The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

-อาชีพท้องถิ่นตำบลกฤษณา
-แหล่งเรียนรู้ตำบลกฤษณา
-ภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลกฤษณา
-แหล่งท่องเที่ยวตำบลกฤษณา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nongmisritananan, 2022-05-25 23:22:35

ข้อมูลการทำเว็บไซด์กศน.ตำบลกฤษณา

-อาชีพท้องถิ่นตำบลกฤษณา
-แหล่งเรียนรู้ตำบลกฤษณา
-ภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลกฤษณา
-แหล่งท่องเที่ยวตำบลกฤษณา

อาชพี ท้องถ่นิ ตำบลกฤษณา
พ้นื ทตี่ ำบลกฤษณา เป็นพ้ืนท่ีล่มุ แมน่ ำ้ ท่าจนี มีแมน่ ้ำไหลผา่ นบรเิ วณหม่ทู ่ี 1 ถือเป็นแหล่งอูข่ า้ วอูน่ ำ้ มี

ความอุดมสมบูรณ์ เป็นพนื้ ท่ี แห่งเกษตรกรรมที่มคี วามอดุ มสมบรู ณ์ มีปลา มีกงุ้ มสี ตั ว์น้ำ จำนวนมาก
ประชากรในอดีตส่วนใหญท่ าํ อาชีพเกษตรกรรม ทํานาปลกู ขา้ ว หาอาหารจากแม่นำ้ โดยมภี มู ปิ ญั ญาท้องถนิ่
ทางด้าน เกษตรกรรมมากมายแตกตา่ งกันไปตามพืน้ ท่ี และมกี ารพฒั นารปู แบบการทำการเกษตรให้ เหมาะสม
ตามยุคสมยั อาชีพเกษตรกรจึงมคี วามสาํ คัญมาก และเกษตรกรถูกยกย่องให้เป็นกระดูกสันหลังของชาติ เปน็
ผผู้ ลิตอาหารเล้ียงปากท้องของครอบครัวมายาวนาน แตป่ จั จบุ นั พบวา่ พืน้ ที่เกษตรกรรมกลับนอ้ ยลง จาํ นวน
เกษตรกรลดลงอยางรวดเร็ว

ตำบลกฤษณามีการทำนา 2 ประเภท ดงั ต่อไปน้ี
ประเภทที่ 1 การทำนาดำ มีขั้นตอนดังตอ่ ไปน้ี
1.การเตรยี มดิน

ตอ้ งทำการไถดะ การไถแปร และการคราด ปกติการไถและคราดในนาดำมักจะใชแ้ รง ววั ควาย หรอื
แทรกเตอร์ขนาดเล็ก และทำคันนากน้ั ไวส้ ำหรับกักเกบ็ น้ำในแปลงนา ก่อนทีจ่ ะทำการไถ ตอ้ งรอใหด้ นิ มี
ความชืน้ พอที่จะไถไดเ้ สยี ก่อน ปกติจะต้องรอให้ฝนตกจนมีน้ำขัง หรอื ไขน้ำเขา้ ไปในผืนนาเพ่อื ทำให้ดินเปยี ก
การไถดะ หมายถงึ การไถครงั้ แรกเพ่ือทำลายวัชพืชในนาและพลิกกลับหน้าดนิ แลว้ ปล่อยทิ้งไวป้ ระมาณ ๑
สปั ดาห์ จงึ ทำการไถแปร ซึ่งหมายถงึ การไถเพ่ือตดั กับรอยไถดะ ทำใหร้ อยไถดะแตกออกเปน็ กอ้ นเล็กๆ จน
วชั พชื หลุดออกจากดิน เม่ือไถแปรแลว้ กท็ ำการคราด คือ การเอาวัชพชื ออกจากผนื นา และปรบั พน้ื ทนี่ าใหไ้ ด้
ระดับเป็นทร่ี าบเสมอกนั เพื่อใหม้ ีสภาพดินทเ่ี หมาะสมพร้อมที่จะปักดำ
2.การตกกล้า

