The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Mint Slisa, 2024-02-06 20:25:05

สะสมงานปทิตตา

สะสมงานปทิตตา

E-BOOK วิชา เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการอาชีพ สะสมผลงาน จัดทำ โดยนางสาวปทิตตา ทำ สีนาค สกต1/2 เลขที่6


ความรู้พื้รู้ พื้นฐานของข้อมูลขนการพัฒนาประสิทธิภาพการ ตลาดดิจิทัลด้วยข้อมูลขนาดใหญ่ 03 12 CONTENTS 01 02 04 การใช้ BIG DATA เพื่อการพัฒนาประสิทธิภาพการตลาด ดิจิทัล ความสำ คัญของข้อมูลขนาดใหญ่ (BIG DATA) ในการพัฒนาประสิทธิภาพการตลาดดิจิทัล โครงสร้าร้งพื้นฐานและสถาปัตยกรรม IoT ความรู้พื้รู้ พื้นฐานของข้อมูลขนาดใหญ่ (BIG DATA) ความสำ คัญของ Internet Of Things สถาปัตยกรรม Internet Of Things โครงสร้าร้งของ Internet of Things (IoT) BUSINESS MODEL CANVAS การสืบค้นข้อมูลด้วย Google บริษัริ ษัทแมคไทย จำ กัด ปัญญาประดิษฐ์ ทักษะในการรับรัมือการกลั่นแกล้งบนโลกไซเบอร์ วิธีจัดการเมื่อถูกกลั่นแกล้งบนโลกไซเบอร์ วิธีวิเคราะห์แบบสอบถามในโปรแกรม Excel 1 3 5 6 10 11 13 14 15 16 21 24


ฟังเพลง About Me ข้อมูลส่วนตัว เบอร์โทร :0642384227 Email: [email protected] Facebook : Rachanee Sukkasem Instagram : kkhim_2547 ชื่อ-สกุล : นางสาวปทิตตา ทำ สีนาค ชื่อเล่น : ขิม วันเกิด : 29 มีนาคม 2547 อายุ :19 สัญชาติ : ไทย เชื้อชาติ : ไทย สาขาวิชา :การตลาด ข้อมูลการติดต่อ งานอริเดก อ่านหนังสือ ดูหนัง


ก รายงาน เรื่อง การใช Internet of thing สำหรับ marketing จัดทำโดย 1.นางสาวปทิตตา ทำสีนาค เลขที่ 6 สกต.1/2 2.นางสาวอัญมณี ธาตุคำภู เลขที่ 15 สกต.1/2 เสนอ อาจารยณัฐฏิญาภรณ บุญวิจิตร รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการอาชีพ รหัสวิชา 30001-2003 ภาคเรยีนที่2 ปการศึกษา 2566 วิทยาลัยอาชีวศึกษารอยเอ็ด


ก คำนำ รายงานฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของวิชา เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการอาชีพ ในระดับชั้น ปวส.1โดยมี จุดประสงค เพื่อการศึกษาความรูที่ไดจากเรื่องการใช Internet of thing สำหรับ marketing ซึ่งรายงานนี้มี เนื้อหาเกี่ยวกับความรูการนำ IoT หรือ Internet of Things มาใชกับงานดาน Marketing หรือการตลาด ผูจัดทำไดเลือก หัวขอนี้ในการทำรายงาน เนื่องมาจากเปนเรื่องที่นาสนใจ ผูจัดทำจะตองขอขอบคุณ อาจารยอาจารยณฐัญาภรณบุญวิจิตร ผูใหความรูและแนวทางการศกึษาเพื่อน ๆ ทุกคนที่ใหความชวยเหลือ มาโดยตลอด ผูจัดทำหวังวารายงานฉบับนี้จะใหความรู และเปนประโยชนแกผูอานทุก ๆ ทาน


ข สารบัญ เรื่อง หนา คำนำ สารบัญ การใช IoT พลิกเกมธุรกิจ เปลี่ยนโฉมประเทศ ความสำคัญของ IoT (Internet of Things) IoT กับการใชในเดินเกมธุรกิจ พลิกโฉมประเทศ IoT กับบทบาทที่รฐับาลวางไวเพื่อพลิกโฉมประเทศ ประโยชนทางเศรษฐกิจของ IoT แหลงอางอิง ก ข 1 2 3 4 5 6


1 การใชIoT พลิกเกมธุรกจิเปลี่ยนโฉมประเทศ Internet of Things (IoT) หรือ 'อินเทอรเน็ตแหงสรรพสิ่ง' เปนเทคโนโลยีการเชื่อมตออุปกรณทุกสิ่ง ทุกอยางสูโลกอินเทอรเน็ต ไมวาจะเปนการเปด-ปด อุปกรณเครื่องใชไฟฟา รถยนต โทรศัพทมือถือ เครื่องมือ สื่อสาร เครื่องมือทางการเกษตร อาคาร บานเรือน ที่ควบคุมผานมือถือหรือทางอินเทอรเน็ต ที่มีการนำมาใช จนเปนที่รจักกันดีมาสักพักหนึ่งแลว ู ไมวาจะเรียกดวยคำวา IoT หรืออีกชื่อเรียกหนึ่งที่นิยมกันดีอยาง M2M ที่ยอมาจาก Machine to Machine ก็ตาม ลวนเปนวิวัฒนาการของเทคโนโลยีและดิจิทัลที่เขามามีบทบาทสำคัญของโลกที่กำลังจะกาว ไป โดยประเทศไทยเราไดมีการสงเสริมใหเกิดการใช IoT เขามาขับเคลื่อนเศรษฐกิจสูยุคดิจิทัลในนโยบาย Thailand 4.0 ดวย https://bangkokbanksme.b-cdn.net/uploads/topics/.jpg


2 ความสำคญัของ IoT (Internet of Things) IoT ไดรับการจัดอันดับใหเปนเทคโนโลยีและนวัตกรรมสำคัญอันดับหนึ่งที่ทรงอิทธิพลตอการเกิด Disruption ทางเทคโนโลยี โดยมีอันดับสูงกวาปญญาประดิษฐ (AI) และหุนยนต (robotics) สำคัญขนาดที่วา รัฐบาลไทยตองจัดตั้งสถาบันไอโอที(IoT Institute) เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมดจิิทัลแหงอนาคต ภายใตความรวมมือของเครือขายพันธมิตรไอโอทีแหงประเทศไทย เพื่อจัดเปนศูนยทดลองและ ทดสอบนวัตกรรมดิจิทัลโดยเฉพาะดาน IoT และระบบอัจฉริยะใหกับธุรกิจขนาดเล็ก และนักเรียนนักศึกษาขึ้น ที่ Digital Park Thailand ในโครงการระเบียงเขตเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) โดยกระทรวงดิจิทัลเพื่อ เศรษฐกิจและสังคม มีสำนักงานสงเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (สศด.) เปนผูจัดการดูแล ซึ่งโครงขาย Internet of Things ไดรับการคาดหมายวาจะเปนหนึ่งในตัวขับเคลื่อนสำคัญ ที่จะเขามาชวยสนับสนุนใหเกิดการ ประยุกตใชงานตามแผนงานที่รัฐบาลวางไวในการขับเคล่อืนประเทศไทยไปสูยุคดจิิทัล https://www.bangkokbanksme.com/uploads/topics/.jpg Internet of Things คือเครือขายของสิ่งที่เปนตัวตนจับตองได (“things”) ที่มีสิ่งประดิษฐ electronic หรือ sensors หรือ software ฝงตัวอยู โดยเชื่อมตอถึงกันเพื่อเพิ่มประโยชนและคุณคาของ บริการ โดยแลกเปลี่ยนขอมูลกับผูผลิต กับ operator และ/หรือกับอุปกรณที่มีสิ่งฝงตัวอยู นิยามของ Internet of Things (IoT) หมายถึง การที่สิ่งตางๆ ถูกเชื่อมโยงทุกสิ่งทุกอยางเขาสูโลกอินเทอรเน็ต ทำใหมนุษยสามารถสั่งการ ควบคุมใชงานอุปกรณต างๆผานทางเครือขายอินเตอรเน็ต หรือเรียกวา ” การที่สิ่งตางๆ ถูกเชื่อมโยงทุกสิ่งทุกสิ่งดวยอินเตอรเน็ต ” อยางไรก็ดี Internet of Things นี้ไมไดเปนเพียงสวนขยายของอินเทอรเน็ต ที่เรารูจักกันอยูเทานั้น แตจะเกิด เปนโครงสรางพื้นฐานใหมของตนไดโดยพึ่งพาอยูกับอินเทอรเน็ต ซึ่งการเกิดประโยชนจะเปนในรูปแบบพึ่งพา กับบริการ หรือธุรกิจใหม และจะสามารถครอบคลุมการสื่อสาร


