลื่อนที่ โดยเส้นทางขนส่ง และขนาดไม่เกิน 32-33.5 คิวบิกเมตร
ทางท่ออาจจะอยู่บนดิน ใต้ดินหรือใต้น้ำ มีความปลอดภัย
สูงจากการสูญหายหรือลักขโมย ใช้กำลังคนน้อยและข้อเสีย 2. ตู้ 40 ฟุต มีความกว้าง x ยาว x สูง ที่่ 8.0 ฟุต
คือ ขนส่งได้เฉพาะสินค้าที่เป็นของเหลวหรือก๊าซเท่านั้นค่าใช้ x 40.0 ฟุต x 9.6 ฟุต มีน้ำหนักบรรจุตู้ได้ไม่เกิน 27.4
จ่ายในการลงทุนครั้งแรกสูง ไม่เหมาะกับการขนส่งใน ตัน และขนาดไม่เกิน 76.4-76.88 คิวบิกเมตร
ภูมิประเทศที่มีแผ่นดินไหวบ่อย
12
13
การขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ พิธีศุลกากรขาเข้า-ขาออก
เป็นการใช้การขนส่งที่แตกต่างกันรวมกันสองรูป พิธีการศุลกากรขาเข้า (Import Customs Clearance)
แบบขึ้นไป เพื่อลดระยะเวลาของการขนส่ง ลดต้นทุน และ เป็นการแจ้งรายการสินค้านำเข้าแก่เจ้าหน้าที่ศุลกากร
เพิ่มประสิทธิภาพให้มีศักยภาพการแข่งขัน
ตัวอย่างของการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ เช่น ของประเทศนั้นๆ เมื่อสินค้าถึงประเทศปลายทาง สินค้าที่นำ
เข้าจะยังเป็นสินค้านำเข้าที่ยังไม่ถูกกฎหมาย จนกว่าสินค้าจะ
การขนส่งทางรถไฟร่วมกันกับรถบรรทุก (Piggy- ถูกส่งถึงท่าปลายทางและได้รับอนุญาตจากเจ้าหน้าที่
back) ศุลกากรของประเทศนั้นๆ และภาษีอากรขาเข้าได้ถูกชำระ
การขนส่งรถบรรทุกร่วมกับเรือ (Fishy-back) เรียบร้อยแล้วเท่านั้น ซึ่งผู้นำเข้ามีหน้าที่ในการจัดเตรียม
การขนส่งระหว่างเครื่องบินร่วมกับเรือ (Sea-Air) เอกสารให้ทางเจ้าหน้าที่ศุลกากรตรวจสอบและนำสินค้าออก
จากท่าเรือหรือสนามบินปลายทาง
รูปภาพที่ 9 ตัวอย่างการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ
http://www.thailandindustry.com/ พิธีการศุลกากรขาออก (Export Customs Clearance)
สินค้าที่ส่งออกจากประเทศไทย ต้องผ่านพิธีการ
ศุลกากรขาออก ซึ่งเป็นการรายงานต่อเจ้าหน้าที่ศุลกากรว่า
มีสินค้าอะไรบ้าง ใครเป็นผู้ส่งออก และส่งไปที่ใด ในการส่ง
ออกทุกการจัดส่ง
14
15
สิ่่งของต้องสำแดง การจัดการการขนส่ง 3PL หรือ TPL Logistic
1. เครื่องใช้ส่วนตัวที่มีมูลค่าเกินกว่า 20,000 บาท ผู้ที่ทำหน้าที่เป็นตัวแทน (Outsource) ของผู้
2. ตัวอย่างสินค้าที่ไม่มีราคาในทางการค้า ให้บริการโลจิสติกส์ที่มีความเชี่ยวชาญในการให้
3. ของที่นำมาจัดแสดงหรือนำเข้ามาชั่วคราว (ต้องมี บริการทั้งหมด หรือบางส่วนของกิจกรรมโลจิสติกส์
เอกสารยืนยันที่ทำเรื่องกับศุลกากรไว้) เช่น บริการด้านการขนส่ง ด้านคลังสินค้า การกระ
4. สิ่ง “ของต้องห้าม” เช่น ยาเสพติด สินค้าเลียนแบบ จายสินค้า บริการด้านการเงิน รวมถึงด้านเอกสาร
(ของปลอม) สื่อลามก สัตว์ป่าสงวน ธนบัตรและเหรียญ ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ในการเชื่อมโยงและรับช่วงต่อ
กษาปณ์ปลอม การขนส่งในแต่ละรูปแบบของการขนส่งสินค้าจาก
5. “ของต้องกำกัด” ที่ต้องมีใบอนุญาต เช่น อาวุธปืน ต้นทางจนถึงจุดหมายปลายทาง ได้แก่ บริษัท