การเตรียมตน้ กลา้ ให้ได้ตน้ ท่แี ขง็ แรง เมื่อนำไปปักดำกจ็ ะได้ขา้ วท่ีเจรญิ เตบิ โตได้รวดเร็ว และมีโอกาส
ใหผ้ ลผลิตสูง ต้นกล้าที่แข็งแรงดตี อ้ งมกี ารเจรญิ เตบิ โตและความสงู สม่ำเสมอทั้งแปลง มีกาบใบสน้ั มรี ากมาก
และรากขนาดใหญ่ ไม่มโี รคและแมลงทำลาย การตกกลา้ สามารถทำได้หลายวธิ ี แตม่ หี ลักสำคญั อย่ทู ีก่ าร
คัดเลือกเมล็ดพนั ธ์ุท่ีสมบรู ณ์ ปราศจากเช้อื โรค

3.การปักดำ
ควรทำเป็นแถวเป็นแนวซึง่ จะทำให้ง่ายต่อการกำจัดวัชพชื การดูแลใส่ปยุ๋ และยังทำให้ข้าวแต่ละกอ มี

โอกาสได้รับอาหารและแสงแดดอยา่ งสม่ำเสมอกัน สำหรบั ระยะปักดำนัน้ ข้นึ กบั ชนดิ และพนั ธข์ุ า้ ว ทัง้ น้ีควรมี
ระดบั นำ้ ในนาน้อยทส่ี ุด เพียงแคค่ ลมุ ผวิ ดนิ เพ่ือป้องกันวชั พชื และประคองต้นขา้ วไว้ไมใ่ หล้ ม้ ระดบั น้ำลกึ จะ
ทำใหต้ ้นข้าวแตกกอน้อยและให้ผลผลิตต่ำ

การทำนาหว่าน
การทำนาหว่าน เปน็ การปลูกขา้ วโดยการหวา่ นเมล็ดลงไปในนาที่เตรียมพื้นท่ีไว้แลว้ โดยตรง เป็น

วธิ ีการท่ีพบมากในปัจจุบนั เนื่องจากประหยดั แรงงานและเวลาการปลกู ขา้ ว นาหวา่ นมหี ลายวธิ ีดว้ ยกัน เช่น
การหว่านสำรวย การหว่านคราดกลบหรือไถกลบ การหวา่ นหลงั ขไ้ี ถ และการหว่านนำ้ ตม
ประเภทที่ 2 การทำนาหว่าน แบ่งเปน็ 4 วิธีคอื
1. การหวา่ นสำรวย

เปน็ การหว่านเมล็ดขา้ วแห้งในสภาพดินแห้งเนอ่ื งจากฝนยังไม่ตก โดยหลงั จากการไถแปรครงั้ สุดทา้ ย
แลว้ หว่านเมล็ดขา้ วลงไปโดยไมต่ อ้ งคราดกลบ เมลด็ จะตกลงไปอยู่ในระหวา่ งกอ้ นดิน เมอื่ ฝนตกลงมาเมลด็ ข้าว
จะงอกขึ้นมา
2. การหว่านคราดกลบ

ไถกลบในกรณีทด่ี นิ มีความช้นื อยูบ่ ้างแล้ว และเป็นเวลาทฝ่ี นจะเริ่มตกตามฤดกู าล โดยชาวนาจะทำ
การไถดะและไถแปร หว่านเมล็ดพนั ธ์ลุ งไปแลว้ คราดหรือไถกลบเนื่องจากดินมีความชน้ื อยูแ่ ล้วเมล็ดก็จะเรมิ่
งอกทันที มีการต้งั ตวั ของต้นกล้าดีเพราะเมลด็ ท่หี วา่ นลงไปถูกดนิ กลบฝังลึกลงไปในดนิ

3. การหวา่ นหลังขี้ไถ
การหวา่ นหลังขีไ้ ถใชใ้ นกรณที ี่ฝนมาล่าชา้ และตกชุก มีเวลาเตรยี มดินน้อย จงึ มีการไถดะเพยี งคร้งั