3 IoT กับการใชในเดินเกมธุรกิจ พลิกโฉมประเทศ ดวยความสามารถของ IoT ที่โดดเดน จนรัฐบาลไทยเล็งเห็นบทบาทที่จะนำมาใชพลิกโฉมประเทศ เปลี่ยนจาก Thailand 3.0 ไปเปน Thailand 4.0 คือการเชื่อมโยงเครือขายอินเทอรเน็ตเขากับหลายสิ่ง ผาน การเชื่อมตออุปกรณแบบ RFID และ Sensors เพื่อใหสามารถตรวจวัดขอมูลหลากประเภทไดเปนจำนวนมาก จนอาจกลาวไดวาเปน Internet of Everything ไปแลว เพราะปจจุบันนี้แคเพียงคนหนึ่งคนก็ใชการเชื่อมโยง ทุกส่ิงที่เปนอุปกรณรอบตัว ตั้งแตรถยนตมือถือ แล็ปท็อป ไปจนถึงระบบเปดปด ควบคุมเครื่องใชไฟฟาใน บานและอีกหลายๆ สิ่ง หากการนำระบบ IoT มาใชในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศหรือบริหารกิจการ จะสามารถพัฒนา ไปสูรายไดหรือการทำกำไรนำคูแขง หรอืชนะขาดในเกมการทำธุรกจิไดเลย ซ่งึความสามารถอันโดดเดนของ IoT คือการสังเกตการณผานตัวเซนเซอรที่จะมาชวยตรวจสอบใหไดวา ขณะนี้สถานการณตางๆ เปนอยางไร และสงสัญญาณแจงเตือนผูใชงานได ภายใตการควบคุมโดยตัวซอฟทแวรที่อยู ในอุปกรณที่สามารถควบคุมฟงกชั่นการใชงานของอุปกรณน้นัๆ ไปจนถึงปรับใหเขากับไลฟสไตลของแตละคน ได นอกจากนี้ IoT ยังสามารถพยากรณสิ่งที่คาดวาจะเกิดขึ้น จากขอมูลที่ไดรับมาเปนชุดขอมูลแลวนำไป ประมวลผลใหทราบลวงหนาไดเหมือนมีหมอดูสวนตัว ผานระบบการทำงานอัตโนมัติที่พรอมประสานงานกับ อปุกรณตัวอื่นๆ ไดเอง นี่จึงเปนความโดดเดนที่รัฐบาลไทยเล็งเห็นความสำคญัจนถึงข้ันชูIoT เปนตัวเอกในกา เปลี่ยนผานประเทศไปสูยุคแหงเทคโนโลยี https://bangkokbanksme.b-cdn.net/uploads/topics/.png


4 IoT กับบทบาทที่รัฐบาลวางไวเพ่อืพลิกโฉมประเทศ โดยภาระหนาที่ที่รัฐบาลคาดการณให IoT มาชวยขับเคลื่อนประเทศ ในภาคสวนหลักดานการผลิตที่ ประเทศไทยมีอยูเดิมก็คือ - การทำเกษตรแมนยำ (Precision Farming) เปนการอาศัยการทำงานรวมกันของระบบเซ็นเซอรวัด ความชื้น ปริมาณแสงแดด อุณหภูมิ ระบบฐานขอมูลพืช ระบบใหน้ำ ปรับปริมาณแสง และระบบปรับอุณหภูมิ ที่ทำงานสอดคลองกัน เพื่อสรางสภาพที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพืชแบบแมนยำที่สุด ภายใตการ ประหยัดและใชทรัพยากรใหนอยที่สุด - อินเทอรเน็ตอุตสาหกรรม (Industrial Internet) โครงขายขอมูลขนาดใหญที่เชื่อมตออุปกรณ เครื่องจักร เครื่องวัด และระบบการควบคุมในระบบอุตสาหกรรมเขาดวยกัน มีการสงขอมูลผานโครงขายที่ชวย ใหอุปกรณและระบบตางๆ ผานการทำงานหลากหลายแบบ - ระบบคมนาคมและการจัดการโลจิสติกส โครงขาย IoT เขาไปมีสวนชวยในการพัฒนาระบบ คมนาคมและการจัดการโลจิสติกส ดวยการเชื่อมตอขอมูลระหวางยานพาหานะและระบบควบคุมการจราจร อื่นๆ เชน ระบบสัญญาณการจราจร ระบบขอมูลสภาพจราจร ไปจนถึงรอบการเดินรถสาธารณะ - ระบบการจัดการพลังงานและสาธารณูปโภค (Utility Management) IoT มาชวยจัดการพลังงาน และสาธารณูปโภคที่มีประสิทธิภาพ จะตองมีการตรวจวัดแมนยำในการประมวลผลภาพรวม เชน ระบบ smart meter ที่มีความสามารถในการวัดปริมาณการใชสาธารณูปโภค กอนจะสงขอมูลดังกลาวไปยังหนวย ประมวลผลกลางเพื่อใชวิเคราะหภาพรวมตอไป - ระบบสาธารณสุขอัจฉริยะ (Smart Health) เปนการประยุกตใชเทคโนโลยี IoT เพื่อระบบ สาธารณสุขอัจฉริยะ ทำโดยการใชอุปกรณ IoT ที่เก็บขอมูลสุขภาพและสัญญาณทางรางกาย (bio signals) เชน สัญญาณชีพจร ความดันโลหิต คุณภาพการนอน การเคลื่อนที่ การหายใจ ผานการใชอุปกรณสวมใส (wearable devices) เพื่อรวบรวมและประมวลผลออกมาเปนขอมูลสุขภาพและการเจ็บปวย ทำใหงายตอการ วินิจฉัยโรค - ระบบเทคโนโลยีการเงิน (Fintech) สนับสนุนเทคโนโลยีทางการเงินหลายรูปแบบ เชน ระบบการ จายเงินอัตโนมัติ (auto-payment) ในรานคาปลีก ระบบการจายเงินโดยผานอุปกรณสวมใส (wearable devices) และโทรศพัทเคลื่อนที่ดังที่นิยมใชกันอยางแพรหลายในชวงกักตัวเลี่ยงการแพรระบาดของโควิด-19