วัตถุระเบิด พระพุทธรูป โบราณวัตถุ สัตว์มีชีวิต สัตว์ป่า Shipping Agency หรือ Freight Forwarder
ซากสัตว์ เป็นต้น เช่น บริษัทนิปปอนเอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จำกัด
สิ่่งของที่ไม่ต้องสำแดง
1. เครื่องใช้ส่วนตัวที่มีมูลค่าไม่เกิน 20,000 บาท
2. บุหรี่จำนวนไม่เกิน 200 มวน
3. ซิการ์/ยาเส้นจำนวนไม่เกิน 250 กรัม
4. สุราจำนวนไม่เกิน 1 ลิตร
5. เงินตราต่างประเทศไม่เกิน 15,000 ดอลลาร์
สหรัฐอเมริกา
16
17
กรณีเรือขนส่งสินค้า EVEN GIVEN ซึ่งกรณีดังกล่าวทำให้ตู้สินค้าในเรือเกิดความ
ขว้างคลองสุเอต ล่าช้า โดยมีเรือบรรทุกตู้สินค้าที่ได้รับผลกระทบ
จำนวนทั้งสิ้น 63 ลำ มีปริมาณตู้คอนเทนเนอร์
เหตุเกิดเมื่อวันอังคารที่ 23 มีนาคม 2021 เรือ รวม 727,764 TEUs และยังส่งผลกระทบต่อการ
บรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ Ever Given เกยขวางคลองสุ เปลี่ยนแปลงตารางการเดินเรือ และ Transit
เอซในอียิปต์ หลังเดินทางออกจากท่าเรือในจีนและกำลัง Time เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงเส้นทางการวิ่ง
มุ่งหน้าสู่เนเธอร์แลนด์ องค์การคลองสุเอซ (SCA) ระบุ และยังสามารถส่งผลกระทบต่อเครือข่ายซัพพลาย
ถึงสาเหตุของการ ‘ขวางคลอง’ ของ Ever Given ว่า เชนในกระบวนการผลิต รวมถึงผลกระทบต่อการ
ขณะที่เรือกำลังแล่นผ่านคลองสุเอซเมื่อวันอังคาร เกิด ค้าของโลกได้
พายุทรายที่มีความเร็วลมมากกว่า 40 น็อต (ประมาณ
74 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) และทำให้วิสัยทัศน์การมองเห็น
ต่ำ จนในที่สุดเรือก็สูญเสียการควบคุม หัวเรือเกยเข้ากับ
ฝั่ งบริเวณกิโลเมตรที่ 151 โดยมีตัวลำเรือกีดขวางเส้น
ทางของคลองสุเอซโดยสมบูรณ์ ส่วนลูกเรือทั้งหมด 25
คนยังอยู่บนเรือและปลอดภัยดี ส่วนตัวเรือยังไม่มีความ
เสียหาย
18
19
อ้างอิง อ้างอิง
การขนส่งมีกี่ประเภท. (2563). ค้นเมื่อ 3 กันยายน 2564. Lazypax. (2562). IATA กับ ICAO. ค้นเมื่อ 3 กันยายน
จาก https://www.dtc.co.th 2564. จาก https://www.lazypax.co
กฤตพา แสนชัยธร. (2558). การจัดการโลจิสติกส์และโซ่ prosoftgps. (ม.ป.ป.). ความต่างระหว่างระบบขนส่ง และ
อุปทาน Logistics and Supply Chain ระบบขนส่งแบบโลจิสติกส์. ค้นเมื่อ 3 กันยายน 2564.
Management. ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ. จาก https://www.prosoftgps.com/Article
พิธีการศุลกากร. (ม.ป.ป.). ค้นเมื่อ 3 กันยายน 2564. จาก Thaicontainer. (2562). ตู้คอนเทนเนอร์คืออะไร. ค้นเมื่อ
https://www.siamvip.com/process 3 กันยายน 2564. จาก
https://www.thaicontainergroup.com
วรวัฒน์ ฉิมคล้าย. (2564). สรุปวิกฤตเรือ Ever Given
ขวางคลองสุเอซ เกิดอะไรขึ้น. ค้นเมื่อ 3 กันยายน
2564. จาก https://thestandard.co/ever-
given-on-suez-canal/
เทคโนโลยีการขนส่ง. (ม.ป.ป.). ค้นเมื่อ 3 กันยายน 2564.
จากhttps://sites.google.com/site
20