เดียวและไถแปรอีกครง้ั หน่ึง แลว้ หวา่ นเมลด็ ข้าวลงหลงั ข้ีไถ เมล็ดพันธุ์อาจเสยี หายเพราะหนู และอาจมวี ัชพืช
ในแปลงนามาก
4. การหว่านนำ้ ตม

การหว่านแบบน้นี ยิ มใชใ้ นพืน้ ที่ท่ีมีการชลประทานหรือแหล่งนำ้ อดุ มสมบูรณ์โดยการเอาเมล็ดพันธทุ์ ี่
ได้เพาะใหง้ อกแลว้ มาหวา่ นลงไปในนาท่มี นี ำ้ ขังอยู่

ข้อมูลเน้ือหาเรอ่ื งราวเขียนโดย นางสาวยพุ รตั น์ ศรธี นานนั ท์
ภาพถ่าย/ภาพประกอบโดย นางสาวยุพรตั น์ ศรธี นานนั ท์

แหล่งเรียนรูช้ ุมชนตำบลกฤษณา
ชอ่ื แหล่งเรยี นรู้ ศูนยเ์ รียนรชู้ ุมชนเศรษฐกิจพอเพยี งบา้ นบางเลน
ที่ตั้ง บา้ นเลขท่ี 148 หมทู่ ี่ 1 ตำบล กฤษณา อำเภอ บางปลาม้า จงั หวัด สพุ รรณบรุ ี รหัสไปรษณยี ์ 72150
รายละเอียดของแหล่งเรยี นรู้

ศนู ยเ์ รยี นรชู้ ุมชนเศรษฐกิจพอเพยี ง มกี ารใช้หลกั ของเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนนิ ชีวิต มคี วาม
พอประมาณท้งั การหารายได้ และพอประมาณในการใช้จา่ ย ความพอประมาณในการหารายได้ คือ ทำงานหา
รายได้ดว้ ยชอ่ งทางสจุ ริต ทำงานให้เตม็ ความสามารถ ไมเ่ บียดเบียนผอู้ นื่ สว่ นความพอประมาณในการใช้จา่ ย
หมายถึง การใช้จา่ ยให้เหมาะกับฐานะความเป็นอยู่ ไมใ่ ชจ้ ่ายฟุ่มเฟือยหรือใช้จา่ ยเกนิ ตวั และในขณะเดียวกัน
ก็ใชจ้ ่ายในการดูแลตนเอง และครอบครวั อย่างเหมาะสม ไม่อยอู่ ยา่ งลำบาก และฝดื เคืองจนเกินไป ในศูนย์การ
เรียนรูม้ ีการตอนกิ่งตน้ มะนาว/มะมว่ งให้มีหลายๆพันธ์ุในต้นเดียวกัน การทำปุย๋ ชีวภาพโดยใชข้ องที่มีอยูใ่ น
ครัวเรอื น และการดำเนินชีวติ อยา่ งพอเพยี ง