5 ประโยชนทางเศรษฐกิจของ IoT การเชื่อมโยงโครงขาย IoT ทำใหเกิดประโยชนหลายดาน ตั้งแตระดับตัวบุคคลไปจนถึงหนวยงาน องคกร และการนำมาใชขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ มีการคาดการณวาในอีกไมกี่ปขางหนา ผลทาง เศรษฐกิจของโครงขาย IoT จะมีคามหาศาล โดยสถาบันวิจัย McKinsey Global ไดประเมินไววาในป พ.ศ. 2568 ผลประโยชนทางเศรษฐกิจของ IoT ทั่วโลก อาจมีคาสูงระหวาง 3.9 ลานลานดอลลารสหรัฐฯ ถึง 11.1 ลานลานดอลลารสหรัฐฯ ตอป โดยที่เกือบรอยละ 70 จะเปนผลประโยชนที่เกิดขึ้นระหวางธุรกิจกับธุรกิจ Business-to business (B2B) ในขณะที่อีกรอยละ 30 จะเปนผลประโยชนจากการท่ผีูบริโภคใชงาน applications ตางๆ นอกจากนี้ทาง McKinsey Global ยังประเมินไวอีกวารอยละ 40 ของคาที่ประเมินไว จะมาจาก ประเทศที่กำลังพัฒนา ซึ่งมีโอกาสในการนำโครงขาย IoT มาใชประโยชนในดานตางๆ มากมาย ซึ่งนำมาใช พลิกเกมธุรกิจไดในอนาคต ดวยการเพิ่มมูลคาสรางความแตกตางบนอุปกรณรูปแบบหรือชนิดเดียวกัน ใหดูดีมี มูลคาเพิ่มขึ้นไดดวยการใสเทคโนโลยีโครงขายเขาไป ทำใหลดการแขงขันเรื่องการตัดราคาลงไปได ลดจำนวน คูแขงท่จีะเขามาในสนามเดยีวกัน โครงขายเทคโนโลยีที่นำมาใชกับสินคาหรือติดตั้งบนอุปกรณ เปนรูปแบบเฉพาะที่จะลอกเลียนหรือ เขาถึงรหัสตนแบบไดยาก จากตนทุนการผลิตและการออกแบบอุปกรณที่สูง ทำใหลดจำนวนคูแขงที่ทุนไมหนา พอลงไปไดในตัว สนามแขงนี้จึงอาจมีคูแขงหนาใหมเกิดขึ้นนอยผูถือไอเดียตนแบบจะกลายเปนผูถือไพ เหนือกวา เทคโนโลยีโครงขาย IoT ขึ้นอยูกับการเชื่อมโยงขอมูล ไปจนถึงการเก็บขอมูลตางๆ มาคิดวิเคราะห ซึ่งการตีโจทยแตกนำเกมเดินหนากอนจะมีโอกาสพัฒนาตอยอดไปไกลกวาคูแขงที่เกิดทีหลังและคิดเลนใน สนามเดียวกัน การที่ผูนำประเทศลุกขึ้นมาปรับโฉมประเทศ ดวยนโยบายดานเทคโนโลยีใหกาวไปสูยุคดิจิทัล โดยใช โครงขาย IoT เปนตัวชวยขับเคลื่อนหลัก เพื่อใหประเทศไทยหลุดพนจากระดับรายไดปานกลาง-สูง ไปสูระดับ รายไดดีกวา ที่อาจตองใชเวลานานหลายปกวาจะเห็นผลเปนรูปธรรมนั้น ไมไดหมายความวาจะไมมีวันเกิดขึ้น ดังนั้นผูประกอบการเอสเอ็มอีไทยที่เปนเสมือนกลไกชวยขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ ก็ควรมีความ พรอมตื่นตัวและเปดรับเทคโนโลยีใหมๆ เขาไปใชในการดำเนินกิจการ เพื่อไมใหพลาดจังหวะและโอกาสที่จะ เกิดขึ้นในโลกของการทำธุรกิจยุค 4.0 ที่ประเทศไทยปกธงไว แมวันนี้เรื่องเทคโนโลยีใหมๆ จะเปนสิ่งที่ชวน ปวดหัว แตถาเปดใจ เปดรับ และพรอมเรียนรูก็ไมใชเรื่องยากไปกวาการนั่งถอดสมการฟสิกสในชั้นเรียนอยาง แนนอน.


6 แหลงอางองิ https://techsauce.co/tech-and-biz/thai-business-internet-of-things https://www.fujitsu.com/th/th/themes/enabling-digital/asia/smart-factory/fully-utilizing-iotinside-the-vast-plant.html http://www.nbtc.go.th/getattachment/Services/


การสืบค้นข้อมูลด้วย Google 1.หาข้อมูลแต่อยากเลือกดาวน์โหลดเฉพาะ ประเภทไฟล์ที่ต้องการ สูตร : คำ ที่ต้องการ(เว้นวรรค)filetype:ชื่อไฟล์ จากสูตรนี้คุณสามารถเลือกประเภทไฟล์ที่ต้องการดาวน์โหลด ไปใช้งานได้ซึ่ง Google จะแสดงผลลัพธ์เกี่ยวข้องกับคำ ที่ อยากค้นหา เฉพาะประเภทไฟล์ที่เราต้องการ 2.เจาะจงข้อมูลที่ต้องการค้นหา ภายในเว็บไซต์นั้นๆ สูตร : site:ชื่อเว็บไซต์(เว้นวรรค)คำ ที่ต้องการค้นหา หรือ คำ ที่ต้องการค้นหา(เว้นวรรค)site:ชื่อเว็บไซต์ จากเทคนิคนี้เราจะสามารถเลือกหาข้อมูล หรือเจาะจงเฉพาะ สิ่งที่เราต้องการหาในเว็บไซต์นั้นๆได้ 3. อยากหาคำ หรือประโยคนั้นทั้งประโยค สูตร : “คำ หรือประโยคที่ต้องการหาทั้งประโยค” วิธีนี้จะช่วยเราหาคำ หรือประโยคนั้นทั้งประโยค โดย Google จะแสดงผลลัพธ์ที่มีคำ หรือประโยคนั้นทั้งหมดขึ้นก่อน 4. ตัดข้อมูลที่ไม่ต้องการออกด้วยเครื่องหมาย – สูตร : สิ่งที่ต้องการค้นหา(เว้นวรรค)- สิ่งที่ไม่ต้องการออก กรณีนี้Google จะแสดงผลลัพธ์เกี่ยวกับสิ่งที่ค้นหา แต่ไม่มีเนื้อหาเกี่ยวสิ่งที่ไม่ต้องการออกให้ 5. หาข้อมูลตามช่วงตัวเลข นั้นๆ สูตร : เรื่องที่ต้องการค้นหา(เว้นวรรค) ตัวเลข..ตัวเลข เป็นการหาข้อมูลตามช่วงของตัวเลขที่เราต้องการ 6. ตรวจสอบสถานะเที่ยวบิน พิมพ์ชื่อเที่ยวบินของคุณลงไปในช่องการค้นหา 7. ดูรอบฉายภาพยนตร์ Google ก็จะแสดงสถานะเที่ยวบินนั้นว่า ออกเดินทางหรือยัง อีกกี่นาทีถึง ถึงที่หมายเวลาเท่าไหร่ โดยมีภาพเครื่องบินและ เส้นสีเขียว เพื่อแสดงว่าอยู่ช่วงไหนของการเดินทาง พิมพ์ ชื่อภาพยนตร์ ตามด้วยคำ ว่า วันฉาย Google ก็จะแสดงรอบฉายภาพยนตร์ให้โดยอ้างอิงจาก ตำ แหน่งล่าสุดของเราด้วย 8. แปลงหน่วย เราสามารถแปลงหน่วยผ่าน Google ได้ทันทีไม่ว่าจะเป็น ความยาว/ระยะทาง ซึ่งเราสามารถทำ ได้โดยไม่ต้องคลิกเข้าไปใน เว็บไซต์เพื่อกดแปลงหน่วยอีกที แต่เทคนิคนี้ต้อง ใช้หน่วยเป็นภาษาอังกฤษ 9. เทียบค่าเงินสกุลต่างๆ พิมพ์หน่วยต่างๆลงใน Google เช่น เยน, ดอลล่าร์, ยูโร เป็นต้น Google ก็จะแสดงหน่วยเทียบกับหน่วยบาทของไทยเรา นอกจากนี้ยังสามารถเปลี่ยนหน่วยกลับไปมา หรือเลือกแปลง หน่วยเงินตามแต่ละสกุลที่ต้องการได้ 10. ดูตารางแข่งขันกีฬา พิมพ์ชื่อการแข่งขันกีฬานั้นๆ ตามด้วยคำ ว่า Schedule สามารถดูตารางการแข่งขันกีฬาใหญ่ๆในต่างประเทศที่คุณชื่น ชอบได้ สามารถดูตารางการแข่งขันกีฬาใหญ่ๆในต่างประเทศ ที่คุณชื่นชอบและดูว่าใครจะแข่งคู่กับใครในวันไหน เวลาเท่าไหร่ได้ 11. ดูเวลาพระอาทิตย์ขึ้น และพระอาทิตย์ ตกในที่ต่างๆได้ พิมพ์คำ ว่าพระอาทิตย์ขึ้น หรือ พระอาทิตย์ตก ตามด้วย สถานที่ Google ก็จะแสดงเวลาพระอาทิตย์ขึ้น หรือพระอาทิตย์ตกให้ 12. แสดงเวลาปัจจุบันในประเทศต่างๆ ถ้าอยากทราบเวลาพิมพ์คำ ว่า time ตามด้วย เมืองหรือประเทศนั้นๆ หรือเทียบเวลาห่างกันกี่ชั่วโมงพิมพ์คำ ว่า time difference ตามด้วยชื่อประเทศทั้งสองที่เราอยากรู้ Google ก็จะแสดงเวลาปัจจุบันและเวลาห่างกันให้ นางสาวกนกวรรณ งามสวี เลขที่1 สกต.1/2 นางสาวปณิดา ระวาดเสริฐ เลขที่5 สกต.1/2 นางสาวปทิตตา ทำ สีนาค เลขที่6 สกต.1/2 นางสาวลักษมี พัฒนจักร์ เลขที่8 สกต.1/2 นางสาวรัชนี สุขเกษม เลขที่9 สกต.1/2 นางสาวศลิษา สรสาร เลขที่11 สกต.1/2 นางสาวอัญมี ธาตุคำ ภู เลขที่15 สกต.1/2