โดย ศนู ยเ์ รียนรชู้ มุ ชนเศรษฐกจิ พอเพยี งบ้านบางเลน ยดึ หลกั พอมพี อกนิ ปลูกพืชสวนครัวไวก้ นิ เองบา้ ง ปลูก
ไมผ้ ลไวห้ ลังบา้ น 2-3 ตน้ พอทจี่ ะมีไว้กนิ เองในครัวเรือน เหลอื จงึ ขายไป พออยู่พอใช้ ทำให้บา้ นน่าอยู่
ปราศจากสารเคมี กลิน่ เหมน็ ใชแ้ ต่ของทีเ่ ปน็ ธรรมชาติ (ใช้จุลนิ ทรยี ผ์ สมน้ำถพู น้ื บ้าน จะสะอาดกวา่ ใช้น้ำยา
เคมี) รายจ่ายลดลง สุขภาพจะดขี ึ้น ประหยัดค่ารักษาพยาบาล พออกพอใจ เราต้องรู้จักพอ รจู้ กั ประมาณตน
ไม่อยากมเี ชน่ ผู้อนื่ เพราะเราจะหลงติดกบั วัตถุ ปัญญาจะไมเ่ กิดต้ังอยู่บนพนื้ ฐานของทางสายกลางและความ
ไม่ประมาท โดยคำนึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมคิ ุ้มกันท่ดี ีในตัว ตลอดจนใชค้ วามรู้
ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตดั สนิ ใจและการกระทำ เปน็ ปรัชญาทีช่ ้ีแนะแนว
ทางการดำรงอยู่และปฏิบตั คิ นในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพ้ืนฐานมาจากวิถชี วี ิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถ
นำมาประยุกตใ์ ช้ได้ตลอดเวลา และเปน็ การมองโลกเชิงระบบทมี่ กี ารเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเนน้ การ
รอดพ้นจากภัย และวกิ ฤต เพื่อความมัน่ คงและความยั่งยนื ของการพฒั นา สามารถนำมาประยุกตใ์ ช้กบั การ
ปฏิบัตติ นได้ในทุกระดบั โดยเนน้ การปฏบิ ัตบิ นทางสายกลาง และการพฒั นาอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอน ประกอบดว้ ย

ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ทไ่ี ม่น้อยเกนิ ไปและไม่มากเกนิ ไป โดยไมเ่ บยี ดเบียนตนเองและผอู้ ืน่
เชน่ การผลติ และการบรโิ ภคทอี่ ย่ใู นระดับพอประมาณ ไม่ให้เดอื ดร้อน ความมเี หตผุ ล หมายถึง การตดั สนิ ใจ
เกีย่ วกับระดบั ของความพอเพียงนน้ั จะตอ้ งเปน็ ไปอย่างมเี หตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจั จยั ที่เกี่ยวข้อง
ตลอดจนคำนึงถงึ ผลที่คาดว่าจะเกดิ ขึ้นจากการกระทำนั้น ๆ อยา่ งรอบคอบ การมีภมู ิคุ้มกันท่ีดีในตวั หมายถงึ
การเตรยี มตัวให้พร้อมรบั ผลกระทบและการเปลยี่ นแปลงด้านต่างๆ ทจี่ ะเกิดข้นึ โดยคำนึงถึงความเป็นไปไดข้ อง
สถานการณต์ ่างๆ ท่ีคาดวา่ จะเกิดขนึ้ ในอนาคตทั้งใกล้และไกล

การตดั สนิ ใจและการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศยั ทั้งความรู้และ
คุณธรรมเปน็ พ้ืนฐาน ต้องมีความรอบร้เู ก่ยี วกับวิชาการตา่ งๆ ทเี่ กี่ยวข้องอยา่ งรอบดา้ น ความรอบคอบทจี่ ะนำ
ความรูเ้ หลา่ น้นั มาพจิ ารณาให้เช่อื มโยงกนั เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวงั ในขนั้ ปฏบิ ัตทิ ี่
จะตอ้ งเสริมสร้างประกอบดว้ ยความตระหนักในคุณธรรม มคี วามซื่อสัตยส์ จุ รติ และมีความอดทน มคี วามเพียร
ใช้สตปิ ัญญาในการดำเนินชีวิต ผลท่คี าดวา่ จะได้รับ จากการนำปรชั ญาของเศรษกจิ พอเพียงมาประยุกตใ์ ช้ คือ
การพัฒนาที่สมดุลและย่ังยนื พรอ้ มรับตอ่ การเปล่ยี นแปลงในทกุ ดา้ น ทง้ั ด้านเศรษฐกิจ สังคม สง่ิ แวดลอ้ ม
ความรแู้ ละเทคโนโลยี

ข้อมูลเน้ือหาเรอื่ งราวเขยี นโดย นางสาวยพุ รตั น์ ศรธี นานนั ท์
ภาพถา่ ย/ภาพประกอบโดย นางสาวยพุ รัตน์ ศรีธนานนั ท์

ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ตำบลกฤษณา

ชื่อภูมปิ ัญญา นางพิกุล นามสกุล ศรเี งนิ งาม

สาขาของภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ด้านเกษตรกรรม

ขอ้ มูลพ้นื ฐาน รายบคุ คล เจ้าของภมู ิปัญญาท้องถิน่ /บคุ คลคลังปญั ญา

ชอ่ื นางพกิ ุล นามสกลุ ศรเี งินงาม

ทอี่ ยู่ปัจจบุ ัน (ทส่ี ามารถติดตอ่ ได้) บ้านเลขท่ี 62 หม่ทู ่ี 4 ตำบล กฤษณา

อำเภอ บางปลาม้า จงั หวดั สุพรรณบรุ ี รหัสไปรษณีย์ 72150

โทรศพั ท์ 0892209837
ความเปน็ มาของบคุ คลคลงั ปัญญา

เป็นการประยุกตใ์ ช้ของที่มใี นบ้านให้เป็นยาสฟี นั เพราะช่วยลดกล่ินปาก ไม่แสบปาก การหนั มาปรุง
ยาสฟี นั ไว้ใช้เอง ประโยชน์คือเรากำหนดสรรพคุณของวตั ถุดบิ ได้ ซ่งึ เปน็ ปจั จัยสำคญั ทเ่ี ราสามารถหลีกเลีย่ งไม่
ใชส้ ารเคมีปรุงแต่ง และเม่ือเทยี บราคากับยาสีฟนั ในท้องตลาดแล้วราคาถกู กว่ามาก สำคญั ทส่ี ุดคือสขุ ภาพของ
ช่องปากของเราทเ่ี ลือกเองได้ตามต้องการ

จดุ เดน่ ของภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน
- การประยุกต์ใช้ของที่มีในบ้านให้เป็นยาสฟี นั

รายละเอยี ดของภมู ปิ ัญญา

- การทำยาสฟี ันสมนุ ไพร มกี ารเผยแพร่เฉพาะในชุมชน และมกี ารนำไปใชใ้ นชมุ ชน
ลักษณะของภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน การพัฒนาต่อยอดภูมปิ ญั ญาใหเ้ ห็นนวตั กรรม คุณคา่ (มลู คา่ ) และความ
ภาคภูมใิ จ

ภมู ิปัญญาท้องถิน่ ด้ังเดิมได้รับการถา่ ยทอดมาจาก คนโบราณจึงใช้เกลอื อมบว้ นปากและแปรงฟัน ต่อมาพฒั นา
ผลิตภัณฑ์ในการทำความสะอาดช่องปากเจริญรดุ หน้า เราจึงได้เหน็ แปรงสีฟนั ในรูปแบบตา่ ง ๆ เชน่ ทพี่ บใน
ปจั จุบัน สว่ นยาสีฟนั กไ็ มแ่ ตกต่าง มกี ารค้นพบสารซักฟอกท่ใี ช้ในการทำความสะอาด ยาสฟี ันในปัจจุบันจงึ มีท้งั
ฟอง รสชาติต่าง ๆ กล่ินท่ีแตกต่างกันไป

ถา่ ยภาพบุคคล และอปุ กรณ์/เครอื่ งมอื /ส่ิงทปี่ ระดษิ ฐ์ (ช้ินงานหรอื ผลงาน)
รปู ภาพเจ้าของภมู ิปัญญา

รูปภาพภมู ปิ ัญญา

ข้อมูลเนื้อหาเรอ่ื งราวเขียนโดย นางสาวยพุ รตั น์ ศรีธนานันท์
ภาพถา่ ย/ภาพประกอบโดย นางสาวยุพรัตน์ ศรีธนานนั ท์

แหลง่ ท่องเท่ียวตำบลกฤษณา
วัดบางเลน
ทต่ี ัง้ หมู่ท่ี 1 ตำบลกฤษณา อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบรุ ี
รายละเอียดของแหล่งทอ่ งเท่ียว

วัดบางเลนเปน็ วัดทม่ี ีสถาปตั ยกรรมทสี่ วยงาม อยู่ด้านหน้าตำบลกฤษณา เมื่อจะเขา้ ไปในตำบลกต็ ้อง
ผ่านวดั บางเลนเปน็ ท่แี รก ประชาชนใน พื้นที่ให้ความเคารพนบั ถือและมักจะไปทำบญุ และประกอบพธิ ีกรรม
ทางศาสนาในวนั สำคญั ตา่ งๆ

วัดบางเลน ตั้งอยู่ริมแม่น้ำท่าจีน อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี เป็นวัดที่สร้างข้ึนใหม่ในสมัยรัชกาล
ที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเสด็จผ่านมาโดยทางชลมารค พอ
ถึงแหลมตรงที่สร้างวัดพระองค์เสด็จขึ้นไปเห็นทวดของหลวงพ่อไข่กำลังเก็บถ่ัวงาอยู่ พระองค์ดำรัสว่า
ท่ีดินตรงน้ีเหมาะแก่การสร้างวัด ทวดของหลวงพ่อไข่บอกว่าเป็นของแกเอง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว จึงขอให้สร้างวัด แล้วพระราชทานนามว่า“วัดเกาะแก้ววงเดือน” แต่ชาวบ้านถนัดปากเรียกแต่
“วัดบางเลน” เพราะมีเลนมาก เป็นที่อยู่ของกุ้ง หอย ปู ปลา กักเก็บสัตว์น้ำจืดทุกชนิด
หลวงพ่อไข่ ธมฺมรงฺสี เจ้าอาวาสวัดบางเลน เกิดเมื่อวันท่ี 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2430 ชาติภูมิ บ้านบาง
เลน อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี เม่ือ พ.ศ. 2451 โดยมีพระอาจารย์สนเป็นพระอุปัฌชาย์ และพระ
อาจารย์พรหม เป็นพระกรรมวาจาจารย์ หลวงพ่อไข่ไม่รู้จักหนังสือเลย แต่สมองดี บวชได้ไม่เท่าไหร่ อ่าน
หนังสือได้คล่อง สวดเจ็ดตำนานได้ไม่ผิด ศึกษาวิปัสสนากรรมฐานกับหลวงพ่อเอื่ยมและหลวงพ่อสม

ท่านได้สร้างวัตถุมงคลไว้หลายอย่าง ส่วนเหรียญรุ่นแรก เป็นเหรียญรูปไข่ เนื้ออัลปาก้า หลวงพ่อ
นั่งกางข้อศอกขวาเรียกว่ารุ่นแขนกาง สร้างปี พ.ศ. 2502 ปัจจุบันเป็นพระเคร่ืองที่มีชื่อเสียง และมีความ
หายาก

ขอ้ มูลเนื้อหาเรือ่ งราวเขียนโดย นางสาวยุพรตั น์ ศรธี นานนั ท์
ภาพถา่ ย/ภาพประกอบโดย นางสาวยุพรัตน์ ศรธี นานนั ท์

ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณีตำบลกฤษณา
เทศกาลเข้าพรรษา ถือกันว่าเปน็ เทศกาลพเิ ศษ พุทธศาสนิกชนจงึ ขะมักเขม้นในการบญุ กศุ ลยิง่ กว่า