CHANNEL ร้าน FWB (Friends With Bar) สื่อสื่Social ต่างๆ เช่น Facebook Instagram Line เป็นต้น กลุ่มคนที่ชอบสังสัสรรค์ ปาร์ตี้ กลุ่มคนที่มีคมีวามชอบ คล้ายคลึงลึกันกั กลุ่มคนที่ชื่นชอบการดื่มดื่ เครื่อรื่งดื่มดื่แอลกอฮอล์ กลุ่มคนที่ต้องการมา ผ่อนคลาย กลุ่มคนที่มีอมีายุ 20ปี ขึ้นขึ้ไป ทุกเพศทุกวัยวั COST STRUCTURE ต้นทุนการตกแต่งร้าน ต้นทุนด้านวัตวัถุดิบดิ ค่าจ้างพนักนังาน ค่าน้ำ ค่าไฟ REVENUE STREAM รายได้จากการขายเครื่อรื่งดื่มดื่ รายได้จากการขายอาหาร รายได้จากช่องทางการจัดจังานเลี้ยลี้ง รายได้จากการฝากขายสินสิค้า KEY PARTNERS KEY ACTIVITIES VALUE PROPOSITIONS CUSTOMER RELATIONSHIP CUSTOMER SEGMENTS KEY RESOURCES BUSINESS MODEL CANVAS แบรนด์เครื่อรื่งดื่มดื่ต่างๆ แหล่งวัตวัถุดิบดิต่างๆ ค่ายเพลง ร้านจำ หน่าย วัสวัดุก่อสร้างในการ ตกแต่งร้าน สร้างแบรนด์ให้ติดติตลาด จัดจัหาบุคลากรในองค์กร การจัดจัซื้อซื้อุปกรณ์ตกแต่ง ร้าน ร้านอาหาร เชฟและสูตรอาหาร บาเทนเดอร์ เด็ก ด็ เสิร์สิ ร์ฟ วัตวัถุดิบดิอาหารและ เครื่อรื่งดื่มดื่ ตอบสนองลูกค้า คุณภาพอาหารที่ดี กิจกิกรรมสันสัทนาการที่ให้ บริกริารลูกค้านอกจากการ รับรั ประทานและการดื่มดื่ กิจกิกรรมเพื่อสังสัคม การบอกเล่าแบบปาก ต่อปาก จัดจั โปรโมชั่นต่างๆจาก ร้านค้าและพันพัธมิตร 1.นางสาวกนกวรรณ งามสวี เลขที่ 1 2.นางสาวปณิดา ระวาดเสริฐ เลขที่ 5 3.นางสาวปทิตตา ทำ สีนาค เลขที่ 6 4.นางสาวลักษมี พัฒนจักร์ เลขที่ 8 5.นางสาวรัชนี สุขเกษม เลขที่ 9 6.นางสาวศลิษา สรสาร เลขที่ 11 7.นางสาวอัญมณี ธาตุคำ ภู เลขที่ 15 สมาชิก FWB ( FRIENDS WITH BAR )


บริริษั ริ ษั ริ ท ษั ท ษั โออิอิชิ อิ ชิ อิชิชิ กรุ๊รุ๊ปรุ๊รุ๊จำจำจำจำกักัด กั ด กั ลัลั ลั ก ลั กษณะการประกอบธุธุ ธุ ร ธุ รกิกิ กิ จ กิ จ รายได้และสวัสดิการต่างๆนักศึกษา ฝึกงานที่นักศึกษาฝึกงานจะได้รับ รายได้และสวัสดิการต่างๆนักศึกษา ฝึกงานที่นักศึกษาฝึกงานจะได้รับ เครือข่ายธุรกิจ/ธุรกิจ ในเครือของสถานประกอบการ เครือข่ายธุรกิจ/ธุรกิจ ในเครือของสถานประกอบการ แนวทางการบรรจุพนักงานประจำ แนวทางการบรรจุพนักงานประจำ หรือการรับพนักงานใหม่หลังจาก การสำ เร็จการศึกษา แนวทางการบรรจุพนักงานประจำ แนวทางการบรรจุพนักงานประจำ หรือการรับพนักงานใหม่หลังจาก การสำ เร็จการศึกษา เป็นธุรกิจกิร้านอาหารญี่ปุ่ญี่ปุ่นและเครื่อรื่งดื่มชาเขียขีวคามิโนโอเคและเซกิ ภายใต้ชื่อสินค้าโออิชิอิ ชิบริษัริทษั โออิชิอิ ชิกรุ๊ปจำ กัดกัมหาชน ซึ่งกิจกิการร้านอาหารได้เริ่มริ่ขยายสาขาออกไป ในเขตพื้นที่กรุงเทพฯ เพื่อตอบรับรักระแสความนิยมและความต้องการของลูกค้า ต่อมาบริษัริทษั ได้เห็นศักศัยภาพและโอกาสในการเติบติ โตของธุรกิจกิ อาหารญี่ปุ่ญี่ปุ่นและเบเกอรี่เรี่พื่อสุขภาพ จึงจึได้เปิดร้านอาหารประเภท ดังดักล่าวภายใต้ชื่อร้านค้าต่างๆ เพื่อตอบสนองความต้องการ ที่แตกต่างของกลุ่มลุ่ลูกค้า ธุรกิจกิอาหารมีร้มี ร้านอาหารในเครือรืจำ นวนมากกว่า 200 สาขา ได้แด้ก่ Hou Yuu 1 สาขา โออิชิอิ ชิแกรนด์ 1 สาขา โออิชิอิ ชิอีทอีเทอเรียรีม 8 สาขา โออิชิอิ ชิบุฟเฟ่ต์ 10 สาขา โออิชิอิ ชิชาบูชิ 142 สาขา (ในประเทศ 140 สาขาและต่างประเทศ 2 สาขา) โออิชิอิ ชิราเมน 54 สาขา คาคาชิ 25 สาขา นิกุยะ 17 สาขา สแน็ค แอนด์ ดริ้งริ้ค์ ดิลิดิเลิวอรี่ ธุรกิจกิเครื่อรื่งดื่ม ได้แด้ก่ ชาเขียขีวบรรจุขวดรสต่างๆ อะมิโนโอเค ฟรุ๊ตโตะ ชาคูซ่า นักนัศึกศึษาฝึกงาน(ไม่จำม่ จำกัดกั สาขา) ค่าจ้างวันวัละ 300 บาท สามารถฝึกงานได้เต็ม ต็ เวลา ตั้งตั้แต่วันวัจันจัทร์ถึงถึวันวั ศุกร์ เวลา 9:00-18:00 น. สามารถฝึกงานได้ขั้นขั้ต่ำ อย่างน้อย 2 เดือดืน สวัสวัดิกดิาร ประกันกั สังสัคม ชุดยูนิฟอร์มของพนักนังาน ทุนการศึกศึษา ส่วนลดการซื้อสินค้า และอื่นอื่ๆ ตามโครงสร้างสวัสวัดิกดิาร ของทางบริษัริทษัฯ จบวุฒิกฒิารศึกศึษา ป.ตรี รายได้เริ่มริ่ต้นต้ 16,000 - 18,000 บาท จบวุฒิกฒิารศีกศีษา ปวส. รายได้เริ่มริ่ต้นต้ 14,000 - 16,000 บาท พนักนังานประจําสาขา รายได้เริ่มริ่ต้นต้ 11,000++ บาท พนักนังานพาร์ทไทม์ รายได้เริ่มริ่ต้นต้45 บาท อายุ 18 ปีบริบูริบูรณ์ขึ้นขึ้ไป ไม่จำม่ จำกัดกัวุฒิกฒิารศึกศึษา ร่วมงานกับกัแบรนด์ชั้ด์นชั้นํา ในเครือรื โออิชิอิ ชิ นางสาวปทิตตา ทำ สีนาค เลขที่ 6 สกต.1/2 นางสาวลักลัษมี พัฒพันจักจัร์ เลขที่ 8 สกต.1/2 นางสาวศลิษลิา สรสาร เลขที่ 11 สกต.1/2 นางสาวอัญอัมณี ธาตุคำ ภู เลขที่ 15 สกต.1/2