ธรรมดาบางคนตง้ั ใจรกั ษาอโุ บสถตลอด 3 เดือน บางคนต้ังใจฟังเทศน์ทุกวันพระตลอดพรรษา มผี ู้ต้ังใจทำ
ความดตี ่าง พิเศษข้ึน ทัง้ มผี ู้งดเว้นการกระทำบาปกรรมในเทศกาลเขา้ พรรษา บางคนอาศัยสาเหตแุ หง่ เทศกาล
เข้าพรรษาตั้งสตั ย์ปฏิญาณเลิกอบายมขุ และความชว่ั สามานยต์ า่ งๆ โดยตลอดไป พทุ ธศาสนกิ ชนมีการกระทำ
บุญตกั บาตรกัน 3 วัน คือวนั ข้ึน 14 – 15 คำ่ และวนั แรม 1 ค่ำ เดอื น 8 และขนมทีน่ ิยมทำกันในวัน
เขา้ พรรษาได้แก่ ขนมเทียน เหล่าสาธชุ นทม่ี ีความเคารพนับถือพระภกิ ษุวัดใด ก็จัดเครอื่ งสกั การะนำไปถวาย
พระภิกษุวดั นั้น ยังมีส่ิงสักการะบชู าทพ่ี ุทธศาสนกิ ชนนยิ มกระทำกนั เปน็ งานบุญนา่ สนกุ สนานอกี อย่างหนง่ึ คอื
“เทียนเขา้ พรรษา” บางแหง่ จะมีการบอกบุญเพอ่ื ร่วมหล่อเทียนแทง่ ใหญ่ แล้วแหไ่ ปต้งั ในวดั อุโบสถ เพอื่ จดุ
บชู าพระรัตนตรัยตลอด3 เดือน การแห่เทียนจำนำพรรษาหรือเทยี นเข้าพรรษาจดั เปน็ งานเอิกเกริก มีฆ้อง
กลองประโคมอยา่ งสนกุ สนาน และเทียนนัน้ มีการหล่อหรือแกะเปน็ ลวดลายและประดับตกแตง่ กันอย่างวจิ ิตร
งดงาม วัดที่นิยมไปทำบุญ ในวนั สำคญั น้ี ได้แก่วดั บางเลน วัดโคกโพธ์ิ วดั ราษฎรบ์ รู ณะ และวัดศพเพลิง

วนั เขา้ พรรษา เปน็ วนั ท่ีพระสงฆ์เริ่มอย่จู ำพรรษาตลอด 3 เดอื น ในฤดูฝน ตง้ั แตว่ นั แรม 1 คำ่ เดอื น 8
จนถงึ กลางเดือน 11 วนั เขา้ พรรษาที่พระพุทธเจา้ ทรงอนุญาตไวม้ ีอยู่ 2 วนั คือ วันเขา้ ปรุ ิมพรรษา คอื วัน
เข้าพรรษาแรก ต้งั แตว่ นั แรม 1 ค่ำ เดือน 8 ไปจนถงึ วนั เพ็ญกลางเดือน 11 วันเข้าปจั ฉิมพรรษา คือวัน
เขา้ พรรษาหลัง ตง้ั แตว่ นั แรม 1 คำ่ เดือน 9 ไปจนถึงวันเพญ็ เดือน 12 การบำเพ็ญกศุ ลเนื่องในเทศกาล
เข้าพรรษานี้ยังมปี ระเพณีสำคัญอยู่ ๒ ประเพณี ควรนำมากลา่ วไว้ ณ ท่ีน้ี ดังนี้ ประเพณีแห่เทยี นพรรษา
ประเพณีน้คี งเกิดข้ึนจากความจำเปน็ ที่วา่ สมยั ก่อนยังไมม่ ีไฟฟ้าใช้กนั ดังปจั จุบัน เมื่อพระสงฆจ์ ำพรรษารวมกัน
มาก ๆก็จำตอ้ งปฏิบัติกิจวตั รเชน่ การทำวัตรสวดมนต์เชา้ มืดและตอนพลบค่ำ การศึกษาพระปรยิ ตั ิธรรม
กิจกรรมเหลา่ น้ีล้วนตอ้ งการแสงสว่างโดยเฉพาะ แสงสว่างจากเทยี นท่ีพระสงฆจ์ ุดบูชาพระรตั นตรยั และเพ่ือ
ต้องการใชแ้ สงสวา่ งโดยตรงด้วยเหตนุ ี้พทุ ธศาสนิกชนจึงนิยมหลอ่ เทยี นตน้ ใหญ่ กะวา่ จะจุดไดต้ ลอดเวลา ๓
เดือนไปถวายพระภิกษุในวดั ใกล้ ๆบ้านเป็นพุทธบูชา เทียนดงั กลา่ วเรียกว่า เทียนจำนำพรรษา

กอ่ นจะนำเทยี นไปถวายน้ี ชาวบา้ นมกั จดั เปน็ ขบวนแหแ่ หนกนั ไปอยา่ งเอิกเกริกสนกุ สนานเรยี กว่า
ประเพณแี หเ่ ทยี นจำนำพรรษาดังขอสรุปเนื้อหาจากหนังสอื นางนพมาศ ดังน้ี เม่ือถึงวนั ขึ้น ๑๔ คำ่ ทง้ั ทหารบก
และทหารเรือก็จดั ขบวนแห่เทียนจำนำพรรษา ทั้งใสค่ านหาบไปและลงเรือประดษิ ฐานอยู่ในบษุ บกทองคำ
ประดบั ธงทวิ ตกี ลอง เปา่ แตรสังข์ แห่ไป คร้ันถึงพระอารามแล้วก็ยกต้นเทียนน้นั เข้าไปถวายในพระอโุ บสถหอ
พระธรรม และพระวิหารจดุ ตามให้สวา่ งไสวในทนี่ น้ั ๆ ตลอด ๓ เดอื น ในวัดราษฎร์ทง้ั หลาย กม็ พี ิธที ำนองนี้ทั่ว
พระราชอาณาจักร ปัจจุบนั ประเพณีแหเ่ ทยี นจำนำพรรษานี้ยังถือปฏบิ ตั ิกนั อยู่ท่วั ไป บางจงั หวัด เชน่
อบุ ลราชธานี ถือใหเ้ ปน็ ประเพณเี ด่นประจำจงั หวดั ตนได้จัดประดับตกแตง่ ต้นเทยี นใหญ่ๆ มีการประกวด
แข่งขันแล้วแหแ่ หน ไปถวายตามวัดต่าง ๆ

ประเพณีถวายผา้ อาบน้ำฝน การถวายผา้ อาบนำ้ ฝนน้ี เกิดข้ึนแตส่ มัยพุทธกาล คือ มหาอุบาสิกา ชื่อว่า
วสิ าขาไดท้ ลู ของพระบรมพุทธานญุ าตให้พระสงฆ์ ได้มผี า้ อาบนำ้ สำหรับผลดั เปล่ียนเวลาสรงนำ้ ฝนระหว่างฤดู
ฝน นางวิสาขาจงึ เปน็ สตรคี นแรกท่ีได้ถวายผ้าอาบนำ้ ฝนแด่พระสงฆ์ ดว้ ยเหตนุ ี้ เม่ือถงึ วันเขา้ พรรษา
พทุ ธศาสนกิ ชน ตั้งแต่สมยั กรุงสโุ ขทัยราชธานี จงึ นิยมนำผา้ อาบนำ้ ฝนไปถวายผ้าอาบน้ำฝนถวายพระสงฆ์ผู้จะ
อยูพ่ รรษา พร้อมกับอาหารและเครือ่ งใชท้ ่จี ำเปน็ ตา่ ง ๆ แม้ในปจั จุบนั พุทธศาสนกิ ชนไทยก็คงยังปฏิบตั ิ
กิจกรรม อย่างนอี้ ยู่บางวดั มีการแจกฎกี านดั เวลา ประกอบพิธถี วายผา้ อาบนำ้ ฝน (วสั สิกสาฎก) หรือ ผ้าจำนำ
พรรษาและเคร่ืองใช้อน่ื ๆ ณ ศาลาบำเพ็ญกุศลของวัดใกล้บา้ น

ขอ้ มลู เนื้อหาเรอื่ งราวเขยี นโดย นางสาวยุพรัตน์ ศรีธนานนั ท์
ภาพถ่าย/ภาพประกอบโดย นางสาวยุพรัตน์ ศรธี นานันท์


Click to View FlipBook Version