การพัพั พั ฒพั ฒนาประสิสิ สิ ทสิ ทธิธิ ธิ ภธิ ภาพการตลาด ดิดิ ดิ จิดิ จิ จิ ทัจิ ทั ทั ลทั ลด้ด้ ด้ ว ด้ วยข้ข้ ข้ อ ข้ อมูมูมู ล มู ลขนาดใหญ่ญ่ ญ่ญ่


การตลาดดิจิทัล เป็นรูปแบบช่องทางการตลาดที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน เนื่องจากการตลาดดิจิทัล ทำ ให้การสื่อสารสามารถ เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้เป็น อย่างดี เป็นรูปแบบการสื่อสารที่สามารถโต้ตอบได้ หรือที่เรียกว่าการสื่อสาร แบบสองทาง (Two Way Communication) ทำ ให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ผู้ บริโภคและนักการตลาด การตลาดดิจิทัลช่วยอำ นวยความสะดวกให้องค์กรใน การ สื่อสารการตลาดไปยังผู้บริโภคอย่างทันทีทันใด อีกทั้งยังมีต้นทุนต่ำ จึงนับได้ว่า เป็นช่องทางที่สร้างประโยชน์อย่างมากต่อ องค์กร (กษิดิศ ใจผาวัง, 2558) นอกจากนี้ข้อมูลขึ้นในช่องทางดิจิทัลจากฝั่งผู้บริโภคทั้งเว็บไซต์ (Web site) ยูทูป (YouTube) กูเกิล (Google)


ความรู้พื้นฐานของข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ข้อมูลขนาดใหญ่ หรือที่เรียกว่า “Big Data” เริ่มต้นการนิยามความหมายของข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ได้นิยามจาก มุมมอง 3 ลักษณะ หรือ “3V’s” ประกอบด้วย “Volume” คือ ข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ที่มีขนาด มากกว่าฐานข้อมูลรูปแบบเดิมใน อดีตสามารถจัดการได้ ต่อมาคือ “Velocity” คือข้อมูลที่ มีลักษณะการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ตัวอย่างเช่น ข้อมูลจากสื่อสังคม ออนไลน์ และส่วน สุดท้าย คือ “Variety” เป็นลักษณะของความหลากหลาย เช่น ข้อมูลแบบสตรีม ข้อมูล แบบเรียลไทม์ (Real Time) ข้อมูลจากเครือข่ายสังคมออนไลน์


ปัจจุบันข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ถูกนำ ไปใช้ประโยชน์อย่างหลากหลาย ตัวอย่างเช่น อุตสาหกรรมค้า ปลีกมีการนำ ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) มาใช้ในการวิเคราะห์ความต้องการของลูกค้า เพื่อสร้าง แคมเปญตอบสนองต่อพฤติกรรมการอุปโภค บริโภคที่ปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา ด้านอุตสาหกรรม โทรคมนาคมนั้น ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ถูกนำ มาใช้ในการวิเคราะห์เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ วิเคราะห์การใช้งานของลูกค้า เพื่อนำ ข้อมูลที่ได้ไปปรับปรุงและพัฒนาการให้บริการให้มีคุณภาพมาก ขึ้น สำ หรับอุตสาหกรรมการเงิน สามารถใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ในการวิเคราะห์ความเสี่ยงของลูกค้า และด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


ความสำ คัญของข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ในการพัฒนาประสิทธิภาพการตลาดดิจิทัล การ ตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) คือ การตลาดที่พัฒนามาจากการตลาดในอดีต โดย เป็นการทำ การตลาดผ่านสื่อ ดิจิทัล เป็นรูปแบบใหม่ของการตลาดที่ใช้ช่องทางดิจิทัลเพื่อ สื่อสารกับผู้บริโภค ได้แก่ เว็บไซต์ (Website) จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Email) บล็อก (Blog) บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network Service) โปรแกรมการสืบค้น ข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต (Search) วีดีโอออนไลน์ (Online Video) เกมส์ดิจิทัล (Digital Games) เป็นต้น


การใช้ Big Data เพ่ือการพัฒนาประสิทธิภาพการตลาดดิจิทัล Big Data เป็น เทคโนโลยีที่ทําให้เกิดการพลิกโฉมธุรกิจได้อย่างอัจฉริยะ เป็นโดเมนที่อาศัยการ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อรับ ข้อมูลเชิงลึกทางธุรกิจเพ่ือการตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพ (Fan, Lau & Zhao, 2015) จึงนับว่า Big Data เป็นสินทรัพย์ท่ีสําคัญ ยิ่งในการขับเคลื่อน องค์กรด้วยข้อมูล สิ่งจําเป็นในการใช้ต้องอาศัยการจัดการข้อมูลให้มีคุณภาพ และใช้วิธี การวิเคราะห์ข้อมูลท่ี ถูกต้องด้วยหลักวิชาการทางสถิติ เพื่อให้ได้สารสนเทศสถิติที่เช่ือ ถือได้และเป็นประโยชน์ ซ่ึงจะทําให้เข้าใจสถานการณ์ขององค์กร ได้อย่างลึกซ้ึง และมี ผลโดยตรงต่อการวางแผนและตัดสินใจ


ในการตลาดดิจิทัล ประกอบด้วย 4 ส่วนที่สําคัญ ได้แก่ 1. การสร้างข้อมูล (Data Generation) การสร้าง ข้อมูลบนสื่อดิจิทัล คือ ข้อมูลที่ถูกสร้างให้เกิดขึ้นจาก สื่อดิจิทัลโดยโดยกลุ่มใดก็ได้ ท้ังเกิดจากด้านองค์กร ที่สร้าง ขึ้น หรือกิจกรรมในชีวิตประจําวันของผู้ บริโภค ที่องค์กรสามารถใช้เป็นพื้นฐานในการ ปรับปรุง 2. การรวบรวมข้อมูล หรือ การจัดหาข้อมูล (Data Acquisition) การรวบรวมข้อมูลหรือ การจัดหาข้อมูล คือ การเสาะหาและการจัด เก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลมาจัดการเพื่อให้เกิดความ เหมาะสมใน การจัดเก็บ จําเป็นต้องรวบรวมข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง แม่นยํา ตรงต่อความต้องการ 3. การจัดเก็บข้อมูล (Data Storage) การจัดเก็บ ข้อมูล คือ บันทึกข้อมูลไว้ในเคร่ืองมือที่เหมาะสม ซ่ึงการจัดการข้อมูลที่มีประสิทธิภาพช่วยให้องค์กร สามารถ ค้นหาข้อมูลท่ีมีโครงสร้างและไม่มี โครงสร้างได้อย่างง่ายดาย เพ่ือรวบรวมข้อมูล ขนาดใหญ่จากแหล่งต่าง ๆ เช่น ไซต์โซเชียลมี เดีย เว็บไซต์ 4. การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytics) การวิเคราะห์ ข้อมูล คือ ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ที่ถูกจัดเก็บไว้ ในอุปกรณ์ที่กล่าวมาในข้างต้น มาผ่านกระบวนการ ต่างๆ และสุดท้ายออกมาเป็นรายงาน สําหรับการวิเคราะห์ข้อมูล จะใช้การวิเคราะห์ 4 ระดับ (Vassakis, Petrakis & Kopanakis,


สรุป ข้อมูลขนาดใหญ่ หรือ Big Data เป็นข้อมูล ขนาดใหญ่ที่มีปริมาณมหาศาล มีความหลากหลาย ของข้อมูลสูง เกิดข้ึนอย่าง รวดเร็ว และมีคุณค่าต่อ การนําไปใช้ประโยชน์ โดยข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) นั้นจะถูกนํามาผ่านกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ข้อมูล และสามารถใช้ประโยชน์ใน การดําเนินการด้านการตลาดดิจิทัลขององค์กรได้


อัญมณี ธาตุคำ ภู เลขที่15 ปทิตตา ทำ สีนาค เลขที่6 เกษฎาภรณ์ ลายโถ เลขที่2 สมาชิก


คำกลาวรายงาน โครงการนักการตลาดรุนใหมเพื่อสังคม ระดับสถานศึกษา ประจำปการศึกษา 2566 วันพุธ ที่ 24 เดือนมกราคม 2567 ณ หอประชุมอินทนิล วิทยาลัยอาชีวศึกษารอยเอ็ด ---------------------------------------------------------------------------- เรียนทานผูอำนวยการเชาวฤทธิ์ ลำพาย ผูอำนวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษารอยเอ็ด ฝายบริหาร คณะครู นักเรียน นักศึกษา ดิฉันนางสาวศลิษา สรสาร ประธานคณะกรรมการดำเนินงาน ขอขอบพระคุณทานผูอำนวยการ วิทยาลัยอาชีวศึกษารอยเอ็ด เปนอยางยิ่งที่ไดใหเกียรติมาเปนประธานในพิธีเปด โครงการนักการตลาดรุนใหมเพื่อสังคม ระดับสถานศึกษา ประจำปการศึกษา 2566 ในวันนี้ โดยมีวัตถุประสงคของการจัดงานในครั้งนี้ 1. เพื่อสงเสริมใหผลิตภัณฑ OTOP มีชองทางการตลาดเพิ่มขึ้น 2. เพื่อฝกนักเรียน นักศึกษาใหมีประสบการณดานการตลาดและมีรายได 3. สงเสริมโอกาสสรางรายไดและการริเริ่มสรางสรรคของนักเรียน นักศึกษา ลดภาวะการวางงาน โดยในปการศึกษา 2566 วิทยาลัยอาชีวศึกษารอยเอ็ด ไดริเริ่มจัดทำโครงการโดยไมใชงบประมาณ ไดแก โครงการนักการตลาดรุนใหมเพื่อสังคม มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมใหผลิตภัณฑ OTOP และชุมชนทองเที่ยวมีชองทาง การตลาดเพิ่มขึ้น ตลอดทั้งฝกนิสิต นักศึกษาใหมีประสบการณดานการตลาดและมีรายได รวมถึงแกไขปญหา การวางงานที่อาจเกิดขึ้นไดในอนาคต บัดนี้ไดเวลาอันเหมาะสมแลว ดิฉันขอกราบเรียนเชิญทานประธานในพิธี ไดใหเกียรติกลาวเปดงาน โครงการ นักการตลาดรุนใหมเพื่อสังคม ระดับสถานศึกษา ประจำปการศึกษา 2566 ในตามลำดับตอไป ขอกราบเรียนเชิญคะ


คำกลาวเปดงาน โครงการนักการตลาดรุนใหมเพื่อสังคม ระดับสถานศึกษา ประจำปการศึกษา 2565 วันพุธ ที่ 24 เดือนมกราคม 2567 ณ หอประชุมอินทนิล วิทยาลัยอาชีวศึกษารอยเอ็ด ---------------------------------------------------------------------------- กระผมนายเชาวฤทธิ์ ลำพาย ผูอำนวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษารอยเอ็ด รูสึกยินดีและเปนเกียรติที่ไดมาเปน ประธานพิธีเปด โครงการนักการตลาดรุนใหมเพื่อสังคม ระดับสถานศึกษา ประจำปการศึกษา 2566 ในวันนี้ ขอขอบคุณทานรองฝายแผนงานและความรวมมือ ฝายบริหาร ครู อาจารย นักเรียน นักศึกษา และทีม นักการตลาดทุกทาน จากการรายงานถึงวัตถุประสงคของการจัดงาน โครงการนักการตลาดรุนใหมเพื่อสังคม ระดับสถานศึกษา ประจำปการศึกษา 2566 ในวันนี้ ทำใหมองเห็นถึงเปาหมายความสำเร็จ ที่นักเรียน นักศึกษา ครูที่ปรึกษา และสถานศึกษา ที่ไดรวมกับสถานประกอบการ องคกร ชุมชนหรือหนวยงานภายนอกทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชนเขามามีสวนรวมในการสงเสริม สนับสนุน ในการคิดคนสินคา OTOP เพื่อสังคมของสถานศึกษา ใหสำเร็จ สามารถพรอมใชงานนําไปสูการใชประโยชน เพื่อใชแกปญหาเชิงพื้นที่ขององคกร หนวยงาน ชุมชน สงเสริมการ ประกอบอาชีพ สรางอาชีพใหม สรางรายได ลดปญหาการวางงานและเพิ่มมูลคาในเชิงพาณิชย หรืออุตสาหกรรม ซึ่งสอดคลองกับนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในการสรางคุณภาพอาชีวศึกษา (Quality) ทั้งนี้ หวังเปนอยางวาผลงานนวัตกรรมสินคา OTOP เพื่อสังคมของวิทยาลัยอาชีวศึกษารอยเอ็ด ในวันนี้ จะผานการคัดเลือกผลงานที่มีคุณภาพจากกรรมการตัดสินเปนตัวแทนระดับสถานศึกษาเขารวมการประกวดระดับ อาชีวศึกษาจังหวัด และผานการคัดเลือกเพื่อเขาไปประกวดในระดับภาค และระดับตอไป บัดนี้ ไดเวลาอันเหมาะสมแลว กระผมขอเปด โครงการนักการตลาดรุนใหมเพื่อสังคม ระดับสถานศึกษา ประจำปการศึกษา 2566 และขอใหการดำเนินงานในวันนี้สำเร็จลุลวงตามวัตถุประสงคดวยดี ------------------------------------------------------------


คำสั่งวิทยาลัยอาชีวศึกษารอยเอ็ด ที่ 679 / ๒๕๖7 เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการดำเนินงานโครงการนักการตลาดรุนใหมเพื่อสังคม ระดับสถานศึกษา ประจำปการศึกษา ๒๕๖6 วิทยาลัยอาชีวศึกษารอยเอ็ด ……………………………………….. ตามที่สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีนโยบายสงเสริมสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสินคา OTOP เพื่อสังคมอาชีวศึกษาทุกระดับชั้นเรียน ทุกสถานศึกษาในสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ใหมีการคิดคนสรางสรรคผลงานดานนวัตกรรมและเทคโนโลยีสินคา OTOP เพื่อสังคมอาชีวศึกษาใหไดมาตรฐาน มีประสิทธิภาพ เพื่อเปนการเพิ่มสมรรถนะผูเรียนสูกำลังคน สมรรถนะสูง ดวยการสรางสรรคผลงาน งานวิจัย สินคา OTOP เพื่อสังคมและนวัตกรรมอาชีวศึกษา ใหสามารถนำไปใชงานไดจริงอยางมีคุณภาพเกิดประโยชนอยางแทจริงตอชุมชนและสังคมสวนรวมของ ประเทศชาติ ตามนโยบายการขับเคลื่อนประเทศสูไทยแลนด 4.0 นั้น ในการนี้งานวิจัยพัฒนานวัตกรรมและสินคา OTOP เพื่อสังคม ฝายแผนงานและความรวมมือ วิทยาลัยอาชีวศึกษารอยเอ็ด จึงไดจัดใหมีโครงการประกวดผลงานสินคา OTOP เพื่อสังคมของคนรุนใหม ระดับสถานศึกษา ประจำปการศึกษา ๒๕๖6 เพื่อประเมินผลงานนวัตกรรมและสินคา OTOP เพื่อสังคมในการ คัดเลือกตัวแทนสถานศึกษาเขารวมการประกวดในระดับอาชีวศึกษาจังหวัดตอไป โดยกำหนดการดำเนินงาน โครงการฯ ขึ้นในวันพุธ ที่ 24 มกราคม 2567 เวลา 13.00 – 15.00 น. ณ หอประชุมอินทนิล วิทยาลัยอาชีวศึกษารอยเอ็ด ดังนั้น เพื่อใหการดำเนินงานดังกลาวสำเร็จบรรลุตามนโยบายและวัตถุประสงค ไดผลงานที่มี คุณภาพเขาประกวดในระดับอาชีวศึกษาจังหวัดรอยเอ็ดตอไป อาศัยอำนาจตามระเบียบสำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา วาดวยการบริหารสถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘ ขอ ๔๒ จึงแตงตั้งคณะกรรมการ ดังนี้ ๑. คณะกรรมการอำนวยการ ประกอบดวย ๑.1 นายเชาวฤทธิ์ ลำพาย ประธานกรรมการ 1.๒ นางรัชดาภรณ มะลิซอน กรรมการ 1.๓ นายมานพ รำจวน กรรมการ 1.๔ นางสาวปรัชญา คนธขจร กรรมการ 1.5 นางเนาวรัตน อันทรบุตร กรรมการและเลขานุการ 1.6 นางสาวณัฐฏิญาภรณ บุญวิจิตร กรรมการและผูชวยเลขานุการ มีหนาที่ ใหคำปรึกษา แนะนำแนวทางปฏิบัติเพื่อใหการดำเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค /2. คณะกรรมการดำเนินงาน...


~ 2 ~ ๒. คณะกรรมการดำเนินงาน ประกอบดวย 2.๑ นางสาววิภาวดี โพธิ์ละเดา ประธานกรรมการ ๒.2 นางสาวนชนก ชุปวา กรรมการ 2.๓ นางสาววิไลพร ธีรรัตนชูโชค กรรมการ 2.๔ นาญอดิศักดิ์ สาสีเสาร กรรมการ 2.๕ นายอานุภาพ จันทรวิบูลย กรรมการ 2.6 นางสันติมา โหตระไวศยะ กรรมการ 2.7 นางสาวจันเพ็ญ ไชยหา กรรมการ 2.8 นางสาวชนัญชิดา โมฬา กรรมการ 2.9 นางสาวอุทัยวรรณ จำเริญสรรพ กรรมการ 2.10 นางสาวลักษมี พัฒนจักร กรรมการ 2.11 นางสาวศลิษา สรสาร กรรมการ 2.12 นางสาวอัญมณี ธาตุคำภู กรรมการ 2.13 นางสาวกนกวรรณ งามสวี กรรมการ 2.14 นางสาวรัชนี สุขเกษม กรรมการ 2.15 นางสาวธัญรดา สาคำไมย กรรมการและเลขานุการ 2.16 นางสาวปณิดา ระวาดเสริฐ กรรมการและผูชวยเลนุการ 2.17 นางสาวจิรภัทร สัจธรรม กรรมการและผูชวยเลนุการ มีหนาที่ ๑. ประสานงานกับคณะกรรมการอำนวยการและคณะกรรมการฝายตางๆ ๒. วางแผนการดำเนินงานใหเปนไปดวยความเรียบรอยและบรรลุตามวัตถุประสงค 3. คณะกรรมการฝายจัดทำผลงานสินคา OTOP เพื่อสังคม 3.1 นางสาวธัญรดา สาคำไมย ประธานกรรมการ 3.2 นางสาวปทิตตา ทำสีนาค กรรมการ 3.3 นางสาวรัชนี สุขเกษม กรรมการ 3.4 นางสาวศลิษา สรสาร กรรมการและเลขานุการ มีหนาที่จัดทำผลงานสินคา OTOP เพื่อสังคม 4. คณะกรรมการประเมินผลงานการประกวดสินคา OTOP เพื่อสังคม 4.๑ นายอดิศักดิ์ สาลีเสาร ประธานกรรมการ 4.2 นางสาวลักษมี พัฒนจักร กรรมการ 4.3 นางสาวฐนิชา วารีญาติ กรรมการ 4.4 นางสาวจิรภัทร สัจธรรม กรรมการ 4.5 นางสาวอัญมณี ธาตุคำภู กรรมการและเลขานุการ มีหนาที่ ประเมินผลงานนวัตกรรมและสินคา OTOP เพื่อสังคม ระดับสถานศึกษา ประจำปการศึกษา ๒๕๖6 /5. คณะกรรมการฝายประชาสัมพันธ...


~ 3 ~ 5. คณะกรรมการฝายประชาสัมพันธ ประกอบดวย 5.1 นางวิไลพร ธีรรัตนชูโชค ประธานกรรมการ 5.2 นางสาวสิริมา ไชยดำ กรรมการ 5.3 นางสาวปณิดา ระวาดเสริฐ กรรมการ 5.4 นางสาวกนกวรรณ งามสวี กรรมการและเลขานุการ มีหนาที่ 1. ประชาสัมพันธขอมูลขาวสารผานสื่อตางๆ 2. บันทึกภาพการดำเนินงานตั้งแตพิธีเปดตลอดจนงานแลวเสร็จ 3. ประสานงานกับฝายอื่นที่เกี่ยวของใหเปนไปดวยความเรียบรอย 6. คณะกรรมการฝายพิธีการ ประกอบดวย 6.1 นางสาวนชนก ชุปวา ประธานกรรมการ 6.2 นางสาวรัชนี สุขเกษม กรรมการ 6.3 นางสาวปทิตตา ทำสีนาค กรรมการ 6.4 นายเชิดชัย ทะวะลัย กรรมการและเลขานุการ 6.5 นางเกษฎาภรณ ลายโถ กรรมการและผูชวยเลขานุการ มีหนาที่ 1. เปนพิธีกรและจัดลำดับขั้นตอนพิธีการตลอดระยะเวลาการดำเนินโครงการ 2. ประสานงานดำเนินงานดานพิธีการใหเปนไปดวยความเรียบรอย 7. คณะกรรมการฝายการเงินและบัญชีประกอบดวย 7.1 นางสาววิภาวดี โพธิ์ละเดา ประธานกรรมการ 7.2 นางสาวศลิษา สรสาร กรรมการ 7.3 นางสาวลักษมี พัฒนจักร กรรมการ 7.4 นางสาวอัญมณี ธาตุคำภู กรรมการและเลขานุการ มีหนาที่ เบิกจายเงินงบประมาณเพื่อใชในการดำเนินงานฯ 8. คณะกรรมการฝายพัสดุประกอบดวย 8.1 นายอดิศักดิ์ สาลีเสาร ประธานกรรมการ 8.2 นางสาววิภาดา วันกลางชัย กรรมการ 8.3 นางสาวจิราภรณ ฟองเสียง กรรมการ 8.4 นายอดิศร บุญสงค กรรมการและผูชวยเลขานุการ มีหนาที่ ดำเนินการจัดซื้อ/จัดจางพัสดุเพื่อใชในการดำเนินงานฯ 9. คณะกรรมการฝายอาคารสถานที่และโสตทัศนูปกรณ ประกอบดวย 9.1 นางสาววิภาวดี โพธิ์ละเดา ประธานกรรมการ 9.2 นางสาวอารีรัตน บุตรพรม กรรมการ 9.3 นายปญญา รัตนประยูร กรรมการ 9.4 นางสาวฐนิชา วารีญาติ กรรมการ /9.5 นางสาวเกวลิน...


~ 4 ~ 9.5 นางเกวลิน สุวะนัด กรรมการและเลขานุการ มีหนาที่ 1. จัดเตรียมโตะ เกาอี้ สำหรับผูบริหาร ครู อาจารย 2. จัดเตรียมสถานที่ สื่อโสตทัศนูปกรณ เครื่องเสียงใหพรอมตอการใชงาน 3. จัดทำปายโครงการ Backdrop 4. ประสานงานกับฝายอื่นที่เกี่ยวของใหเปนไปดวยความเรียบรอย 10. คณะกรรมการฝายรับลงทะเบียนและเกียรติบัตร ประกอบดวย 10.1 นางสาวธัญรดา สาคำไมย ประธานกรรมการ 10.2 นางสาวอภัชชา สวางพฤกษ กรรมการ 10.3 นางสาวปณิดา เมาจา กรรมการ 10.4 นางสาวปทมาภรณ พันธุเชื้อ กรรมการ 10.5 นางสาวลักขณา เจริญสุข กรรมการและเลขานุการ มีหนาที่ 1. จัดเตรียมเอกสารในการลงทะเบียนและจัดทำเกียรติบัตร 2. ประสานงานกับฝายอื่นที่เกี่ยวของใหเปนไปดวยความเรียบรอย 11. คณะกรรมการฝายประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงาน ประกอบดวย 11.๑ นางสาววิภาวดี โพธิ์ละเดา ประธานกรรมการ 11.2 นางสาวสุชาดา วิระษร กรรมการ 11.3 นางสาวจีราดา สวางพฤกษ กรรมการ 11.4 นางสาวจุฑามาศ เขียวน้ำชุม กรรมการ 11.5 นางสาววันวิสา ประโม กรรมการ 11.6 นายนวพล มงคลศรี กรรมการและเลขานุการ มีหนาที่ 1. เก็บรวบรวมผลการประเมินสินคา OTOP เพื่อสังคม และภาพกิจกรรมสินคา OTOP เพื่อสังคม 2. ออกแบบเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลในการประเมินผลการทำงาน 3. จัดทำรายงานสรุปผลรายงานผูบริหารสถานศึกษา ขอใหผูที่ไดรับการแตงตั้งปฏิบัติหนาที่ ที่ไดรับมอบหมายเต็มกำลังความสามารถและเกิดผลดี ตอทางราชการ สั่ง ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน ๒๕๖6 (นายเชาวฤทธิ์ ลำพาย) ผูอำนวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษารอยเอ็ด


1. ชื่อโครงการ โครงการนักการตลาดรุนใหมเพื่อสังคม ระดับสถานศึกษา ของนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษารอยเอ็ด ปการศึกษา 2566 2. ผูรับผิดชอบโครงการ โครงการนักการตลาดรุนใหมเพื่อสังคม วิทยาลัยอาชีวศึกษารอยเอ็ด 3. ลักษณะโครงการ โครงการตาม พ.ร.บ. งบประมาณ โครงการตามภาระงานประจำ โครงการพิเศษ (ไมใชงบประมาณ สอศ.) 4. ความสอดคลอง/เชื่อมโยง/ภายใต ยุทธศาสตร นโยบาย จุดเนน และมาตรการ 4.1 สอดคลองกับนโยบายสอศ. นโยบายที่ 3 พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา และแหลงเรียนรูใหม 4.2 สอดคลองกับแผนยุทธศาสตรดานการบริหารจัดการอาชีวศึกษา ยุทธศาสตรที่ 4 กลยุทธที่ 5 4.3 สอดคลองกับมาตรฐาน สมศ. (รอบสี่) มาตรฐานที่ 3 ตัวบงชี้ที่ 3.2 4.4 สอดคลองกับมาตรฐาน สอศ. มาตรฐานที่ 3 ตัวบงชี้ที่ 3.2 4.5 สอดคลองกับมาตรฐาน วอศ.รอยเอ็ด มาตรฐานที่ 3 ตัวบงชี้ที่ 3.2 5. สภาพปจจุบัน/หลักการและเหตุผล ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษาในระยะ 15 ปของสำนักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา ไดกำหนดกลยุทธในการสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาสินคา OTOP เพื่อสังคมและนวัตกรรม อาชีวศึกษาภายใตความรวมมือกับสถานประกอบการและชุมชน ในการสงเสริมใหนักเรียน นักศึกษา และบุคลากร ครูในการใชความรูดานทักษะวิชาชีพ ในการพัฒนาและผลิตสิ่งใหมหรือพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมใหทันสมัย เพื่อใหสามารถนำไปใชประโยชนไดจริง และสามารถนำไปใชใหเกิดประโยชนตอชุมชน วิทยาลัยอาชีวศึกษารอยเอ็ด ไดเห็นความสำคัญของการพัฒนาสินคา OTOP เพื่อสังคมและนวัตกรรมจึง ไดมีการจัดกระบวนการเรียนรูและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียนในรูปแบบการทำ โครงงาน โดยความรวมมือของสถานประกอบการและชุมชนเปนแหลงเรียนรูพรอมทั้งการประยุกตใชความรู ความสามารถอยางสรางสรรคใหเกิดผลงานนวัตกรรมที่เปนประโยชนสอดคลองกับมาตรฐาน สอศ.และมาตรฐาน สถานศึกษา มาตรฐานที่ 3 การสรางสังคมแหงการเรียนรู ดังนั้น งานวิจัยพัฒนานวัตกรรมสินคา OTOP เพื่อสังคม จึงไดจัดใหมีโครงการนักการตลาดรุนใหม เพื่อสังคม ระดับสถานศึกษา ของนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษารอยเอ็ด ปการศึกษา 2566 ขึ้น เพื่อคัดเลือกเปนตัวแทนไปประกวดระดับอาชีวศึกษาจังหวัด ระดับภาค และระดับชาติตอไป โดยโครงการมีกิจกรรม ดังนี้ 1. การประกวดผลงาน นวัตกรรมและสินคา OTOP เพื่อสังคมของนักเรียน นักศึกษา 6. วัตถุประสงค 6.1 เพื่อสงเสริมใหผลิตภัณฑ OTOP มีชองทางการตลาดเพิ่มขึ้น 6.2 เพื่อฝกนักเรียน นักศึกษาใหมีประสบการณดานการตลาดและมีรายได 6.3 สงเสริมโอกาสสรางรายไดและการริเริ่มสรางสรรคของนักเรียน นักศึกษา ลดภาวะการวางงาน 7. เปาหมายและตัวชี้วัดสำเร็จ 7.1 เชิงปริมาณ 7.1.1 มีผลงานนวัตกรรมและสินคา OTOP เพื่อสังคม เขารวมประกวดในระดับสถานศึกษา และ ระดับจังหวัดอยางนอย 6 ผลงาน 7.1.2 มีผลงานนวัตกรรมและสินคา OTOP เพื่อสังคม เขารวมประกวดในระดับภาค และระดับชาติ อยางนอย 1 ประเภทสิ่งประดิษฐ


7.2 เชิงคุณภาพ 7.2.1 ผลงานวิจัย นวัตกรรมและสินคา OTOP เพื่อสังคม ไดรับความรวมมือและสนับสนุนจาก ชุมชน องคกร สถานประกอบการ ทั้งดานงบประมาณและองคความรู 7.2.2 ผลงานนวัตกรรมและสินคา OTOP เพื่อสังคม สามารถแกปญหา หรือสงเสริมการประกอบ อาชีพ เกิดประโยชนไดจริงตอชุมชน และเพิ่มมูลคาในเชิงพาณิชยหรืออุตสาหกรรม 7.2.3 ผลงานนวัตกรรมและสินคา OTOP เพื่อสังคม ที่สงเขาประกวดผานเกณฑการประเมินและได เปนตัวแทนไปประกวดในระดับจังหวัด ระดับภาค และระดับชาติตอไป 8. กิจกรรมและหรือขั้นตอนดำเนินการ/ระยะเวลา/สถานที่ 8.1 กิจกรรมขั้นตอนการดำเนินงาน ขั้นตอน ปงบประมาณ 2567 เดือน มกราคม ป พ.ศ. 2567 วันที่ 17 วันที่ 20 วันที่ 22 วันที่ 24 วันที่ 28 วันที่ 31 1. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 2. ประชุมคณะกรรมการ 3. ประชาสัมพันธโครงการ 4. ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ 5. ประเมินผลโครงการ 6. รายงานและสรุปผล 8.2 ระยะเวลาดำเนินการ ระหวาง วันที่17 ถึง 31 มกราคม 2567 8.3 สถานที่ดำเนินการ วิทยาลัยอาชีวศึกษารอยเอ็ด 9. งบประมาณ/แหลงที่มาการดำเนินโครงการ จากเงิน งบประมาณ เงินรายได เงินอุดหนุน เงินอื่นๆ (ระบุ)............................... งบ ดำเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน งบรายจายอื่น ดังรายการตอไปนี้ ลำดับ ที่ รายการ จำนวน (หนวย) หนวยละ (บาท) รวมเงิน (บาท) หมายเหตุ 1 ปายผลงานสินคา OTOP เพื่อสังคม 6 ปาย 450 2,700 2 คาวัสดุอุปกรณสำนักงานของโครงการ 3,000 3 คาใชจายในการเขารวมการประกวด ระดับภาคและระดับชาติ 30,000 รวมเงินทั้งสิ้น (สามหมื่นหาพันเจ็ดรอยบาทถวน) 35,700


Click to View FlipBook Version